SlideShare a Scribd company logo
1 of 12
Download to read offline
ลักษณะอาการ
 โรคสมาธิสั้น
                                                               - การขาดสมาธิ
                                                               - การซนและการขาด
                                                               ความสามารถในการควบคุม
 การปองกันรักษา                      สาเหตุของอาการ

- การรักษาทางยา
                                       - อาการสมาธิสั้นจากการ
- การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมและการ
                                       ไดรับมลภาวะในสิ่งแวดลอม
ชวยเหลือทางดานจิตใจสําหรับเด็กและ
ครอบครัว                               - อาการสมาธิสั้นจากการแพ
- การชวยเหลือทางดานการเรียน          สารอาหาร
                                       - อาการสมาธิสั้นจากการนอนไมหลับ
                                       หรือพักผอนไมเพียงพอ
ลักษณะอาการ
    โรคสมาธิสั้นคือ กลุมอาการที่เกิดขึ้นตั้งแตวัยเด็ก (กอนอายุ 7
ขวบ) ซึ่งจะมีผลกระทบตอพฤติกรรม อารมณ การเรียน และการเขา
สังคมกับผูอื่นของเด็ก กลุมอาการนี้ไดแก ขาดสมาธิ (attention
deficit), การขาดความสามารถในการควบคุมตัวเอง
(impulsivity), อาการซน (hyperactivity
1. การขาดสมาธิ (attention deficit) โดยสังเกตพบวาเด็กจะมีลักษณะดังนี้

      - ไมสามารถทํางานที่ครู หรือพอแมสั่งจนสําเร็จ
     - ไมมีสมาธิในขณะทํางานหรือเลน
     - ดูเหมือนไมคอยฟงเวลาพูดดวย
     - ไมสามารถตั้งใจฟง และเก็บรายละเอียดได ทําใหทํางานผิดพลาดบอย
     - ไมคอยเปนระเบียบ
     - วอกแวกงาย
     - ขี้ลืมบอย ๆ
     - มีปญหาหรือพยายามหลีกเลี่ยงงานที่ตองใชความคิดหรือสมาธิ
     - ทําของใชสวนตัวหรือของใชที่จําเปนสําหรับงานหรือการเรียนหายอยูบอย ๆ
2. การซน (hyperactivity) และการขาดความสามารถในการควบคุมตนเอง
(impulsivity) เด็กจะมีลักษณะดังนี้

  - ยุกยิก อยูไมสุข
  - นั่งไมติดที่ ลุกเดินบอย ๆ ขณะอยูที่บานหรือในหองเรียน
  - ชอบวิ่ง หรือปนปายสิ่งตาง ๆ
  - พูดมาก พูดไมหยุด
  - เลนเสียงดัง
  - ตื่นตัวตลอดเวลา หรือดูตื่นเตนงาย
  - ชอบโพลงคําตอบเวลาครูหรือพอแมถาม โดยที่ยังฟงคําถามไมจบ
  - รอคอยไมเปน
  - ชอบขัดจังหวะหรือสอดแทรกเวลาผูอื่นกําลังพูดอยู
ปจจัยใหญที่สงผลใหเด็กสมาธิสั้นมี 3 สาเหตุดวยกัน คือ

1.    อาการสมาธิสั้นจากการไดรับมลภาวะในสิ่งแวดลอม คือ

       ภาวะที่เด็กไดรับสารตะกั่วมากเกินไป ซึ่งจากการสํารวจเราพบวาเด็กในเมือง
     ใหญที่มีการจราจรหนาแนนจะมีอาการสมาธิสั้น ขณะที่เด็กในชนบทกลับไม
     คอยเปน ทั้งนี้ก็เพราะเด็กตั้งแตอยูในครรภมารดาจนกระทั่งอายุ 7 ขวบ จะไมมี
     ระบบปองกันสารตะกั่วขึ้นสูสมองเหมือนกับผูใหญที่มีสมองเติบโตเต็มที่แลว
     และสารตะกั่วนี้ยังสามารถสงผานทางสายรกสูสมองเด็กได เด็กที่มีระดับตะกั่ว
     สูงตั้งแตแรกเกิดจึงมีความเสี่ยงสูงที่จะเกิด
อาการสมาธิสั้นและมีกิจกรรมการเคลื่อนไหวที่ผิดปกติ นอกจากนี้ยังมี
การวิจัยโดยนําเอาสารตะกั่วที่ไดจากโรงกลั่นน้ํามันผสมอาหารใหแมหมู
ที่ตั้งทองกิน พบวาเมื่อลูกหมูคลอดออกมาเซลลสมองหลายๆสวนถูก
ตะกั่วทําลายหมด โดยเฉพาะในสวนที่ควบคุมสมาธิ เด็กที่มีอาการสมาธิ
สั้นอันเนื่องมาจากไดรับสารตะกั่วมากเกินไปจะมีเปนกลุมที่มีสมาธิสั้น
แท คือนอกจากจะมีสมาธิสั้นแลวยังมีการเคลื่อนไหวมากกวาปกติ ถา
พบวาเด็กมีอาการแบบนี้ตองรีบพาไปพบแพทยเพื่อตรวจวินิจฉัยและ
รักษาแตเนิ่นๆ เพราะอาการแบบนี้เกิดจากความบกพรองบางอยางใน
สมอง
2. อาการสมาธิสั้นจากการแพสารอาหาร

   เด็กสมาธิสั้นกลุมนี้จะมีอาการคลายๆกับกลุมสมาธิสั้นแท เพียงแตไมมีอาการ
ลุกลี้ลุกลน ซึ่งจะทําใหเด็กไมมีสมาธิในการเรียนและเมื่อสอบคะแนนก็จะออกมา
ไมดี และมีงานวิจัยในเด็กกลุมนี้ที่มีการตีพิมพแลว พบวาในเด็ก 100 คน มีเกือบ
20 คน ที่มีอาการเนื่องมาจากการแพสารอาหารคือ แพสีผสมอาหารและเมื่อ
ทดลองใหรับประทานอาหารที่ไมมีสีผสมอาหาร ปรากฏวาอาการดีขึ้น ซึ่งสีผสม
อาหารที่เด็กไดรับสวนใหญจะมาจากหวานเย็นสีสดใสตางๆของเลนที่เด็กเอาเขา
ปากได และมีอีกกลุมหนึ่งที่แพน้ําตาลทรายขาวในกลุมที่ถูกฟอกสี รวมทั้ง
ช็อกโกแลต (เด็กที่ติดช็อกโกแลต) เพราะใช็อกโกแลตจะมีสารกระตุนบางอยาง
ถาไมไดกินเด็กก็จะซึมเซาและเมื่อไดช็อกโกแลตอาการก็จะกลับมาปกติ เปนตน
3. อาการสมาธิสั้นจากการนอนไมหลับหรือพักผอนไมเพียงพอ

   เพราะเด็กควรนอนอยางนอยวันละ 8 ชั่วโมง การที่เด็กนอนไมเต็มอิ่ม เมื่อ
ตื่นขึ้นมาจะมีอาการงัวเงีย ปวดศีรษะ เนื่องจากสมองขาดเลือดและออกซิเจน
ทําใหเสนเลือดขยายตัว เพื่อใหออกซิเจนไปเลี้ยงสมองมากขึ้น และเสนเลือดที่
ขยายก็จะไปดันเยื่อหุมสมอง ทําใหเกิดอาการปวดศีรษะ เมื่อไปโรงเรียนก็จะ
นั่งสัปหงก ไมมีสมาธิในการเรียน โดยมากจะพบในเด็กที่นอนกรนเนื่องจาก
ทอนซิลโต หรือทอนซิลอักเสบ ทางเดินหายใจไมดี จึง
ทําใหตื่นบอยเนื่องจากการหายใจไมเต็มปอด หรือพบในกลุมเด็กที่มีน้ําหนัก
มาก ซึ่งคุณพอคุณแมควรพาไปพบแพทยเพื่อตรวจรักษาตอไป
การรักษาโรคสมาธิสั้นใหมีประสิทธิภาพสูงสุดคือการ
  ผสมผสานการรักษาหลายดานดังนี้
   1. การรักษาทางยา

   ยาที่ใชรักษาโรคสมาธิสั้นเปนยาที่ปลอดภัย มีผลขางเคียงนอยและมีประสิทธิภาพ
ในการรักษาสูง ยาจะชวยใหเด็กมีสมาธิดีขึ้น ซนนอยลง ดูสงบขึ้น มีความสามารถใน
การควบคุมตัวดีขึ้น และอาจชวยใหผลการเรียนดีขึ้น ผลที่ตามมาเมื่อเด็กไดรับการ
รักษาอยางถูกวิธีคือ เด็กจะมีความรูสึกมีคุณคาในตัวเอง (seft-esteem) ดีขึ้น
และมีความสัมพันธกับเพื่อนหรือคนรอบขางดีขึ้น
2. การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมและการชวยเหลือทางดานจิตใจสําหรับเด็ก
และครอบครัว

     ผูปกครองและครูของเด็กที่เปนโรคสมาธิสั้นจําเปนตองเรียนรูเทคนิคที่
ถูกตองเพื่อชวยในการจัดการกับพฤติกรรมที่ไมเหมาะสมบางอยางของเด็ก
การตีหรือการลงโทษทางรางกาย เปนวิธีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่ไม
ไดผล และจะมีสวนทําใหเด็กมีอารมณโกรธหรือแสดงพฤติกรรมตอตานและ
กาวราวมากขึ้น วิธีการที่ไดผลดีกวาคือ การใหคําชมหรือรางวัล (positive
reinforcement) เมื่อเด็กแสดงพฤติกรรมที่ถูกตองและเหมาะสม หรือ
ควบคุมพฤติกรรมที่ไมเหมาะสม โดยการงดกิจกรรมที่เด็กชอบหรือตัดสิทธิ
อื่น ๆ (negative reinforcement)
3. การชวยเหลือทางดานการเรียน

    เด็กสมาธิสั้นสวนใหญจะมีปญหาการเรียนหรือเรียนไดไมเต็มศักยภาพ
รวมดวย ดังนั้นครูจึงมีบทบาทสําคัญเปนอยางยิ่งที่จะชวยเหลือเด็กสมาธิ
สั้นใหเรียนไดดีขึ้น
เมื่อเด็กโตขึ้น เด็กที่เปนโรคสมาธิสั้นมีโอกาสหายไดหรือไม
   เมื่อผานวัยรุนประมาณ 30 เปอรเซ็นต ของเด็กสมาธิสั้นมีโอกาสหายจากโรคนี้ และ
สามารถเรียนหนังสือหรือทํางานไดตามปกติ โดยไมตองรับประทานยา สวนใหญของเด็ก
สมาธิสั้นจะยังคงมีความบกพรองของสมาธิอยูในระดับหนึ่ง ถึงแมวาเด็กดูเหมือนจะซน
นอยลง และมีความสามารถในการควบคุมดีขึ้นเมื่อโตเปนผูใหญแลว บางคนสามารถ
ปรับตัวและเลือกงานที่ไมจําเปนตองใชสมาธิมากนัก ก็จะมีโอกาสประสบความสําเร็จ
และดําเนินชีวิตไดตามปกติ บางคนอาจจะยังคงมีอาการของโรคสมาธิสั้นอยูมาก ซึ่งจะมี
ผลเสียตอการศึกษา การงาน และการเขาสังคมกับผูอื่น ผูปวยในกลุมนี้จําเปนตองไดรับ
การรักษาอยางตอเนื่อง

More Related Content

Similar to โรคสมาธิสั้น

Attention deficit hyperactivity disorder (adhd)
Attention deficit hyperactivity disorder (adhd)Attention deficit hyperactivity disorder (adhd)
Attention deficit hyperactivity disorder (adhd)Utai Sukviwatsirikul
 
Poster_Kitti_125_No14
Poster_Kitti_125_No14Poster_Kitti_125_No14
Poster_Kitti_125_No14ssuser0f2424
 
Presentation นำเสนอความรู้ให้ผู้ปกครอง
Presentation นำเสนอความรู้ให้ผู้ปกครองPresentation นำเสนอความรู้ให้ผู้ปกครอง
Presentation นำเสนอความรู้ให้ผู้ปกครองkamolwantnok
 
โรคเพรเดอร์ วิลลี่ ซินโดรม4
โรคเพรเดอร์ วิลลี่ ซินโดรม4โรคเพรเดอร์ วิลลี่ ซินโดรม4
โรคเพรเดอร์ วิลลี่ ซินโดรม4fainaja
 
โรคเพรเดอร์ วิลลี่ ซินโดรม2
โรคเพรเดอร์ วิลลี่ ซินโดรม2โรคเพรเดอร์ วิลลี่ ซินโดรม2
โรคเพรเดอร์ วิลลี่ ซินโดรม2fainaja
 
โรคเพรเดอร์ วิลลี่ ซินโดรม2
โรคเพรเดอร์ วิลลี่ ซินโดรม2โรคเพรเดอร์ วิลลี่ ซินโดรม2
โรคเพรเดอร์ วิลลี่ ซินโดรม2fainaja
 
โรคทางพันธุกรรมเพรเดอร์2
โรคทางพันธุกรรมเพรเดอร์2โรคทางพันธุกรรมเพรเดอร์2
โรคทางพันธุกรรมเพรเดอร์2fainaja
 
แนวทางเวชปฏิบัติการดูแลรักษาโรคสมาธิสั้น
แนวทางเวชปฏิบัติการดูแลรักษาโรคสมาธิสั้นแนวทางเวชปฏิบัติการดูแลรักษาโรคสมาธิสั้น
แนวทางเวชปฏิบัติการดูแลรักษาโรคสมาธิสั้นUtai Sukviwatsirikul
 
เด็กพิการซ้ำซ็อน
เด็กพิการซ้ำซ็อนเด็กพิการซ้ำซ็อน
เด็กพิการซ้ำซ็อนDarika Roopdee
 
Schizophrenia รัชฎาพร 29 ก.ย. 54
Schizophrenia  รัชฎาพร 29 ก.ย. 54Schizophrenia  รัชฎาพร 29 ก.ย. 54
Schizophrenia รัชฎาพร 29 ก.ย. 54Watcharapong Rintara
 

Similar to โรคสมาธิสั้น (12)

Attention deficit hyperactivity disorder (adhd)
Attention deficit hyperactivity disorder (adhd)Attention deficit hyperactivity disorder (adhd)
Attention deficit hyperactivity disorder (adhd)
 
Poster_Kitti_125_No14
Poster_Kitti_125_No14Poster_Kitti_125_No14
Poster_Kitti_125_No14
 
00 vitharon
00 vitharon00 vitharon
00 vitharon
 
Presentation นำเสนอความรู้ให้ผู้ปกครอง
Presentation นำเสนอความรู้ให้ผู้ปกครองPresentation นำเสนอความรู้ให้ผู้ปกครอง
Presentation นำเสนอความรู้ให้ผู้ปกครอง
 
โรคเพรเดอร์ วิลลี่ ซินโดรม4
โรคเพรเดอร์ วิลลี่ ซินโดรม4โรคเพรเดอร์ วิลลี่ ซินโดรม4
โรคเพรเดอร์ วิลลี่ ซินโดรม4
 
โรคเพรเดอร์ วิลลี่ ซินโดรม2
โรคเพรเดอร์ วิลลี่ ซินโดรม2โรคเพรเดอร์ วิลลี่ ซินโดรม2
โรคเพรเดอร์ วิลลี่ ซินโดรม2
 
โรคเพรเดอร์ วิลลี่ ซินโดรม2
โรคเพรเดอร์ วิลลี่ ซินโดรม2โรคเพรเดอร์ วิลลี่ ซินโดรม2
โรคเพรเดอร์ วิลลี่ ซินโดรม2
 
โรคทางพันธุกรรมเพรเดอร์2
โรคทางพันธุกรรมเพรเดอร์2โรคทางพันธุกรรมเพรเดอร์2
โรคทางพันธุกรรมเพรเดอร์2
 
Cpg ADHD
Cpg ADHDCpg ADHD
Cpg ADHD
 
แนวทางเวชปฏิบัติการดูแลรักษาโรคสมาธิสั้น
แนวทางเวชปฏิบัติการดูแลรักษาโรคสมาธิสั้นแนวทางเวชปฏิบัติการดูแลรักษาโรคสมาธิสั้น
แนวทางเวชปฏิบัติการดูแลรักษาโรคสมาธิสั้น
 
เด็กพิการซ้ำซ็อน
เด็กพิการซ้ำซ็อนเด็กพิการซ้ำซ็อน
เด็กพิการซ้ำซ็อน
 
Schizophrenia รัชฎาพร 29 ก.ย. 54
Schizophrenia  รัชฎาพร 29 ก.ย. 54Schizophrenia  รัชฎาพร 29 ก.ย. 54
Schizophrenia รัชฎาพร 29 ก.ย. 54
 

โรคสมาธิสั้น

  • 1. ลักษณะอาการ โรคสมาธิสั้น - การขาดสมาธิ - การซนและการขาด ความสามารถในการควบคุม การปองกันรักษา สาเหตุของอาการ - การรักษาทางยา - อาการสมาธิสั้นจากการ - การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมและการ ไดรับมลภาวะในสิ่งแวดลอม ชวยเหลือทางดานจิตใจสําหรับเด็กและ ครอบครัว - อาการสมาธิสั้นจากการแพ - การชวยเหลือทางดานการเรียน สารอาหาร - อาการสมาธิสั้นจากการนอนไมหลับ หรือพักผอนไมเพียงพอ
  • 2. ลักษณะอาการ โรคสมาธิสั้นคือ กลุมอาการที่เกิดขึ้นตั้งแตวัยเด็ก (กอนอายุ 7 ขวบ) ซึ่งจะมีผลกระทบตอพฤติกรรม อารมณ การเรียน และการเขา สังคมกับผูอื่นของเด็ก กลุมอาการนี้ไดแก ขาดสมาธิ (attention deficit), การขาดความสามารถในการควบคุมตัวเอง (impulsivity), อาการซน (hyperactivity
  • 3. 1. การขาดสมาธิ (attention deficit) โดยสังเกตพบวาเด็กจะมีลักษณะดังนี้ - ไมสามารถทํางานที่ครู หรือพอแมสั่งจนสําเร็จ - ไมมีสมาธิในขณะทํางานหรือเลน - ดูเหมือนไมคอยฟงเวลาพูดดวย - ไมสามารถตั้งใจฟง และเก็บรายละเอียดได ทําใหทํางานผิดพลาดบอย - ไมคอยเปนระเบียบ - วอกแวกงาย - ขี้ลืมบอย ๆ - มีปญหาหรือพยายามหลีกเลี่ยงงานที่ตองใชความคิดหรือสมาธิ - ทําของใชสวนตัวหรือของใชที่จําเปนสําหรับงานหรือการเรียนหายอยูบอย ๆ
  • 4. 2. การซน (hyperactivity) และการขาดความสามารถในการควบคุมตนเอง (impulsivity) เด็กจะมีลักษณะดังนี้ - ยุกยิก อยูไมสุข - นั่งไมติดที่ ลุกเดินบอย ๆ ขณะอยูที่บานหรือในหองเรียน - ชอบวิ่ง หรือปนปายสิ่งตาง ๆ - พูดมาก พูดไมหยุด - เลนเสียงดัง - ตื่นตัวตลอดเวลา หรือดูตื่นเตนงาย - ชอบโพลงคําตอบเวลาครูหรือพอแมถาม โดยที่ยังฟงคําถามไมจบ - รอคอยไมเปน - ชอบขัดจังหวะหรือสอดแทรกเวลาผูอื่นกําลังพูดอยู
  • 5. ปจจัยใหญที่สงผลใหเด็กสมาธิสั้นมี 3 สาเหตุดวยกัน คือ 1. อาการสมาธิสั้นจากการไดรับมลภาวะในสิ่งแวดลอม คือ ภาวะที่เด็กไดรับสารตะกั่วมากเกินไป ซึ่งจากการสํารวจเราพบวาเด็กในเมือง ใหญที่มีการจราจรหนาแนนจะมีอาการสมาธิสั้น ขณะที่เด็กในชนบทกลับไม คอยเปน ทั้งนี้ก็เพราะเด็กตั้งแตอยูในครรภมารดาจนกระทั่งอายุ 7 ขวบ จะไมมี ระบบปองกันสารตะกั่วขึ้นสูสมองเหมือนกับผูใหญที่มีสมองเติบโตเต็มที่แลว และสารตะกั่วนี้ยังสามารถสงผานทางสายรกสูสมองเด็กได เด็กที่มีระดับตะกั่ว สูงตั้งแตแรกเกิดจึงมีความเสี่ยงสูงที่จะเกิด
  • 6. อาการสมาธิสั้นและมีกิจกรรมการเคลื่อนไหวที่ผิดปกติ นอกจากนี้ยังมี การวิจัยโดยนําเอาสารตะกั่วที่ไดจากโรงกลั่นน้ํามันผสมอาหารใหแมหมู ที่ตั้งทองกิน พบวาเมื่อลูกหมูคลอดออกมาเซลลสมองหลายๆสวนถูก ตะกั่วทําลายหมด โดยเฉพาะในสวนที่ควบคุมสมาธิ เด็กที่มีอาการสมาธิ สั้นอันเนื่องมาจากไดรับสารตะกั่วมากเกินไปจะมีเปนกลุมที่มีสมาธิสั้น แท คือนอกจากจะมีสมาธิสั้นแลวยังมีการเคลื่อนไหวมากกวาปกติ ถา พบวาเด็กมีอาการแบบนี้ตองรีบพาไปพบแพทยเพื่อตรวจวินิจฉัยและ รักษาแตเนิ่นๆ เพราะอาการแบบนี้เกิดจากความบกพรองบางอยางใน สมอง
  • 7. 2. อาการสมาธิสั้นจากการแพสารอาหาร เด็กสมาธิสั้นกลุมนี้จะมีอาการคลายๆกับกลุมสมาธิสั้นแท เพียงแตไมมีอาการ ลุกลี้ลุกลน ซึ่งจะทําใหเด็กไมมีสมาธิในการเรียนและเมื่อสอบคะแนนก็จะออกมา ไมดี และมีงานวิจัยในเด็กกลุมนี้ที่มีการตีพิมพแลว พบวาในเด็ก 100 คน มีเกือบ 20 คน ที่มีอาการเนื่องมาจากการแพสารอาหารคือ แพสีผสมอาหารและเมื่อ ทดลองใหรับประทานอาหารที่ไมมีสีผสมอาหาร ปรากฏวาอาการดีขึ้น ซึ่งสีผสม อาหารที่เด็กไดรับสวนใหญจะมาจากหวานเย็นสีสดใสตางๆของเลนที่เด็กเอาเขา ปากได และมีอีกกลุมหนึ่งที่แพน้ําตาลทรายขาวในกลุมที่ถูกฟอกสี รวมทั้ง ช็อกโกแลต (เด็กที่ติดช็อกโกแลต) เพราะใช็อกโกแลตจะมีสารกระตุนบางอยาง ถาไมไดกินเด็กก็จะซึมเซาและเมื่อไดช็อกโกแลตอาการก็จะกลับมาปกติ เปนตน
  • 8. 3. อาการสมาธิสั้นจากการนอนไมหลับหรือพักผอนไมเพียงพอ เพราะเด็กควรนอนอยางนอยวันละ 8 ชั่วโมง การที่เด็กนอนไมเต็มอิ่ม เมื่อ ตื่นขึ้นมาจะมีอาการงัวเงีย ปวดศีรษะ เนื่องจากสมองขาดเลือดและออกซิเจน ทําใหเสนเลือดขยายตัว เพื่อใหออกซิเจนไปเลี้ยงสมองมากขึ้น และเสนเลือดที่ ขยายก็จะไปดันเยื่อหุมสมอง ทําใหเกิดอาการปวดศีรษะ เมื่อไปโรงเรียนก็จะ นั่งสัปหงก ไมมีสมาธิในการเรียน โดยมากจะพบในเด็กที่นอนกรนเนื่องจาก ทอนซิลโต หรือทอนซิลอักเสบ ทางเดินหายใจไมดี จึง ทําใหตื่นบอยเนื่องจากการหายใจไมเต็มปอด หรือพบในกลุมเด็กที่มีน้ําหนัก มาก ซึ่งคุณพอคุณแมควรพาไปพบแพทยเพื่อตรวจรักษาตอไป
  • 9. การรักษาโรคสมาธิสั้นใหมีประสิทธิภาพสูงสุดคือการ ผสมผสานการรักษาหลายดานดังนี้ 1. การรักษาทางยา ยาที่ใชรักษาโรคสมาธิสั้นเปนยาที่ปลอดภัย มีผลขางเคียงนอยและมีประสิทธิภาพ ในการรักษาสูง ยาจะชวยใหเด็กมีสมาธิดีขึ้น ซนนอยลง ดูสงบขึ้น มีความสามารถใน การควบคุมตัวดีขึ้น และอาจชวยใหผลการเรียนดีขึ้น ผลที่ตามมาเมื่อเด็กไดรับการ รักษาอยางถูกวิธีคือ เด็กจะมีความรูสึกมีคุณคาในตัวเอง (seft-esteem) ดีขึ้น และมีความสัมพันธกับเพื่อนหรือคนรอบขางดีขึ้น
  • 10. 2. การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมและการชวยเหลือทางดานจิตใจสําหรับเด็ก และครอบครัว ผูปกครองและครูของเด็กที่เปนโรคสมาธิสั้นจําเปนตองเรียนรูเทคนิคที่ ถูกตองเพื่อชวยในการจัดการกับพฤติกรรมที่ไมเหมาะสมบางอยางของเด็ก การตีหรือการลงโทษทางรางกาย เปนวิธีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่ไม ไดผล และจะมีสวนทําใหเด็กมีอารมณโกรธหรือแสดงพฤติกรรมตอตานและ กาวราวมากขึ้น วิธีการที่ไดผลดีกวาคือ การใหคําชมหรือรางวัล (positive reinforcement) เมื่อเด็กแสดงพฤติกรรมที่ถูกตองและเหมาะสม หรือ ควบคุมพฤติกรรมที่ไมเหมาะสม โดยการงดกิจกรรมที่เด็กชอบหรือตัดสิทธิ อื่น ๆ (negative reinforcement)
  • 11. 3. การชวยเหลือทางดานการเรียน เด็กสมาธิสั้นสวนใหญจะมีปญหาการเรียนหรือเรียนไดไมเต็มศักยภาพ รวมดวย ดังนั้นครูจึงมีบทบาทสําคัญเปนอยางยิ่งที่จะชวยเหลือเด็กสมาธิ สั้นใหเรียนไดดีขึ้น
  • 12. เมื่อเด็กโตขึ้น เด็กที่เปนโรคสมาธิสั้นมีโอกาสหายไดหรือไม เมื่อผานวัยรุนประมาณ 30 เปอรเซ็นต ของเด็กสมาธิสั้นมีโอกาสหายจากโรคนี้ และ สามารถเรียนหนังสือหรือทํางานไดตามปกติ โดยไมตองรับประทานยา สวนใหญของเด็ก สมาธิสั้นจะยังคงมีความบกพรองของสมาธิอยูในระดับหนึ่ง ถึงแมวาเด็กดูเหมือนจะซน นอยลง และมีความสามารถในการควบคุมดีขึ้นเมื่อโตเปนผูใหญแลว บางคนสามารถ ปรับตัวและเลือกงานที่ไมจําเปนตองใชสมาธิมากนัก ก็จะมีโอกาสประสบความสําเร็จ และดําเนินชีวิตไดตามปกติ บางคนอาจจะยังคงมีอาการของโรคสมาธิสั้นอยูมาก ซึ่งจะมี ผลเสียตอการศึกษา การงาน และการเขาสังคมกับผูอื่น ผูปวยในกลุมนี้จําเปนตองไดรับ การรักษาอยางตอเนื่อง