SlideShare a Scribd company logo
1 of 21
Download to read offline
ความหมายของอุปกรณ์คอมพิวเตอร์ และ
ระบบคอมพิวเตอร์
คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
คอมพิวเตอร์เป็นเครื่องมือประมวลผลที่สามารถปฏิบัติได้อย่างรวดเร็ว ตาม
คาสั่งที่ป้อนให้เครื่องไว้ตั้งแต่เริ่มทางาน เครื่องจะทางานอย่างอัตโนมัติ จน
สาเร็จลุล่วงไปตามต้องกา นอกจากนี้ เครื่องสามารถเก็บข้อมูล คาสั่ง และ
ผลลัพธ์ไว้ได้ สามารถเปรียบเทียบตัวเลขว่าเท่ากันหรือไม่ ตรวจสอบ
เครื่องหมายว่าเป็นบวกหรือลบ สามารถย้ายข้อมูลไปได้ทั่วส่วนความจา
ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์ หมายถึงวัตถุสิ่งของต่างๆ ที่ประกอบกันขึ้น
เป็นเครื่องคอมพิวเตอร์ เช่น ทรานซิสเตอร์ วงจรเบ็ดเสร็จหรือ
ไอซี สายไฟฟ้า ตัวเก็บประจุตัวความต้านทาน ฯลฯ
โดยทั่วๆ ไป เครื่องคอมพิวเตอร์ประกอบด้วยส่วนสาคัญ ๕ ส่วน คือ
๑. ส่วนรับข้อมูล (input) คือเครื่องมือที่ใช้เปลี่ยนข้อมูล และหรือคาสั่งที่เป็นรหัส ซึ่ง
มนุษย์เข้าใจได้ให้เป็นรหัสที่เครื่องคอมพิวเตอร์เข้าใจได้ แล้วส่งเข้าส่วนความจาในรูปของ
สัญญาณไฟฟ้า
๒. ส่วนความจา (storage หรือ memory) เป็นที่เก็บคาสั่งและข้อมูลที่ใช้ในการ
ประมวลผล
๓. ส่วนคานวณ (arithmetic) จะทาการคานวณข้อมูลจากส่วนความจา และตัดสินใจ
ตามสัญญาณที่ส่วนควบคุมส่งมาบังคับ แล้วส่งผลลัพธ์กลับไปเก็บไว้ที่ส่วนความจา
๔. ส่วนควบคุม (control) จะทาหน้าที่สร้างสัญญาณเข้าควบคุม และตรวจสอบการ
ทางานตามส่วนต่างๆ ของเครื่องคอมพิวเตอร์ตามคาสั่งที่เก็บไว้ในส่วนความจา
๕. ส่วนแสดงผล (output) คือ เครื่องมือที่ใช้เปลี่ยนผลลัพธ์ที่ได้มาจากส่วนความจา
จาก รหัสเครื่องมาเป็นรหัสที่มนุษย์เข้าใจได้
ระบบคอมพิวเตอร์ (Computer System)
ในการใช้คอมพิวเตอร์ทางานแล้วให้ได้ผลลัพธ์ออกมาตามความต้องการของผู้ใช้งานนั้น ย่อม
ต้องมีองค์ประกอบที่เรียกว่า ระบบคอมพิวเตอร์เข้ามาเกี่ยวข้องเสมอ ระบบคอมพิวเตอร์
ประกอบด้วยอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์หลายประเภททางานร่วมกัน โดยมีคาสั่งหรือที่เรียกว่า
โปรแกรมเป็นตัวสั่งการให้อุปกรณ์เหล่านั้นทางานได้ตามที่มนุษย์ต้องการ ดังนั้นเมื่อกล่าวถึง
ระบบคอมพิวเตอร์สิ่งสาคัญของระบบจึงได้แก่ ฮาร์ดแวร์(hardware) ซอฟต์แวร์(software)
และบุคลากร(Peopleware)
Hardware
ฮาร์ดแวร์ (Hardware) หมายถึง ส่วนประกอบ โครงสร้าง รวมถึงอุปกรณ์ต่อพ่วงที่
สนับสนุนการทางานของเครื่องคอมพิวเตอร์ อุปกรณ์ต่าง ๆ เหล่านี้มนุษย์สามารถ
มองเห็นและสัมผัสได้ หน้าที่ของฮาร์ดแวร์ก็คือ ทางานตามคาสั่งควบคุมการทางาน
ต่างๆ ที่มนุษย์เป็นผู้สร้างขึ้นเพื่อให้ได้ผลลัพธ์ตามที่ต้องการ แบ่งออกเป็น
ส่วนประกอบดังนี้
หน่วยรับข้อมูล (Input unit) เป็นอุปกรณ์รับเข้า ทาหน้าที่รับโปรแกรมและข้อมูล
เข้าสู่เครื่องคอมพิวเตอร์ อุปกรณ์รับเข้าที่ใช้กันเป็นส่วนใหญ่ คือ แป้นพิมพ์
(Keyboard ) และเมาส์ (Mouse) นอกจากนี้ยังมีอุปกรณ์รับเข้าอื่น ๆ อีก ได้แก่
สแกนเนอร์ (Scanner), วีดีโอคาเมรา (Video Camera)
2. หน่วยประมวลผลกลาง (Central Processing Unit) หรือเรียกโดยทั่ว ๆ ไปว่า
CPU ซึ่งถือว่าเป็นสมองของระบบคอมพิวเตอร์ มีส่วนประกอบที่สาคัญ
2 ส่วน คือ หน่วยควบคุม หน่วยคานวณ
- หน่วยควบคุม (Control Unit หรือ CU) ทาหน้าที่ควบคุมลาดับขั้นตอนการทางาน
ของหน่วยรับข้อมูล หน่วยแสดงผล หน่วยคานวณและหน่วยตรรก หน่วยความจาและแปล
คาสั่ง
- หน่วยคานวณและตรรก (Arithmetic and Logic Unit หรือ ALU) ทาหน้าที่ใน
การคานวณหาตัวเลข เช่น การบวก ลบ การเปรียบเทียบ
- หน่วยความจา เป็นอุปกรณ์ใช้เก็บโปรแกรมและข้อมูลที่ใช้ในการประมวลผล
3. หน่วยความจาภายใน (Primary Storage Section หรือ Memory) เป็น
หน่วยความจาที่อยู่ภายในเครื่องคอมพิวเตอร์ที่สามารถติดต่อกับหน่วยงานอื่น ๆ ได้โดยตรง มี
2 ประเภท
3.1 หน่วยความจาภายใน
- หน่วยความจาแบบแรม (Random Access Memory หรือ Ram) เป็น
หน่วยความจาชั่วคราว ที่ใช้สาหรับเก็บโปรแกรมที่กาลังใช้งานอยู่ขณะนั้น มีความจุของหน่วยเก็บ
ข้อมูลไม่เกิน 640 KB คือผู้ใช้สามารถเขียนหรือลบไปได้ตลอดเวลา ถ้าหากปิดเครื่อง
คอมพิวเตอร์หรือไฟฟ้าดับ จะมีผลทาให้ข้อมูลต่าง ๆ ที่เก็บไว้สูญหายไปหมด และไม่สามารถ
เรียกกลับคืนมาได้
- หน่วยความจาแบบรอม (Read Only Memory หรือ Rom) เป็นหน่วยความจาถาวร
ที่สามารถอ่านได้อย่างเดียว ไม่สามารถบันทึกข้อมูลได้ ถึงแม้ว่าจะปิดเครื่องหรือไฟฟ้าดับ ข้อมูล
ที่เก็บไว้จะยังคงอยู่
3.2 หน่วยความจาสารอง ได้แก่ เทปแม่เหล็ก จานแม่เหล็ก แผ่นดิสก์ (Diskett) CD-
ROM
แผ่นดิสก์หรือสเกต เป็นจานแม่เหล็กขนาดเล็ก ชนิดอ่อน จัดเก็บข้อมูลโดยใช้อานาจ
แม่เหล็ก การใช้งานจะต้องมี Disk Drive เพื่อใช้เป็นอุปกรณ์ในการขับเคลื่อนแผ่นดิสก์
โดยแบ่งตาแหน่งพื้นผิวออกเป็น แทร็คและเซ็คเตอร์ แบ่งออกเป็น 3 ขนาด คือ
- แผ่นดิสก์ขนาด 8 นิ้ว ปัจจุบันไม่นิยมใช้
- แผ่นดิสก์ขนาด 5.25 นิ้ว แบ่งออกเป็น DD สามรถ
บันทึกข้อมูลได้ประมาณ 360 KB และ HD สามารถบันทึกข้อมูลได้ 1.2 MB
- แผ่นดิสก์ขนาด 3.5 นิ้ว แบ่งออกเป็น DD สามารถ
บันทึกข้อมูลได้ประมาณ 720 KB และ HD สามารถบันทึกข้อมูลได้ 1.44 MB นิยม
ใช้กันมากในปัจจุบัน
4. หน่วยแสดงผล (Output Unit) ทาหน้าที่แสดงผลลัพธ์ที่ได้จากการ
ประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์ หรือใช้เก็บผลลัพธ์เพื่อนาไปใช้ภายหลัง
ได้แก่ จอภาพ (Monitor) เป็นอุปกรณ์ส่งออกมากที่สุด เครื่องพิมพ์
(Printer) และ ลาโพง (Speaker) เป็นต้น
ซอฟต์แวร์ (Software)
ซอฟแวร์ (Software) คือ คาสั่ง หรือชุดคาสั่ง ทาหน้าที่ควบคุมการ
ทางานของระบบคอมพิวเตอร์ และเป็นส่วนที่ทาให้ผู้ใช้คอมพิวเตอร์กับ
เครื่องคอมพิวเตอร์ (ฮาร์ดแวร์) สามารถสื่อสารกันได้ ทั้งนี้อาจแบ่ง
ซอฟต์แวร์ตามหน้าที่ของการทางานได้ดังนี้
1. โปรแกรมจัดระบบ (System Software) คือ ชุดคาสั่งหรือโปรแกรมที่
ควบคุมการทางานของคอมพิวเตอร์ เป็นสื่อกลางระหว่างโปรแกรมประยุกต์กับ
เครื่องคอมพิวเตอร์ เพื่อช่วยในการจัดการทรัพยากรของคอมพิวเตอร์ ได้แก่
โปรแกรมควบคุมเครื่อง ระบบปฏิบัติการ เช่น DOS, Windows, Os/2,
Unix
2. โปรแกรม์ประยุกต์ (Application Software) คือ ชุดคาสั่ง
หรือโปรแกรมที่เขียนขึ้นมาเพื่อให้เครื่องคอมพิวเตอร์ทางานตามที่ผู้ใช้ต้องการ
ได้แก่ โปรแกรมสาเร็จรูปต่าง ๆ
- โปรแกรมจัดระบบฐานข้อมูล
เช่น Microsoft Access Oracle
- โปรแกรมพิมพ์เอกสาร เช่น Microsoft Word
3. โปรแกรมอรรถประโยชน์ (Utility Software) เป็นโปรแกรมที่ใช้
เครื่องมืในการช่วยให้การใช้งานคอมพิวเตอร์มีความคล่องตัว
ขึ้น และสามารถแก้ปัญหาอันเกิดจากการใช้งานได้ เช่น
- โปรแกรมกาจัดไวรัสคอมพิวเตอร์ เช่น Mcafee, Scan,
Norton Anitivirus
- โปรแกรมที่ใช้บีบอัดข้อมูลให้มีขนาดเล็กลง เพื่อให้สามารถ
คัดลอกไปใช้ได้สะดวก เช่น Winzip เป็นต้น
4. โปรแกรมแปลงภาษา (Language Translater) ใช้ในการสร้างโปรแกรมประยุกต์
เพื่อนาไปใช้งานด้านต่างๆ โดยการเขียนชุดคาสั่งเพื่อควบคุมให้คอมพิวเตอร์ทางาน
และใช้โปรแกรมแปลงภาษาดังกล่าวทาหน้าที่แปลงชุดคาสั่งที่สร้างขึ้น (High Level
Language) ให้ไปเป็นคาสั่งที่เครื่องคอมพิวเตอร์เข้าใจและปฏิบัติตามได้ (Low
Level Language)
โปรแกรมแปลงภาษาโดยทั่วไปมี 2 ประเภท คือ
4.1 คอมไพเลอร์ (Compiler) โปรแกรมประเภทนี้จะทาหน้าที่แปลง
ชุดคาสั่งที่สร้างขึ้นทั้งหมด (ตั้งแต่คาสั่งแรกจนถึงคาสั่งสุดท้าย) ในคราวเดียวกัน เช่น
ภาษา Pascal, C, C++
4.2 อินเตอร์พรีเตอร์ (Interpreter) โปรแกรมประเภทนี้จะทาหน้าที่
แปลงชุดคาสั่ง แล้วแสดงผลลัพธ์ออกมา ทาให้ง่ายต่อการแก้ไขคาสั่งที่ผิดพลาดได้ทันที
เช่น ภาษา Basic
บุคลากร (Peopleware)
พีเพิลแวร์ (People Ware) หรือผู้ใช้ระบบ ในระบบคอมพิวเตอร์ผู้ใช้
ส่วนใหญ่เป็นส่วนหนึ่งที่จะก่อให้เกิดผลลัพธ์จากการให้เครื่องคอมพิวเตอร์
ทางาน ด้วยเหตุที่ว่ามนุษย์เป็นผู้สร้างชุดคาสั่งหรือโปรแกรมขึ้นมาเพื่อ
ควบคุมการทางานของเครื่องนั่นเอง ในที่นี้จะขอกล่าวถึงผู้ใช้คอมพิวเตอร์ใน
ระดับต่างๆ ดังนี้
1.ผู้บริหาร (Manager) ทาหน้าที่กากับดูแลวางแนวนโยบายในส่วนที่เกี่ยวกับ
คอมพิวเตอร์ เพื่อให้องค์กรสามารถใช้คอมพิวเตอร์ได้อย่างมีประสิทธิภาพ
2. นักวิเคราะห์และนักออกแบบระบบ (System Analysis & Deign)คือ ผู้ที่เป็น
ตัวกลางในการติดต่อระหว่างระบบสารสนเทศกับกลุ่มผู้เกี่ยวข้อง ได้แก่ เจ้าของระบบ
(System Owners) ผู้ใช้ระบบ (System Users) และผู้สร้างระบบ (System
Builders) เพื่อพัฒนาระบบสารสนเทศขององค์กรขึ้นมา ทั้งนี้หน้าที่หลักของ
นักวิเคราะห์ระบบจะแบ่งเป็น 2 ส่วน คือ วิเคราะห์ระบบ และ ออกแบบระบบ
นอกจากหน้าที่หลักของนักวิเคราะห์ระบบสมัยใหม่คือการวิเคราะห์และ
ออกแบบระบบตลอดจนช่วยแก้ปัญหาทาง กระบวนการดาเนินงาน
3. นักเขียนโปรแกรม (Programmer) มีหน้าที่หลักคือการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ ซึ่ง
นักเขียนโปรแกรมสามารถหมายถึงผู้ที่เชี่ยวชาญในการโปรแกรมเฉพาะด้าน หรือผู้ที่
สามารถเขียนรหัสซอฟต์แวร์ได้หลากหลาย ลักษณะการทางานของนัก
โปรแกรมเมอร์ โปรแกรมเมอร์ จะทาหน้าที่ นาข้อมูลการออกแบบรายละเอียดการวาง
โครงสร้างระบบคอมพิวเตอร์ จากนักวิเคราะห์ระบบงาน มาเขียนเป็นโปรแกรมต่าง ๆ
ภาษาที่ใช้ในการเขียนโปรแกรมจะแตกต่างกันไปตามลักษณะเครื่องของระบบฐานข้อมูล
ทดสอบระบบและส่งให้นักวิเคราะห์ระบบทาการตรวจสอบอีกครั้งเพื่อหากจุดบกพร่องและ
แก้ไขก่อนนาไปใช้จริง โปรแกรมเมอร์ยังต้องทาหน้าที่ รับรายละเอียดของความต้องการ
ของผู้ใช้ระบบ (User) จากนักวิเคราะห์ระบบ (System Analyst) จัดทาแผนภูมิ
(Flowchart) ขั้นตอนการทางานที่ละเอียด และถูกต้องตามหลักวิชา เพื่อประโยชน์ใน
การเขียนโปรแกรมสาหรับการประมวลผลด้วยคอมพิวเตอร์ วิเคราะห์แผนภูมิหรือแผนผัง
สายงาน แต่เพียงบางส่วนหรือทั้งหมด
4. ผู้ปฏิบัติการ (Operator )
สาหรับระบบขนาดใหญ่ เช่น เมนเฟรม จะต้องมีเจ้าหน้าที่คอมพิวเตอร์ที่คอยปิดและเปิด
เครื่อง และเฝ้าดูจอภาพเมื่อมีปัญหาซึ่งอาจเกิดขัดข้อง จะต้อง
แจ้ง System Programmer ซึ่งเป็นผู้ดูแลตรวจสอบแก้ไขโปรแกรมระบบควบคุมเครื่อง
(System Software) อีกทีหนึ่ง
5.ผู้ใช้ ( User )
เป็นผู้ใช้ระบบคอมพิวเตอร์ ซึ่งจะเป็นผู้ปฏิบัติหรือกาหนดความต้องการในการใช้ระบบ
คอมพิวเตอร์ว่าทางานอะไรได้บ้าง ผู้ใช้งานคอมพิวเตอร์ทั่วไป จะต้องเรียนรู้วิธีการ
ใช้เครื่อง และวิธีการใช้งานโปรแกรม เพื่อให้โปรแกรมที่มีอยู่สามารถ
ทางานได้ตามที่ต้องการ
สมาชิก
นาย มานาฟ จรกา เลขที่ 13 ม.5/1
นายศิวกร ประทุมพิทักษ์ เลขที่ 15 ม.5/1
นายชัยคุปต์ สระภูมิ เลขที่ 16 ม.5/1
นางสาวปภาวี สุขสุวรรณ เลขที่ 21 ม.5/1
นางสาววรัญญา เหมชะญาติ เลขที่ 27 ม.5/1
นางสาวอรทัย สุขเมือง เลขที่ 34 ม.5/1
อ้างอิง
http://www.thaigoodview.com/library/contest2552/type2
/tech03/32/p2.html
http://windows.microsoft.com/th-th/windows/computer-
parts#1TC=windows-7
http://guru.sanook.com/1159/

More Related Content

What's hot

อุปกรณ์คอม
อุปกรณ์คอมอุปกรณ์คอม
อุปกรณ์คอม491320129
 
หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์Pak SnakeZa
 
องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์SPipe Pantaweesak
 
อุปกรณ์คอมพิวเตอร์2
อุปกรณ์คอมพิวเตอร์2อุปกรณ์คอมพิวเตอร์2
อุปกรณ์คอมพิวเตอร์2491320129
 
แบบทดสอบ O-net
แบบทดสอบ O-net แบบทดสอบ O-net
แบบทดสอบ O-net Saharat Yimpakdee
 
ระบบคอมพิวเตอร์1
ระบบคอมพิวเตอร์1ระบบคอมพิวเตอร์1
ระบบคอมพิวเตอร์1MilkSick
 
งานคอม ไม่บอก-หมก
งานคอม ไม่บอก-หมกงานคอม ไม่บอก-หมก
งานคอม ไม่บอก-หมกphatcharaphon srikaew
 
องค์ประกอ..[1]
องค์ประกอ..[1]องค์ประกอ..[1]
องค์ประกอ..[1]chawisa44361
 
หน่วยรับเข้า Present 4-9 (Group1)
หน่วยรับเข้า Present 4-9 (Group1)หน่วยรับเข้า Present 4-9 (Group1)
หน่วยรับเข้า Present 4-9 (Group1)Supaksorn Tatongjai
 
หลักการทำงานและเลือกใช้คอมพิวเตอร์
หลักการทำงานและเลือกใช้คอมพิวเตอร์หลักการทำงานและเลือกใช้คอมพิวเตอร์
หลักการทำงานและเลือกใช้คอมพิวเตอร์Jeerawan Khamprasert
 
ระบบคอมพิวเตอร์1
ระบบคอมพิวเตอร์1ระบบคอมพิวเตอร์1
ระบบคอมพิวเตอร์1Pheeranan Thetkham
 
การทำงานของคอมพิวเตอร์
การทำงานของคอมพิวเตอร์การทำงานของคอมพิวเตอร์
การทำงานของคอมพิวเตอร์thorthib
 
อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์Natchanan Mankhong
 
ใบงาน 3.1 ชื่อนันทวัน no16
ใบงาน 3.1 ชื่อนันทวัน no16ใบงาน 3.1 ชื่อนันทวัน no16
ใบงาน 3.1 ชื่อนันทวัน no16Nuntawan Singhakun
 
ระบบคอมพิวเตอร์
ระบบคอมพิวเตอร์ระบบคอมพิวเตอร์
ระบบคอมพิวเตอร์onthicha1993
 

What's hot (18)

อุปกรณ์คอม
อุปกรณ์คอมอุปกรณ์คอม
อุปกรณ์คอม
 
หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
 
องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
 
อุปกรณ์คอมพิวเตอร์2
อุปกรณ์คอมพิวเตอร์2อุปกรณ์คอมพิวเตอร์2
อุปกรณ์คอมพิวเตอร์2
 
แบบทดสอบ O-net
แบบทดสอบ O-net แบบทดสอบ O-net
แบบทดสอบ O-net
 
ระบบคอมพิวเตอร์1
ระบบคอมพิวเตอร์1ระบบคอมพิวเตอร์1
ระบบคอมพิวเตอร์1
 
งานคอม ไม่บอก-หมก
งานคอม ไม่บอก-หมกงานคอม ไม่บอก-หมก
งานคอม ไม่บอก-หมก
 
องค์ประกอ..[1]
องค์ประกอ..[1]องค์ประกอ..[1]
องค์ประกอ..[1]
 
หน่วยรับเข้า Present 4-9 (Group1)
หน่วยรับเข้า Present 4-9 (Group1)หน่วยรับเข้า Present 4-9 (Group1)
หน่วยรับเข้า Present 4-9 (Group1)
 
หลักการทำงานและเลือกใช้คอมพิวเตอร์
หลักการทำงานและเลือกใช้คอมพิวเตอร์หลักการทำงานและเลือกใช้คอมพิวเตอร์
หลักการทำงานและเลือกใช้คอมพิวเตอร์
 
ระบบคอมพิวเตอร์1
ระบบคอมพิวเตอร์1ระบบคอมพิวเตอร์1
ระบบคอมพิวเตอร์1
 
การทำงานของคอมพิวเตอร์
การทำงานของคอมพิวเตอร์การทำงานของคอมพิวเตอร์
การทำงานของคอมพิวเตอร์
 
อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์
 
บทที่ 3
บทที่ 3บทที่ 3
บทที่ 3
 
ใบงาน 3.1 ชื่อนันทวัน no16
ใบงาน 3.1 ชื่อนันทวัน no16ใบงาน 3.1 ชื่อนันทวัน no16
ใบงาน 3.1 ชื่อนันทวัน no16
 
Basic computer hardware
Basic computer hardwareBasic computer hardware
Basic computer hardware
 
ระบบคอมพิวเตอร์
ระบบคอมพิวเตอร์ระบบคอมพิวเตอร์
ระบบคอมพิวเตอร์
 
Com
ComCom
Com
 

Similar to ความหมายของอุปกรณ์คอมพิวเตอร์ และ-ระบบปฏคอมพิวเตอร์

องค์ประกอบของ Computer
องค์ประกอบของ Computerองค์ประกอบของ Computer
องค์ประกอบของ ComputerSPipe Pantaweesak
 
Computer
ComputerComputer
Computernuting
 
ระบบคอมพิวเตอร์
ระบบคอมพิวเตอร์ระบบคอมพิวเตอร์
ระบบคอมพิวเตอร์ThanThai Sangwong
 
องค์ประกอบ
องค์ประกอบองค์ประกอบ
องค์ประกอบSPipe Pantaweesak
 
ใบงานHardware
ใบงานHardwareใบงานHardware
ใบงานHardwarestandbyme mj
 
ฮาร์ดแวด์
ฮาร์ดแวด์ฮาร์ดแวด์
ฮาร์ดแวด์sommat
 
ฮาร์ดแวด์
ฮาร์ดแวด์ฮาร์ดแวด์
ฮาร์ดแวด์Nantawoot Imjit
 
คอมพิวเตอร์สำหรับบัณฑิตศึกษา
คอมพิวเตอร์สำหรับบัณฑิตศึกษาคอมพิวเตอร์สำหรับบัณฑิตศึกษา
คอมพิวเตอร์สำหรับบัณฑิตศึกษาJenchoke Tachagomain
 
คอมพิวเตอร์และเทคโนโลยี
คอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยี
คอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีtee0533
 
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์	องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์ Thanawut Rattanadon
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์Peem Jirayut
 

Similar to ความหมายของอุปกรณ์คอมพิวเตอร์ และ-ระบบปฏคอมพิวเตอร์ (20)

Computer
ComputerComputer
Computer
 
องค์ประกอบของ Computer
องค์ประกอบของ Computerองค์ประกอบของ Computer
องค์ประกอบของ Computer
 
Computer
ComputerComputer
Computer
 
ระบบคอมพิวเตอร์
ระบบคอมพิวเตอร์ระบบคอมพิวเตอร์
ระบบคอมพิวเตอร์
 
Computer
ComputerComputer
Computer
 
คอมพิวเตอร์เบื้องต้น ม.1
คอมพิวเตอร์เบื้องต้น ม.1คอมพิวเตอร์เบื้องต้น ม.1
คอมพิวเตอร์เบื้องต้น ม.1
 
องค์ประกอบ
องค์ประกอบองค์ประกอบ
องค์ประกอบ
 
ใบงานHardware
ใบงานHardwareใบงานHardware
ใบงานHardware
 
ฮาร์ดแวด์
ฮาร์ดแวด์ฮาร์ดแวด์
ฮาร์ดแวด์
 
ฮาร์ดแวด์
ฮาร์ดแวด์ฮาร์ดแวด์
ฮาร์ดแวด์
 
หน่วยที่ 1 ระบบคอมพิวเตอร์
หน่วยที่ 1 ระบบคอมพิวเตอร์หน่วยที่ 1 ระบบคอมพิวเตอร์
หน่วยที่ 1 ระบบคอมพิวเตอร์
 
Chapter1
Chapter1Chapter1
Chapter1
 
คอมพิวเตอร์สำหรับบัณฑิตศึกษา
คอมพิวเตอร์สำหรับบัณฑิตศึกษาคอมพิวเตอร์สำหรับบัณฑิตศึกษา
คอมพิวเตอร์สำหรับบัณฑิตศึกษา
 
คอมพิวเตอร์และเทคโนโลยี
คอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยี
คอมพิวเตอร์และเทคโนโลยี
 
1094876837 unit2
1094876837 unit21094876837 unit2
1094876837 unit2
 
1094876837 unit2
1094876837 unit21094876837 unit2
1094876837 unit2
 
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์	องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
 
หน่วยที่1
หน่วยที่1หน่วยที่1
หน่วยที่1
 
Course.eau.ac.thcourse download0007132chapter1
Course.eau.ac.thcourse download0007132chapter1Course.eau.ac.thcourse download0007132chapter1
Course.eau.ac.thcourse download0007132chapter1
 

More from Manaf Joraka

โครงงานกอท
โครงงานกอทโครงงานกอท
โครงงานกอทManaf Joraka
 
โครงงานกอท
โครงงานกอทโครงงานกอท
โครงงานกอทManaf Joraka
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์Manaf Joraka
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์Manaf Joraka
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์Manaf Joraka
 
ใบงานที่ 5 เรื่อง โครงงานคอมพิวเตอร์ เลขที่ 13,34
ใบงานที่ 5 เรื่อง โครงงานคอมพิวเตอร์ เลขที่ 13,34ใบงานที่ 5 เรื่อง โครงงานคอมพิวเตอร์ เลขที่ 13,34
ใบงานที่ 5 เรื่อง โครงงานคอมพิวเตอร์ เลขที่ 13,34Manaf Joraka
 
นายมานาฟ จรกา เลขที่ 13
นายมานาฟ จรกา เลขที่ 13นายมานาฟ จรกา เลขที่ 13
นายมานาฟ จรกา เลขที่ 13Manaf Joraka
 

More from Manaf Joraka (7)

โครงงานกอท
โครงงานกอทโครงงานกอท
โครงงานกอท
 
โครงงานกอท
โครงงานกอทโครงงานกอท
โครงงานกอท
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
ใบงานที่ 5 เรื่อง โครงงานคอมพิวเตอร์ เลขที่ 13,34
ใบงานที่ 5 เรื่อง โครงงานคอมพิวเตอร์ เลขที่ 13,34ใบงานที่ 5 เรื่อง โครงงานคอมพิวเตอร์ เลขที่ 13,34
ใบงานที่ 5 เรื่อง โครงงานคอมพิวเตอร์ เลขที่ 13,34
 
นายมานาฟ จรกา เลขที่ 13
นายมานาฟ จรกา เลขที่ 13นายมานาฟ จรกา เลขที่ 13
นายมานาฟ จรกา เลขที่ 13
 

ความหมายของอุปกรณ์คอมพิวเตอร์ และ-ระบบปฏคอมพิวเตอร์

  • 2. คอมพิวเตอร์เบื้องต้น คอมพิวเตอร์เป็นเครื่องมือประมวลผลที่สามารถปฏิบัติได้อย่างรวดเร็ว ตาม คาสั่งที่ป้อนให้เครื่องไว้ตั้งแต่เริ่มทางาน เครื่องจะทางานอย่างอัตโนมัติ จน สาเร็จลุล่วงไปตามต้องกา นอกจากนี้ เครื่องสามารถเก็บข้อมูล คาสั่ง และ ผลลัพธ์ไว้ได้ สามารถเปรียบเทียบตัวเลขว่าเท่ากันหรือไม่ ตรวจสอบ เครื่องหมายว่าเป็นบวกหรือลบ สามารถย้ายข้อมูลไปได้ทั่วส่วนความจา
  • 3. ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์ หมายถึงวัตถุสิ่งของต่างๆ ที่ประกอบกันขึ้น เป็นเครื่องคอมพิวเตอร์ เช่น ทรานซิสเตอร์ วงจรเบ็ดเสร็จหรือ ไอซี สายไฟฟ้า ตัวเก็บประจุตัวความต้านทาน ฯลฯ
  • 4. โดยทั่วๆ ไป เครื่องคอมพิวเตอร์ประกอบด้วยส่วนสาคัญ ๕ ส่วน คือ ๑. ส่วนรับข้อมูล (input) คือเครื่องมือที่ใช้เปลี่ยนข้อมูล และหรือคาสั่งที่เป็นรหัส ซึ่ง มนุษย์เข้าใจได้ให้เป็นรหัสที่เครื่องคอมพิวเตอร์เข้าใจได้ แล้วส่งเข้าส่วนความจาในรูปของ สัญญาณไฟฟ้า ๒. ส่วนความจา (storage หรือ memory) เป็นที่เก็บคาสั่งและข้อมูลที่ใช้ในการ ประมวลผล ๓. ส่วนคานวณ (arithmetic) จะทาการคานวณข้อมูลจากส่วนความจา และตัดสินใจ ตามสัญญาณที่ส่วนควบคุมส่งมาบังคับ แล้วส่งผลลัพธ์กลับไปเก็บไว้ที่ส่วนความจา ๔. ส่วนควบคุม (control) จะทาหน้าที่สร้างสัญญาณเข้าควบคุม และตรวจสอบการ ทางานตามส่วนต่างๆ ของเครื่องคอมพิวเตอร์ตามคาสั่งที่เก็บไว้ในส่วนความจา ๕. ส่วนแสดงผล (output) คือ เครื่องมือที่ใช้เปลี่ยนผลลัพธ์ที่ได้มาจากส่วนความจา จาก รหัสเครื่องมาเป็นรหัสที่มนุษย์เข้าใจได้
  • 5. ระบบคอมพิวเตอร์ (Computer System) ในการใช้คอมพิวเตอร์ทางานแล้วให้ได้ผลลัพธ์ออกมาตามความต้องการของผู้ใช้งานนั้น ย่อม ต้องมีองค์ประกอบที่เรียกว่า ระบบคอมพิวเตอร์เข้ามาเกี่ยวข้องเสมอ ระบบคอมพิวเตอร์ ประกอบด้วยอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์หลายประเภททางานร่วมกัน โดยมีคาสั่งหรือที่เรียกว่า โปรแกรมเป็นตัวสั่งการให้อุปกรณ์เหล่านั้นทางานได้ตามที่มนุษย์ต้องการ ดังนั้นเมื่อกล่าวถึง ระบบคอมพิวเตอร์สิ่งสาคัญของระบบจึงได้แก่ ฮาร์ดแวร์(hardware) ซอฟต์แวร์(software) และบุคลากร(Peopleware)
  • 6. Hardware ฮาร์ดแวร์ (Hardware) หมายถึง ส่วนประกอบ โครงสร้าง รวมถึงอุปกรณ์ต่อพ่วงที่ สนับสนุนการทางานของเครื่องคอมพิวเตอร์ อุปกรณ์ต่าง ๆ เหล่านี้มนุษย์สามารถ มองเห็นและสัมผัสได้ หน้าที่ของฮาร์ดแวร์ก็คือ ทางานตามคาสั่งควบคุมการทางาน ต่างๆ ที่มนุษย์เป็นผู้สร้างขึ้นเพื่อให้ได้ผลลัพธ์ตามที่ต้องการ แบ่งออกเป็น ส่วนประกอบดังนี้
  • 7. หน่วยรับข้อมูล (Input unit) เป็นอุปกรณ์รับเข้า ทาหน้าที่รับโปรแกรมและข้อมูล เข้าสู่เครื่องคอมพิวเตอร์ อุปกรณ์รับเข้าที่ใช้กันเป็นส่วนใหญ่ คือ แป้นพิมพ์ (Keyboard ) และเมาส์ (Mouse) นอกจากนี้ยังมีอุปกรณ์รับเข้าอื่น ๆ อีก ได้แก่ สแกนเนอร์ (Scanner), วีดีโอคาเมรา (Video Camera)
  • 8. 2. หน่วยประมวลผลกลาง (Central Processing Unit) หรือเรียกโดยทั่ว ๆ ไปว่า CPU ซึ่งถือว่าเป็นสมองของระบบคอมพิวเตอร์ มีส่วนประกอบที่สาคัญ 2 ส่วน คือ หน่วยควบคุม หน่วยคานวณ - หน่วยควบคุม (Control Unit หรือ CU) ทาหน้าที่ควบคุมลาดับขั้นตอนการทางาน ของหน่วยรับข้อมูล หน่วยแสดงผล หน่วยคานวณและหน่วยตรรก หน่วยความจาและแปล คาสั่ง - หน่วยคานวณและตรรก (Arithmetic and Logic Unit หรือ ALU) ทาหน้าที่ใน การคานวณหาตัวเลข เช่น การบวก ลบ การเปรียบเทียบ - หน่วยความจา เป็นอุปกรณ์ใช้เก็บโปรแกรมและข้อมูลที่ใช้ในการประมวลผล
  • 9. 3. หน่วยความจาภายใน (Primary Storage Section หรือ Memory) เป็น หน่วยความจาที่อยู่ภายในเครื่องคอมพิวเตอร์ที่สามารถติดต่อกับหน่วยงานอื่น ๆ ได้โดยตรง มี 2 ประเภท 3.1 หน่วยความจาภายใน - หน่วยความจาแบบแรม (Random Access Memory หรือ Ram) เป็น หน่วยความจาชั่วคราว ที่ใช้สาหรับเก็บโปรแกรมที่กาลังใช้งานอยู่ขณะนั้น มีความจุของหน่วยเก็บ ข้อมูลไม่เกิน 640 KB คือผู้ใช้สามารถเขียนหรือลบไปได้ตลอดเวลา ถ้าหากปิดเครื่อง คอมพิวเตอร์หรือไฟฟ้าดับ จะมีผลทาให้ข้อมูลต่าง ๆ ที่เก็บไว้สูญหายไปหมด และไม่สามารถ เรียกกลับคืนมาได้ - หน่วยความจาแบบรอม (Read Only Memory หรือ Rom) เป็นหน่วยความจาถาวร ที่สามารถอ่านได้อย่างเดียว ไม่สามารถบันทึกข้อมูลได้ ถึงแม้ว่าจะปิดเครื่องหรือไฟฟ้าดับ ข้อมูล ที่เก็บไว้จะยังคงอยู่
  • 10. 3.2 หน่วยความจาสารอง ได้แก่ เทปแม่เหล็ก จานแม่เหล็ก แผ่นดิสก์ (Diskett) CD- ROM แผ่นดิสก์หรือสเกต เป็นจานแม่เหล็กขนาดเล็ก ชนิดอ่อน จัดเก็บข้อมูลโดยใช้อานาจ แม่เหล็ก การใช้งานจะต้องมี Disk Drive เพื่อใช้เป็นอุปกรณ์ในการขับเคลื่อนแผ่นดิสก์ โดยแบ่งตาแหน่งพื้นผิวออกเป็น แทร็คและเซ็คเตอร์ แบ่งออกเป็น 3 ขนาด คือ - แผ่นดิสก์ขนาด 8 นิ้ว ปัจจุบันไม่นิยมใช้ - แผ่นดิสก์ขนาด 5.25 นิ้ว แบ่งออกเป็น DD สามรถ บันทึกข้อมูลได้ประมาณ 360 KB และ HD สามารถบันทึกข้อมูลได้ 1.2 MB - แผ่นดิสก์ขนาด 3.5 นิ้ว แบ่งออกเป็น DD สามารถ บันทึกข้อมูลได้ประมาณ 720 KB และ HD สามารถบันทึกข้อมูลได้ 1.44 MB นิยม ใช้กันมากในปัจจุบัน
  • 11. 4. หน่วยแสดงผล (Output Unit) ทาหน้าที่แสดงผลลัพธ์ที่ได้จากการ ประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์ หรือใช้เก็บผลลัพธ์เพื่อนาไปใช้ภายหลัง ได้แก่ จอภาพ (Monitor) เป็นอุปกรณ์ส่งออกมากที่สุด เครื่องพิมพ์ (Printer) และ ลาโพง (Speaker) เป็นต้น
  • 12. ซอฟต์แวร์ (Software) ซอฟแวร์ (Software) คือ คาสั่ง หรือชุดคาสั่ง ทาหน้าที่ควบคุมการ ทางานของระบบคอมพิวเตอร์ และเป็นส่วนที่ทาให้ผู้ใช้คอมพิวเตอร์กับ เครื่องคอมพิวเตอร์ (ฮาร์ดแวร์) สามารถสื่อสารกันได้ ทั้งนี้อาจแบ่ง ซอฟต์แวร์ตามหน้าที่ของการทางานได้ดังนี้
  • 13. 1. โปรแกรมจัดระบบ (System Software) คือ ชุดคาสั่งหรือโปรแกรมที่ ควบคุมการทางานของคอมพิวเตอร์ เป็นสื่อกลางระหว่างโปรแกรมประยุกต์กับ เครื่องคอมพิวเตอร์ เพื่อช่วยในการจัดการทรัพยากรของคอมพิวเตอร์ ได้แก่ โปรแกรมควบคุมเครื่อง ระบบปฏิบัติการ เช่น DOS, Windows, Os/2, Unix 2. โปรแกรม์ประยุกต์ (Application Software) คือ ชุดคาสั่ง หรือโปรแกรมที่เขียนขึ้นมาเพื่อให้เครื่องคอมพิวเตอร์ทางานตามที่ผู้ใช้ต้องการ ได้แก่ โปรแกรมสาเร็จรูปต่าง ๆ - โปรแกรมจัดระบบฐานข้อมูล เช่น Microsoft Access Oracle - โปรแกรมพิมพ์เอกสาร เช่น Microsoft Word
  • 14. 3. โปรแกรมอรรถประโยชน์ (Utility Software) เป็นโปรแกรมที่ใช้ เครื่องมืในการช่วยให้การใช้งานคอมพิวเตอร์มีความคล่องตัว ขึ้น และสามารถแก้ปัญหาอันเกิดจากการใช้งานได้ เช่น - โปรแกรมกาจัดไวรัสคอมพิวเตอร์ เช่น Mcafee, Scan, Norton Anitivirus - โปรแกรมที่ใช้บีบอัดข้อมูลให้มีขนาดเล็กลง เพื่อให้สามารถ คัดลอกไปใช้ได้สะดวก เช่น Winzip เป็นต้น
  • 15. 4. โปรแกรมแปลงภาษา (Language Translater) ใช้ในการสร้างโปรแกรมประยุกต์ เพื่อนาไปใช้งานด้านต่างๆ โดยการเขียนชุดคาสั่งเพื่อควบคุมให้คอมพิวเตอร์ทางาน และใช้โปรแกรมแปลงภาษาดังกล่าวทาหน้าที่แปลงชุดคาสั่งที่สร้างขึ้น (High Level Language) ให้ไปเป็นคาสั่งที่เครื่องคอมพิวเตอร์เข้าใจและปฏิบัติตามได้ (Low Level Language) โปรแกรมแปลงภาษาโดยทั่วไปมี 2 ประเภท คือ 4.1 คอมไพเลอร์ (Compiler) โปรแกรมประเภทนี้จะทาหน้าที่แปลง ชุดคาสั่งที่สร้างขึ้นทั้งหมด (ตั้งแต่คาสั่งแรกจนถึงคาสั่งสุดท้าย) ในคราวเดียวกัน เช่น ภาษา Pascal, C, C++ 4.2 อินเตอร์พรีเตอร์ (Interpreter) โปรแกรมประเภทนี้จะทาหน้าที่ แปลงชุดคาสั่ง แล้วแสดงผลลัพธ์ออกมา ทาให้ง่ายต่อการแก้ไขคาสั่งที่ผิดพลาดได้ทันที เช่น ภาษา Basic
  • 16. บุคลากร (Peopleware) พีเพิลแวร์ (People Ware) หรือผู้ใช้ระบบ ในระบบคอมพิวเตอร์ผู้ใช้ ส่วนใหญ่เป็นส่วนหนึ่งที่จะก่อให้เกิดผลลัพธ์จากการให้เครื่องคอมพิวเตอร์ ทางาน ด้วยเหตุที่ว่ามนุษย์เป็นผู้สร้างชุดคาสั่งหรือโปรแกรมขึ้นมาเพื่อ ควบคุมการทางานของเครื่องนั่นเอง ในที่นี้จะขอกล่าวถึงผู้ใช้คอมพิวเตอร์ใน ระดับต่างๆ ดังนี้
  • 17. 1.ผู้บริหาร (Manager) ทาหน้าที่กากับดูแลวางแนวนโยบายในส่วนที่เกี่ยวกับ คอมพิวเตอร์ เพื่อให้องค์กรสามารถใช้คอมพิวเตอร์ได้อย่างมีประสิทธิภาพ 2. นักวิเคราะห์และนักออกแบบระบบ (System Analysis & Deign)คือ ผู้ที่เป็น ตัวกลางในการติดต่อระหว่างระบบสารสนเทศกับกลุ่มผู้เกี่ยวข้อง ได้แก่ เจ้าของระบบ (System Owners) ผู้ใช้ระบบ (System Users) และผู้สร้างระบบ (System Builders) เพื่อพัฒนาระบบสารสนเทศขององค์กรขึ้นมา ทั้งนี้หน้าที่หลักของ นักวิเคราะห์ระบบจะแบ่งเป็น 2 ส่วน คือ วิเคราะห์ระบบ และ ออกแบบระบบ นอกจากหน้าที่หลักของนักวิเคราะห์ระบบสมัยใหม่คือการวิเคราะห์และ ออกแบบระบบตลอดจนช่วยแก้ปัญหาทาง กระบวนการดาเนินงาน
  • 18. 3. นักเขียนโปรแกรม (Programmer) มีหน้าที่หลักคือการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ ซึ่ง นักเขียนโปรแกรมสามารถหมายถึงผู้ที่เชี่ยวชาญในการโปรแกรมเฉพาะด้าน หรือผู้ที่ สามารถเขียนรหัสซอฟต์แวร์ได้หลากหลาย ลักษณะการทางานของนัก โปรแกรมเมอร์ โปรแกรมเมอร์ จะทาหน้าที่ นาข้อมูลการออกแบบรายละเอียดการวาง โครงสร้างระบบคอมพิวเตอร์ จากนักวิเคราะห์ระบบงาน มาเขียนเป็นโปรแกรมต่าง ๆ ภาษาที่ใช้ในการเขียนโปรแกรมจะแตกต่างกันไปตามลักษณะเครื่องของระบบฐานข้อมูล ทดสอบระบบและส่งให้นักวิเคราะห์ระบบทาการตรวจสอบอีกครั้งเพื่อหากจุดบกพร่องและ แก้ไขก่อนนาไปใช้จริง โปรแกรมเมอร์ยังต้องทาหน้าที่ รับรายละเอียดของความต้องการ ของผู้ใช้ระบบ (User) จากนักวิเคราะห์ระบบ (System Analyst) จัดทาแผนภูมิ (Flowchart) ขั้นตอนการทางานที่ละเอียด และถูกต้องตามหลักวิชา เพื่อประโยชน์ใน การเขียนโปรแกรมสาหรับการประมวลผลด้วยคอมพิวเตอร์ วิเคราะห์แผนภูมิหรือแผนผัง สายงาน แต่เพียงบางส่วนหรือทั้งหมด
  • 19. 4. ผู้ปฏิบัติการ (Operator ) สาหรับระบบขนาดใหญ่ เช่น เมนเฟรม จะต้องมีเจ้าหน้าที่คอมพิวเตอร์ที่คอยปิดและเปิด เครื่อง และเฝ้าดูจอภาพเมื่อมีปัญหาซึ่งอาจเกิดขัดข้อง จะต้อง แจ้ง System Programmer ซึ่งเป็นผู้ดูแลตรวจสอบแก้ไขโปรแกรมระบบควบคุมเครื่อง (System Software) อีกทีหนึ่ง 5.ผู้ใช้ ( User ) เป็นผู้ใช้ระบบคอมพิวเตอร์ ซึ่งจะเป็นผู้ปฏิบัติหรือกาหนดความต้องการในการใช้ระบบ คอมพิวเตอร์ว่าทางานอะไรได้บ้าง ผู้ใช้งานคอมพิวเตอร์ทั่วไป จะต้องเรียนรู้วิธีการ ใช้เครื่อง และวิธีการใช้งานโปรแกรม เพื่อให้โปรแกรมที่มีอยู่สามารถ ทางานได้ตามที่ต้องการ
  • 20. สมาชิก นาย มานาฟ จรกา เลขที่ 13 ม.5/1 นายศิวกร ประทุมพิทักษ์ เลขที่ 15 ม.5/1 นายชัยคุปต์ สระภูมิ เลขที่ 16 ม.5/1 นางสาวปภาวี สุขสุวรรณ เลขที่ 21 ม.5/1 นางสาววรัญญา เหมชะญาติ เลขที่ 27 ม.5/1 นางสาวอรทัย สุขเมือง เลขที่ 34 ม.5/1