SlideShare a Scribd company logo
1 of 40
Download to read offline
13
การจัดการมรดกวัฒนธรรม
(CHM)
โดย รศ. ชนัญ วงษ์วิภาค
1
บทที่ 1
การจัดการมรดกวัฒนธรรม (CHM)
รศ.ชนัญ วงษวิภาค
บทนํา
การจัดการมรดกวัฒนธรรม (CHM) คือการดูแลอยางเปนระบบที่นํามาใชธํารงคุณคาทางวัฒนธรรม
ของทรัพยสินมรดกเพื่อความรื่นรมยคนปจจุบันและคนชั้นลูกหลานในอนาคต การจัดการมรดกวัฒนธรรมเปน
ปรากฏการณใหมระดับโลกทั้งนี้พอจะพิจาณาไดจากประมวลกฎหมายและกฏบัตรตางๆ เชนกฎบัตรเวนิส
(ICOMOS ค.ศ.1994)และอนุสัญญาเกี่ยวกับมรดกโลกภายใตการดําเนินงานของ UNESCO ซึ่งออกกฏเกณฑที่
เปนหลักสําคัญๆ ในอันที่จะปกปองคุมครองมรดกวัฒนธรรม ประเทศสวนใหญรับหลักการเหลานี้ไปในแงของ
กฎหมายปกปองคุมครองมรดกวัฒนธรรมอยางเปนทางการ หรือรับนโยบายการจัดการมรดก ตามแนวทางที่
ICOMOS และ UNESCO ประกาศออกมาเนื่องจากการทองเที่ยววัฒนธรรมใชมรดกวัฒนธรรมของแหลง
ทองเที่ยวปลายทางเปนทรัพยากรทองเที่ยวหลัก จึงจําเปนอยางยิ่งที่จะตองเขาใจพื้นฐานของการจัดการมรดก
วัฒนธรรมกอนที่จะใชทรัพยากรดานนี้เพื่อการอื่นใด
การหาวิธีที่จะจัดการมรดกวัฒนธรรมในหนทางอยางยั่งยืนจริงๆนั้นปรากฏชัดแจงอยูในเรื่องของ
ประโยชนที่ดีที่สุดของมรดกนั้นๆนอกจากนี้ยังขึ้นอยูกับวาใครเปนผูจัดการวัฒนธรรมและชุมชน เปนที่
ตระหนักดีวาการทองเที่ยวเปนการใชมรดกอยางมีศักยภาพเพิ่มขึ้นเรื่อยๆอยางหนึ่ง ทําใหเพิ่มความกดดัน
ยิ่งขึ้นตอการทองเที่ยวและมีผูมีสวนไดสวนเสียในการจัดการมรดกวัฒนธรรมที่จะรวมมือกันเพื่อผลประโยชน
แกสวนรวม (TCA 1998 ; World Bank 2000 ; World Monuments Fund 2000) เหนือสิ่งอื่นใดแลวยิ่งแต
ละฝายมีความเขาใจกรอบปรัชญาและความตองการของกันและกันมากเทาไรก็จะเปนหุนสวนกันไดดียิ่งขึ้น
เทานั้น
แนวคิดหลัก
โดยทั่วไปแลวประเทศตางๆจะคุนเคยกับคําวา “การจัดการทรัพยากรวัฒนธรรม”กันอยางกวางขวาง
ยกเวนสหรัฐจะใชคําวา “การจัดการทรัพยากรวัฒนธรรม”กันเปนสวนใหญ(Pereson and Sullivan 1995 ;
Masintocsh 1999) ทั้งสองแนวคิดมีนัยภายในที่แตกตางกัน “ทรัพยากร”บงบอกถึงการพิจารณาทรัพยสิน ที่
มีคุณคาทางเศรษฐกิจและสามารถนําทรัพยสินนั้นไปใชประโยชนได แตคําวา “มรดก”ไมไดตระหนักถึงคุณคา
เชิงเศรษฐกิจของทรัพยสินอีกทั้งยังยอมรับความเปนมรดกตกทอดของทรัพยสินนั้นตอไปดวย การพิจารณา
เชนนี้มีนัยถึงขอผูกมัดพันธะบางประการและความรับผิดชอบ(ตอการจัดการทรัพยากรวัฒนธรรม) บรรดา
ผูจัดการมรดกวัฒนธรรมก็ยังคงเขาใจวาเวลาใชคําวาทรัพยากรวัฒนธรรมผูคนทั่วไปไมอาจเขาใจกระจางชัดใน
ทันทวงที อีกทั้งยังเปนแนวคิดที่ไมสมสมัยที่จะใหสาธารณะรับรูโดยทั่วถึงกันทั้งๆที่สาธารณะเปนผูรับผิดชอบ
ตอมรดกทางวัฒนธรรมอยางยิ่งยวด((Pereson and Sullivan 1995)
2
การสงวนรักษาตัวอยางที่เปนตัวแทนของมรดกวัฒนธรรม
เปาหมายหลักของการจัดการมรดกทางวัฒนธรรมคือสงวนรักษาตัวอยางที่เปนตัวแทนมรดก
วัฒนธรรมที่จับตองไดและมรดกภูมิปญญาทางวัฒนธรรมเพื่อผูคนในอนาคต เปนที่ตระหนักกันวาในศตวรรษที่
20 เรื่อยมากระทั่งปจจุบันโลกเกิดการเปลี่ยนแปลงอยางรวดเร็วทําใหมรดกวัฒนธรรมสวนใหญตกอยูใน
อันตราย มรดกวัฒนธรรมทางวัตถุถูกทําลายเสียหาย อีกทั้งความรูที่เกี่ยวของมรดกวัฒนธรรมโดยเฉพาะภูมิ
ปญญาทางวัฒนธรรมก็สูญหายไปดวยเชนกัน การจัดการทรัพยากรวัฒนธรรมพยายามที่จะสรางระบบที่เปน
ทางการเพื่อบงชี้ตัวอยางของมรดกและการสงวนรักษามรดกนั้นไวเพื่ออนาคต ฉะนั้นมรดกในที่นี้จึงไมรวมถึง
ทุกสิ่งทุกอยาง ตัวอยางมรดกที่ดีที่สุดจะไดรับการสงวนรักษาเชน ปรามิดในประเทศอียิปต นครวัดประเทศ
กัมพูชา หรือที่ฝงศพของยุคกอนประวัติศาสตรที่แหลงโบราณคดีโปงมะนาวอําเภอพัฒนานิคม จังหวัดลพบุรี
หลักฐานโบราณวัตถุและโบราณสถานเหลานั้นเปนสิ่งที่สรางขึ้นมาภายใตสภาพสังคม วัฒนธรรมและ
สิ่งแวดลอมพิเศษ(ที่แตกตางไปจากยุคสมัยอื่นๆ)ซึ่งเปนไปไมไดที่จะสรางขึ้นมาใหม เมื่อตระหนักถึง
ความสําคัญของ ทรัพยสินมรดกวัฒนธรรมการที่จะตองสงวนรักษาไวเพื่อคนรุนตอไปในอนาคตไดรูจักและ
เขาใจจึงเปนสิ่งที่หลีกเลี่ยงไมได
ทรัพยสินมรดกนั้นมีขอบเขตกวางใหญไพศาลที่ไมใชเฉพาะสิ่งดึงดูดใจประเภทสิ่งศักดิ์สิทธิ์ รูปเคารพ
หรือสถานที่มีผูมาเยือนมากๆ แตทรัพยสินมรดกวัฒนธรรมยังรวมถึงตัวอยางมรดกวัฒนธรรมธรรมดาสามัญที่
สะทอนถึงวิถีชีวิตปกติประจําวัน คุณคาและธรรมเนียมประเพณีที่ถือปฏิบัติกันอยูเปนปกติวิสัย อายุสมัยหรือ
ความเกาใหมของมรดกวัฒนธรรมก็ไมใชสิ่งสําคัญที่สุดที่จะอนุรักษปกปองมรดกเหลานั้นเชนกัน มรดก
วัฒนธรรมที่เกิดขึ้นในอดีตอันไกลโพนก็อนุรักษ สวนมรดกทรัพยสินรวมสมัยที่มีคุณคาแหงความทรงจําของ
ตอนตนหรือตอนปลายของคริสตวรรษที่ 20 บางอยางก็จําเปนจะตองสงวนรักษาไวเชนกันเพราะของเชนนี้จะ
กลายเปนมรดกวัฒนธรรมในอนาคต(ตัวอยางเชนเศษทรากปรักหักพังของกําแพงเบอรลินและคอมพิวเตอร
แมคคินทอสซรุนแรก)
การสงวนรักษาของคุณคาภายใน
ประเด็นสําคัญที่จะสงวนรักษาสิ่งใดก็ตามเพื่อใหเปนมรดกสําหรับคนรุนตอๆไปในอนาคตนั้นคือสิ่งนั้น
ตองมีคุณคาความดีทางสังคม เมื่อสาธารณะรับทราบทั่วกันถึงคุณคาทางสังคมของมรดกดังกลาวความรูสึกที่
จะปกปองยอมเกิดขึ้นไดไมยากนัก การมองเห็นแตเพียงคุณคาที่อยูภายในมรดกวัฒนธรรมเพื่อการคาพานิชย
เหมือนเชนที่อุตสาหกรรมการทองเที่ยวทั้งหลายปฏิบัติกันอยูจึงเปนสิ่งที่ยากอยางหนึ่งที่จะใหบังเกิดความปติ
ชื่นชมมรดกวัฒนธรรมวาแทจริงนั้นมีคุณคาทางสังคมมากกวา(คุณคาทางเศรษฐกิจ)คุณคาทางสังคมของมรดก
วัฒนธรรมมาจากการที่มรดกนั้นมีความหมายตอชุมชน(เจาของมรดก)หรือมาจากคุณคาที่มรดกนั้นมีอยู มิใช
คุณคาที่มาจากการนํามรดกนั้นไปทํามาคาขายมีรายไดอยางที่หลายคนเขาใจ
3
มรดกสวนใหญสมควรที่จะไดนําเสนอและแปลความหมายสูสาธารณะได
หากเปาหมายหลักของการจัดการทรัพยากรวัฒนธรรมคือสงวนรักษาตัวอยางที่เปนตัวแทนมรดกเพื่อ
ผูคนในอนาคต จึงเปนสิ่งสําคัญดวยเชนกันที่จะทําใหผูคนในปจจุบันไดเขาถึงแงมุมตางๆของทรัพยสินมรดก
ทางวัฒนธรรม การนําเสนอทรัพยสินมรดกที่จับตองไดเพื่อความเขาใจไดอยางดีจําเปนอยางยิ่งจะตองแปล
คุณคาทางวัฒนธรรมของมรดกเหลานั้นใหอยูในแนวทางที่นักทองเที่ยวผูมาเยือนทุกหมูเหลาเขาใจได สามารถ
นําเสนอขอมูลที่เกี่ยวกับมรดกภูมิปญญาทางวัฒนธรรมในฐานะที่เปนสวนของการตีความมรดกที่จับตองได
โดยเฉพาะอยางยิ่งเมื่อมีความสัมพันธใกลชิดปรากฏอยูระหวางมรดกวัฒนธรรมทั้ง 2 ประเภทนั้น(NTHP
1999)
ผูจัดการมรดกวัฒนธรรมตางถูกกระตุนเรงใหวางแผนเพื่อการนําเสนอตอผูมาเยือนทรัพยสินมรดก
วัฒนธรรมในฐานะที่เปนสวนสําคัญของการอนุรักษและการจัดการที่กําลังดําเนินอยู(Shacky 1998 ;
ICOMOS 1999) ตอนที่นําเสนอเรื่องราวที่เกี่ยวของกับมรดกวัฒนธรรมจําเปนตองใหอยูในรูปแบบของ
การศึกษาและความบันเทิงเริงรมยควบคูกันไป ปกติแลววัตถุประสงคหลักของการจัดการทรัพยากรวัฒนธรรม
คือเพื่อการศึกษาทั่วๆไปหรือเพื่อสรางความตระหนักในความสําคัญของมรดกวัฒนธรรม ดังกรณีตัวอยางของ
พิพิธภัณฑที่ทุกสิ่งทุกอยางที่จัดแสดงทั้งตําแหนงที่ตั้ง วัตถุที่จัดแสดงหรือวิถีปฏิบัติทางวัฒนธรรมที่นําเสนอ
ฯลฯ ลวนระบุชัดวาเปนไปเพื่อจุดประสงคของการศึกษาเรียนรูเปนสําคัญ (Ghose. 1992 ; Lord and Lord
1999) อยางไรก็ตามการนําเสนอที่มุงเนนความบันเทิงเริงรมยก็อาจจะชวยเพิ่มจํานวนผูมาเยือนไดมากขึ้น เปด
โอกาสใหแกผูจัดการมรดกวัฒนธรรมไดสงสารเกี่ยวกับคุณคาของมรดกสูผูคนไดมากชึ้น ดังนั้นทายที่สุดก็จะ
ไดรับการสนับสนุนในการอนุรักษปกปองมรดกนั้นตามมาดวย
ความสําคัญของมรดกที่จับตองไดและมรดกภูมิปญญาทางวัฒนธรรม
เปนที่ทราบกันดีวามรดกวัฒนธรรมนั้นมีทั้งประเภทที่จับตองไดและประเภทที่จับตองไมได ที่แลวมา
ผูเชี่ยวชาญการจัดการทรัพยากรวัฒนธรรมดูจะคุนเคยกับการจัดการทรัพยากรวัฒนธรรมดานสถานที่ เสนทาง
วัตถุโบราณ อาคารเกาแก แหลงสําคัญทางประวัติศาสตร แหลงโบราณคดีและซากปรักหักพังที่ยังเหลือเคา
โครงอยูบาง ฯลฯ อยางไรก็ตามยังคงมีมรดกวัฒนธรรมที่จับตองไมไดที่จะตองเขาไปจัดการดูแลเพื่อให
สาธารณะตระหนักถึงคุณคาทางสังคมที่จะตองอนุรักษปกปองเพื่อผูคนรุนตอๆไปในอนาคต มรดกวัฒนธรรม
เชนนี้อาจไดแก ภูมิทัศนทางวัฒนธรรม เชน สนามรบ อาทิบริเวณที่สมเด็จพระเนรศวรชนชางกับพระเจาบุเรง
นอง มรดกวัฒนธรรมที่จับตองไมไดยังรวมไปถึงวิถีประเพณีที่ปรากฏอยูในวิถีประชา การเลานิทานตํานาน วิถี
ประเพณีที่เกี่ยวกับความเชื่อ เทศกาล ฯลฯ เหลานี้ตางก็เปนมรดกวัฒนธรรมที่จะตองอนุรักษปกปองเชนกัน
ทั้งมรดกวัฒนธรรมที่จับตองไดและที่จับตองไมไดลวนเปนทรัพยากรที่สําคัญของการทองเที่ยววัฒนธรรมดวย
เชนกัน
มีความหวงใยเพิ่มขึ้นจากองคกรตางๆที่มีบทบาทดานการสงวนรักษามรดกวัฒนธรรมระหวางชาติวา
จะผนวกการจัดการทรัพยากรวัฒนธรรมทั้ง 2 ประเภทใหเขามาเกี่ยวของสัมพันธและรับรูซึ่งกันและกันใหมาก
4
ขึ้นไดอยางไร (ICOME 1999 ; UNESCO 2000) ผูจัดการมรดกวัฒนธรรมในพื้นที่ที่มีแบบแผนวัฒนธรรม
ทองถิ่นดั้งเดิมมากๆ ไดดําเนินการเชนนี้ไปชวงเวลาหนึ่ง ประเทศออสเตรีย นิวซีแลนดและหลายสวนของ
อเมริกาเหนือตระหนักวาเปนสิ่งสําคัญที่จะจัดการใหเรื่องราวที่เกี่ยวของกับมรดกวัฒนธรรมที่จับตองไดและที่
จับตองไมไดเดินเคียงคูกันไป ตัวอยางเชนการเขาใจความเกี่ยวพันธระหวางวิถีประชาและสถานที่มรดกที่มี
ความศักดิ์สิทธิ์นั้นสําคัญเพื่อการออกแบบสงวนรักษาอยางเหมาะสม
มรดกวัฒนธรรมแตกตางกันในขนาดตามความซับซอนและความทาทายการจัดการ
มรดกวัฒนธรรมแตกตางกันหลากหลายในขนาด และความซับซอน จากชิ้นสวนโบราณวัตถุเล็กๆไป
กระทั่งถึงเมืองประวัติศาสตร เชนเดียวกันกับมรดกภูมิปญญาทางวัฒนธรรมที่อาจมีขอบเขตที่ปรากฏในเรื่อง
เลาโดยแมคาในตลาดไปกระทั่งวิถีประชาของกลุมชนเผาชาวดอย ขนาดของมรดกที่แตกตางกันเหลานี้แสดงถึง
ความทาทายการจัดการและโอกาสที่แตกตางกัน หมายความวาจะตองจัดการมรดกวัฒนธรรมแตละอยาง
อยางมีเอกลักษณและจะตองมีแผนการจัดการหรือนโยบายการจัดการที่เปนเอกลักษณเฉพาะมรดกวัฒนธรรม
แตละประเภท
เปนสิ่งสําคัญที่ควรจดจําวามรดกวัฒนธรรมมีความแตกตางกันในเรื่องของขนาดความซับซอน
ระยะเวลาที่ปรากฏและการใชงาน วิธีการจัดการมรดกแตละอยางจึงซับซอนไมเหมือนกัน ตัวอยางเชนเสนทาง
สายไหมที่ผานทวีปเอเชีย ขณะนี้ปรากฏวามีความสําคัญในฐานะ “เสนทางการทองเที่ยวมรดกวัฒนธรรม”การ
ตระหนักถึงความสําคัญเชนนั้น เพราะเสนทางดังกลาวมีบทบาททางประวัติศาสตรในฐานที่เปนเสนทางการคา
การเดินทาง ทรัพยสินมรดกขามชาติเชนนี้จะไดรับการจัดการอยางไรขึ้นอยูกับกฎหมายคุมครองมรดกของแต
ละประเทศ(ที่เสนทางสายดังกลาวผาน)นอกจากนี้การจัดการยังขึ้นอยูกับความเขาใจความสําคัญของทรัพยสิน
ทางวัฒนธรรมดังกลาว(เสนทางสายไหม)ขณะเดียวกัน เจตนารมยทางการเมืองที่ดีก็มีสวนในการจัดการมรดก
เสนทางสายไหม อีกทั้งยังขึ้นอยูกับหนทางซึ่งจะจัดระเบียบทรัพยากรมนุษยที่จะดูแลการสนับสนุนนโยบาย
การรักษาใดๆก็ตามดวยเชนกัน สําหรับมรดกเล็กๆนอยๆอยางเชนลูกปดสมัยทวารวดีที่ผุดพนดินและที่จมอยู
ใตดินในทองที่อําเภออูทองและทองถิ่นอื่นๆก็อาจจะใชกฎหมายระดับทองถิ่นอนุรักษคุมครองแตกตางออกไป
(จากกรณีเสนทางสายไหม) ลําพังเพียงผูมีสวนไดสวนเสียระดับทองถิ่นไมกี่รายก็นาจะจัดการคุมครองมรดก
ลูกปดนั้นได นโยบายการสงวนรักษามรดกกรณีเชนนี้ก็จะแตกตางออกไปตามนั้น
สถานการณคลายๆกันนี้ก็ประยุกตใชกับทรัพยสินมรดกภูมิปญญาทางวัฒนธรรมไดเชนกัน แมวา
การศึกษาเพื่อเรียกรองใหมีการสงวนรักษามรดกภูมิปญญาทางวัฒนธรรมยังคงอยูในระดับเริ่มตนก็ตาม ในที่
สวนใหญชุมชนทองถิ่นผูอยูกับมรดกวัฒนธรรมมีบทบาทคอนขางมากในการปกปองดูแลและสืบสานมรดกภูมิ
ปญญาทั้งหลายโดยไดขอคําแนะนําชวยเหลือและความรูทางวิชาการจากผูเชี่ยวชาญจากภายนอกเชน นัก
จดหมายเหตุ นักวิชาการ ภัณฑารักษ และผูเชี่ยวชาญดานศิลปะการแสดงแขนงตางๆ ชุมชนในฐานะผูปกปอง
และสืบสานประเพณีวิถีดั้งเดิมยังพยายามหาวิธีควบคุมการจัดการสถานที่และวัตถุที่เปนมรดกวัฒนธรรมซึ่งมี
ความใกลชิดกับมรดกภูมิปญญาที่ผูคนในชุมชนถือปฏิบัติเปนวิถีชีวิตโดยการจัดตั้งศูนยดูแลมรดกในรูปของ
พิพิธภัณฑพื้นบานหรือศูนยวัฒนธรรม การจัดการมรดกในลักษณะนี้พบไดโดยทั่วไปในภูมิภาคตางๆของ
5
ประเทศ พิพิธภัณฑวัดมวง อําเภอบานโปง โรงละครแสดงหนังใหญและพิพิธภัณฑหนังไทย ที่วัดขนอน อําเภอ
โพธาราม จังหวัดราชบุรี และพิพิธภัณฑเปดที่แหลงโบราณคดีโปงมะนาว อําเภอพัฒนานิคม จังหวัดลพบุรี คือ
ตัวอยางบางสวนของการจัดการทรัพยากรวัฒนธรรมโดยชุมชน
กรอบการดําเนินการจัดการทรัพยากรวัฒนธรรม
ในบรรดาตัวแบบ(Model)เพื่อการจัดการดานตางๆแลวการจัดการทรัพยากรวัฒนธรรมเปนตัวแบบที่
ยังคงคอนขางใหมอยูมาก เปนตัวแบบที่ยังไมลงตัวแตจะปรับผันอยูเสมอเพื่อความเสถียรในอนาคต การพัฒนา
กรอบการทํางานจัดการมรดกวัฒนธรรมดําเนินไปตามขั้นตอนตางๆ 5 ระยะคือ 1.ระยะเริ่มแรกและเปนชวง
การคิดคนที่กําลังดําเนินการ 2.ชวงการออกกฎหมายปกปองคุมครองมรดก 3.ชวงแหงการเพิ่มความเปนมือ
อาชีพจัดการมรดกวัฒนธรรม 4.ชวงการมีสวนรวมการปรึกษาหารือผูมีสวนไดสวนเสีย และ 5.ชวงทบทวน
ความรับผิดชอบสภาวะของการเปนมืออาชีพการจัดการมรดก ดังเพิ่มเติมรายละเอียดของแตละชวงในตาราง
ขางลางนี้
ตารางที่ 1 กรอบการดําเนินงานการจัดการทรัพยากรวัฒนธรรม
ชวง ลักษณะเดนๆ
คิดคน
การออกกฎหมายระยะแรก
ความเปนมืออาชีพการ
จัดการเพิ่มขึ้น
ทบทวน
- ความสนใจชุมชนเพิ่มขึ้น
- การหาขอมูลที่เกี่ยวของ
- วิวัฒนาจากการทํางานแบบมือสมัครเลนไปเปนมืออาชีพ
- ออกกฎหมายรุนแรกๆเพื่อนําการบงชี้ขอบขายของมรดกและการปกปอง
ทรัพยสินมรดกวัฒนธรรม
- เนนการจัดการทรัพยากรวัฒนธรรมทางวัตถุเปนสําคัญ
- รัฐบาลตั้งหนวยงานดานวัฒนธรรมหรือเชื่อมโยงกับตัวแทนรัฐหนวยงานอื่นๆ
บางหรือดานกฎหมาย
- จัดตั้งองคกรของรัฐระหวางประเทศเพื่อทํางานดานการจัดการมรดก เชน
NGO
- รางประมวลกฎหมายของจริยธรรม หลักเกณฑการสงวนรักษาในกฎบัตร ฯลฯ
- พัฒนาการของมืออาชีพที่เกี่ยวกับมรดก(ทั้งสาธารณะและบุคคล)
- ผูมีสวนไดสวนเสียปรากฏมากมาย
-ระบุความขัดแยงดานตางๆในการจัดการทรัพยากรวัฒนธรรม
-ใหความใสใจมากขึ้นตอผลประโยชนของชุมชน
- ความเขาใจใหมๆเกี่ยวกับความรับผิดชอบ
- ทบทวนตัวบทกฎหมายอนุรักษปกปอง
- การวางแผนและการปฏิบัติที่รวมความชํานาญจากหลากหลายสาขาที่
เกี่ยวของ
- มีความตระหนักเพิ่มขึ้นในมรดกภูมิปญญาทางวัฒนธรรม
- ตระหนักถึงผูใชมรดกวัฒนธรรมคนอื่นๆ
-การเปลี่ยนแปลงในแนวคิดดานสถานที่
6
แนวทางการจัดการทรัพยากรวัฒนธรรมเติบโตเต็มที่
กรอบการทํางานการจัดการทรัพยากรวัฒนธรรมเริ่มตนจากนักวิชาการ ผูนําชุมชน และนักการเมืองที่
ตระหนักถึงคุณคาของมรดกวัฒนธรรมและความจําเปนที่จะตองสงวนรักษามรดกเหลานั้นไว ชวงแรกของการ
จัดการทรัพยากรวัฒนธรรมจึงเริ่มที่ความพยายามหาขอมูลเกี่ยวกับมรดกวัฒนธรรม งานที่ขับเคลื่อนโดยมือ
สมัครเลนหรือมืออาชีพกลุมเล็กๆที่มีความรูเกี่ยวกับมรดกวัฒนธรรม ครั้นพอทราบถึงขอบเขตของมรดก
วัฒนธรรมไดการจัดการมรดกระยะที่ 2 ก็รวมถึงการอางรูปแบบบางประการของกฎหมายที่จะใหตระหนักและ
สงวนรักษามรดกเหลานั้นไว ในชวงนี้มีหนวยงานรัฐบาลบางหนวยงานจัดตั้งกันขึ้นมาเพื่อทําหนาที่แยก
ประเภทงานในการสงวนรักษามรดกวัฒนธรรมตอไป มีปญหาความขัดแยงหลายประการที่จําเปนตองปรับปรุง
กระบวนการมรดกวัฒนธรรมดวยผูเชี่ยวชาญมืออาชีพและดําเนินการจัดการอยางเปนระบบระเบียบ ในชวงที่
3 สะทอนใหเห็นการจัดการที่ใชความชํานาญมืออาชีพเพิ่มขึ้นรวมดวยผูมีอํานาจทางการเมือง มีการรับแนว
ปฏิบัติและกฏบัตรเพื่อการสงวนรักษาดวยประเทศตางๆรวมลงนามตอกฏบัตรระหวางประเทศ การให
ความสําคัญตอรูปแบบทางการ กระบวนการจัดการมากกวามุงบังคับดวยตัวบทกฎหมายที่จะปกปองทรัพยสิน
มรดกวัฒนธรรมเชนนี้ไดนําไปสูความเปนมืออาชีพในการจัดการทรัพยากรวัฒนธรรมยิ่งขึ้น โดยเนนประเด็น
ตางๆเชน จะกําหนดอยางไรวาสิ่งใดถือวาเปนมรดกและจะจัดการมรดกในระยะยาวกันอยางไร ชวงนี้นี่เองที่
ปรากฎมืออาชีพผูชํานาญการจัดการทรัพยากรวัฒนธรรมขึ้นมาเปนทิวแถว เริ่มจากการที่สถาปนิก
ปรึกษาหารือนักโบราณคดีเพื่อจัดการมรดกวัฒนธรรมอยางมีความรูที่ถูกหลักวิชาการ มหาวิทยาลัยที่สนใจ
เรื่องราวมรดกวัฒนธรรมเริ่มใหมีการเรียนการสอนวิชาการดานมรดกถึงระดับปริญญาตามโครงการตางๆ เปน
ที่นาสังเกตวาผูชํานาญการจัดการทรัพยากรวัฒนธรรมสวนใหญอยูในประเทศตะวันตกที่พัฒนาแลว(Bysne
1991)
จากขอมูลในตารางขางตนเห็นไดชัดวาในชวงที่ 4 มีความพิถีพิถันในการจัดการทรัพยากรวัฒนธรรม
มากยิ่งขึ้น การมีผูมีสวนไดสวนเสียในการจัดการมรดกยอมเปนสิ่งแสดงชัดเจนถึงตัวบุคคลที่มีสวนเกี่ยวของกับ
การจัดการทรัพยากรวัฒนธรรมโดยตรงดวยเปนกลุมบุคคลที่มีความสนใจหวงใยอนุรักษปกปองมรดก ผูมีสวน
ไดสวนเสียยังทําหนาที่เปนผูจัดการมรดกวัฒนธรรมที่ถูกตองตามกฎหมาย และการเปนผูจัดการมรดกรวมกันก็
เริ่มปรากฏ ในการทําเชนนั้นจะใหความหวงใยชุมชนที่เกี่ยวของดวยเปาหมายของการไดรับแนวทางที่เปน
ประชามติตอการจัดการทรัพยากรวัฒนธรรม ความละเอียดออนนี้ปกติหมายความวาตัวกฎหมาย(มรดก
วัฒนธรรม)ที่มีอยูจะตองไดรับการเปลี่ยนแปลงและแนวทางการจัดการมรดกที่เปนองครวมจะตองเปนแนวทาง
ปฏิบัติโดยทั่วกัน
กระบวนวิวัฒนาการของการจัดการทรัพยากรวัฒนธรรมเริ่มตนดวยการตระหนักระยะแรกๆวาการ
สงวนรักษาคุณคาวัฒนธรรมจะชวยใหคุณธรรมความดีและผลประโยชนทางสังคมขยายกวางยิ่งขึ้น
7
ความกาวหนาไดเริ่มผานขั้นตอนจากการทดลองไปสูการสงวนรักษาดวยความชํานาญขั้นมืออาชีพที่เติบโตขึ้น
และความพิถีพิถัน ในขั้นตอนสุดทายของกรอบแนวทางการจัดการทรัพยากรวัฒนธรรมอยูที่ความจําเปนให
ตองยอมรับการจัดการมรดกอยางเปนเอกฉันทที่ผนวกความรอบรูที่จะจัดการมรดกไวดวยกัน ดังนั้น
วิวัฒนาการของการกระทําเพื่อการจัดการทรัพยากรวัฒนธรรมเฉพาะดานจึงพองตองกันกับวิวัฒนาการทาง
การเมืองและสังคมโดยทั่วไปที่เห็นคุณคาของวัฒนธรรมและหนทางที่จะจัดการคุณคาของวัฒนธรรมไว
พิพิธภัณฑ-กรณีพิเศษในการจัดการทรัพยากรวัฒนธรรม
สภาพิพิธภัณฑระหวางชาติ(ICOM)ไดใหนิยามพิพิธภัณฑวา “เปนสถาบันที่ไมคิดผลกําไรในการ
ใหบริการแกสังคมและการพัฒนาตนเอง อีกทั้งยังใหบริการแกสาธารณะนอกเหนือไปจากงานดานการสงวน
รักษา ทําการคนควาวิจัย ติดตอสื่อสารและจัดแสดงมรดกวัฒนธรรม เพื่อจุดประสงคทางการศึกษาพิพิธภัณฑ
มีบทบาทใหความรูความบันเทิงผานหลักฐานทางวัตถุที่มนุษยสรางและสิ่งแวดลอมของมนุษย(Ambrose and
Paine 1993 : 269)หนาที่สําคัญแรกๆสําหรับพิพิธภัณฑคือการจัดหมวดหมูวัตถุโบราณทั้งหลายและปรับการ
บันทึกขอมูลการคนพบใหมๆใหทันสมัยโดยวิธีที่อาศัยคอมพิวเตอร ขบวนการทํางานของพิพิธภัณฑเชนนี้ก็
ยังคงเดินหนาตอไปในหลายๆประเทศ ในศตวรรษที่ผานมาพิพิธภัณฑจํานวนมากมีผูเชี่ยวชาญมืออาชีพดาน
การพิพิธภัณฑ ใหชุมชนเขามามีสวนรวมในการจัดการทรัพยากรวัฒนธรรมบางประการและมีความรับผิดชอบ
ดานภัณฑารักษที่ทาทายโดยผูคนภายนอก ยิ่งกวานี้พิพิธภัณฑยังคงเผชิญกับความทาทายพิเศษอื่นๆอีกเชนกัน
พิพิธภัณฑสวนใหญตองดําเนินงานเกี่ยวของกับการสะสมของที่จัดแสดง มีตัวอยางอยูบอยๆที่ขาวของสะสมไว
นั้นมีความเปนมาที่แปลกนาสงสัยจึงไมใชเรื่องงายที่จะตัดสินใจวาควรจะสนใจซื้อขาวของจากนักสะสมของเกา
เพื่อมาใชจัดแสดงมากนอยเพียงใด ดังนั้นประเด็นเกี่ยวกับการอางสิทธิ์ความเปนเจาของในการถกเถียง
เกี่ยวกับมรดกวัฒนธรรมจึงไดแยกเปน 3 ประเด็น โดยนักจริยธรรม Kasen Warren ดังตอไปนี้
1.การอางสิทธิ์เกี่ยวกับคาชดเชยมรดกวัฒนธรรม เนื่องจากที่ผานมาโดยเฉพาะชวงอาณานิคมและชวง
สงครามประเทศผูมีชัยมักโยกยายมรดกทรัพยสินทางวัตถุจากดินแดนที่ตนมีชัยนําไปครอบครอง ในปจจุบัน
ประเทศเจาของมรดกวัฒนธรรมบางประเทศจึงเรียกรองขอมรดกวัฒนธรรมคืนหรือขอคาชดเชยมรดก
วัฒนธรรมที่ถูกโยกยายไปจากประเทศของตน
2.การโตแยงในขอจํากัดเกี่ยวกับการนําเขาและสงออกของโบราณวัตถุในประเด็นความเปนเจาของใน
อดีต
3.สิทธิในการเปนเจาของ การเขาถึงและการสืบทอดมรดกวัฒนธรรมที่มีกรณีตัวอยางการอางสิทธิ์โดย
ชนพื้นเมืองอเมริกันและชนพื้นเมืองออสเตรเลียตอหลักฐานเกี่ยวกับมนุษยและวัตถุทางวัฒนธรรมที่ปรากฏใน
พิพิธภัณฑ(Warren 1989)
8
การสงวนรักษาและจัดการมรดกวัฒนธรรมดําเนินอยูในกรอบ
การจัดการทรัพยากรวัฒนธรรมและการสงวนรักษาเปนการกระทําที่อยูในโครงสราง ที่เปนสวนหนึ่ง
ของกระบวนการจึงจําเปนตองมีขอมูลนําเขาเกี่ยวกับเงื่อนไขของทรัพยสินมรดกและการใชมรดกเหลานั้นอยูร่ํา
ไป เหตุผลเชนที่กระบวนการไดพัฒนาไปนั้นปรากฏอยูในทิศทางประมวลกฎหมายขอตกลงรวมกันระหวางชาติ
ไดพัฒนาไปใตปรัชญาของทิศทางดังกลาว ปจจุบันประเทศที่กําลังพัฒนาจํานวนมากอาศัยขอตกลงประมวล
กฎหมายเชนนั้นเปนพื้นฐานสําหรับการจัดการทรัพยากรวัฒนธรรมและกฎหมายหรือแปรญัติกฎหมายปกปอง
คุมครองมรดกวัฒนธรรม
การใชหรือการยึดอยูกับมาตรฐานและหลักการระหวางชาติไดเพิ่มยิ่งขึ้น กฎบัตรเชนนั้นและขอมูลที่
เกี่ยวของไดเนนความสําคัญการทําใหมั่นใจไดวาการอนุรักษทรัพยสินมรดกเปนกระบวนการที่ไมหยุดยั้ง
เพราะนั่นเปนการติดตามความยั่งยืน ตัวอยางหนึ่งของมาตรฐานดังกลาวก็คือกฎบัตรเวนิส สภาระหวางชาติที่
มีบทบาทคุมครองอนุสรณสถานและแหลงประวัติศาสตรทั้งหลาย(ICOMOS)องคกรเอกชน(NGO)ที่กอตั้งในป
1965 เพื่อมีหนาที่สงเสริมสนับสนุนบทบาทใหแกยูเนสโกในประเด็นตางๆที่เกี่ยวของกับการสงวนรักษามรดก
วัฒนธรรมตางใชกฎบัตรเวนิส(ICOMOS 1994)เปนชุดของหลักการแนวทางสําหรับการสงวนทรัพยสินมรดกที่
จับตองไดดวยการเนนอยางแข็งขันถึงมรดกที่มีอยู กฎบัตรเวนิสออกมาในป 1964 ราวปค.ศ.1994 ไดรับการ
แปลออกเปนภาษาอื่นๆถึง 42 ภาษาเพื่อเปนพื้นฐานสําหรับแนวทางการพัฒนาวางแผนสงวนรักษามรดก
วัฒนธรรม
ขอบเขตของงานชวยใหการสงวนรักษาทรัพยสินมรดกไดขยายออกไปเปนเวลาหลายปแตกฎบัตรเว
นิสยังคงมีทัศนะที่เครงครัดเกี่ยวกับการปรับเปลี่ยนหรือความเสียหายที่เกิดขึ้นแกมรดกที่ควรจะไดเขาไป
จัดการ(ICOMOS 1994) ลักษณะหลักๆของกฎบัตรเวนิสมีหลักการสําคัญ 5 ประการคือ
1.ระบุสิ่งกอสรางทางประวัติศาสตร(ปจจุบันรวมไปถึงอาคารสถานทั้งหลาย)
2.สงวนรักษาอยางเครงครัดโดยคงสภาพเดิมไว
3.บูรณะปฏิสังขรณดวยการคํานึงถึงความจริงแทอยูในใจ(หามสรางขึ้นมาใหม)
4.สํารวจทางโบราณคดีภายใตผูรูมืออาชีพ
5.ใหขอมูล(การกระทําใดๆก็ตามควรจะมีขอมูลอยางเปนระบบและเก็บบันทึกขอมูลไวใหเปนที่รับรู
ของคนทั่วไป)
มีองคกรระหวางชาติอีกจํานวนหนึ่งไดพัฒนากฎบัตรหรือโปรแกรมหลากหลายเพื่อตระหนักและ
จัดการมรดกวัฒนธรรมเชน
9
1.ยูเนสโก(UNESCO)ที่เริ่มใหความสําคัญระหวางชาติเกี่ยวกับมรดกดวยขอตกลงรวมกันที่จะปกปอง
คุมครองทรัพยสมบัติทางวัฒนธรรมใน the Event of the Armed Conflict ปค.ศ.1954
2.สหภาพระหวางชาติเพื่อการสงวนรักษาธรรมชาติ(IUCN)หรือบางทีที่รูจักกันในนามสหภาพสงวน
รักษาโลก
3.องคกร IATF ซึ่งมีฐาน UN เปนหลักในการปรับปรุงสถานที่มรดกโลกที่อยูในสภาวะอันตราย
4.ศูนยระหวางชาติเพื่อการศึกษาดานการสงวนรักษาและปฏิสังขรณทรัพยสมบัติทางวัฒนธรรม(ตั้งขึ้น
ในประเทศอิตาลีโดยยูเนสโก ในชวงตนๆค.ศ.1960)
5.สภาระหวางชาติดานการพิพิธภัณฑ(ICOM)
ในบรรดาองคกรเหลานั้นของยูเนสโกเกี่ยวกับแหลงมรดกโลกและทรัพยสินที่มีรายชื่ออยูภายใตความ
หวงใยอนุสัญญาเพื่อคุมครองมรดกโลกทางวัฒนธรรมและทางธรรมชาติเปนที่รูจักกันดีที่สุด ยูเนสโกมี
วัตถุประสงคเพื่อปกปองมรดกทางธรรมชาติและมรดกวัฒนธรรมที่รวบรวมอยูในอนุสัญญา ยูเนสโกพยายาม
กระตุนสงเสริมวาสงใดเขาขายมรดกวัฒนธรรม ปกปองและสงวนรักษามรดกธรรมชาติและมรดกวัฒนธรรมทั้ว
โลกที่พิจาณาแลววามีคุณคาโดดเดนตอมนุษยชาติ(UNESCO 1996)ความสําเร็จในการดําเนินของยูเนสโกมี
อิทธิพลกระจายไปกวา 150 ประเทศในฐานะผูลงนามรวมกันและแหลงมรดกโลกกวา 690 แหลงไดรับการขึ้น
บัญชีอยูภายใตความคุมครองปองกัน(Stovel 1998 ;UNESCO World Heritage Center 2001)
แหลงมรดกวัฒนธรรมบางอยางเชนภูมิทัศนทางวัฒนธรรมเปนเครื่องทดสอบประสิทธิผลของ
กระบวนการจัดการทรัพยากรวัฒนธรรมตามกระแสภูมิทัศนทางวัฒนธรรมเปนสภาพแวดลอมที่มีคุณคาทาง
วัฒนธรรมเชนเดียวกับคุณคาวัฒนธรรมชาติ ภูมิทัศนทางวัฒนธรรมแสดงใหเห็นถึงความทาทายการจัดการ
อยางเปนเอกลักษณก็เพราะลักษณะที่จับตองไมไดของภูมิทัศนนั้น ที่ทาทายมากไปกวานั้นก็เพราะภูมิทัศน
วัฒนธรรมมักอยูในสภาพที่เหลี่อมล้ําและอยูระหวาพรหมแดนระหวางประเทศ กระนั้นมีขอเสนอใหไดตอง
ถกเถียงกันเพื่อการจัดการทรัพยากรวัฒนธรรมประเภทนี้ กลยุทธหนึ่งที่เกี่ยวกับเครื่องมือของกฎบัตรระหวาง
ประเทศและอนุสัญญาโดยการใชเอกสารกฎหมายทางการเชนรายชื่อมรดกโลกที่ตกอยูในอันตรายเพื่อความให
แนใจวาเครื่องมือนั้นไดรับความเอาใจใสเพียงพอ (Rossler 1994, ;UNESCO World Heritage Center
2000) อีกกลยุทธหนึ่งคือรองขอใหรัฐบาลชวยกันในการสรางหุนสวนระหวางประเทศและองคกรตางๆที่จะ
ดําเนินการจัดการและสงวนรักษาตอไป(Dienne 1994) อยางไรก็ตามก็เปนที่นาสงสัยถึงประสิทธิผลของ
ขอเสนอเชนนั้นดวยตัวแทนระหวางประเทศมีอิทธิพลที่แทจริงเพียงเล็กนอยเมื่อเขาเจรจากับประเด็นทางการ
เมืองภายในประเทศ
ความยั่งยืน
เมื่อผูจัดการมรดกวัฒนธรรมพูดเกี่ยวกับการสงวนรักษาหรือการวางแผนอนุรักษระยะยาวนั้นหมายถึง
การเขาไปเกี่ยวของกับการธํารงคทรัพยากรนั้น ณ ที่ระดับยั่งยืนซึ่งตองเริ่มจากการระบุรูปพรรณมรดก
10
วัฒนธรรมและการประเมินคุณคาของมรดกอีกทั้งยังเกี่ยวการตกลงวาควรจะใชมรดกนั้นอยางไรจะไดกลาวถึง
ประเด็นนี้อยางละเอียดในอีก 2 บทถัดไปดวยอางอิงถึงมรดกที่จับตองไดและมรดกภูมิปญญาทางวัฒนธรรม
อยางไรก็ตามจําเปนจะตองตระหนักใหดีวาทรัพยากรมรดกวัฒนธรรมแตละอยางมีความหมายเฉพาะตน มี
ความสําคัญทางวัฒนธรรมและอยูในบริบททางสังคมหรือทางวัฒนธรรมที่แตกตางกัน เงื่อนไขเหลานี้
หมายความวาจะตองพิจาณามรดกแตละอยางเปนเอกเทศในความสัมพันธตอกายภาพและความแข็งแรง
ทนทานของมรดกนั้นๆตัวอยางเชน บางวัฒนธรรมแตกตางกันในทัศนะเกี่ยวกับวาจะเขาไปแทรกแทรงมาก
นอยเพียงใดหรือวาการเปลี่ยนแปลงอาจเกิดกอนที่มรดกจะหมดความเปนจริงแท ในบางกรณีเราอาจจะสราง
มรดกนั้นขึ้นมาใหมทั้งหมดโดยที่ยังคุณคาไวไดเชนในกรณีการสรางปอมทางประวัติศาสตรจํานวนมาก หรือ
กรณีการสรางศาลเจาของชาวญี่ปุน ในกรณีตัวอยางอื่นๆผูปกปองดูแลมรดกอาจลงความเห็นวาการ
เปลี่ยนแปลงใดๆที่จะเกิดขึ้นกับมรดกวัฒนธรรมเปนสิ่งที่ไมเหมาะสม โดยเฉพาะมรดกวัฒนธรรมที่เกี่ยวกับ
ตําแหนงที่มีความสําคัญทางจิตวิญญานหรือทางศาสนาความเชื่อ
การพิจารณาความยั่งยืนยังโยงใยไปถึงจํานวนและการใชมรดกวัฒนธรรมประเภทตางๆที่มีใหกอนที่
คุณคาภายในมรดกที่ไดรับการสงวนรักษาไวจะถูกคุกคาม(Cantacuqino 1995) การพิจารณาเชนนี้
ประยุกตใชไดทั้งมรดกวัฒนธรรมที่จับตองไดและที่จับตองไมได ฉะนั้นแหลงมรดกที่เปราะบางจะตองไดรับการ
ดูแลอยางระแวดระวัง ในบางกรณีการหามเขาทองเที่ยว(ในสถานการณใดสถานการณหนึ่ง) หรือการวาง
กฎเกณฑจํากัดจํานวนผูเขาเยี่ยมชมแหลงทองเที่ยว ก็จะเปนการจัดการที่สําคัญที่จะชวยสงวนรักษามรดก
วัฒนธรรมไวไดหนทางหนึ่ง
ผูมีสวนไดสวนเสีย
ประเด็นของผูมีสวนไดสวนเสียเปนเรื่องที่ปรากฏอยูตลอดงานเขียนเลมนี้ ผูจัดการมรดกวัฒนธรรม
ตางตระหนักวาผูมีสวนไดสวนเสียหลักรวมถึงชุมชนหรือกลุมวัฒนธรรมที่อยูใกลชิดกับมรดกวัฒนธรรมหรือมี
ความสัมพันธทางวัฒนธรรม ทั้งนี้อาจรวมไปถึงสถาบันการศึกษาระดับตางๆ เชน โรงเรียนและมหาวิทยาลัยที่
ใชมรดกวัฒนธรรมเปนทรัพยากร นอกจากนี้ผูมีสวนไดสวนเสียยังรวมถึงเจาหนาที่รัฐผูมีหนาที่เกี่ยวของกับ
มรดกวัฒนธรรมและตองรับผิดชอบตอมรดกเหลานั้น และผูใชมรดกวัฒนธรรมเพื่อการพาณิชยเชน
อุตสาหกรรมการทองเที่ยวก็ถือวาเปนผูมีสวนไดสวนเสียในมรดกวัฒนธรรมเชนกัน
ทรัพยสินมรดกวัฒนธรรมสวนใหญมีผูมีสวนไดสวนเสียหลากหลาย
ความทาทายยิ่งใหญประการหนึ่งในการจัดการทรัพยากรวัฒนธรรมหรือมรดกธรรมชาติใดๆก็ตามคือ
ความจําเปนที่จะปลอบใจผูมีสวนไดสวนเสีย โดยผิวเผินการปรึกษาหารือผูมีสวนไดสวนเสียดูราวคลายกับ
กระบวนการที่ตรงไปตรงมา มักมีสมมุติฐานวาผูมีสวนไดสวนเสียจํานวนมากจํากัดอยูแตเฉพาะผูที่เปนเจาของ
ธรรมเนียมประเพณี(ชาวบานในชุมชน)และกลุมผูใชมรดกสวนหนึ่งและอุตสาหกรรมการทองเที่ยวเปนผูมีสวน
ไดสวนเสียอีกสวนหนึ่ง ในความเปนจริงแลวมรดกวัฒนธรรมสวนมากมีผูมีสวนไดสวนเสียเขามาเกี่ยวของอยู
หลายฝายแตละฝายก็เกี่ยวของกับมรดกวัฒนธรรมกันมากนอยแตกตางกันออกไป นอกจากนี้ยังแตกตางกันที่
11
ระดับความถูกตอง(ตามกฎหมาย)ในการจะไดรับการพิจารณาวาเปนผูมีสวนไดสวนเสีย และยังแตกตางกัน
อยางมากในทรรศนความเห็นเกี่ยวกับวาควรจะจัดการมรดกวัฒนธรรมอยางไร
การหารือในหมูผูมีสวนไดสวนเสียมักมีบทบาทบงบอกในการพัฒนากลยุทธการจัดการที่ประสบ
ความสําเร็จ เพราะการปรึกษาหารือที่แทจริงเปนหัวใจสําคัญของการวางแผนการจัดการที่แทรก อยูตลอด
กระบวนการทั้งหมดตั้งแตการถกประเด็นในขั้นตนไปถึงการจัดการมรดกที่กําลังดําเนินอยู โดยเฉพาะที่
เกี่ยวกับการทองเที่ยวนั้นปรากฏวาผูมีสวนไดสวนเสียจากขางนอกอาจมีอํานาจเหนือการจัดการและนําเสนอ
เรื่องราวที่เกี่ยวกับมรดกมากกวาเจาของมรดกวัฒนธรรมตัวจริง(ผูคนในชุมชนแหลงมรดก)ใครก็ตามที่ควบคุม
สารสื่อที่แพรหลายเกี่ยวกับมรดกวัฒนธรรมใหผูดูผูรับชมเขาใจไดมากก็ยอมมีอิทธิพลที่สะทอนกลับมาวา
สามารถใชมรดกวัฒนธรรมนั้นอยางมีความชัดเจนเชื่อมโยง หนาที่เชนนี้ผูที่เกี่ยวกับการทองเที่ยว(ผูมีสวนได
สวนเสียจากภายนอก)มักทําไดกวาผูคนในชุมชน
การจัดการทรัพยากรวัฒนธรรมกับการทองเที่ยว
ในประเด็นที่การทองเที่ยววัฒนธรรมมีอิทธิพลคอนขางมากการนําเสนอมรดกวัฒนธรรมจะวางแผน
อยางไร ในโลกที่พัฒนาแลวจะเห็นอิทธิพลดังกลาวอยางเดนชัดเพราะการจัดการทรัพยากรวัฒนธรรมมี
พัฒนาการเต็มที่แลว อีกทั้งยังตระหนักอยางแจมชัดถึงการใชและผูใชมรดกวัฒนธรรม อยางไรก็ตามการ
ตระหนักในเรื่องดังกลาวก็อาจไมนําไปสูเรื่องความสัมพันธที่งายดายเสมอไปเพราะความตึงเครียดอาจเกิดขึ้น
ไดดวยเปนผลมาจากความตองการที่แตกตางของการทองเที่ยวและการอนุรักษ สถานการณนี้วิกฤติอยางยิ่งใน
ประเทศที่กําลังพัฒนา ในประเทศเหลานี้การทองเที่ยวขนาดมหึมา(mass tourism)ไดปรากฏขึ้นมากอนที่การ
ออกกฎหมายจัดการมรดกวัฒนธรรมที่เหมาะสมจะบังคับใช ในกรณีนี้หากควบคุมการทองเที่ยวไดวิกฤติก็
พอจะลดลงบาง กระนั้นความเสียหายเดนๆก็อาจจะปรากฏอยูบางจากการใชวัฒนธรรมมากเกินไป ใช
ทรัพยสินทางวัฒนธรรมอยางไมเหมาะสม มีการจําลองรูปลักษณมรดกดกวัฒนธรรมออกจําหนายเปนของที่
ระลึกและการคาวัตถุโบราณอยางผิดกฎหมาย
การขาดอํานาจวิถีทองถิ่นของฝายการจัดการทรัพยากรวัฒนธรรม(ชุมชน)มักทําใหเปนสิ่งไมมั่นคงตอ
การทองเที่ยว โดยเฉพาะอยางยิ่งเมื่อรัฐบาลถือวามรดกเหลานั้นเปนดั่งทรัพยากรที่กอใหเกิดรายไดอยางมี
ศักยภาพ ความจริงแลวมรดกวัฒนธรรมแทบไมคอยไดรับรายไดที่เกิดจากการทองเทียวมากมายนักหรืออาจไม
เคยไดรับผลประโยชนจากรายไดนั้นเลยแมวามรดกเหลานี้อาจเปนสิ่งดึงดูดนักทองเที่ยวมากอยูก็ตาม นั้นจึง
เปนเรื่องสําคัญที่วาจะตองมีความสมดุลระหวางการใชมรดกวัฒนธรรมเพื่อการทองเที่ยวกับจุดประสงคของ
การสงวนรักษาตามแนวทางของการจัดการทรัพยากรวัฒนธรรม ผูตัดสินใจในเรื่องนี้จําเปนตองมีความ
คาดหวังอยางสมเหตุสมผลเกี่ยวกับจํานวนศักยภาพการทองเที่ยวที่มรดกวัฒนธรรมมีอยูและผูตัดสินใจจะตอง
ทราบวาจะใหบรรลุศักยภาพนั้นในวิถีที่รับผิดทางสังคมและวัฒนธรรมอยางไร
12
ความตองการการทองเที่ยวมิใชสิ่งเดียวในการพิจารณาการจัดการทรัพยากรวัฒนธรรม
นักทองเที่ยวเปนเพียงคนสวนเดียวในหมูผูที่อาจใชมรดกวัฒนธรรม ดังนั้นความตองการเขาไป
ทองเที่ยวชมมรดกวัฒนธรรมของนักทองเที่ยวจึงเปนเพียงหนึ่งเดียวของคิดพิจารณาทั้งหลายวาจะตอง
ตัดสินใจอยางไรที่จะจัดการมรดกวัฒนธรรมและนําเสนอมรดกวัฒนธรรมในบางกรณีดังเชนที่เกี่ยวกับ
พิพิธภัณฑสถานและสถานที่แสดงศิลปะความตองการชื่นชมศิลปะโบราณวัตถุของนักทองเที่ยวก็จะคลายๆกับ
ความตองการการใชมรดกวัฒนธรรมของกลุมผูใชกลุมอื่นๆ อยางไรก็ตามในตัวอยางอื่นๆอีกหลายตัวอยาง
ความตองการของนักทองเที่ยวจะแตกตางอยางยั่งยืนกวาความตองการของผูใช(มรดก)กลุมอื่นๆ ระดับความ
แตกตางของความรูเกี่ยวกับมรดก ความสนใจที่แตกตางในมรดก ภูมิหลังทางวัฒนธรรมที่แตกตางและความ
คาดหวังที่แตกตางทั้งหลายเหลานี้อาจหมายความวาการนําเสนอเรื่องราวของมรดกเพื่อผูใชมรดกทองถิ่น
(ชาวบานรานตลาด)อาจจะไมเหมาะสมสําหรับนักทองเที่ยว และในทางกลับกันการนําเสนอเรื่องราวของมรดก
เพื่อนักทองเที่ยวก็อาจดูไมเหมาะสมสําหรับชาวบานในทองถิ่น ดังนั้นผลที่ตามมาของการทองเที่ยวจึงตองการ
การตัดสินใจอยางมีสํานึกและเปนความตองการที่ทําใหการนําเสนอ(เรื่องราวเกี่ยวกับมรดก)แตกตางออกไป
หรือนําเสนอเพียงเพื่อนักทองเที่ยวผูมีความตองการที่เขากันไดกับผูใช(มรดก)ในทองถิ่น การทองเที่ยวอาจเปน
ผูใชมรดกที่สําคัญแตการทองเที่ยวก็ไมใชผูใชมรดกวัฒนธรรมเพียงคนเดียว การตัดสินใจใดๆเกี่ยวกับการ
จัดการทรัพยากรวัฒนธรรมจึงตองพิจารณารอบดานถึงผูใชมรดกวัฒนธรรมกลุมอื่นๆดวยวาจะนําเสนอ
เรื่องราวเกี่ยวกับมรดกวัฒนธรรมนั้นอยางไรใหตอบสนองความตองการของทุกๆฝายไดโดยไมสรางความ
เสียหายใหกับมรดกวัฒนธรรม
ผลกระทบลบและบวกของการทองเที่ยว
การทองเที่ยวนั้นอาจมีผลกระทบแผไปไกลตอการอนุรักษและการจัดการมรดกทรัพยสินทาง
วัฒนธรรมระยะยาวคือสิ่งที่เห็นไดงายสําหรับคนสวนใหญจากโลกที่พัฒนาแลว(Mercer 1966 ;
Hollingshead 1999)โดยแทจริงแลวตําราการทองเที่ยวเบื้องตนทุกๆตําราจะบรรจุสาระอยางนอยก็ 1 บทที่
อภิปรายผลกระทบของการทองเที่ยวที่มีตอสังคม วัฒนธรรม และสภาพแวดลอม ประเด็นขอนี้เปนวิชา
คนควาวิจัยอยางกวางขวางในงานวิชาการ อยางไรก็ตามในเขตที่กําลังเผชิญกับการพัฒนาอยางฉับไวและยังไม
มีแบบแผนธรรมเนียมของการสงวนรักษาผลกระทบดานลบจากการทองเที่ยวจึงปรากฏอยูดาดดื่น ทัศนะใน
เรื่องนี้ดูเหมือนจะอยูที่วาผลประโยชนของการพัฒนาทางเศรษฐกิจไดครอบงํากระทั่งอาจมองไมเห็นผลกระทบ
จากการพัฒนาเลย ทัศนะคติเชนนี้ก็เคยเปนเรื่องธรรมดาที่เกิดขึ้นในประเทศที่พัฒนาแลวเมื่อสี่สิบกวาปกอน
การมีทัศนะคติเชนนั้นเปนเพียงการมองผลประโยชนระยะใกล เพื่อการจัดการที่จะใหผลประโยชนระยะยาวจึง
มีการสงเสริมสนับสนุนใหการทองเที่ยวไดใชแนวการสรางสมดุลโดยการบอกเลาใหเห็นถึงผลดีและผลเสียที่จะ
เกิดจากการทองเที่ยวตอชุมชนแหลงทองเที่ยวและวัฒนธรรมของชุมชนแหงนั้น
การวางแผนระยะยาวดวยทัศนะที่ชัดเจนและการจัดการจะคาดลวงหนาถึงผลกระทบที่จะมีมาอยาง
ทวมทนและพัฒนาโปรแกรมตางๆที่ชวยลดหรือบรรเทาผลกระทบนั้น ตอไปนี้คือผลกระทบบางประการที่การ
ทองเที่ยวอาจมีตอทรัพยมรดกวัฒนธรรมที่จับตองไดและมรดกภูมิปญญาทางวัฒนธรรม ขอมูลในรายการ
13
เหลานี้พัฒนามาจากการสังเกตการณของการพัฒนาการทองเที่ยววัฒนธรรมในหลายๆสวนของเอเชียใน
ระยะแรกๆ
ผลกระทบลบ
1.นักทองเที่ยวใชมรดกวัฒนธรรมมากเกินไปในแหลงทองเที่ยวอันเปนที่นิยมเขาไปเยี่ยมเยือนมากๆ
อยางเชนที่อําเภอปาย จังหวัดแมฮองสอน พบวากิจกรรมตางๆที่เกี่ยวของกับการทองเที่ยวและจํานวน
นักทองเที่ยวที่มาเยือนในฤดูกาลที่มีอากาศหนาวเย็นในชวงเดือนพฤศจิกายน-เดือนกุมภาพันธนั้นชาวบานใน
ทองถิ่นถูกแยงพื้นที่เกือบทุกอยางโดยเฉพาะในตลาดปายจะไมคอยพบเห็นชาวบานเดินจับจายใชสอยเหมือน
แตกอนเพราะบัดนี้นักทองเที่ยวและผูประกอบการธุรกิจทองเที่ยวไดเขาไปแยงพื้นที่ใชสอยเพื่อกิจกรรมตางๆ
ของชุมชนทองถิ่นไปเสียสิ้น ปรากฎการณอื่นๆที่เปนผลกระทบลบที่เห็นกันชัดๆไดแกความแออัดเนื่องจาก
ผูคนมีจํานวนมากเกินพื้นที่ที่มีอยู การจอดรถเนืองแนนไปทั่วทุกแหงหน ใครๆก็อยากสะดวกสบาย การแยงหา
ที่จอดรถใกลๆแหลงทองเที่ยวเกิดอยูเปนประจํา ฤดูทองเที่ยวทุงบัวตองอาจตองจอดรถไวไกลเกินจุดชมวิวทุง
ดอกบัวตองยาวไกลนับกิโลเมตร ปญหาการทิ้งขยะไมเลือกที่และปญหามลพิษทางเสียงเปนสิ่งที่หลีกเลี่ยงไมได
ในแหลงที่มีผูคนแออัด ในแหลงทองเที่ยวที่มีทรัพยากรจํากัดเชนน้ําจืดหรือกระแสไฟฟาจึงเปนธรรมดาที่จะมี
การบนกลาวอยางไมพอใจที่แหลงทองเที่ยวขาดน้ําอุปโภคบริโภคและมีกระแสไฟฟาใหใชไดในเวลาที่กําหนด
เชนเมื่อถึงเวลา 4 ทุมอุทยานแหงชาติมีระเบียบปดการใหบริการกระแสไฟฟาแกนักทองเที่ยว
2.การพึ่งพาการทองเที่ยว กอนที่การทองเที่ยวจะพัฒนาเขาไปสูแหลงทองเที่ยว นั้นในอดีตชุมชน
แหลงทองเที่ยวเคยพึ่งพาการผลิตของทองถิ่นตนเองไดดีตลอดมา ภายหลังอุตสาหกรรมการทองเที่ยวรุงเรือง
หลายสวนของชุมชนกลายเปนผูพึ่งพา(ทางเศรษฐกิจ)การทองเที่ยวเต็มที่ สินคาและบริการที่มากับการ
ทองเที่ยวเปนสิ่งสําเร็จรูปที่มาในรูปของอุตสาหกรรม เพียงแคมีกําลังทรัพยก็ซื้อหาสินคาและบริการเหลานั้น
ได ยิ่งการทองเที่ยวกาวตอไปคนในทองถิ่นในแหลงทองเที่ยวก็ยิ่งลดลง และเลิกการพึ่งตนเองตามแบบแผนวิถี
ดั้งเดิมดวยภูมิปญญาทองถิ่นที่บรรพบุรุษไดสรางและสืบสานกันมานานหลายชั่วอายุ จะเกิดอะไรขึ้นกับคนใน
ทองถิ่นผูอยูกับมรดกวัฒนธรรมทั้งหลายเมื่อวันหนึ่งการทองเที่ยวตองมีอันเปนไปเพราะปจจัยตางๆ จะหัน
กลับไปอาศัยแบบแผนชีวิตเดิมๆเพื่อแกปญหาชีวิตอีกครั้งก็คงยากเพราะไมมีหลักฐานอันใดเหลือพอเปน
แนวทางฟนสภาพชีวิตสังคมพื่อตอบสนองความตองการเฉพาะหนาได โดยเฉพาะมรดกวัฒนธรรมที่เกี่ยวกับภูมิ
ปญญาคงจะลมสลายหมดไปสิ้น ถึงเวลานั้นทองถิ่นลานนาซึ่งเปนแหลงที่เที่ยวยอดนิยมคงจะไดแตเฝาฝนถึง
แกงโฮะแกงกระดางที่ไมมีใครทําไดรสเด็ดเหมือนสมัยที่ยังไมตกอยูภายใตอิทธิพลการทองเที่ยวทั้งหมด
3.พฤติกรรมนักทองเที่ยว
ตัวนักทองเที่ยวก็อาจกอใหเกิดผลกระทบตอมรดกวัฒนธรรมไดเชนกันโดยไมตระหนัก(หรือเลือกที่จะ
เพิกเฉย)ถึงมารยาทของนักทองเที่ยว ณ แหลงทองเที่ยวที่ดึงดูดความสนใจ นักทองเที่ยวขาดมรรยาทไมสนใจ
ธรรมเนียมทองถิ่นหรือไมรูสึกออนไหวตอแบบแผนประเพณีทองถิ่น เชนแตงกายไมเคารพสถานที่ๆไปเที่ยวชม
14
มีพฤติกรรมเชิงลบหลูสถานที่ศักดิ์สิทธิ์เชนสวมรองเทาใน ศาสนสถานประเภทโบสถและวิหาร ดื่มเครื่องดื่ม
แอลกอฮอลในที่สาธารณะและเสพยาอยางเปดเผย
4.การพัฒนาโครงสรางเศรษฐกิจที่ไมไดวางแผน
กอนหนาที่การทองเที่ยวจะรุงเรืองแหลงทองเที่ยวสวนใหญจะมีรูปลักษณที่เปนเอกลักษณเปนที่ดึงดูด
ความสนใจผูมาเยือนเชน แหลงทองเที่ยวที่อําเภอปาย สมัยเมื่อ 20 ปกอนมีความสงบและมีเสนหที่บานเรือน
ไมริมสองขางทางในยานตลาดและชุมชนที่อาศัยอยูทามกลางหุบเขาและทุงที่ราบริมแมน้ําปาย มาบัดนี้มีสิ่ง
ปลูกสรางใหมๆรูปรางแปลกแตกตางโดเดนเต็มทุงราบและหุบเขา รวมทั้งผับบารและรานคาสมัยใหมๆ ทั้ง
กายภาพของแหลงทองเที่ยวและบรรยากาศรมรื่นอบอุนใสซื่อแบบชาวบานจึงถูกลบออกไป
5.ผูไดรับผลประโยชนจํากัด
ตามความคาดหวังเชิงนโยบายแลวเปนที่ทราบทั่วกันประการหนึ่งวาการทองเที่ยวจะกระตุนใหเกิด
การเคลื่อนไหวทางเศรษฐกิจ เชนกอใหเกิดการจางงาน ผูคนในฝายบริการจะมีรายไดเพิ่มขึ้น แตในความเปน
จริงมักไมเปนเชนที่หวัง ผูคนในทองถิ่นมักไมคอยไดรับโอกาสทางเศรษฐกิจดังกลาวขางตนนัก เพราะชาวบาน
ทั่วไปไมมีความรูความสามารถที่จะเขาไปทํางานดานบริหาร ผูมีโอกาสไดรับการจางงานมักเปนผูคนนอกชุมชน
ที่มีคุณสมบัติตามที่ฝายบริการการทองเที่ยวตั้งกฎเกณฑไว รายไดจากการทองเที่ยวมักอยูในแวดวง
ผูประกอบการซึ่งมีทั้งผูประกอบการจากภายในและภายนอกชุมชนแหลงทองเที่ยว นอกจากรายไดจะรั่วไหล
ออกไปนอกแหลงทองเที่ยวแลวยังกอใหเกิดการแบงหารรายไดระหวางคนในและคนนอก อีกทั้งยังสรางความ
ไมพอใจใหแกผูที่ไมไดมีสวนเกี่ยวของกับการทองเที่ยวที่อาจรูสึกวาการทองเที่ยวนําความยุงยากสับสนมาสูชม
ชนของตน
6.การเสียการควบคุมทรัพยสมบัติวัฒนธรรม
ผูประกอบการบางสวนเห็นวาการทําของที่ระลึกจากการทองเที่ยวออกจําหนายเปนอีกหนทางหนึ่งที่
จะนํากําไรมาสูธุรกิจของตน จึงพบวามีการดัดแปลงลักษณะเอกลักษณมรดกวัฒนธรรมที่นั่นเพื่อเปนสวนหนึ่ง
หรือเปนสวนประกอบบนของที่ระลึกที่ผลิตออกจําหนาย เชนการเลียนแบบลวดลายผาขิดและผาจกที่ชาวบาน
เคยสรางเปนงานเปนงานฝมือดวยการพิมพลายบนผืนผาที่ผลิตจากโรงงานหรือการนําลายจักสานจากภาชนะ
ประเภทเครื่องจักสานไมไผและหวายไปประยุกตเปนลายเครื่องใชที่ทําจากวัสดุพลาสติกที่โรงงานผลิตออกมา
จําหนายไดคราวละมากๆแทนฝมือแบบดั้งเดิมของทองถิ่น นอกจากนี้ยังพบอยูมากมายในเรื่องของ
เครื่องประดับตกแตงรางกาย เชนเครื่องเงินซึ่งเปนเอกลักษณของผูคนบนดอย หรือเครื่องทอง เครื่องทองเหลือ
ฯลฯ ของหลายทองถิ่นในพื้นที่ราบถูกลอกเลียนแบบและทําออกมาจําหนายในลักษณะของการปมดวย
เครื่องจักรกลแทนการแกะสลักประดิษฐดวยฝมืออยางแตกอน ปญหานี้อาจพอแกไขไดบางหากมีการออก
สิทธิบัตรหรือออกกฎหมายปกปองคุมครองมรดกวัฒนธรรมพื้นบานเฉพาะกรณี
การจัดการมรดกวัฒนธรรม
การจัดการมรดกวัฒนธรรม
การจัดการมรดกวัฒนธรรม
การจัดการมรดกวัฒนธรรม
การจัดการมรดกวัฒนธรรม
การจัดการมรดกวัฒนธรรม
การจัดการมรดกวัฒนธรรม
การจัดการมรดกวัฒนธรรม
การจัดการมรดกวัฒนธรรม
การจัดการมรดกวัฒนธรรม
การจัดการมรดกวัฒนธรรม
การจัดการมรดกวัฒนธรรม
การจัดการมรดกวัฒนธรรม
การจัดการมรดกวัฒนธรรม
การจัดการมรดกวัฒนธรรม
การจัดการมรดกวัฒนธรรม
การจัดการมรดกวัฒนธรรม
การจัดการมรดกวัฒนธรรม
การจัดการมรดกวัฒนธรรม
การจัดการมรดกวัฒนธรรม
การจัดการมรดกวัฒนธรรม
การจัดการมรดกวัฒนธรรม
การจัดการมรดกวัฒนธรรม
การจัดการมรดกวัฒนธรรม
การจัดการมรดกวัฒนธรรม

More Related Content

What's hot

คู่มือการเสนอขอขึ้นทะเบียนมรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของชาติ
คู่มือการเสนอขอขึ้นทะเบียนมรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของชาติคู่มือการเสนอขอขึ้นทะเบียนมรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของชาติ
คู่มือการเสนอขอขึ้นทะเบียนมรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของชาติBoonlert Aroonpiboon
 
ภาคีคนรักเมืองสงขลา ขับเคลื่อนสู่เมืองมรดกโลก
ภาคีคนรักเมืองสงขลา ขับเคลื่อนสู่เมืองมรดกโลกภาคีคนรักเมืองสงขลา ขับเคลื่อนสู่เมืองมรดกโลก
ภาคีคนรักเมืองสงขลา ขับเคลื่อนสู่เมืองมรดกโลกFURD_RSU
 
Chapter 6 language and cross cultural communication
Chapter 6 language and cross cultural communicationChapter 6 language and cross cultural communication
Chapter 6 language and cross cultural communicationTeetut Tresirichod
 
เฉลย แบบทดสอบหลังเรียน
เฉลย แบบทดสอบหลังเรียนเฉลย แบบทดสอบหลังเรียน
เฉลย แบบทดสอบหลังเรียนTong Thitiphong
 
Unit4 ความขัดแย้งและความร่วมมือในคริสต์ศตวรรษที่ 20
Unit4 ความขัดแย้งและความร่วมมือในคริสต์ศตวรรษที่ 20Unit4 ความขัดแย้งและความร่วมมือในคริสต์ศตวรรษที่ 20
Unit4 ความขัดแย้งและความร่วมมือในคริสต์ศตวรรษที่ 20Princess Chulabhorn's College, Chiang Rai Thailand
 
บทที่ 9 รายได้ประชาชาติ การบริโภค การออม และการลงทุน
บทที่ 9 รายได้ประชาชาติ การบริโภค การออม และการลงทุนบทที่ 9 รายได้ประชาชาติ การบริโภค การออม และการลงทุน
บทที่ 9 รายได้ประชาชาติ การบริโภค การออม และการลงทุนOrnkapat Bualom
 
โครงงานภาษาไทยเรื่องนิทาน
โครงงานภาษาไทยเรื่องนิทานโครงงานภาษาไทยเรื่องนิทาน
โครงงานภาษาไทยเรื่องนิทานRawinnipha Joy
 
7 2 การท่องเที่ยวโดยชุมชน
7 2 การท่องเที่ยวโดยชุมชน7 2 การท่องเที่ยวโดยชุมชน
7 2 การท่องเที่ยวโดยชุมชนMint NutniCha
 
Macro Economics c7 การค้าและการเงินระหว่างประเทศ
Macro Economics c7 การค้าและการเงินระหว่างประเทศMacro Economics c7 การค้าและการเงินระหว่างประเทศ
Macro Economics c7 การค้าและการเงินระหว่างประเทศOrnkapat Bualom
 
อ.วนิดา บทที่ 4 (ตำราสารสนเทศท้องถิ่น) 10 july 57
อ.วนิดา  บทที่ 4 (ตำราสารสนเทศท้องถิ่น) 10 july 57อ.วนิดา  บทที่ 4 (ตำราสารสนเทศท้องถิ่น) 10 july 57
อ.วนิดา บทที่ 4 (ตำราสารสนเทศท้องถิ่น) 10 july 57นางสาวอัมพร แสงมณี
 
1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับธุรกิจท่องเที่ยว
1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับธุรกิจท่องเที่ยว1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับธุรกิจท่องเที่ยว
1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับธุรกิจท่องเที่ยวMint NutniCha
 
เรียงความ Is1
เรียงความ Is1เรียงความ Is1
เรียงความ Is1panisra
 
วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรม เพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน
วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรม เพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืนวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรม เพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน
วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรม เพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืนSatapon Yosakonkun
 
การท่องเที่ยวยั่งยืน
การท่องเที่ยวยั่งยืนการท่องเที่ยวยั่งยืน
การท่องเที่ยวยั่งยืนDr.Pirun Chinachot
 
บทที่ 5 ทฤษฎีว่าด้วยพฤติกรรมผู้บริโภค
บทที่ 5 ทฤษฎีว่าด้วยพฤติกรรมผู้บริโภคบทที่ 5 ทฤษฎีว่าด้วยพฤติกรรมผู้บริโภค
บทที่ 5 ทฤษฎีว่าด้วยพฤติกรรมผู้บริโภคOrnkapat Bualom
 
การอนุรักษ์ทรัพยากรการท่องเที่ยว
การอนุรักษ์ทรัพยากรการท่องเที่ยวการอนุรักษ์ทรัพยากรการท่องเที่ยว
การอนุรักษ์ทรัพยากรการท่องเที่ยวSomyot Ongkhluap
 
7 1 แนวคิดการพัฒนาแหล่งท่องเที่ยว
7 1  แนวคิดการพัฒนาแหล่งท่องเที่ยว7 1  แนวคิดการพัฒนาแหล่งท่องเที่ยว
7 1 แนวคิดการพัฒนาแหล่งท่องเที่ยวMint NutniCha
 
Chapter3 ความยืดหยุ่น
Chapter3 ความยืดหยุ่นChapter3 ความยืดหยุ่น
Chapter3 ความยืดหยุ่นPattapong Promchai
 
ปัญหาสิ่งแวดล้อม
ปัญหาสิ่งแวดล้อมปัญหาสิ่งแวดล้อม
ปัญหาสิ่งแวดล้อมTangkwa Pawarisa
 

What's hot (20)

คู่มือการเสนอขอขึ้นทะเบียนมรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของชาติ
คู่มือการเสนอขอขึ้นทะเบียนมรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของชาติคู่มือการเสนอขอขึ้นทะเบียนมรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของชาติ
คู่มือการเสนอขอขึ้นทะเบียนมรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของชาติ
 
ภาคีคนรักเมืองสงขลา ขับเคลื่อนสู่เมืองมรดกโลก
ภาคีคนรักเมืองสงขลา ขับเคลื่อนสู่เมืองมรดกโลกภาคีคนรักเมืองสงขลา ขับเคลื่อนสู่เมืองมรดกโลก
ภาคีคนรักเมืองสงขลา ขับเคลื่อนสู่เมืองมรดกโลก
 
Chapter 6 language and cross cultural communication
Chapter 6 language and cross cultural communicationChapter 6 language and cross cultural communication
Chapter 6 language and cross cultural communication
 
เฉลย แบบทดสอบหลังเรียน
เฉลย แบบทดสอบหลังเรียนเฉลย แบบทดสอบหลังเรียน
เฉลย แบบทดสอบหลังเรียน
 
Unit4 ความขัดแย้งและความร่วมมือในคริสต์ศตวรรษที่ 20
Unit4 ความขัดแย้งและความร่วมมือในคริสต์ศตวรรษที่ 20Unit4 ความขัดแย้งและความร่วมมือในคริสต์ศตวรรษที่ 20
Unit4 ความขัดแย้งและความร่วมมือในคริสต์ศตวรรษที่ 20
 
บทที่ 9 รายได้ประชาชาติ การบริโภค การออม และการลงทุน
บทที่ 9 รายได้ประชาชาติ การบริโภค การออม และการลงทุนบทที่ 9 รายได้ประชาชาติ การบริโภค การออม และการลงทุน
บทที่ 9 รายได้ประชาชาติ การบริโภค การออม และการลงทุน
 
โครงงานภาษาไทยเรื่องนิทาน
โครงงานภาษาไทยเรื่องนิทานโครงงานภาษาไทยเรื่องนิทาน
โครงงานภาษาไทยเรื่องนิทาน
 
7 2 การท่องเที่ยวโดยชุมชน
7 2 การท่องเที่ยวโดยชุมชน7 2 การท่องเที่ยวโดยชุมชน
7 2 การท่องเที่ยวโดยชุมชน
 
บทที่ 2 แหล่งสารสนเทศท้องถิ่น
บทที่ 2 แหล่งสารสนเทศท้องถิ่นบทที่ 2 แหล่งสารสนเทศท้องถิ่น
บทที่ 2 แหล่งสารสนเทศท้องถิ่น
 
Macro Economics c7 การค้าและการเงินระหว่างประเทศ
Macro Economics c7 การค้าและการเงินระหว่างประเทศMacro Economics c7 การค้าและการเงินระหว่างประเทศ
Macro Economics c7 การค้าและการเงินระหว่างประเทศ
 
อ.วนิดา บทที่ 4 (ตำราสารสนเทศท้องถิ่น) 10 july 57
อ.วนิดา  บทที่ 4 (ตำราสารสนเทศท้องถิ่น) 10 july 57อ.วนิดา  บทที่ 4 (ตำราสารสนเทศท้องถิ่น) 10 july 57
อ.วนิดา บทที่ 4 (ตำราสารสนเทศท้องถิ่น) 10 july 57
 
1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับธุรกิจท่องเที่ยว
1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับธุรกิจท่องเที่ยว1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับธุรกิจท่องเที่ยว
1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับธุรกิจท่องเที่ยว
 
เรียงความ Is1
เรียงความ Is1เรียงความ Is1
เรียงความ Is1
 
วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรม เพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน
วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรม เพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืนวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรม เพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน
วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรม เพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน
 
การท่องเที่ยวยั่งยืน
การท่องเที่ยวยั่งยืนการท่องเที่ยวยั่งยืน
การท่องเที่ยวยั่งยืน
 
บทที่ 5 ทฤษฎีว่าด้วยพฤติกรรมผู้บริโภค
บทที่ 5 ทฤษฎีว่าด้วยพฤติกรรมผู้บริโภคบทที่ 5 ทฤษฎีว่าด้วยพฤติกรรมผู้บริโภค
บทที่ 5 ทฤษฎีว่าด้วยพฤติกรรมผู้บริโภค
 
การอนุรักษ์ทรัพยากรการท่องเที่ยว
การอนุรักษ์ทรัพยากรการท่องเที่ยวการอนุรักษ์ทรัพยากรการท่องเที่ยว
การอนุรักษ์ทรัพยากรการท่องเที่ยว
 
7 1 แนวคิดการพัฒนาแหล่งท่องเที่ยว
7 1  แนวคิดการพัฒนาแหล่งท่องเที่ยว7 1  แนวคิดการพัฒนาแหล่งท่องเที่ยว
7 1 แนวคิดการพัฒนาแหล่งท่องเที่ยว
 
Chapter3 ความยืดหยุ่น
Chapter3 ความยืดหยุ่นChapter3 ความยืดหยุ่น
Chapter3 ความยืดหยุ่น
 
ปัญหาสิ่งแวดล้อม
ปัญหาสิ่งแวดล้อมปัญหาสิ่งแวดล้อม
ปัญหาสิ่งแวดล้อม
 

More from Chaloempond Chantong

การท่องเที่ยวทางจิตวิญญาณ Spiritual tourism
การท่องเที่ยวทางจิตวิญญาณ Spiritual tourismการท่องเที่ยวทางจิตวิญญาณ Spiritual tourism
การท่องเที่ยวทางจิตวิญญาณ Spiritual tourismChaloempond Chantong
 
การท่องเที่ยวทางเลือก: ศาสนาวัฒนธรรม Religion tourism
การท่องเที่ยวทางเลือก: ศาสนาวัฒนธรรม Religion tourismการท่องเที่ยวทางเลือก: ศาสนาวัฒนธรรม Religion tourism
การท่องเที่ยวทางเลือก: ศาสนาวัฒนธรรม Religion tourismChaloempond Chantong
 
การท่องเที่ยววัฒนธรรมยุคหลังสมัยใหม่ Postmodern tourism
การท่องเที่ยววัฒนธรรมยุคหลังสมัยใหม่ Postmodern tourismการท่องเที่ยววัฒนธรรมยุคหลังสมัยใหม่ Postmodern tourism
การท่องเที่ยววัฒนธรรมยุคหลังสมัยใหม่ Postmodern tourismChaloempond Chantong
 
เครื่องนุ่งห่มและเอกลักษณ์กลุ่มชาติพันธุ์ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
เครื่องนุ่งห่มและเอกลักษณ์กลุ่มชาติพันธุ์ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้เครื่องนุ่งห่มและเอกลักษณ์กลุ่มชาติพันธุ์ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
เครื่องนุ่งห่มและเอกลักษณ์กลุ่มชาติพันธุ์ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้Chaloempond Chantong
 
การพัฒนาระบบความคิดเพื่อการสื่อสาร
การพัฒนาระบบความคิดเพื่อการสื่อสารการพัฒนาระบบความคิดเพื่อการสื่อสาร
การพัฒนาระบบความคิดเพื่อการสื่อสารChaloempond Chantong
 
การท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์ รศ.ชนัญ วงษ์วิภาค
การท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์ รศ.ชนัญ  วงษ์วิภาคการท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์ รศ.ชนัญ  วงษ์วิภาค
การท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์ รศ.ชนัญ วงษ์วิภาคChaloempond Chantong
 

More from Chaloempond Chantong (6)

การท่องเที่ยวทางจิตวิญญาณ Spiritual tourism
การท่องเที่ยวทางจิตวิญญาณ Spiritual tourismการท่องเที่ยวทางจิตวิญญาณ Spiritual tourism
การท่องเที่ยวทางจิตวิญญาณ Spiritual tourism
 
การท่องเที่ยวทางเลือก: ศาสนาวัฒนธรรม Religion tourism
การท่องเที่ยวทางเลือก: ศาสนาวัฒนธรรม Religion tourismการท่องเที่ยวทางเลือก: ศาสนาวัฒนธรรม Religion tourism
การท่องเที่ยวทางเลือก: ศาสนาวัฒนธรรม Religion tourism
 
การท่องเที่ยววัฒนธรรมยุคหลังสมัยใหม่ Postmodern tourism
การท่องเที่ยววัฒนธรรมยุคหลังสมัยใหม่ Postmodern tourismการท่องเที่ยววัฒนธรรมยุคหลังสมัยใหม่ Postmodern tourism
การท่องเที่ยววัฒนธรรมยุคหลังสมัยใหม่ Postmodern tourism
 
เครื่องนุ่งห่มและเอกลักษณ์กลุ่มชาติพันธุ์ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
เครื่องนุ่งห่มและเอกลักษณ์กลุ่มชาติพันธุ์ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้เครื่องนุ่งห่มและเอกลักษณ์กลุ่มชาติพันธุ์ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
เครื่องนุ่งห่มและเอกลักษณ์กลุ่มชาติพันธุ์ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
 
การพัฒนาระบบความคิดเพื่อการสื่อสาร
การพัฒนาระบบความคิดเพื่อการสื่อสารการพัฒนาระบบความคิดเพื่อการสื่อสาร
การพัฒนาระบบความคิดเพื่อการสื่อสาร
 
การท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์ รศ.ชนัญ วงษ์วิภาค
การท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์ รศ.ชนัญ  วงษ์วิภาคการท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์ รศ.ชนัญ  วงษ์วิภาค
การท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์ รศ.ชนัญ วงษ์วิภาค
 

การจัดการมรดกวัฒนธรรม

  • 2. 1 บทที่ 1 การจัดการมรดกวัฒนธรรม (CHM) รศ.ชนัญ วงษวิภาค บทนํา การจัดการมรดกวัฒนธรรม (CHM) คือการดูแลอยางเปนระบบที่นํามาใชธํารงคุณคาทางวัฒนธรรม ของทรัพยสินมรดกเพื่อความรื่นรมยคนปจจุบันและคนชั้นลูกหลานในอนาคต การจัดการมรดกวัฒนธรรมเปน ปรากฏการณใหมระดับโลกทั้งนี้พอจะพิจาณาไดจากประมวลกฎหมายและกฏบัตรตางๆ เชนกฎบัตรเวนิส (ICOMOS ค.ศ.1994)และอนุสัญญาเกี่ยวกับมรดกโลกภายใตการดําเนินงานของ UNESCO ซึ่งออกกฏเกณฑที่ เปนหลักสําคัญๆ ในอันที่จะปกปองคุมครองมรดกวัฒนธรรม ประเทศสวนใหญรับหลักการเหลานี้ไปในแงของ กฎหมายปกปองคุมครองมรดกวัฒนธรรมอยางเปนทางการ หรือรับนโยบายการจัดการมรดก ตามแนวทางที่ ICOMOS และ UNESCO ประกาศออกมาเนื่องจากการทองเที่ยววัฒนธรรมใชมรดกวัฒนธรรมของแหลง ทองเที่ยวปลายทางเปนทรัพยากรทองเที่ยวหลัก จึงจําเปนอยางยิ่งที่จะตองเขาใจพื้นฐานของการจัดการมรดก วัฒนธรรมกอนที่จะใชทรัพยากรดานนี้เพื่อการอื่นใด การหาวิธีที่จะจัดการมรดกวัฒนธรรมในหนทางอยางยั่งยืนจริงๆนั้นปรากฏชัดแจงอยูในเรื่องของ ประโยชนที่ดีที่สุดของมรดกนั้นๆนอกจากนี้ยังขึ้นอยูกับวาใครเปนผูจัดการวัฒนธรรมและชุมชน เปนที่ ตระหนักดีวาการทองเที่ยวเปนการใชมรดกอยางมีศักยภาพเพิ่มขึ้นเรื่อยๆอยางหนึ่ง ทําใหเพิ่มความกดดัน ยิ่งขึ้นตอการทองเที่ยวและมีผูมีสวนไดสวนเสียในการจัดการมรดกวัฒนธรรมที่จะรวมมือกันเพื่อผลประโยชน แกสวนรวม (TCA 1998 ; World Bank 2000 ; World Monuments Fund 2000) เหนือสิ่งอื่นใดแลวยิ่งแต ละฝายมีความเขาใจกรอบปรัชญาและความตองการของกันและกันมากเทาไรก็จะเปนหุนสวนกันไดดียิ่งขึ้น เทานั้น แนวคิดหลัก โดยทั่วไปแลวประเทศตางๆจะคุนเคยกับคําวา “การจัดการทรัพยากรวัฒนธรรม”กันอยางกวางขวาง ยกเวนสหรัฐจะใชคําวา “การจัดการทรัพยากรวัฒนธรรม”กันเปนสวนใหญ(Pereson and Sullivan 1995 ; Masintocsh 1999) ทั้งสองแนวคิดมีนัยภายในที่แตกตางกัน “ทรัพยากร”บงบอกถึงการพิจารณาทรัพยสิน ที่ มีคุณคาทางเศรษฐกิจและสามารถนําทรัพยสินนั้นไปใชประโยชนได แตคําวา “มรดก”ไมไดตระหนักถึงคุณคา เชิงเศรษฐกิจของทรัพยสินอีกทั้งยังยอมรับความเปนมรดกตกทอดของทรัพยสินนั้นตอไปดวย การพิจารณา เชนนี้มีนัยถึงขอผูกมัดพันธะบางประการและความรับผิดชอบ(ตอการจัดการทรัพยากรวัฒนธรรม) บรรดา ผูจัดการมรดกวัฒนธรรมก็ยังคงเขาใจวาเวลาใชคําวาทรัพยากรวัฒนธรรมผูคนทั่วไปไมอาจเขาใจกระจางชัดใน ทันทวงที อีกทั้งยังเปนแนวคิดที่ไมสมสมัยที่จะใหสาธารณะรับรูโดยทั่วถึงกันทั้งๆที่สาธารณะเปนผูรับผิดชอบ ตอมรดกทางวัฒนธรรมอยางยิ่งยวด((Pereson and Sullivan 1995)
  • 3. 2 การสงวนรักษาตัวอยางที่เปนตัวแทนของมรดกวัฒนธรรม เปาหมายหลักของการจัดการมรดกทางวัฒนธรรมคือสงวนรักษาตัวอยางที่เปนตัวแทนมรดก วัฒนธรรมที่จับตองไดและมรดกภูมิปญญาทางวัฒนธรรมเพื่อผูคนในอนาคต เปนที่ตระหนักกันวาในศตวรรษที่ 20 เรื่อยมากระทั่งปจจุบันโลกเกิดการเปลี่ยนแปลงอยางรวดเร็วทําใหมรดกวัฒนธรรมสวนใหญตกอยูใน อันตราย มรดกวัฒนธรรมทางวัตถุถูกทําลายเสียหาย อีกทั้งความรูที่เกี่ยวของมรดกวัฒนธรรมโดยเฉพาะภูมิ ปญญาทางวัฒนธรรมก็สูญหายไปดวยเชนกัน การจัดการทรัพยากรวัฒนธรรมพยายามที่จะสรางระบบที่เปน ทางการเพื่อบงชี้ตัวอยางของมรดกและการสงวนรักษามรดกนั้นไวเพื่ออนาคต ฉะนั้นมรดกในที่นี้จึงไมรวมถึง ทุกสิ่งทุกอยาง ตัวอยางมรดกที่ดีที่สุดจะไดรับการสงวนรักษาเชน ปรามิดในประเทศอียิปต นครวัดประเทศ กัมพูชา หรือที่ฝงศพของยุคกอนประวัติศาสตรที่แหลงโบราณคดีโปงมะนาวอําเภอพัฒนานิคม จังหวัดลพบุรี หลักฐานโบราณวัตถุและโบราณสถานเหลานั้นเปนสิ่งที่สรางขึ้นมาภายใตสภาพสังคม วัฒนธรรมและ สิ่งแวดลอมพิเศษ(ที่แตกตางไปจากยุคสมัยอื่นๆ)ซึ่งเปนไปไมไดที่จะสรางขึ้นมาใหม เมื่อตระหนักถึง ความสําคัญของ ทรัพยสินมรดกวัฒนธรรมการที่จะตองสงวนรักษาไวเพื่อคนรุนตอไปในอนาคตไดรูจักและ เขาใจจึงเปนสิ่งที่หลีกเลี่ยงไมได ทรัพยสินมรดกนั้นมีขอบเขตกวางใหญไพศาลที่ไมใชเฉพาะสิ่งดึงดูดใจประเภทสิ่งศักดิ์สิทธิ์ รูปเคารพ หรือสถานที่มีผูมาเยือนมากๆ แตทรัพยสินมรดกวัฒนธรรมยังรวมถึงตัวอยางมรดกวัฒนธรรมธรรมดาสามัญที่ สะทอนถึงวิถีชีวิตปกติประจําวัน คุณคาและธรรมเนียมประเพณีที่ถือปฏิบัติกันอยูเปนปกติวิสัย อายุสมัยหรือ ความเกาใหมของมรดกวัฒนธรรมก็ไมใชสิ่งสําคัญที่สุดที่จะอนุรักษปกปองมรดกเหลานั้นเชนกัน มรดก วัฒนธรรมที่เกิดขึ้นในอดีตอันไกลโพนก็อนุรักษ สวนมรดกทรัพยสินรวมสมัยที่มีคุณคาแหงความทรงจําของ ตอนตนหรือตอนปลายของคริสตวรรษที่ 20 บางอยางก็จําเปนจะตองสงวนรักษาไวเชนกันเพราะของเชนนี้จะ กลายเปนมรดกวัฒนธรรมในอนาคต(ตัวอยางเชนเศษทรากปรักหักพังของกําแพงเบอรลินและคอมพิวเตอร แมคคินทอสซรุนแรก) การสงวนรักษาของคุณคาภายใน ประเด็นสําคัญที่จะสงวนรักษาสิ่งใดก็ตามเพื่อใหเปนมรดกสําหรับคนรุนตอๆไปในอนาคตนั้นคือสิ่งนั้น ตองมีคุณคาความดีทางสังคม เมื่อสาธารณะรับทราบทั่วกันถึงคุณคาทางสังคมของมรดกดังกลาวความรูสึกที่ จะปกปองยอมเกิดขึ้นไดไมยากนัก การมองเห็นแตเพียงคุณคาที่อยูภายในมรดกวัฒนธรรมเพื่อการคาพานิชย เหมือนเชนที่อุตสาหกรรมการทองเที่ยวทั้งหลายปฏิบัติกันอยูจึงเปนสิ่งที่ยากอยางหนึ่งที่จะใหบังเกิดความปติ ชื่นชมมรดกวัฒนธรรมวาแทจริงนั้นมีคุณคาทางสังคมมากกวา(คุณคาทางเศรษฐกิจ)คุณคาทางสังคมของมรดก วัฒนธรรมมาจากการที่มรดกนั้นมีความหมายตอชุมชน(เจาของมรดก)หรือมาจากคุณคาที่มรดกนั้นมีอยู มิใช คุณคาที่มาจากการนํามรดกนั้นไปทํามาคาขายมีรายไดอยางที่หลายคนเขาใจ
  • 4. 3 มรดกสวนใหญสมควรที่จะไดนําเสนอและแปลความหมายสูสาธารณะได หากเปาหมายหลักของการจัดการทรัพยากรวัฒนธรรมคือสงวนรักษาตัวอยางที่เปนตัวแทนมรดกเพื่อ ผูคนในอนาคต จึงเปนสิ่งสําคัญดวยเชนกันที่จะทําใหผูคนในปจจุบันไดเขาถึงแงมุมตางๆของทรัพยสินมรดก ทางวัฒนธรรม การนําเสนอทรัพยสินมรดกที่จับตองไดเพื่อความเขาใจไดอยางดีจําเปนอยางยิ่งจะตองแปล คุณคาทางวัฒนธรรมของมรดกเหลานั้นใหอยูในแนวทางที่นักทองเที่ยวผูมาเยือนทุกหมูเหลาเขาใจได สามารถ นําเสนอขอมูลที่เกี่ยวกับมรดกภูมิปญญาทางวัฒนธรรมในฐานะที่เปนสวนของการตีความมรดกที่จับตองได โดยเฉพาะอยางยิ่งเมื่อมีความสัมพันธใกลชิดปรากฏอยูระหวางมรดกวัฒนธรรมทั้ง 2 ประเภทนั้น(NTHP 1999) ผูจัดการมรดกวัฒนธรรมตางถูกกระตุนเรงใหวางแผนเพื่อการนําเสนอตอผูมาเยือนทรัพยสินมรดก วัฒนธรรมในฐานะที่เปนสวนสําคัญของการอนุรักษและการจัดการที่กําลังดําเนินอยู(Shacky 1998 ; ICOMOS 1999) ตอนที่นําเสนอเรื่องราวที่เกี่ยวของกับมรดกวัฒนธรรมจําเปนตองใหอยูในรูปแบบของ การศึกษาและความบันเทิงเริงรมยควบคูกันไป ปกติแลววัตถุประสงคหลักของการจัดการทรัพยากรวัฒนธรรม คือเพื่อการศึกษาทั่วๆไปหรือเพื่อสรางความตระหนักในความสําคัญของมรดกวัฒนธรรม ดังกรณีตัวอยางของ พิพิธภัณฑที่ทุกสิ่งทุกอยางที่จัดแสดงทั้งตําแหนงที่ตั้ง วัตถุที่จัดแสดงหรือวิถีปฏิบัติทางวัฒนธรรมที่นําเสนอ ฯลฯ ลวนระบุชัดวาเปนไปเพื่อจุดประสงคของการศึกษาเรียนรูเปนสําคัญ (Ghose. 1992 ; Lord and Lord 1999) อยางไรก็ตามการนําเสนอที่มุงเนนความบันเทิงเริงรมยก็อาจจะชวยเพิ่มจํานวนผูมาเยือนไดมากขึ้น เปด โอกาสใหแกผูจัดการมรดกวัฒนธรรมไดสงสารเกี่ยวกับคุณคาของมรดกสูผูคนไดมากชึ้น ดังนั้นทายที่สุดก็จะ ไดรับการสนับสนุนในการอนุรักษปกปองมรดกนั้นตามมาดวย ความสําคัญของมรดกที่จับตองไดและมรดกภูมิปญญาทางวัฒนธรรม เปนที่ทราบกันดีวามรดกวัฒนธรรมนั้นมีทั้งประเภทที่จับตองไดและประเภทที่จับตองไมได ที่แลวมา ผูเชี่ยวชาญการจัดการทรัพยากรวัฒนธรรมดูจะคุนเคยกับการจัดการทรัพยากรวัฒนธรรมดานสถานที่ เสนทาง วัตถุโบราณ อาคารเกาแก แหลงสําคัญทางประวัติศาสตร แหลงโบราณคดีและซากปรักหักพังที่ยังเหลือเคา โครงอยูบาง ฯลฯ อยางไรก็ตามยังคงมีมรดกวัฒนธรรมที่จับตองไมไดที่จะตองเขาไปจัดการดูแลเพื่อให สาธารณะตระหนักถึงคุณคาทางสังคมที่จะตองอนุรักษปกปองเพื่อผูคนรุนตอๆไปในอนาคต มรดกวัฒนธรรม เชนนี้อาจไดแก ภูมิทัศนทางวัฒนธรรม เชน สนามรบ อาทิบริเวณที่สมเด็จพระเนรศวรชนชางกับพระเจาบุเรง นอง มรดกวัฒนธรรมที่จับตองไมไดยังรวมไปถึงวิถีประเพณีที่ปรากฏอยูในวิถีประชา การเลานิทานตํานาน วิถี ประเพณีที่เกี่ยวกับความเชื่อ เทศกาล ฯลฯ เหลานี้ตางก็เปนมรดกวัฒนธรรมที่จะตองอนุรักษปกปองเชนกัน ทั้งมรดกวัฒนธรรมที่จับตองไดและที่จับตองไมไดลวนเปนทรัพยากรที่สําคัญของการทองเที่ยววัฒนธรรมดวย เชนกัน มีความหวงใยเพิ่มขึ้นจากองคกรตางๆที่มีบทบาทดานการสงวนรักษามรดกวัฒนธรรมระหวางชาติวา จะผนวกการจัดการทรัพยากรวัฒนธรรมทั้ง 2 ประเภทใหเขามาเกี่ยวของสัมพันธและรับรูซึ่งกันและกันใหมาก
  • 5. 4 ขึ้นไดอยางไร (ICOME 1999 ; UNESCO 2000) ผูจัดการมรดกวัฒนธรรมในพื้นที่ที่มีแบบแผนวัฒนธรรม ทองถิ่นดั้งเดิมมากๆ ไดดําเนินการเชนนี้ไปชวงเวลาหนึ่ง ประเทศออสเตรีย นิวซีแลนดและหลายสวนของ อเมริกาเหนือตระหนักวาเปนสิ่งสําคัญที่จะจัดการใหเรื่องราวที่เกี่ยวของกับมรดกวัฒนธรรมที่จับตองไดและที่ จับตองไมไดเดินเคียงคูกันไป ตัวอยางเชนการเขาใจความเกี่ยวพันธระหวางวิถีประชาและสถานที่มรดกที่มี ความศักดิ์สิทธิ์นั้นสําคัญเพื่อการออกแบบสงวนรักษาอยางเหมาะสม มรดกวัฒนธรรมแตกตางกันในขนาดตามความซับซอนและความทาทายการจัดการ มรดกวัฒนธรรมแตกตางกันหลากหลายในขนาด และความซับซอน จากชิ้นสวนโบราณวัตถุเล็กๆไป กระทั่งถึงเมืองประวัติศาสตร เชนเดียวกันกับมรดกภูมิปญญาทางวัฒนธรรมที่อาจมีขอบเขตที่ปรากฏในเรื่อง เลาโดยแมคาในตลาดไปกระทั่งวิถีประชาของกลุมชนเผาชาวดอย ขนาดของมรดกที่แตกตางกันเหลานี้แสดงถึง ความทาทายการจัดการและโอกาสที่แตกตางกัน หมายความวาจะตองจัดการมรดกวัฒนธรรมแตละอยาง อยางมีเอกลักษณและจะตองมีแผนการจัดการหรือนโยบายการจัดการที่เปนเอกลักษณเฉพาะมรดกวัฒนธรรม แตละประเภท เปนสิ่งสําคัญที่ควรจดจําวามรดกวัฒนธรรมมีความแตกตางกันในเรื่องของขนาดความซับซอน ระยะเวลาที่ปรากฏและการใชงาน วิธีการจัดการมรดกแตละอยางจึงซับซอนไมเหมือนกัน ตัวอยางเชนเสนทาง สายไหมที่ผานทวีปเอเชีย ขณะนี้ปรากฏวามีความสําคัญในฐานะ “เสนทางการทองเที่ยวมรดกวัฒนธรรม”การ ตระหนักถึงความสําคัญเชนนั้น เพราะเสนทางดังกลาวมีบทบาททางประวัติศาสตรในฐานที่เปนเสนทางการคา การเดินทาง ทรัพยสินมรดกขามชาติเชนนี้จะไดรับการจัดการอยางไรขึ้นอยูกับกฎหมายคุมครองมรดกของแต ละประเทศ(ที่เสนทางสายดังกลาวผาน)นอกจากนี้การจัดการยังขึ้นอยูกับความเขาใจความสําคัญของทรัพยสิน ทางวัฒนธรรมดังกลาว(เสนทางสายไหม)ขณะเดียวกัน เจตนารมยทางการเมืองที่ดีก็มีสวนในการจัดการมรดก เสนทางสายไหม อีกทั้งยังขึ้นอยูกับหนทางซึ่งจะจัดระเบียบทรัพยากรมนุษยที่จะดูแลการสนับสนุนนโยบาย การรักษาใดๆก็ตามดวยเชนกัน สําหรับมรดกเล็กๆนอยๆอยางเชนลูกปดสมัยทวารวดีที่ผุดพนดินและที่จมอยู ใตดินในทองที่อําเภออูทองและทองถิ่นอื่นๆก็อาจจะใชกฎหมายระดับทองถิ่นอนุรักษคุมครองแตกตางออกไป (จากกรณีเสนทางสายไหม) ลําพังเพียงผูมีสวนไดสวนเสียระดับทองถิ่นไมกี่รายก็นาจะจัดการคุมครองมรดก ลูกปดนั้นได นโยบายการสงวนรักษามรดกกรณีเชนนี้ก็จะแตกตางออกไปตามนั้น สถานการณคลายๆกันนี้ก็ประยุกตใชกับทรัพยสินมรดกภูมิปญญาทางวัฒนธรรมไดเชนกัน แมวา การศึกษาเพื่อเรียกรองใหมีการสงวนรักษามรดกภูมิปญญาทางวัฒนธรรมยังคงอยูในระดับเริ่มตนก็ตาม ในที่ สวนใหญชุมชนทองถิ่นผูอยูกับมรดกวัฒนธรรมมีบทบาทคอนขางมากในการปกปองดูแลและสืบสานมรดกภูมิ ปญญาทั้งหลายโดยไดขอคําแนะนําชวยเหลือและความรูทางวิชาการจากผูเชี่ยวชาญจากภายนอกเชน นัก จดหมายเหตุ นักวิชาการ ภัณฑารักษ และผูเชี่ยวชาญดานศิลปะการแสดงแขนงตางๆ ชุมชนในฐานะผูปกปอง และสืบสานประเพณีวิถีดั้งเดิมยังพยายามหาวิธีควบคุมการจัดการสถานที่และวัตถุที่เปนมรดกวัฒนธรรมซึ่งมี ความใกลชิดกับมรดกภูมิปญญาที่ผูคนในชุมชนถือปฏิบัติเปนวิถีชีวิตโดยการจัดตั้งศูนยดูแลมรดกในรูปของ พิพิธภัณฑพื้นบานหรือศูนยวัฒนธรรม การจัดการมรดกในลักษณะนี้พบไดโดยทั่วไปในภูมิภาคตางๆของ
  • 6. 5 ประเทศ พิพิธภัณฑวัดมวง อําเภอบานโปง โรงละครแสดงหนังใหญและพิพิธภัณฑหนังไทย ที่วัดขนอน อําเภอ โพธาราม จังหวัดราชบุรี และพิพิธภัณฑเปดที่แหลงโบราณคดีโปงมะนาว อําเภอพัฒนานิคม จังหวัดลพบุรี คือ ตัวอยางบางสวนของการจัดการทรัพยากรวัฒนธรรมโดยชุมชน กรอบการดําเนินการจัดการทรัพยากรวัฒนธรรม ในบรรดาตัวแบบ(Model)เพื่อการจัดการดานตางๆแลวการจัดการทรัพยากรวัฒนธรรมเปนตัวแบบที่ ยังคงคอนขางใหมอยูมาก เปนตัวแบบที่ยังไมลงตัวแตจะปรับผันอยูเสมอเพื่อความเสถียรในอนาคต การพัฒนา กรอบการทํางานจัดการมรดกวัฒนธรรมดําเนินไปตามขั้นตอนตางๆ 5 ระยะคือ 1.ระยะเริ่มแรกและเปนชวง การคิดคนที่กําลังดําเนินการ 2.ชวงการออกกฎหมายปกปองคุมครองมรดก 3.ชวงแหงการเพิ่มความเปนมือ อาชีพจัดการมรดกวัฒนธรรม 4.ชวงการมีสวนรวมการปรึกษาหารือผูมีสวนไดสวนเสีย และ 5.ชวงทบทวน ความรับผิดชอบสภาวะของการเปนมืออาชีพการจัดการมรดก ดังเพิ่มเติมรายละเอียดของแตละชวงในตาราง ขางลางนี้ ตารางที่ 1 กรอบการดําเนินงานการจัดการทรัพยากรวัฒนธรรม ชวง ลักษณะเดนๆ คิดคน การออกกฎหมายระยะแรก ความเปนมืออาชีพการ จัดการเพิ่มขึ้น ทบทวน - ความสนใจชุมชนเพิ่มขึ้น - การหาขอมูลที่เกี่ยวของ - วิวัฒนาจากการทํางานแบบมือสมัครเลนไปเปนมืออาชีพ - ออกกฎหมายรุนแรกๆเพื่อนําการบงชี้ขอบขายของมรดกและการปกปอง ทรัพยสินมรดกวัฒนธรรม - เนนการจัดการทรัพยากรวัฒนธรรมทางวัตถุเปนสําคัญ - รัฐบาลตั้งหนวยงานดานวัฒนธรรมหรือเชื่อมโยงกับตัวแทนรัฐหนวยงานอื่นๆ บางหรือดานกฎหมาย - จัดตั้งองคกรของรัฐระหวางประเทศเพื่อทํางานดานการจัดการมรดก เชน NGO - รางประมวลกฎหมายของจริยธรรม หลักเกณฑการสงวนรักษาในกฎบัตร ฯลฯ - พัฒนาการของมืออาชีพที่เกี่ยวกับมรดก(ทั้งสาธารณะและบุคคล) - ผูมีสวนไดสวนเสียปรากฏมากมาย -ระบุความขัดแยงดานตางๆในการจัดการทรัพยากรวัฒนธรรม -ใหความใสใจมากขึ้นตอผลประโยชนของชุมชน - ความเขาใจใหมๆเกี่ยวกับความรับผิดชอบ - ทบทวนตัวบทกฎหมายอนุรักษปกปอง - การวางแผนและการปฏิบัติที่รวมความชํานาญจากหลากหลายสาขาที่ เกี่ยวของ - มีความตระหนักเพิ่มขึ้นในมรดกภูมิปญญาทางวัฒนธรรม - ตระหนักถึงผูใชมรดกวัฒนธรรมคนอื่นๆ -การเปลี่ยนแปลงในแนวคิดดานสถานที่
  • 7. 6 แนวทางการจัดการทรัพยากรวัฒนธรรมเติบโตเต็มที่ กรอบการทํางานการจัดการทรัพยากรวัฒนธรรมเริ่มตนจากนักวิชาการ ผูนําชุมชน และนักการเมืองที่ ตระหนักถึงคุณคาของมรดกวัฒนธรรมและความจําเปนที่จะตองสงวนรักษามรดกเหลานั้นไว ชวงแรกของการ จัดการทรัพยากรวัฒนธรรมจึงเริ่มที่ความพยายามหาขอมูลเกี่ยวกับมรดกวัฒนธรรม งานที่ขับเคลื่อนโดยมือ สมัครเลนหรือมืออาชีพกลุมเล็กๆที่มีความรูเกี่ยวกับมรดกวัฒนธรรม ครั้นพอทราบถึงขอบเขตของมรดก วัฒนธรรมไดการจัดการมรดกระยะที่ 2 ก็รวมถึงการอางรูปแบบบางประการของกฎหมายที่จะใหตระหนักและ สงวนรักษามรดกเหลานั้นไว ในชวงนี้มีหนวยงานรัฐบาลบางหนวยงานจัดตั้งกันขึ้นมาเพื่อทําหนาที่แยก ประเภทงานในการสงวนรักษามรดกวัฒนธรรมตอไป มีปญหาความขัดแยงหลายประการที่จําเปนตองปรับปรุง กระบวนการมรดกวัฒนธรรมดวยผูเชี่ยวชาญมืออาชีพและดําเนินการจัดการอยางเปนระบบระเบียบ ในชวงที่ 3 สะทอนใหเห็นการจัดการที่ใชความชํานาญมืออาชีพเพิ่มขึ้นรวมดวยผูมีอํานาจทางการเมือง มีการรับแนว ปฏิบัติและกฏบัตรเพื่อการสงวนรักษาดวยประเทศตางๆรวมลงนามตอกฏบัตรระหวางประเทศ การให ความสําคัญตอรูปแบบทางการ กระบวนการจัดการมากกวามุงบังคับดวยตัวบทกฎหมายที่จะปกปองทรัพยสิน มรดกวัฒนธรรมเชนนี้ไดนําไปสูความเปนมืออาชีพในการจัดการทรัพยากรวัฒนธรรมยิ่งขึ้น โดยเนนประเด็น ตางๆเชน จะกําหนดอยางไรวาสิ่งใดถือวาเปนมรดกและจะจัดการมรดกในระยะยาวกันอยางไร ชวงนี้นี่เองที่ ปรากฎมืออาชีพผูชํานาญการจัดการทรัพยากรวัฒนธรรมขึ้นมาเปนทิวแถว เริ่มจากการที่สถาปนิก ปรึกษาหารือนักโบราณคดีเพื่อจัดการมรดกวัฒนธรรมอยางมีความรูที่ถูกหลักวิชาการ มหาวิทยาลัยที่สนใจ เรื่องราวมรดกวัฒนธรรมเริ่มใหมีการเรียนการสอนวิชาการดานมรดกถึงระดับปริญญาตามโครงการตางๆ เปน ที่นาสังเกตวาผูชํานาญการจัดการทรัพยากรวัฒนธรรมสวนใหญอยูในประเทศตะวันตกที่พัฒนาแลว(Bysne 1991) จากขอมูลในตารางขางตนเห็นไดชัดวาในชวงที่ 4 มีความพิถีพิถันในการจัดการทรัพยากรวัฒนธรรม มากยิ่งขึ้น การมีผูมีสวนไดสวนเสียในการจัดการมรดกยอมเปนสิ่งแสดงชัดเจนถึงตัวบุคคลที่มีสวนเกี่ยวของกับ การจัดการทรัพยากรวัฒนธรรมโดยตรงดวยเปนกลุมบุคคลที่มีความสนใจหวงใยอนุรักษปกปองมรดก ผูมีสวน ไดสวนเสียยังทําหนาที่เปนผูจัดการมรดกวัฒนธรรมที่ถูกตองตามกฎหมาย และการเปนผูจัดการมรดกรวมกันก็ เริ่มปรากฏ ในการทําเชนนั้นจะใหความหวงใยชุมชนที่เกี่ยวของดวยเปาหมายของการไดรับแนวทางที่เปน ประชามติตอการจัดการทรัพยากรวัฒนธรรม ความละเอียดออนนี้ปกติหมายความวาตัวกฎหมาย(มรดก วัฒนธรรม)ที่มีอยูจะตองไดรับการเปลี่ยนแปลงและแนวทางการจัดการมรดกที่เปนองครวมจะตองเปนแนวทาง ปฏิบัติโดยทั่วกัน กระบวนวิวัฒนาการของการจัดการทรัพยากรวัฒนธรรมเริ่มตนดวยการตระหนักระยะแรกๆวาการ สงวนรักษาคุณคาวัฒนธรรมจะชวยใหคุณธรรมความดีและผลประโยชนทางสังคมขยายกวางยิ่งขึ้น
  • 8. 7 ความกาวหนาไดเริ่มผานขั้นตอนจากการทดลองไปสูการสงวนรักษาดวยความชํานาญขั้นมืออาชีพที่เติบโตขึ้น และความพิถีพิถัน ในขั้นตอนสุดทายของกรอบแนวทางการจัดการทรัพยากรวัฒนธรรมอยูที่ความจําเปนให ตองยอมรับการจัดการมรดกอยางเปนเอกฉันทที่ผนวกความรอบรูที่จะจัดการมรดกไวดวยกัน ดังนั้น วิวัฒนาการของการกระทําเพื่อการจัดการทรัพยากรวัฒนธรรมเฉพาะดานจึงพองตองกันกับวิวัฒนาการทาง การเมืองและสังคมโดยทั่วไปที่เห็นคุณคาของวัฒนธรรมและหนทางที่จะจัดการคุณคาของวัฒนธรรมไว พิพิธภัณฑ-กรณีพิเศษในการจัดการทรัพยากรวัฒนธรรม สภาพิพิธภัณฑระหวางชาติ(ICOM)ไดใหนิยามพิพิธภัณฑวา “เปนสถาบันที่ไมคิดผลกําไรในการ ใหบริการแกสังคมและการพัฒนาตนเอง อีกทั้งยังใหบริการแกสาธารณะนอกเหนือไปจากงานดานการสงวน รักษา ทําการคนควาวิจัย ติดตอสื่อสารและจัดแสดงมรดกวัฒนธรรม เพื่อจุดประสงคทางการศึกษาพิพิธภัณฑ มีบทบาทใหความรูความบันเทิงผานหลักฐานทางวัตถุที่มนุษยสรางและสิ่งแวดลอมของมนุษย(Ambrose and Paine 1993 : 269)หนาที่สําคัญแรกๆสําหรับพิพิธภัณฑคือการจัดหมวดหมูวัตถุโบราณทั้งหลายและปรับการ บันทึกขอมูลการคนพบใหมๆใหทันสมัยโดยวิธีที่อาศัยคอมพิวเตอร ขบวนการทํางานของพิพิธภัณฑเชนนี้ก็ ยังคงเดินหนาตอไปในหลายๆประเทศ ในศตวรรษที่ผานมาพิพิธภัณฑจํานวนมากมีผูเชี่ยวชาญมืออาชีพดาน การพิพิธภัณฑ ใหชุมชนเขามามีสวนรวมในการจัดการทรัพยากรวัฒนธรรมบางประการและมีความรับผิดชอบ ดานภัณฑารักษที่ทาทายโดยผูคนภายนอก ยิ่งกวานี้พิพิธภัณฑยังคงเผชิญกับความทาทายพิเศษอื่นๆอีกเชนกัน พิพิธภัณฑสวนใหญตองดําเนินงานเกี่ยวของกับการสะสมของที่จัดแสดง มีตัวอยางอยูบอยๆที่ขาวของสะสมไว นั้นมีความเปนมาที่แปลกนาสงสัยจึงไมใชเรื่องงายที่จะตัดสินใจวาควรจะสนใจซื้อขาวของจากนักสะสมของเกา เพื่อมาใชจัดแสดงมากนอยเพียงใด ดังนั้นประเด็นเกี่ยวกับการอางสิทธิ์ความเปนเจาของในการถกเถียง เกี่ยวกับมรดกวัฒนธรรมจึงไดแยกเปน 3 ประเด็น โดยนักจริยธรรม Kasen Warren ดังตอไปนี้ 1.การอางสิทธิ์เกี่ยวกับคาชดเชยมรดกวัฒนธรรม เนื่องจากที่ผานมาโดยเฉพาะชวงอาณานิคมและชวง สงครามประเทศผูมีชัยมักโยกยายมรดกทรัพยสินทางวัตถุจากดินแดนที่ตนมีชัยนําไปครอบครอง ในปจจุบัน ประเทศเจาของมรดกวัฒนธรรมบางประเทศจึงเรียกรองขอมรดกวัฒนธรรมคืนหรือขอคาชดเชยมรดก วัฒนธรรมที่ถูกโยกยายไปจากประเทศของตน 2.การโตแยงในขอจํากัดเกี่ยวกับการนําเขาและสงออกของโบราณวัตถุในประเด็นความเปนเจาของใน อดีต 3.สิทธิในการเปนเจาของ การเขาถึงและการสืบทอดมรดกวัฒนธรรมที่มีกรณีตัวอยางการอางสิทธิ์โดย ชนพื้นเมืองอเมริกันและชนพื้นเมืองออสเตรเลียตอหลักฐานเกี่ยวกับมนุษยและวัตถุทางวัฒนธรรมที่ปรากฏใน พิพิธภัณฑ(Warren 1989)
  • 9. 8 การสงวนรักษาและจัดการมรดกวัฒนธรรมดําเนินอยูในกรอบ การจัดการทรัพยากรวัฒนธรรมและการสงวนรักษาเปนการกระทําที่อยูในโครงสราง ที่เปนสวนหนึ่ง ของกระบวนการจึงจําเปนตองมีขอมูลนําเขาเกี่ยวกับเงื่อนไขของทรัพยสินมรดกและการใชมรดกเหลานั้นอยูร่ํา ไป เหตุผลเชนที่กระบวนการไดพัฒนาไปนั้นปรากฏอยูในทิศทางประมวลกฎหมายขอตกลงรวมกันระหวางชาติ ไดพัฒนาไปใตปรัชญาของทิศทางดังกลาว ปจจุบันประเทศที่กําลังพัฒนาจํานวนมากอาศัยขอตกลงประมวล กฎหมายเชนนั้นเปนพื้นฐานสําหรับการจัดการทรัพยากรวัฒนธรรมและกฎหมายหรือแปรญัติกฎหมายปกปอง คุมครองมรดกวัฒนธรรม การใชหรือการยึดอยูกับมาตรฐานและหลักการระหวางชาติไดเพิ่มยิ่งขึ้น กฎบัตรเชนนั้นและขอมูลที่ เกี่ยวของไดเนนความสําคัญการทําใหมั่นใจไดวาการอนุรักษทรัพยสินมรดกเปนกระบวนการที่ไมหยุดยั้ง เพราะนั่นเปนการติดตามความยั่งยืน ตัวอยางหนึ่งของมาตรฐานดังกลาวก็คือกฎบัตรเวนิส สภาระหวางชาติที่ มีบทบาทคุมครองอนุสรณสถานและแหลงประวัติศาสตรทั้งหลาย(ICOMOS)องคกรเอกชน(NGO)ที่กอตั้งในป 1965 เพื่อมีหนาที่สงเสริมสนับสนุนบทบาทใหแกยูเนสโกในประเด็นตางๆที่เกี่ยวของกับการสงวนรักษามรดก วัฒนธรรมตางใชกฎบัตรเวนิส(ICOMOS 1994)เปนชุดของหลักการแนวทางสําหรับการสงวนทรัพยสินมรดกที่ จับตองไดดวยการเนนอยางแข็งขันถึงมรดกที่มีอยู กฎบัตรเวนิสออกมาในป 1964 ราวปค.ศ.1994 ไดรับการ แปลออกเปนภาษาอื่นๆถึง 42 ภาษาเพื่อเปนพื้นฐานสําหรับแนวทางการพัฒนาวางแผนสงวนรักษามรดก วัฒนธรรม ขอบเขตของงานชวยใหการสงวนรักษาทรัพยสินมรดกไดขยายออกไปเปนเวลาหลายปแตกฎบัตรเว นิสยังคงมีทัศนะที่เครงครัดเกี่ยวกับการปรับเปลี่ยนหรือความเสียหายที่เกิดขึ้นแกมรดกที่ควรจะไดเขาไป จัดการ(ICOMOS 1994) ลักษณะหลักๆของกฎบัตรเวนิสมีหลักการสําคัญ 5 ประการคือ 1.ระบุสิ่งกอสรางทางประวัติศาสตร(ปจจุบันรวมไปถึงอาคารสถานทั้งหลาย) 2.สงวนรักษาอยางเครงครัดโดยคงสภาพเดิมไว 3.บูรณะปฏิสังขรณดวยการคํานึงถึงความจริงแทอยูในใจ(หามสรางขึ้นมาใหม) 4.สํารวจทางโบราณคดีภายใตผูรูมืออาชีพ 5.ใหขอมูล(การกระทําใดๆก็ตามควรจะมีขอมูลอยางเปนระบบและเก็บบันทึกขอมูลไวใหเปนที่รับรู ของคนทั่วไป) มีองคกรระหวางชาติอีกจํานวนหนึ่งไดพัฒนากฎบัตรหรือโปรแกรมหลากหลายเพื่อตระหนักและ จัดการมรดกวัฒนธรรมเชน
  • 10. 9 1.ยูเนสโก(UNESCO)ที่เริ่มใหความสําคัญระหวางชาติเกี่ยวกับมรดกดวยขอตกลงรวมกันที่จะปกปอง คุมครองทรัพยสมบัติทางวัฒนธรรมใน the Event of the Armed Conflict ปค.ศ.1954 2.สหภาพระหวางชาติเพื่อการสงวนรักษาธรรมชาติ(IUCN)หรือบางทีที่รูจักกันในนามสหภาพสงวน รักษาโลก 3.องคกร IATF ซึ่งมีฐาน UN เปนหลักในการปรับปรุงสถานที่มรดกโลกที่อยูในสภาวะอันตราย 4.ศูนยระหวางชาติเพื่อการศึกษาดานการสงวนรักษาและปฏิสังขรณทรัพยสมบัติทางวัฒนธรรม(ตั้งขึ้น ในประเทศอิตาลีโดยยูเนสโก ในชวงตนๆค.ศ.1960) 5.สภาระหวางชาติดานการพิพิธภัณฑ(ICOM) ในบรรดาองคกรเหลานั้นของยูเนสโกเกี่ยวกับแหลงมรดกโลกและทรัพยสินที่มีรายชื่ออยูภายใตความ หวงใยอนุสัญญาเพื่อคุมครองมรดกโลกทางวัฒนธรรมและทางธรรมชาติเปนที่รูจักกันดีที่สุด ยูเนสโกมี วัตถุประสงคเพื่อปกปองมรดกทางธรรมชาติและมรดกวัฒนธรรมที่รวบรวมอยูในอนุสัญญา ยูเนสโกพยายาม กระตุนสงเสริมวาสงใดเขาขายมรดกวัฒนธรรม ปกปองและสงวนรักษามรดกธรรมชาติและมรดกวัฒนธรรมทั้ว โลกที่พิจาณาแลววามีคุณคาโดดเดนตอมนุษยชาติ(UNESCO 1996)ความสําเร็จในการดําเนินของยูเนสโกมี อิทธิพลกระจายไปกวา 150 ประเทศในฐานะผูลงนามรวมกันและแหลงมรดกโลกกวา 690 แหลงไดรับการขึ้น บัญชีอยูภายใตความคุมครองปองกัน(Stovel 1998 ;UNESCO World Heritage Center 2001) แหลงมรดกวัฒนธรรมบางอยางเชนภูมิทัศนทางวัฒนธรรมเปนเครื่องทดสอบประสิทธิผลของ กระบวนการจัดการทรัพยากรวัฒนธรรมตามกระแสภูมิทัศนทางวัฒนธรรมเปนสภาพแวดลอมที่มีคุณคาทาง วัฒนธรรมเชนเดียวกับคุณคาวัฒนธรรมชาติ ภูมิทัศนทางวัฒนธรรมแสดงใหเห็นถึงความทาทายการจัดการ อยางเปนเอกลักษณก็เพราะลักษณะที่จับตองไมไดของภูมิทัศนนั้น ที่ทาทายมากไปกวานั้นก็เพราะภูมิทัศน วัฒนธรรมมักอยูในสภาพที่เหลี่อมล้ําและอยูระหวาพรหมแดนระหวางประเทศ กระนั้นมีขอเสนอใหไดตอง ถกเถียงกันเพื่อการจัดการทรัพยากรวัฒนธรรมประเภทนี้ กลยุทธหนึ่งที่เกี่ยวกับเครื่องมือของกฎบัตรระหวาง ประเทศและอนุสัญญาโดยการใชเอกสารกฎหมายทางการเชนรายชื่อมรดกโลกที่ตกอยูในอันตรายเพื่อความให แนใจวาเครื่องมือนั้นไดรับความเอาใจใสเพียงพอ (Rossler 1994, ;UNESCO World Heritage Center 2000) อีกกลยุทธหนึ่งคือรองขอใหรัฐบาลชวยกันในการสรางหุนสวนระหวางประเทศและองคกรตางๆที่จะ ดําเนินการจัดการและสงวนรักษาตอไป(Dienne 1994) อยางไรก็ตามก็เปนที่นาสงสัยถึงประสิทธิผลของ ขอเสนอเชนนั้นดวยตัวแทนระหวางประเทศมีอิทธิพลที่แทจริงเพียงเล็กนอยเมื่อเขาเจรจากับประเด็นทางการ เมืองภายในประเทศ ความยั่งยืน เมื่อผูจัดการมรดกวัฒนธรรมพูดเกี่ยวกับการสงวนรักษาหรือการวางแผนอนุรักษระยะยาวนั้นหมายถึง การเขาไปเกี่ยวของกับการธํารงคทรัพยากรนั้น ณ ที่ระดับยั่งยืนซึ่งตองเริ่มจากการระบุรูปพรรณมรดก
  • 11. 10 วัฒนธรรมและการประเมินคุณคาของมรดกอีกทั้งยังเกี่ยวการตกลงวาควรจะใชมรดกนั้นอยางไรจะไดกลาวถึง ประเด็นนี้อยางละเอียดในอีก 2 บทถัดไปดวยอางอิงถึงมรดกที่จับตองไดและมรดกภูมิปญญาทางวัฒนธรรม อยางไรก็ตามจําเปนจะตองตระหนักใหดีวาทรัพยากรมรดกวัฒนธรรมแตละอยางมีความหมายเฉพาะตน มี ความสําคัญทางวัฒนธรรมและอยูในบริบททางสังคมหรือทางวัฒนธรรมที่แตกตางกัน เงื่อนไขเหลานี้ หมายความวาจะตองพิจาณามรดกแตละอยางเปนเอกเทศในความสัมพันธตอกายภาพและความแข็งแรง ทนทานของมรดกนั้นๆตัวอยางเชน บางวัฒนธรรมแตกตางกันในทัศนะเกี่ยวกับวาจะเขาไปแทรกแทรงมาก นอยเพียงใดหรือวาการเปลี่ยนแปลงอาจเกิดกอนที่มรดกจะหมดความเปนจริงแท ในบางกรณีเราอาจจะสราง มรดกนั้นขึ้นมาใหมทั้งหมดโดยที่ยังคุณคาไวไดเชนในกรณีการสรางปอมทางประวัติศาสตรจํานวนมาก หรือ กรณีการสรางศาลเจาของชาวญี่ปุน ในกรณีตัวอยางอื่นๆผูปกปองดูแลมรดกอาจลงความเห็นวาการ เปลี่ยนแปลงใดๆที่จะเกิดขึ้นกับมรดกวัฒนธรรมเปนสิ่งที่ไมเหมาะสม โดยเฉพาะมรดกวัฒนธรรมที่เกี่ยวกับ ตําแหนงที่มีความสําคัญทางจิตวิญญานหรือทางศาสนาความเชื่อ การพิจารณาความยั่งยืนยังโยงใยไปถึงจํานวนและการใชมรดกวัฒนธรรมประเภทตางๆที่มีใหกอนที่ คุณคาภายในมรดกที่ไดรับการสงวนรักษาไวจะถูกคุกคาม(Cantacuqino 1995) การพิจารณาเชนนี้ ประยุกตใชไดทั้งมรดกวัฒนธรรมที่จับตองไดและที่จับตองไมได ฉะนั้นแหลงมรดกที่เปราะบางจะตองไดรับการ ดูแลอยางระแวดระวัง ในบางกรณีการหามเขาทองเที่ยว(ในสถานการณใดสถานการณหนึ่ง) หรือการวาง กฎเกณฑจํากัดจํานวนผูเขาเยี่ยมชมแหลงทองเที่ยว ก็จะเปนการจัดการที่สําคัญที่จะชวยสงวนรักษามรดก วัฒนธรรมไวไดหนทางหนึ่ง ผูมีสวนไดสวนเสีย ประเด็นของผูมีสวนไดสวนเสียเปนเรื่องที่ปรากฏอยูตลอดงานเขียนเลมนี้ ผูจัดการมรดกวัฒนธรรม ตางตระหนักวาผูมีสวนไดสวนเสียหลักรวมถึงชุมชนหรือกลุมวัฒนธรรมที่อยูใกลชิดกับมรดกวัฒนธรรมหรือมี ความสัมพันธทางวัฒนธรรม ทั้งนี้อาจรวมไปถึงสถาบันการศึกษาระดับตางๆ เชน โรงเรียนและมหาวิทยาลัยที่ ใชมรดกวัฒนธรรมเปนทรัพยากร นอกจากนี้ผูมีสวนไดสวนเสียยังรวมถึงเจาหนาที่รัฐผูมีหนาที่เกี่ยวของกับ มรดกวัฒนธรรมและตองรับผิดชอบตอมรดกเหลานั้น และผูใชมรดกวัฒนธรรมเพื่อการพาณิชยเชน อุตสาหกรรมการทองเที่ยวก็ถือวาเปนผูมีสวนไดสวนเสียในมรดกวัฒนธรรมเชนกัน ทรัพยสินมรดกวัฒนธรรมสวนใหญมีผูมีสวนไดสวนเสียหลากหลาย ความทาทายยิ่งใหญประการหนึ่งในการจัดการทรัพยากรวัฒนธรรมหรือมรดกธรรมชาติใดๆก็ตามคือ ความจําเปนที่จะปลอบใจผูมีสวนไดสวนเสีย โดยผิวเผินการปรึกษาหารือผูมีสวนไดสวนเสียดูราวคลายกับ กระบวนการที่ตรงไปตรงมา มักมีสมมุติฐานวาผูมีสวนไดสวนเสียจํานวนมากจํากัดอยูแตเฉพาะผูที่เปนเจาของ ธรรมเนียมประเพณี(ชาวบานในชุมชน)และกลุมผูใชมรดกสวนหนึ่งและอุตสาหกรรมการทองเที่ยวเปนผูมีสวน ไดสวนเสียอีกสวนหนึ่ง ในความเปนจริงแลวมรดกวัฒนธรรมสวนมากมีผูมีสวนไดสวนเสียเขามาเกี่ยวของอยู หลายฝายแตละฝายก็เกี่ยวของกับมรดกวัฒนธรรมกันมากนอยแตกตางกันออกไป นอกจากนี้ยังแตกตางกันที่
  • 12. 11 ระดับความถูกตอง(ตามกฎหมาย)ในการจะไดรับการพิจารณาวาเปนผูมีสวนไดสวนเสีย และยังแตกตางกัน อยางมากในทรรศนความเห็นเกี่ยวกับวาควรจะจัดการมรดกวัฒนธรรมอยางไร การหารือในหมูผูมีสวนไดสวนเสียมักมีบทบาทบงบอกในการพัฒนากลยุทธการจัดการที่ประสบ ความสําเร็จ เพราะการปรึกษาหารือที่แทจริงเปนหัวใจสําคัญของการวางแผนการจัดการที่แทรก อยูตลอด กระบวนการทั้งหมดตั้งแตการถกประเด็นในขั้นตนไปถึงการจัดการมรดกที่กําลังดําเนินอยู โดยเฉพาะที่ เกี่ยวกับการทองเที่ยวนั้นปรากฏวาผูมีสวนไดสวนเสียจากขางนอกอาจมีอํานาจเหนือการจัดการและนําเสนอ เรื่องราวที่เกี่ยวกับมรดกมากกวาเจาของมรดกวัฒนธรรมตัวจริง(ผูคนในชุมชนแหลงมรดก)ใครก็ตามที่ควบคุม สารสื่อที่แพรหลายเกี่ยวกับมรดกวัฒนธรรมใหผูดูผูรับชมเขาใจไดมากก็ยอมมีอิทธิพลที่สะทอนกลับมาวา สามารถใชมรดกวัฒนธรรมนั้นอยางมีความชัดเจนเชื่อมโยง หนาที่เชนนี้ผูที่เกี่ยวกับการทองเที่ยว(ผูมีสวนได สวนเสียจากภายนอก)มักทําไดกวาผูคนในชุมชน การจัดการทรัพยากรวัฒนธรรมกับการทองเที่ยว ในประเด็นที่การทองเที่ยววัฒนธรรมมีอิทธิพลคอนขางมากการนําเสนอมรดกวัฒนธรรมจะวางแผน อยางไร ในโลกที่พัฒนาแลวจะเห็นอิทธิพลดังกลาวอยางเดนชัดเพราะการจัดการทรัพยากรวัฒนธรรมมี พัฒนาการเต็มที่แลว อีกทั้งยังตระหนักอยางแจมชัดถึงการใชและผูใชมรดกวัฒนธรรม อยางไรก็ตามการ ตระหนักในเรื่องดังกลาวก็อาจไมนําไปสูเรื่องความสัมพันธที่งายดายเสมอไปเพราะความตึงเครียดอาจเกิดขึ้น ไดดวยเปนผลมาจากความตองการที่แตกตางของการทองเที่ยวและการอนุรักษ สถานการณนี้วิกฤติอยางยิ่งใน ประเทศที่กําลังพัฒนา ในประเทศเหลานี้การทองเที่ยวขนาดมหึมา(mass tourism)ไดปรากฏขึ้นมากอนที่การ ออกกฎหมายจัดการมรดกวัฒนธรรมที่เหมาะสมจะบังคับใช ในกรณีนี้หากควบคุมการทองเที่ยวไดวิกฤติก็ พอจะลดลงบาง กระนั้นความเสียหายเดนๆก็อาจจะปรากฏอยูบางจากการใชวัฒนธรรมมากเกินไป ใช ทรัพยสินทางวัฒนธรรมอยางไมเหมาะสม มีการจําลองรูปลักษณมรดกดกวัฒนธรรมออกจําหนายเปนของที่ ระลึกและการคาวัตถุโบราณอยางผิดกฎหมาย การขาดอํานาจวิถีทองถิ่นของฝายการจัดการทรัพยากรวัฒนธรรม(ชุมชน)มักทําใหเปนสิ่งไมมั่นคงตอ การทองเที่ยว โดยเฉพาะอยางยิ่งเมื่อรัฐบาลถือวามรดกเหลานั้นเปนดั่งทรัพยากรที่กอใหเกิดรายไดอยางมี ศักยภาพ ความจริงแลวมรดกวัฒนธรรมแทบไมคอยไดรับรายไดที่เกิดจากการทองเทียวมากมายนักหรืออาจไม เคยไดรับผลประโยชนจากรายไดนั้นเลยแมวามรดกเหลานี้อาจเปนสิ่งดึงดูดนักทองเที่ยวมากอยูก็ตาม นั้นจึง เปนเรื่องสําคัญที่วาจะตองมีความสมดุลระหวางการใชมรดกวัฒนธรรมเพื่อการทองเที่ยวกับจุดประสงคของ การสงวนรักษาตามแนวทางของการจัดการทรัพยากรวัฒนธรรม ผูตัดสินใจในเรื่องนี้จําเปนตองมีความ คาดหวังอยางสมเหตุสมผลเกี่ยวกับจํานวนศักยภาพการทองเที่ยวที่มรดกวัฒนธรรมมีอยูและผูตัดสินใจจะตอง ทราบวาจะใหบรรลุศักยภาพนั้นในวิถีที่รับผิดทางสังคมและวัฒนธรรมอยางไร
  • 13. 12 ความตองการการทองเที่ยวมิใชสิ่งเดียวในการพิจารณาการจัดการทรัพยากรวัฒนธรรม นักทองเที่ยวเปนเพียงคนสวนเดียวในหมูผูที่อาจใชมรดกวัฒนธรรม ดังนั้นความตองการเขาไป ทองเที่ยวชมมรดกวัฒนธรรมของนักทองเที่ยวจึงเปนเพียงหนึ่งเดียวของคิดพิจารณาทั้งหลายวาจะตอง ตัดสินใจอยางไรที่จะจัดการมรดกวัฒนธรรมและนําเสนอมรดกวัฒนธรรมในบางกรณีดังเชนที่เกี่ยวกับ พิพิธภัณฑสถานและสถานที่แสดงศิลปะความตองการชื่นชมศิลปะโบราณวัตถุของนักทองเที่ยวก็จะคลายๆกับ ความตองการการใชมรดกวัฒนธรรมของกลุมผูใชกลุมอื่นๆ อยางไรก็ตามในตัวอยางอื่นๆอีกหลายตัวอยาง ความตองการของนักทองเที่ยวจะแตกตางอยางยั่งยืนกวาความตองการของผูใช(มรดก)กลุมอื่นๆ ระดับความ แตกตางของความรูเกี่ยวกับมรดก ความสนใจที่แตกตางในมรดก ภูมิหลังทางวัฒนธรรมที่แตกตางและความ คาดหวังที่แตกตางทั้งหลายเหลานี้อาจหมายความวาการนําเสนอเรื่องราวของมรดกเพื่อผูใชมรดกทองถิ่น (ชาวบานรานตลาด)อาจจะไมเหมาะสมสําหรับนักทองเที่ยว และในทางกลับกันการนําเสนอเรื่องราวของมรดก เพื่อนักทองเที่ยวก็อาจดูไมเหมาะสมสําหรับชาวบานในทองถิ่น ดังนั้นผลที่ตามมาของการทองเที่ยวจึงตองการ การตัดสินใจอยางมีสํานึกและเปนความตองการที่ทําใหการนําเสนอ(เรื่องราวเกี่ยวกับมรดก)แตกตางออกไป หรือนําเสนอเพียงเพื่อนักทองเที่ยวผูมีความตองการที่เขากันไดกับผูใช(มรดก)ในทองถิ่น การทองเที่ยวอาจเปน ผูใชมรดกที่สําคัญแตการทองเที่ยวก็ไมใชผูใชมรดกวัฒนธรรมเพียงคนเดียว การตัดสินใจใดๆเกี่ยวกับการ จัดการทรัพยากรวัฒนธรรมจึงตองพิจารณารอบดานถึงผูใชมรดกวัฒนธรรมกลุมอื่นๆดวยวาจะนําเสนอ เรื่องราวเกี่ยวกับมรดกวัฒนธรรมนั้นอยางไรใหตอบสนองความตองการของทุกๆฝายไดโดยไมสรางความ เสียหายใหกับมรดกวัฒนธรรม ผลกระทบลบและบวกของการทองเที่ยว การทองเที่ยวนั้นอาจมีผลกระทบแผไปไกลตอการอนุรักษและการจัดการมรดกทรัพยสินทาง วัฒนธรรมระยะยาวคือสิ่งที่เห็นไดงายสําหรับคนสวนใหญจากโลกที่พัฒนาแลว(Mercer 1966 ; Hollingshead 1999)โดยแทจริงแลวตําราการทองเที่ยวเบื้องตนทุกๆตําราจะบรรจุสาระอยางนอยก็ 1 บทที่ อภิปรายผลกระทบของการทองเที่ยวที่มีตอสังคม วัฒนธรรม และสภาพแวดลอม ประเด็นขอนี้เปนวิชา คนควาวิจัยอยางกวางขวางในงานวิชาการ อยางไรก็ตามในเขตที่กําลังเผชิญกับการพัฒนาอยางฉับไวและยังไม มีแบบแผนธรรมเนียมของการสงวนรักษาผลกระทบดานลบจากการทองเที่ยวจึงปรากฏอยูดาดดื่น ทัศนะใน เรื่องนี้ดูเหมือนจะอยูที่วาผลประโยชนของการพัฒนาทางเศรษฐกิจไดครอบงํากระทั่งอาจมองไมเห็นผลกระทบ จากการพัฒนาเลย ทัศนะคติเชนนี้ก็เคยเปนเรื่องธรรมดาที่เกิดขึ้นในประเทศที่พัฒนาแลวเมื่อสี่สิบกวาปกอน การมีทัศนะคติเชนนั้นเปนเพียงการมองผลประโยชนระยะใกล เพื่อการจัดการที่จะใหผลประโยชนระยะยาวจึง มีการสงเสริมสนับสนุนใหการทองเที่ยวไดใชแนวการสรางสมดุลโดยการบอกเลาใหเห็นถึงผลดีและผลเสียที่จะ เกิดจากการทองเที่ยวตอชุมชนแหลงทองเที่ยวและวัฒนธรรมของชุมชนแหงนั้น การวางแผนระยะยาวดวยทัศนะที่ชัดเจนและการจัดการจะคาดลวงหนาถึงผลกระทบที่จะมีมาอยาง ทวมทนและพัฒนาโปรแกรมตางๆที่ชวยลดหรือบรรเทาผลกระทบนั้น ตอไปนี้คือผลกระทบบางประการที่การ ทองเที่ยวอาจมีตอทรัพยมรดกวัฒนธรรมที่จับตองไดและมรดกภูมิปญญาทางวัฒนธรรม ขอมูลในรายการ
  • 14. 13 เหลานี้พัฒนามาจากการสังเกตการณของการพัฒนาการทองเที่ยววัฒนธรรมในหลายๆสวนของเอเชียใน ระยะแรกๆ ผลกระทบลบ 1.นักทองเที่ยวใชมรดกวัฒนธรรมมากเกินไปในแหลงทองเที่ยวอันเปนที่นิยมเขาไปเยี่ยมเยือนมากๆ อยางเชนที่อําเภอปาย จังหวัดแมฮองสอน พบวากิจกรรมตางๆที่เกี่ยวของกับการทองเที่ยวและจํานวน นักทองเที่ยวที่มาเยือนในฤดูกาลที่มีอากาศหนาวเย็นในชวงเดือนพฤศจิกายน-เดือนกุมภาพันธนั้นชาวบานใน ทองถิ่นถูกแยงพื้นที่เกือบทุกอยางโดยเฉพาะในตลาดปายจะไมคอยพบเห็นชาวบานเดินจับจายใชสอยเหมือน แตกอนเพราะบัดนี้นักทองเที่ยวและผูประกอบการธุรกิจทองเที่ยวไดเขาไปแยงพื้นที่ใชสอยเพื่อกิจกรรมตางๆ ของชุมชนทองถิ่นไปเสียสิ้น ปรากฎการณอื่นๆที่เปนผลกระทบลบที่เห็นกันชัดๆไดแกความแออัดเนื่องจาก ผูคนมีจํานวนมากเกินพื้นที่ที่มีอยู การจอดรถเนืองแนนไปทั่วทุกแหงหน ใครๆก็อยากสะดวกสบาย การแยงหา ที่จอดรถใกลๆแหลงทองเที่ยวเกิดอยูเปนประจํา ฤดูทองเที่ยวทุงบัวตองอาจตองจอดรถไวไกลเกินจุดชมวิวทุง ดอกบัวตองยาวไกลนับกิโลเมตร ปญหาการทิ้งขยะไมเลือกที่และปญหามลพิษทางเสียงเปนสิ่งที่หลีกเลี่ยงไมได ในแหลงที่มีผูคนแออัด ในแหลงทองเที่ยวที่มีทรัพยากรจํากัดเชนน้ําจืดหรือกระแสไฟฟาจึงเปนธรรมดาที่จะมี การบนกลาวอยางไมพอใจที่แหลงทองเที่ยวขาดน้ําอุปโภคบริโภคและมีกระแสไฟฟาใหใชไดในเวลาที่กําหนด เชนเมื่อถึงเวลา 4 ทุมอุทยานแหงชาติมีระเบียบปดการใหบริการกระแสไฟฟาแกนักทองเที่ยว 2.การพึ่งพาการทองเที่ยว กอนที่การทองเที่ยวจะพัฒนาเขาไปสูแหลงทองเที่ยว นั้นในอดีตชุมชน แหลงทองเที่ยวเคยพึ่งพาการผลิตของทองถิ่นตนเองไดดีตลอดมา ภายหลังอุตสาหกรรมการทองเที่ยวรุงเรือง หลายสวนของชุมชนกลายเปนผูพึ่งพา(ทางเศรษฐกิจ)การทองเที่ยวเต็มที่ สินคาและบริการที่มากับการ ทองเที่ยวเปนสิ่งสําเร็จรูปที่มาในรูปของอุตสาหกรรม เพียงแคมีกําลังทรัพยก็ซื้อหาสินคาและบริการเหลานั้น ได ยิ่งการทองเที่ยวกาวตอไปคนในทองถิ่นในแหลงทองเที่ยวก็ยิ่งลดลง และเลิกการพึ่งตนเองตามแบบแผนวิถี ดั้งเดิมดวยภูมิปญญาทองถิ่นที่บรรพบุรุษไดสรางและสืบสานกันมานานหลายชั่วอายุ จะเกิดอะไรขึ้นกับคนใน ทองถิ่นผูอยูกับมรดกวัฒนธรรมทั้งหลายเมื่อวันหนึ่งการทองเที่ยวตองมีอันเปนไปเพราะปจจัยตางๆ จะหัน กลับไปอาศัยแบบแผนชีวิตเดิมๆเพื่อแกปญหาชีวิตอีกครั้งก็คงยากเพราะไมมีหลักฐานอันใดเหลือพอเปน แนวทางฟนสภาพชีวิตสังคมพื่อตอบสนองความตองการเฉพาะหนาได โดยเฉพาะมรดกวัฒนธรรมที่เกี่ยวกับภูมิ ปญญาคงจะลมสลายหมดไปสิ้น ถึงเวลานั้นทองถิ่นลานนาซึ่งเปนแหลงที่เที่ยวยอดนิยมคงจะไดแตเฝาฝนถึง แกงโฮะแกงกระดางที่ไมมีใครทําไดรสเด็ดเหมือนสมัยที่ยังไมตกอยูภายใตอิทธิพลการทองเที่ยวทั้งหมด 3.พฤติกรรมนักทองเที่ยว ตัวนักทองเที่ยวก็อาจกอใหเกิดผลกระทบตอมรดกวัฒนธรรมไดเชนกันโดยไมตระหนัก(หรือเลือกที่จะ เพิกเฉย)ถึงมารยาทของนักทองเที่ยว ณ แหลงทองเที่ยวที่ดึงดูดความสนใจ นักทองเที่ยวขาดมรรยาทไมสนใจ ธรรมเนียมทองถิ่นหรือไมรูสึกออนไหวตอแบบแผนประเพณีทองถิ่น เชนแตงกายไมเคารพสถานที่ๆไปเที่ยวชม
  • 15. 14 มีพฤติกรรมเชิงลบหลูสถานที่ศักดิ์สิทธิ์เชนสวมรองเทาใน ศาสนสถานประเภทโบสถและวิหาร ดื่มเครื่องดื่ม แอลกอฮอลในที่สาธารณะและเสพยาอยางเปดเผย 4.การพัฒนาโครงสรางเศรษฐกิจที่ไมไดวางแผน กอนหนาที่การทองเที่ยวจะรุงเรืองแหลงทองเที่ยวสวนใหญจะมีรูปลักษณที่เปนเอกลักษณเปนที่ดึงดูด ความสนใจผูมาเยือนเชน แหลงทองเที่ยวที่อําเภอปาย สมัยเมื่อ 20 ปกอนมีความสงบและมีเสนหที่บานเรือน ไมริมสองขางทางในยานตลาดและชุมชนที่อาศัยอยูทามกลางหุบเขาและทุงที่ราบริมแมน้ําปาย มาบัดนี้มีสิ่ง ปลูกสรางใหมๆรูปรางแปลกแตกตางโดเดนเต็มทุงราบและหุบเขา รวมทั้งผับบารและรานคาสมัยใหมๆ ทั้ง กายภาพของแหลงทองเที่ยวและบรรยากาศรมรื่นอบอุนใสซื่อแบบชาวบานจึงถูกลบออกไป 5.ผูไดรับผลประโยชนจํากัด ตามความคาดหวังเชิงนโยบายแลวเปนที่ทราบทั่วกันประการหนึ่งวาการทองเที่ยวจะกระตุนใหเกิด การเคลื่อนไหวทางเศรษฐกิจ เชนกอใหเกิดการจางงาน ผูคนในฝายบริการจะมีรายไดเพิ่มขึ้น แตในความเปน จริงมักไมเปนเชนที่หวัง ผูคนในทองถิ่นมักไมคอยไดรับโอกาสทางเศรษฐกิจดังกลาวขางตนนัก เพราะชาวบาน ทั่วไปไมมีความรูความสามารถที่จะเขาไปทํางานดานบริหาร ผูมีโอกาสไดรับการจางงานมักเปนผูคนนอกชุมชน ที่มีคุณสมบัติตามที่ฝายบริการการทองเที่ยวตั้งกฎเกณฑไว รายไดจากการทองเที่ยวมักอยูในแวดวง ผูประกอบการซึ่งมีทั้งผูประกอบการจากภายในและภายนอกชุมชนแหลงทองเที่ยว นอกจากรายไดจะรั่วไหล ออกไปนอกแหลงทองเที่ยวแลวยังกอใหเกิดการแบงหารรายไดระหวางคนในและคนนอก อีกทั้งยังสรางความ ไมพอใจใหแกผูที่ไมไดมีสวนเกี่ยวของกับการทองเที่ยวที่อาจรูสึกวาการทองเที่ยวนําความยุงยากสับสนมาสูชม ชนของตน 6.การเสียการควบคุมทรัพยสมบัติวัฒนธรรม ผูประกอบการบางสวนเห็นวาการทําของที่ระลึกจากการทองเที่ยวออกจําหนายเปนอีกหนทางหนึ่งที่ จะนํากําไรมาสูธุรกิจของตน จึงพบวามีการดัดแปลงลักษณะเอกลักษณมรดกวัฒนธรรมที่นั่นเพื่อเปนสวนหนึ่ง หรือเปนสวนประกอบบนของที่ระลึกที่ผลิตออกจําหนาย เชนการเลียนแบบลวดลายผาขิดและผาจกที่ชาวบาน เคยสรางเปนงานเปนงานฝมือดวยการพิมพลายบนผืนผาที่ผลิตจากโรงงานหรือการนําลายจักสานจากภาชนะ ประเภทเครื่องจักสานไมไผและหวายไปประยุกตเปนลายเครื่องใชที่ทําจากวัสดุพลาสติกที่โรงงานผลิตออกมา จําหนายไดคราวละมากๆแทนฝมือแบบดั้งเดิมของทองถิ่น นอกจากนี้ยังพบอยูมากมายในเรื่องของ เครื่องประดับตกแตงรางกาย เชนเครื่องเงินซึ่งเปนเอกลักษณของผูคนบนดอย หรือเครื่องทอง เครื่องทองเหลือ ฯลฯ ของหลายทองถิ่นในพื้นที่ราบถูกลอกเลียนแบบและทําออกมาจําหนายในลักษณะของการปมดวย เครื่องจักรกลแทนการแกะสลักประดิษฐดวยฝมืออยางแตกอน ปญหานี้อาจพอแกไขไดบางหากมีการออก สิทธิบัตรหรือออกกฎหมายปกปองคุมครองมรดกวัฒนธรรมพื้นบานเฉพาะกรณี