SlideShare a Scribd company logo
สื่อการสอนประกอบ
วิชาภาษาไทย ท ๓๓๑๐๒
จัดทาโดย นางสุจิฬา ไก่แก้ว ครู อันดับ คศ. ๓
โรงเรียนเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระศรีนครินทร์ กาญจนบุรี
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษา มัธยมศึกษา เขต ๘
เรื่อง ไตรภูมิพระร่วง ตอน มนุสสภูมิ
วีดีโอ..กาเนิดมนุษย์
ไตรภูมิพระร่วง
แก้ววรรณกรรม พระราชนิพนธ์ของ
พระมหาธรรมราชาที่ ๑ (พญาลิไท) นัดดา ของ
พ่อขุนรามคาแหงมหาราช เมื่อครั้ง ทรงเป็น
อุปราชครองเมืองศรีสัชนาลัย เมื่อกว่า ๗๐๐ ปี
ไตรภูมิพระร่วง
ตอน มนุสสภูมิ
ไตรภูมิ คือ อะไร
เดิม เรียก เตภูมิกถา คือ เรื่องราว
ของสามโลก หรือ สามภูมิ ได้แก่
กามภูมิ
รูปภูมิ
อรูปภูมิ
กามภูมิ
โลกของผู้ยังติดอยู่ในกามกิเลส ๒แดน มี ๑๑ชั้น
๑. สุคติภูมิ ประกอบด้วย นุสสภูมิ และสวรรค์ภูมิ
หรือ ฉกามาพจร ( ๗ ชั้น)
- ชั้นที่ ๖ : ปรนิมมิตวสวัตดี
- ชั้นที่ ๕ : นิมมานนรดี
- ชั้นที่ ๔ : ดุสิต
- ชั้นที่ ๓ : ยามา
- ชั้นที่ ๒ : ดาวดึงส์
- ชั้นที่ ๑ : จตุมหาราชิกา
มนุสสภูมิ
๒. อบายภูมิ (ทุคติภูมิ) แดนฝ่ ายเสื่อม
ได้แก่
- อสุรกายภูมิ
- เปรตภูมิ
- ดิรัจฉานภูมิ
- นรกภูมิ
รูปภูมิ
รูปภูมิ
ที่อยู่ของพรหมที่มีรูปมีทั้งสิ้น ๑๖ ชั้น
ต้องบาเพ็ญสมาธิจนได้ฌาน
อรูปภูมิ
อรูปภูมิ
แดนของพรหมไม่มีรูป มีแต่จิตหรือวิญญาณ
มีทั้งหมด ๔ชั้น
ไตรภูมิพระร่วง สอนอะไร?
“ความเปลี่ยนแปรของสรรพสิ่ง คือ
อนิจจลักษณะ”
กาเนิดแห่งมนุษย์
ในความเชื่อ
ของพญาลิไท?
มนุสสภูมิ
เมื่อแรกเป็นเพียง “กลละ” หรือ Cell ขนาดเล็ก
ผิรูปอันจะเกิดเป็นชายก็ดี หญิงก็ดี เกิดมีเป็น อาทิ
เกิดเป็น กลละนั้น
โดยใหญ่แต่ละวัน
แลน้อย ครั้น ๗วัน
เรียกว่า อัมพุทะ
ครั้น ๗วัน วันขึ้น
ดั่งตะกั่วเชื่อมอยู่ในหม้อ
เรียกว่า เปสิ
ฆนะนั้นค่อยใหญ่ไปทุกวันครั้น ๗ วัน เป็นตุ่มออกห้าแห่ง
ดังหูดเรียกว่า เบญจสาขาหูด
เบญจหูดนั้นเป็นมือ ๒อัน เป็นตีน ๒อัน
เป็นหัวนันอันหนึ่ง
แลแต่นั้นค่อยไป
เบื้องหน้า
ทุกวันครั้น ๗
วัน
เป็นฝ่ ามือ
เป็นนิ้วมือ นิ้วตีน
คารบ ๔๒จึงเป็นขน
เป็นเล็บตีน เล็บมือ
เป็นเครื่องสาหรับมนุษย์
ถ้วนทุกอันแล
แลกุมารนั้นนั่งกลาง
ท้องแม่
แลเอาหลังมาต่อหลัง
ท้องแม่
เมื่อกุมารอยู่ใน
ท้องแม่นั้น
ลาบากนักหนา ก็ชื้น
และเหม็นกลิ่นตืด
แลเอือน ๘๐ ครอก
อันว่าสายดือแห่งกุมารนั้น กลวงดังสายก้านบัว อันมีชื่อว่าอุบล
จงอยไส้ดือนั้น กลวงขึ้นไปติดหลังท้องแม่
ข้าวน้าอาหารใดอันแม่กินไสร้ แลโอชารสนั้นก็เป็นน้าชุ่ม
เข้าไปในไส้ดือนั้นแลเข้าไปในท้องกุมารนั้นแล
สะหน่อยๆ แลผู้น้อยนั้นก็ได้กินทุกค่าเช้าทุกวัน
เบื้องหลังกุมารนั้นต่อหลังท้องแม่ แลนั่งยอง
อยู่ในท้องแม่ แลกามือทั้งสอง...
กุมารนั้นอยู่ในท้องแม่บ่ห่อน
ได้หายใจเข้าออกเสียเลย
บ่ห่อนได้เหยียดตีน
เหยียดมือออก ดั่งเราท่าน
ทั้งหลายนี้สักคาบเลย
คนผู้ใดอยู่ในท้องแม่ ๖เดือน
แลคลอดบ่ห่อนจะได้สักคาบ
เมื่อจะออกจากท้องแม่
วันนั้นไสร้
จึงลมกรรมชวาต
พัดให้หัวผู้น้อยนั้นลง
มาสู่ที่จะออก
แลคับแคบ
แอ่นยันนักหนา
ครั้นออกจากท้องแม่แต่นั้นไป เมื่อหน้ากุมารนั้น
จึงรู้หายใจเข้าออกแล
ผิแลคนผู้มาแต่สวรรค์... ครั้นว่าออกมาไสร้
ก็ย่อมหัวเราะก่อนแล
ผิคนอันมาแต่นรกก็ดี แลมาแต่เปรตก็ดีมันคานึงถึง
ความอันลาบากนั้น ครั้นว่าออกมาก็ร้องไห้แล
น่าสังเกตไหมว่าเหตุใดผู้แต่งจึงเข้าใจเรื่อง
กาเนิดมนุษย์อย่างความคิดวิทยาศาสตร์
จนแทบไม่น่าเชื่อว่านี่คือ
ผลงานกวีโบราณ
ผู้แต่ง
– พระมหาธรรมราชาที่ 1 (พระยาลิไทย)เป็นกษัตริย์องค์ที่ 5 ของสุโขทัย
ชื่อเดิม
– เตภูมิกถา หรือ ไตรภูมิกถา
ความหมาย
– เรื่องราวของสามโลก คือ กามภูมิ รูปภูมิ อรูปภูมิ
จุดมุ่งหมาย
– ชี้ให้เห็นคุณและโทษของโลกทั้งสาม ที่มีแต่การแปรเปลี่ยนไม่แน่นอน มีแต่อนิจจลักษณะ
– ชี้ให้มนุษย์หาทางหลุดพ้นไปจากโลกทั้งสามเพื่อไปอยู่ในโลกุตรภูมิ หรือนิพพาน
– เน้นเรื่องกฎแห่งกรรม โดยเริ่มเนื้อหาจากนรกภูมิ
ผลจากการฟัง – ทาให้บรรลุนิพพาน
– ได้เกิดเป็นเทพยดาในสวรรค์อันเป็นโลกทิพย์
– มีโอกาสเกิดมาพบพระศรีอาริย์ผู้จะมาเป็นพระพุทธเจ้าในอนาคต
สรุปเนื้อหาไตรภูมิพระร่วง ตอน มนุสสภูมิ
ด้านวรรณคดี
– เป็นหลักฐานแสดงให้เห็นว่าคนไทยรู้จักแต่งวรรณคดีตั้งแต่สมัยสุโขทัย
ด้านศาสนา
– เป็นการนาเสนอปรัชญาทางพุทธศาสนา
ด้านจริยธรรม
– กาหนดกรอบการปฏิบัติตนให้คนในสังคมทั้งผู้ปกครองและผู้ถูกปกครอง ทาให้สังคมสงบสุข
ด้านประเพณีและวัฒนธรรม
– แสดงให้เห็นความเชื่อที่ตกทอดมาสู่ประเพณีและวัฒนธรรมในปัจจุบัน เช่น
– การจัดดอกไม้ธูปเทียนให้คนตายก่อนปิดฝาโลง เพื่อให้ผู้ตายนาดอกไม้นั้นไปสักการะพระจุฬามณี
เจดีย์ในสวรรค์
– การเผาศพในเมรุเปรียบเสมือนการเดินทางขึ้นเขาพระสุเมรุไปสู่สวรรค์
ด้านศิลปะ
– ก่อให้เกิดงานจิตรกรรมและสถาปัตยกรรมตามแผนภูมิจักรวาลในเรื่องไตรภูมิพระร่วง
คุณค่า
– การเกิดในท้องมารดาเป็นทุกข์แบบหนึ่ง ไม่ใช่เรื่องน่ายินดีเลย
– กวีมีความรู้เรื่องการกาเนิดมนุษย์ตามแบบวิทยาศาสตร์
การใช้ภาษา
– มีการใช้คาเป็นจังหวะน่าฟัง
– มีการใช้คาสัมผัสคล้องจอง
– มีการใช้โวหารภาพพจน์ โดยเฉพาะอุปมาโวหาร
แนวคิด
• ปฏิสนธิ -> กัลละ (ขนาด เศษ 1 ส่วน256 ของเส้นผม)
• 7 วัน -> อัมพุทะ (น้าล้างเนื้อ)
• 14 วัน -> เปสิ (ชิ้นเนื้อ)
• 21 วัน -> ฆนะ (ก้อนเนื้อ, แท่งเนื้อ ขนาดเท่าไข่ไก่)
• 28 วัน -> เบญจสาขาหูด (มีหัว แขน2 ขา2) ครบ 1 เดือน
• 35 วัน -> มีฝ่ามือ นิ้วมือ ลายนิ้วมือ
• 42 วัน -> มีขน เล็บมือ เล็บเท้า (เป็นมนุษย์ครบสมบูรณ์)
• 50 วัน -> ท่อนล่างสมบูรณ์
• 84 วัน -> ท่อนบนสมบูรณ์
• 184 วัน -> เป็นเด็กสมบูรณ์ นั่งกลางท้องแม่ (6เดือน)
การเกิดมนุษย์
• ท้อง 6 เดือนคลอด - >ไม่รอด
• ท้อง 7 เดือนคลอด ->ไม่แข็งแรง
• การเกิด
• มาจากสวรรค์ -> ตัวเย็น ออกมาแล้วหัวเราะ
• มาจากนรก -> ตัวร้อน ออกมาแล้วร้องไห้
• *** ลมกรรมชวาต = ลมเกิดแต่กรรม ดันให้เด็กคลอดออกมา
การคลอด/การเกิด
• กาล 1 แรกเกิดในท้องแม่
• กาล 2 อยู่ในท้องแม่
• กาล 3 ออกจากในท้องแม่
• * คนธรรมดา ไม่รู้ตัว จาไม่ได้ทั้ง 3 กาล
• * พระปัจเจกโพธิเจ้า/ พระอรหันตาขีณาสพเจ้า / พระอัครสาวกเจ้า 2
กาลแรกรู้ตัว จาได้ แต่ลืมกาลที่ 3
• *** ควรอิ่มสงสารแล = เกิดเป็นคนควรใช้ชีวิตให้คุ้มค่า
กาลทั้ง 3 ของมนุษย์
อกุศลกรรมบถ 10 ประการ
กายกรรมหรือ การทาบาปทางกาย มี 3 คือ
1. ฆ่าสัตว์ 2. ลักทรัพย์ 3. ประพฤติผิดใน
กาม
วจีกรรมหรือ การทาบาปทางวาจา มี 4 คือ
1. พูดเท็จ 2. พูดส่อเสียด
3. พูดคาหยาบ 4. พูดเพ้อเจ้อ
มโนกรรมหรือ การทาบาปทางใจ มี 3 คือ
1. โลภอยากได้ของเขา 2. พยาบาทปองร้ายเขา
3. มิจฉาทิฏฐิ เห็นผิดจากคลองธรรม
ทาชั่ว....ไปเกิดเป็นเปรต
อุปมาโวหาร แสดงให้เห็นความทุกข์ของการเกิด
- เลือดแลน้าเหลืองย้อยลงเต็มตนทุกเมื่อแล ดุจดั่งลิงเมื่อฝนตก แลนั่งกามือเซาเจ่าอยู่ในโพรงไม้นั้น
แล
- ในท้องแม่ร้อนนักหนา ดุจดังเราเอาใบตองเข้าจ่อตน แลต้มในหม้อนั้นไซร้
- กุมารนั้นเจ็บเนื้อเจ็บตน ดั่งคนอันท่านขังไว้ในไหอันคับแคบหนักหนา
- กุมารอยู่ในท้องแม่นั้นให้เจ็บเพียงจะตายแล ดุจดั่งลูกทรายอันเพิ่งออกแล อยู่ธรห้อยผิบ่มิดุจดั่งคน
อันเมาเหล้า(เหมือนลูกทรายโดนคนเมาเอาไปโยนเล่น) ผิบ่มิดุจดั่งลูกงูอันหมองูเอาไปเล่น นั้น
แล
- เมื่อถึงจักคลอด ดุจดั่งฝูงนรกอันยมบาลกุมตีนแลหย่อนหัวลงในขุมนรก อันลึกได้แลร้อยวา
- เมื่อกุมารคลอดออกจากท้องแม่ ออกแลไปบ่มิพ้นตน ตนเย็น(แม่)นั้นแลเจ็บเนื้อเจ็บตนนักหนา ดั่ง
ช้างสารท่านชักท่านเข็นออกจากประตูลักษ(รูกุญแจ)อันน้อยนั้น
- แลคับตัวออกยากลาบากนั้นแล ผิบ่มิดั่งนั้น ดั่งคนผู้อยู่ในนรกแล แล ภูเขาอันชื่อคังไคยบรรพตหีบ
(บีบ)แลเหง(ทับ) และบดบี้นั้นแล
โวหารในไตรภูมิ
จบบริบูรณ์

More Related Content

What's hot

แบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
แบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมแบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
แบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
Jariya Jaiyot
 
กัณฑ์มัทรี
กัณฑ์มัทรีกัณฑ์มัทรี
กัณฑ์มัทรีMilky' __
 
พฤติกรรมของสัตว์
พฤติกรรมของสัตว์พฤติกรรมของสัตว์
พฤติกรรมของสัตว์Nokko Bio
 
ประชากร Population
ประชากร Populationประชากร Population
ประชากร Population
Pat Sn
 
Taxonomy(อนุกรมวิทฐาน)
Taxonomy(อนุกรมวิทฐาน)Taxonomy(อนุกรมวิทฐาน)
Taxonomy(อนุกรมวิทฐาน)firstnarak
 
Mindmap การลำเลียงสารผ่านเข้าออกเซลล์
Mindmap การลำเลียงสารผ่านเข้าออกเซลล์Mindmap การลำเลียงสารผ่านเข้าออกเซลล์
Mindmap การลำเลียงสารผ่านเข้าออกเซลล์
กมลรัตน์ ฉิมพาลี
 
เซลล์ประสาทและการทำงาน
เซลล์ประสาทและการทำงาน เซลล์ประสาทและการทำงาน
เซลล์ประสาทและการทำงาน
Thitaree Samphao
 
วัยผู้ใหญ่
วัยผู้ใหญ่วัยผู้ใหญ่
วัยผู้ใหญ่
tassanee chaicharoen
 
ใบกิจกรรมที่ 5การรักษาดุลยภาพของน้ำและสารต่างๆ ของร่างกาย
ใบกิจกรรมที่ 5การรักษาดุลยภาพของน้ำและสารต่างๆ ของร่างกายใบกิจกรรมที่ 5การรักษาดุลยภาพของน้ำและสารต่างๆ ของร่างกาย
ใบกิจกรรมที่ 5การรักษาดุลยภาพของน้ำและสารต่างๆ ของร่างกายAomiko Wipaporn
 
แบบประเมินชิ้นงาน
แบบประเมินชิ้นงานแบบประเมินชิ้นงาน
แบบประเมินชิ้นงาน
krunueng1
 
พระพรหมมังคลาจารย์ (ปัญญานันทภิกขุ)51
พระพรหมมังคลาจารย์ (ปัญญานันทภิกขุ)51พระพรหมมังคลาจารย์ (ปัญญานันทภิกขุ)51
พระพรหมมังคลาจารย์ (ปัญญานันทภิกขุ)51
Krusupharat
 
แบบสอบถามความพึงพอใจ
แบบสอบถามความพึงพอใจแบบสอบถามความพึงพอใจ
แบบสอบถามความพึงพอใจ
Duangnapa Inyayot
 
บทที่4ตอบสนองและฮอร์โมนพืช
บทที่4ตอบสนองและฮอร์โมนพืชบทที่4ตอบสนองและฮอร์โมนพืช
บทที่4ตอบสนองและฮอร์โมนพืช
Wichai Likitponrak
 
การรับรู้และการตอบสนอง
การรับรู้และการตอบสนองการรับรู้และการตอบสนอง
การรับรู้และการตอบสนอง
sukanya petin
 
แบบประเมินต่างๆ
แบบประเมินต่างๆแบบประเมินต่างๆ
แบบประเมินต่างๆNaphachol Aon
 
คำที่มีพยัญชนะต้น ฑ + การอ่านคำที่มี ฤ ฤๅ ฦ ฦๅ ป.3
คำที่มีพยัญชนะต้น ฑ + การอ่านคำที่มี ฤ ฤๅ ฦ ฦๅ ป.3คำที่มีพยัญชนะต้น ฑ + การอ่านคำที่มี ฤ ฤๅ ฦ ฦๅ ป.3
คำที่มีพยัญชนะต้น ฑ + การอ่านคำที่มี ฤ ฤๅ ฦ ฦๅ ป.3
Kansinee Kosirojhiran
 
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 14 การตอบสนองต่อสิ่งเร้าของพืช
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 14 การตอบสนองต่อสิ่งเร้าของพืชแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 14 การตอบสนองต่อสิ่งเร้าของพืช
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 14 การตอบสนองต่อสิ่งเร้าของพืชWann Rattiya
 
สมรรถภาพทางกลไก
สมรรถภาพทางกลไกสมรรถภาพทางกลไก
สมรรถภาพทางกลไก
593non
 

What's hot (20)

แบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
แบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมแบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
แบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
 
กัณฑ์มัทรี
กัณฑ์มัทรีกัณฑ์มัทรี
กัณฑ์มัทรี
 
พฤติกรรมของสัตว์
พฤติกรรมของสัตว์พฤติกรรมของสัตว์
พฤติกรรมของสัตว์
 
ประชากร Population
ประชากร Populationประชากร Population
ประชากร Population
 
แผนBioม.4 1
แผนBioม.4 1แผนBioม.4 1
แผนBioม.4 1
 
Taxonomy(อนุกรมวิทฐาน)
Taxonomy(อนุกรมวิทฐาน)Taxonomy(อนุกรมวิทฐาน)
Taxonomy(อนุกรมวิทฐาน)
 
Mindmap การลำเลียงสารผ่านเข้าออกเซลล์
Mindmap การลำเลียงสารผ่านเข้าออกเซลล์Mindmap การลำเลียงสารผ่านเข้าออกเซลล์
Mindmap การลำเลียงสารผ่านเข้าออกเซลล์
 
เซลล์ประสาทและการทำงาน
เซลล์ประสาทและการทำงาน เซลล์ประสาทและการทำงาน
เซลล์ประสาทและการทำงาน
 
วัยผู้ใหญ่
วัยผู้ใหญ่วัยผู้ใหญ่
วัยผู้ใหญ่
 
ใบกิจกรรมที่ 5การรักษาดุลยภาพของน้ำและสารต่างๆ ของร่างกาย
ใบกิจกรรมที่ 5การรักษาดุลยภาพของน้ำและสารต่างๆ ของร่างกายใบกิจกรรมที่ 5การรักษาดุลยภาพของน้ำและสารต่างๆ ของร่างกาย
ใบกิจกรรมที่ 5การรักษาดุลยภาพของน้ำและสารต่างๆ ของร่างกาย
 
แบบประเมินชิ้นงาน
แบบประเมินชิ้นงานแบบประเมินชิ้นงาน
แบบประเมินชิ้นงาน
 
พระพรหมมังคลาจารย์ (ปัญญานันทภิกขุ)51
พระพรหมมังคลาจารย์ (ปัญญานันทภิกขุ)51พระพรหมมังคลาจารย์ (ปัญญานันทภิกขุ)51
พระพรหมมังคลาจารย์ (ปัญญานันทภิกขุ)51
 
แบบสอบถามความพึงพอใจ
แบบสอบถามความพึงพอใจแบบสอบถามความพึงพอใจ
แบบสอบถามความพึงพอใจ
 
โครมาโทกราฟี
โครมาโทกราฟีโครมาโทกราฟี
โครมาโทกราฟี
 
บทที่4ตอบสนองและฮอร์โมนพืช
บทที่4ตอบสนองและฮอร์โมนพืชบทที่4ตอบสนองและฮอร์โมนพืช
บทที่4ตอบสนองและฮอร์โมนพืช
 
การรับรู้และการตอบสนอง
การรับรู้และการตอบสนองการรับรู้และการตอบสนอง
การรับรู้และการตอบสนอง
 
แบบประเมินต่างๆ
แบบประเมินต่างๆแบบประเมินต่างๆ
แบบประเมินต่างๆ
 
คำที่มีพยัญชนะต้น ฑ + การอ่านคำที่มี ฤ ฤๅ ฦ ฦๅ ป.3
คำที่มีพยัญชนะต้น ฑ + การอ่านคำที่มี ฤ ฤๅ ฦ ฦๅ ป.3คำที่มีพยัญชนะต้น ฑ + การอ่านคำที่มี ฤ ฤๅ ฦ ฦๅ ป.3
คำที่มีพยัญชนะต้น ฑ + การอ่านคำที่มี ฤ ฤๅ ฦ ฦๅ ป.3
 
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 14 การตอบสนองต่อสิ่งเร้าของพืช
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 14 การตอบสนองต่อสิ่งเร้าของพืชแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 14 การตอบสนองต่อสิ่งเร้าของพืช
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 14 การตอบสนองต่อสิ่งเร้าของพืช
 
สมรรถภาพทางกลไก
สมรรถภาพทางกลไกสมรรถภาพทางกลไก
สมรรถภาพทางกลไก
 

More from Ponpirun Homsuwan

การสะท้อนของแสง
การสะท้อนของแสงการสะท้อนของแสง
การสะท้อนของแสง
Ponpirun Homsuwan
 
การหักเหของแสง
การหักเหของแสงการหักเหของแสง
การหักเหของแสง
Ponpirun Homsuwan
 
พลังงานชีวมวล
พลังงานชีวมวลพลังงานชีวมวล
พลังงานชีวมวล
Ponpirun Homsuwan
 
ใบกิจกรรมที่ 6 7 8 9
ใบกิจกรรมที่ 6 7 8 9  ใบกิจกรรมที่ 6 7 8 9
ใบกิจกรรมที่ 6 7 8 9
Ponpirun Homsuwan
 
นาฏศิลป์สากล
นาฏศิลป์สากลนาฏศิลป์สากล
นาฏศิลป์สากล
Ponpirun Homsuwan
 
ตลาด (1)
ตลาด (1)ตลาด (1)
ตลาด (1)
Ponpirun Homsuwan
 
ระบบเศรษฐกิจ
ระบบเศรษฐกิจระบบเศรษฐกิจ
ระบบเศรษฐกิจ
Ponpirun Homsuwan
 
พลังงานทดแทนกับการใช้ประโยชน์
พลังงานทดแทนกับการใช้ประโยชน์พลังงานทดแทนกับการใช้ประโยชน์
พลังงานทดแทนกับการใช้ประโยชน์
Ponpirun Homsuwan
 
การแยกสารเนื้อเดียว ครูมณีรัตน์
การแยกสารเนื้อเดียว ครูมณีรัตน์การแยกสารเนื้อเดียว ครูมณีรัตน์
การแยกสารเนื้อเดียว ครูมณีรัตน์
Ponpirun Homsuwan
 
ชนิดประโยค ม.2
ชนิดประโยค ม.2ชนิดประโยค ม.2
ชนิดประโยค ม.2
Ponpirun Homsuwan
 
ธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษาธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษา
Ponpirun Homsuwan
 

More from Ponpirun Homsuwan (11)

การสะท้อนของแสง
การสะท้อนของแสงการสะท้อนของแสง
การสะท้อนของแสง
 
การหักเหของแสง
การหักเหของแสงการหักเหของแสง
การหักเหของแสง
 
พลังงานชีวมวล
พลังงานชีวมวลพลังงานชีวมวล
พลังงานชีวมวล
 
ใบกิจกรรมที่ 6 7 8 9
ใบกิจกรรมที่ 6 7 8 9  ใบกิจกรรมที่ 6 7 8 9
ใบกิจกรรมที่ 6 7 8 9
 
นาฏศิลป์สากล
นาฏศิลป์สากลนาฏศิลป์สากล
นาฏศิลป์สากล
 
ตลาด (1)
ตลาด (1)ตลาด (1)
ตลาด (1)
 
ระบบเศรษฐกิจ
ระบบเศรษฐกิจระบบเศรษฐกิจ
ระบบเศรษฐกิจ
 
พลังงานทดแทนกับการใช้ประโยชน์
พลังงานทดแทนกับการใช้ประโยชน์พลังงานทดแทนกับการใช้ประโยชน์
พลังงานทดแทนกับการใช้ประโยชน์
 
การแยกสารเนื้อเดียว ครูมณีรัตน์
การแยกสารเนื้อเดียว ครูมณีรัตน์การแยกสารเนื้อเดียว ครูมณีรัตน์
การแยกสารเนื้อเดียว ครูมณีรัตน์
 
ชนิดประโยค ม.2
ชนิดประโยค ม.2ชนิดประโยค ม.2
ชนิดประโยค ม.2
 
ธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษาธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษา
 

ไตรภูมิพระร่วง