SlideShare a Scribd company logo
1 of 70
Download to read offline
ง31102 เทคโนโลยี
ครูนวพร ษัฏเสน
ครูโรงเรียนสภาราชินี จังหวัดตรัง
องค์ประกอบและหลักการทางานของคอมพิวเตอร์
ระบบสื่อสารข้อมูลสาหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
คุณลักษณะของคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ต่อพ่วง
การใช้ฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์ให้เหมาะสมกับงาน
ความหมายของคอมพิวเตอร์
 คือ อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ ที่ทางานตาม
ชุดคาสั่งที่มนุษย์เขียนขึ้น เพื่อให้คอมพิวเตอร์
ทางานตามขั้นตอนที่กาหนดไว้ และ
ประมวลผลออกมาตามต้องการ
 ขนาดของคอมพิวเตอร์ สามารถแบ่งออกเป็น
4 ขนาด ดังนี้
1. ซุปเปอร์คอมพิวเตอร์ (Super Computer)
เป็นเครื่องคอมพิวเตอร์ที่มีขนาดใหญ่ที่สุด สามารถจัดการ
คานวณ และทางานได้อย่างรวดเร็ว จึงจัดว่าเป็นเครื่อง
คอมพิวเตอร์ ที่ทางานได้รวดเร็วที่สุดในโลก ส่วนใหญ่นาไปใช้
งานเฉพาะด้าน เช่น ด้านพยากรณ์อากาศ งานทางด้าน
วิทยาศาสตร์ เป็นต้น
2. เมนเฟรม (Mainframe Computer)
เป็นเครื่องคอมพิวเตอร์ที่มีขนาดใหญ่รองลงมาจาก ซุปเปอร์
คอมพิวเตอร์ เมนเฟรมนิยมใช้ในงานอุตสาหกรรมสาหรับบริษัทใหญ่
ๆ หรือองค์กรขนาดใหญ่ เมนเฟรมจะใช้เป็นเครื่องศูนย์กลาง และ
กระจายการใช้งานให้กับเครื่องคอมพิวเตอร์อื่นๆ เช่น ระบบ ATM
เป็นต้น
3. มินิคอมพิวเตอร์ (Minicomputer)
เป็นคอมพิวเตอร์ขนาดกลาง
ระหว่างไมโครคอมพิวเตอร์
และเมนเฟรม
เหมาะสาหรับองค์กร
ขนาดกลางและเล็ก
4. ไมโครคอมพิวเตอร์ (Microcomputer)
หรืออาจเรียกสั้นๆ ว่า คอมพิวเตอร์ เป็นเครื่องคอมพิวเตอร์ที่มีขนาด
เล็กที่สุด ราคาถูกที่สุด สามารถซื้อมาใช้งานส่วนบุคคลได้ จึงมีชื่อ
เรียกอีกอย่างหนึ่งว่าคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล (Personal Computer) หรือ
เครื่อง PC
การทางานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์ มี 4 ขั้นตอน ดังนี้
1. รับข้อมูล (Input) คอมพิวเตอร์จะทาหน้าที่รับข้อมูลไป
ประมวลผล อุปกรณ์ที่ทาหน้าที่รับข้อมูล ได้แก่ แป้นพิมพ์ เมาส์ เครื่อง
สแกน เป็นต้น
2. ประมวลผลข้อมูล (Process) เมื่อคอมพิวเตอร์รับข้อมูลเข้าสู่ระบบ
แล้วจะทาการประมวลผลตามคาสั่ง หรือโปรแกรมที่กาหนด อุปกรณ์ทีทา
หน้าที่ประมวลผลได้แก่ CPU
3. แสดงผลข้อมูล (Output) เมื่อทาการประมวลผลแล้ว คอมพิวเตอร์จะแสดง
ผลลัพธ์ อุปกรณ์ที่ทาหน้าที่ในการแสดงผลข้อมูลคือ จอภาพและเครื่องพิมพ์ เป็น
ต้น
4. จัดเก็บข้อมูล คอมพิวเตอร์จะทาการจัดเก็บข้อมูลลงในอุปกรณ์ที่เก็บ
ข้อมูล เช่น ฮาร์ดดิสก์ แผ่นซีดี แฟลชไดรว์
การทางานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์ มี 4 ขั้นตอน
เปรียบเทียบการทางานระหว่างมนุษย์กับคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
จากหลักการทางานของคอมพิวเตอร์ในแต่ละขั้นตอนจะมีอุปกรณ์คอมพิวเตอร์
ที่ทางานสัมพันธ์กันอย่างเป็นขั้นตอน สามารถสรุปได้ดังนี้
1. หน่วยรับข้อมูล (Input Unit)
2. หน่วยประมวลผลกลาง (Central Processing Unit : CPU)
3. หน่วยความจา (Memory Unit)
4. หน่วยแสดงผล (Output Unit)
1. หน่วยรับข้อมูล (Input Unit)
เป็นหน่วยแรกของคอมพิวเตอร์ที่ใช้รับข้อมูลจากผู้ใช้ เพื่อให้คอมพิวเตอร์
ทางานตามคาสั่งของผู้ใช้ต่อไป โดยหน่วยรับข้อมูลจะทาหน้าที่รับข้อมูลทุกรูปแบบ
จากฮาร์ดแวร์ต่างๆ มาเปลี่ยนให้เป็นรูปแบบสัญญาณหรือข้อมูลดิจิทัล เช่น
2. หน่วยประมวลผลกลาง (CPU)
CPU (Central Processing Unit) ทาหน้าที่ประมวลผลข้อมูลตามคาสั่งที่
รับมาจากหน่วยรับข้อมูล ประกอบด้วยหน่วยคานวณและตรรกะ และหน่วย
ควบคุม อุปกรณ์ที่ทาหน้าที่ในการแระมวลผล เรียกว่า ไมโครโพรเซสเซอร์
(Microprocessor) มีลักษณะเป็นวงจรอิเล็กทรอนิกส์ ซึ่งถูกติดตั้งไว้ในคอมพิวเตอร์
1.หน่วยควบคุม (Control Unit) : CU
ทาหน้าที่อ่านคาสั่งเข้ามาทีละคาสั่ง และตีความเพื่อสั่งการควบคุมทรัพยากรใน
ระบบคอมพิวเตอร์ที่เกี่ยวโยง ซึ่งถือว่าเป็นการควบคุมการทางาน ควบคุมการเขียน
อ่านข้อมูลระหว่างหน่วยความจาของซีพียู ควบคุมกลไกการทางาน ทั้งหมดของ
ระบบ ควบคุมจังหวะเวลา โดยมีสัญญาณนาฬิกา เป็นตัวกาหนดจังหวะการทางาน
2. หน่วยคำนวณ (Arithmetic and logic unit) : ALU
เป็นหน่วยที่มีหน้าที่นาเอาข้อมูลที่เป็นตัวเลขฐานสองมาประมวลผลทาง
คณิตศาสตร์ และตรรกะ เช่น การบวก การลบ การเปรียบเทียบ และ การสลับตัวเลข
เป็นต้นการคานวณทาได้เร็วตามจังหวะการควบคุม
ของหน่วยควบคุม
ซีพียู คืออะไร ?
ซีพียู (CPU) คือ อุปกรณ์ตัวหนึ่งที่มีความสาคัญและจาเป็นในการทางาน
ของคอมพิวเตอร์ซึ่งอาจจะเรียกว่าเป็นหัวใจของคอมพิวเตอร์เลยก็ได้ ซีพียู เป็นตัว
ควบคุมการทางานของอุปกรณ์ต่างๆ ไม่ว่าจะเป็นอุปกรณ์ที่อยู่ในคอมพิวเตอร์ หรือ
อุปกรณ์ต่อพ่วงที่ต่อร่วมกับคอมพิวเตอร์ โดย จะเป็นตัวกาหนดความสาคัญของ
อุปกรณ์ว่าตัวใดมีความสาคัญมากกว่าซึ่งหากติดตั้งอุปกรณ์ 2 ตัวที่อินเทอรัพ, การ
แจ้งกับซีพียูว่าจะขอเฉพาะอุปกรณ์ที่มีความสาคัญมากกว่าเท่านั้น ส่วนตัวที่สาคัญ
น้อยกว่าจะไม่สามารถใช้งานได้ เช่น ถ้าเราต่อการ์ดจอภาพกับการ์ดเสียงที่อินเทอรัพ
เดียวกัน ซีพียู จะเลือกให้ใช้ได้เฉพาะการ์ดจอภาพเท่านั้น
 ยุคที่ 1 บริษัท IBM ได้ผลิตเครื่องคอมพิวเตอร์ส่วนบุคลขึ้นมา และได้
เลือกใช้ซีพียู 8088 และ 8086 ของบริษัท Intel เครื่องคอมพิวเตอร์ของ
บริษัท IBM เป็นที่แพร่หลายจนมีผู้ผลิตเครื่องเลียนแบบออกมามากมาย
ที่ใช้ซีพียูรุ่นนี้ซึ่งเป็นของบริษัท Intel
ซีพียูรุ่น 8086
ซีพียูรุ่น 8086
ซีพียูรุ่น 286
ซีพียูรุ่น 386
ซีพียูรุ่น 486
ซีพียูรุ่น Pentium
ซีพียูรุ่น Pentium II และ K6
§ ลักษณะของซีพียู เป็นชิ้นส่วนขนาดเล็กมาก ภายในประกอบด้วยทรานซิสเตอร์ประกอบกันเป็นวงจร
หลายล้านตัว ตัวอย่างเช่น ซีพียูรุ่นเพนเทียม จะมีทรานซิสเตอร์เล็กๆจานวนมากถึง
3.1 ล้านตัว
ซีพียูมีหน่วยที่ใช้ในการบอกขนาดของการคานวณเรียกว่า บิต (Bit)ถ้าจานวนบิต
มากจะสามารถทางานได้เร็ว ซีพียูปัจจุบันทางานที่ 32 บิต
§ ความเร็วของซีพียู(Speed) มีหน่วยวัดเป็น เมกะเฮริตซ์ (MHz = MegaHertz) ถ้าค่าตัวเลขยิ่งสูงแสดงว่ายิ่งมี
ความเร็วมาก ปัจจุบันความเร็วของซีพียู สามารถทางานได้ถึงระดับ กิกะเฮ
ริตซ์ (GHz = Gigahertz) โดยมีความเร็วระหว่าง 2-3 GHz ในการเลือกใช้ซีพียู ผู้
จาหน่ายจะบอกไว้ว่า เครื่องรุ่นนี้มีความเร็วเท่าไหร่ เช่น Pentium IV 2.8
GHz หมายความว่าเป็น CPUรุ่นเพนเทียมโฟว์ มีความเร็วในการทางานที่ 2.8 กิกะ
เฮริตซ์
§ ซีพียูรุ่นต่างๆ โดยทั่วไปมีผู้ผลิตซีพียูหลักๆ คือ บริษัท Intel, AMD, Cyrix และ Motorola โดย
บริษัท Intel เป็นผู้นาในการผลิตรายใหญ่ที่สุดของโลก
ตัวอย่าง CPU ที่ใช้ใน
ระบบปฏิบัติการ Windows
1. ซีพียู Pentium, Pentium II, Pentium III, Pentium
IV เป็นซีพียูรุ่น 486 ของบริษัทอินเทล มีขนาดการเข้าออกของข้อมูลขนาด 32 บิต
ภายในมีส่วนคานวณแบบขนาน สามารถทางานพร้อมกันได้หลายๆคาสั่ง
โดยเฉพาะ Pentium IV ถือว่าให้ประสิทธิภาพสูงมาก เหมาะสาหรับการใช้งาน
ด้านมัลติมีเดีย
2. ซีพียู AMD เป็นของบริษัท AMD เป็นบริษัทที่ผลิตซีพียูที่สามารถใช้งานกับ
ระบบปฏิบัติการ Windows ได้ เช่นเดียวกับซีพียูของอินเทล
3. ซีพียูเซเลรอน (Celeron) เป็น ซีพียู ของบริษัทอินเทล
3.1 หน่วยความจาหลัก (Main Memory)
คือ หน่วยความจาหลักเป็นหน่วยความจาพื้นฐานในคอมพิวเตอร์ทุกเครื่อง เป็นหัวใจ
ของการทางานในรูปแบบอัตโนมัติ มีหน้าที่เก็บข้อมูลต่างๆ ที่ป้อนเข้ามาเพื่อให้หน่วย
ประมวลผลนาไปใช้ และเก็บข้อมูลที่เกี่ยวกับคุณสมบัติและระบบการทางานของเครื่อง
คอมพิวเตอร์ด้วย
หน้าที่ของหน่วยความจาหลักในระบบคอมพิวเตอร์ คือ ใช้เป็นที่เก็บข้อมูลก่อน
นาไปประมวลผล เก็บคาสั่งของโปรแกรมขณะใช้งาน และเก็บผลลัพธ์ที่ได้จากการ
ประมวลผลก่อนนาไปแสดงผล
3.หน่วยความจา (Memory Unit) แบ่งเป็น 2 ประเภท
3.1 หน่วยความจาหลัก (Main Memory)
3.2 หน่วยความจาสารอง (Secondary Memory Unit)
3.1.1 หน่วยความจาแบบไม่ลบเลือน คือ เป็นหน่วยความจาที่ได้บรรจุชิป
หน่วยความจาแบบติดตั้งถาวรหรือไบออส (Basic Input Output System :
BIOS )หน่วยความจาที่เก็บข้อมูลโดยไม่ขึ้นกับกระแสไฟฟ้า แม้ไฟฟ้าจะดับ
ข้อมูลก็ยังอยู่ เรียกหน่วยความจานี้ว่า รอม (Read Only Memory: ROM)
>หน่วยความจาหลัก ในระบบคอมพิวเตอร์ แบ่งออกเป็น 4 ประเภท
ROM สามารถที่จะแบ่งออกเป็น 3 ประเภทด้วยกันคือ
1. PROM (Programmable ROM) คือหน่วยความจาที่ไม่สามารถแก้ไขข้อมูลที่บันทึกไว้ได้
โดยส่วนมากแล้วจะเป็นโปรแกรมที่ถูกบันทึกมาจากโรงงานหรือมาจากผู้ผลิตโดยตรงนั่นเอง
2. EPROM (Erasable Programmable ROM) เป็นหน่วยความจาที่สามารถลบข้อมูลหรือ
โปรแกรมใหม่ได้ หน่วยความจานี้แบ่งย่อยได้อีก 2ประเภท คือ UV PROM และ EEPROM ซึ่ง
การลบข้อมูลในโปรแกรมจะใช้วิธีการฉายแสงอุลตราไวโลเล็ต เราจะสังเกตอุปกรณ์ที่เป็น
EPROM ได้จากลักษณะของอุปกรณ์ที่มีแผ่นกระจกใสๆอยู่ตรงกลางอุปกรณ์
3. EAROM (Electrically Alterable ROM) เป็นหน่วยความจาอ่านและลบข้อมูลโปรแกรม
ได้ด้วยการใช้ไฟฟ้าในการลบซึ่งแตกต่างจากแบบ EPROM ที่ต้องใช้การฉายแสงอุลตราไวโลเล็ต
ในการลบข้อมูล
3.1.2 หน่วยความจาแบบลบเลือนได้ คือ ทาหน้าที่ สาหรับเก็บข้อมูล
และคาสั่งที่จะทาการประมวลผล ในขณะที่เปิดเครื่อง มีไฟฟ้าเท่านั้น ถ้ากระ
ไฟฟ้าดับ ข้อมูลที่ถูกเก็บไว้จะหายหมด เรียกหน่วยความจานี้ว่า แรม (Random
Access Memory: RAM) แบ่งออกเป็น 2 ประเภท
1. สแตติกแรม หรือเอสแรม (Static RAM : SRAM) มักพบในตัวซีพียูทาหน้าที่
เป็นหน่วยความจาภายในซีพียูที่เรียกว่าหน่วยความจาแคช ซึ่งจะมีความเร็วสูงกว่า
ไดนามิกแรม
2. ไดนามิกแรม หรือ ดีแรม (Dynamic RAM : DRAM) เป็นหน่วยความจาที่ใช้ใน
การจดจาข้อมูลและโปรแกรมต่างๆ ที่อยู่ระหว่างการประมวลผลของคอมพิวเตอร์
เป็นหน่วยความจาที่มีอยู่ในเครื่องคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล หรือพีซีมากที่สุด
เนื่องจากราคาไม่แพงและมีความจุสูง
3.2 หน่วยความจาสารอง (Secondary Memory Unit)
>หน่วยความจาสารอง ทาหน้าที่เก็บข้อมูลตามคาสั่งของผู้ใช้ ซึ่งจะมีพื้นที่หรือ
ความจุมากกว่าหน่วยความจาหลัก ลักษณะในการเก็บข้อมูลจะเป็นแบบถาวร
เช่น
4.หน่วยแสดงผล (Output Unit)
เป็นหน่วยที่ทาหน้าที่แสดงผลที่ได้จากการประมวลผลข้อมูลที่เตรียมไว้ใน
หน่วยความจา เพื่อส่งข้อมูลหรือสื่อสารกับผู้รับ โดยมีฮาร์ดแวร์ทาหน้าที่เป็นส่วน
แสดงผล มีทั้งรูปแบบภาพ เสียงและสิ่งพิมพ์
สรุปกำรทำงำนของคอมพิวเตอร์
Input
CPU
Control
Unit
Arithmetic
Logic Unit
Main Storage
Program Data
กำรเก็บข้อมูล
คำสั่ง
Output
1. ฮำร์ดแวร์ (Hardware) หมำยถึง ส่วนประกอบของเครื่องคอมพิวเตอร์
ที่สำมำรถมองเห็นและสัมผัสได้ เช่น ตัวเครื่อง จอภำพ คีย์บอร์ด รวมทั้ง
อุปกรณ์รอบข้ำงต่ำงๆ เช่น เครื่องพิมพ์ สแกนเนอร์ โมเด็ม ฯลฯ
คอมพิวเตอร์ประกอบด้วยอุปกรณ์ที่สำคัญ 2 ส่วน ได้แก่ ฮำร์ดแวร์ ซอฟต์แวร์
2. ซอฟต์แวร์ (Software) หรืออำจเรียกว่ำโปรแกรม หมำยถึงชุดคำสั่งที่เขียนขึ้น
โดยโปรแกรมเมอร์ เพื่อสั่งให้เครื่องคอมพิวเตอร์ทำงำน ซอฟต์แวร์จะช่วยใน
กำรแก้ปัญหำจำกต้นจนจบ จะถูกอ่ำนจำกหน่วยบันทึกข้อมูล ไปเก็บไว้ช่วยครำว
ที่หน่วยควำมจำแรม แล้วถูกส่งต่อไปยังซีพียู เพื่อควบคุมกำรประมวลผล และคำนวณ
(1) ซอฟต์แวร์ระบบปฏิบัติกำร (Operating System Software)
เป็นซอฟต์แวร์ที่ควบคุมกำรทำงำนทั้งหมดของฮำร์ดแวร์
Window Me , Windows XP
(2) ซอฟต์แวร์ประยุกต์ (Application Software)
ชุดคำสั่งที่เขียนขึ้นเพื่อให้เครื่องคอมพิวเตอร์ทำงำนต่ำงๆ ตำมที่ผู้ใช้ต้องกำร
Microsoft Word, Microsoft Excel,
Microsoft PowerPoint, Photoshop
เคสหรือตัวถัง
หลายคนจะเรียกว่าซีพียูเนื่องจากเข้าใจผิด สาหรับเคส
นั้นเป็นเพียงวัสดุที่ทาเพื่อให้เราสามารถติดตั้ง อุปกรณ์
ต่างๆ ประกอบกันได้เป็นระเบียบ แล้วก็ช่วยป้องกัน
ความเสียหายที่จะเกิดขึ้นกับชิ้นส่วนคอมพิวเตอร์ด้วย
ภายในเคสก็จะมีพื้นที่สาหรับติดตั้งเมนบอร์ด ติดตั้ง
ฮาร์ดดิสก์ ติดตั้งซีดีรอม มีพัดลมระบายความร้อน และ
ที่ขาดไม่ได้ก็คือ Power Supply ซึ่งจะมีติดอยู่ในเคส
เรียบร้อย
CASE
พาวเวอร์ซัพพลาย
ทาหน้าที่ในการจ่ายกระแสไฟฟ้า ให้กับ
ชิ้นส่วนคอมพิวเตอร์ เพื่อให้เครื่อง
คอมพิวเตอร์สามารถทางานได้ หากเครื่อง
คอมพิวเตอร์มีอุปกรณ์ต่อพ่วงเยอะ เช่น
ฮาร์ดดิสก์ ซีดีรอมไดรฟ์ ดีวีดีไดรฟ์ ก็ควร
เลือกพาวเวอร์ซัพพลายที่มีจานวนวัตต์สูง
เช่น 450 วัตต์ เพื่อให้สามารถ จ่ายกระแส
ไฟได้เพียงพอ
หน่วยประมวลผลกลาง
เปรียบได้กับสมองของคอมพิวเตอร์ เป็น
ส่วนที่สาคัญที่สุด ทาหน้าที่เป็น
ศูนย์กลางการประมวลผลและควบคุม
ระบบต่างๆ ของคอมพิวเตอร์ ให้ทุก
หน่วยทางานสอดคล้องสัมพันธ์กัน
ชุดพัดลมและฮีตซิงก์
ใช้ติดตั้งบนตัวซีพียู เพื่อช่วยระบายความ
ร้อนออกจากซีพียู โดยพัดลม กับฮีตซิงค์นั้น
จะมีขายให้พร้อมกับซีพียู หรือจะซื้อแยก
ต่างหากก็ได้ พัดลมจะมีความเร็วในการ
หมุน หากมีความเร็วรอบสูงๆ จะช่วยให้การ
ระบายความร้อนทาได้ดี แต่ก็ทาให้เกิดเสียง
ดังรบกวน
เมนบอร์ด หรือแผงวงจรหลักที่ใช้ในเครื่อง
คอมพิวเตอร์ การจะให้อุปกรณ์ต่างๆ ทางานได้
นั้น ต้องติดตั้งหรือเชื่อมต่อ สายเข้ากับ
เมนบอร์ด แม้แต่ซีพียูก็ต้องติดตั้งเข้ากับ
เมนบอร์ด เมนบอร์ดถูกผลิตออกมาเพื่อใช้กับ
ซีพียูต่างรุ่นต่างแบบ และยัง มีผู้ผลิตหลายราย
ด้วยกัน เช่น ASUS, ECS, GIGABYTE,
CHAINTECH, MSI, ABIT, INTEL เป็นต้น
แบตเตอรี่เบอร์ CR2032
เป็นแบตเตอรี่ที่จ่ายกระแสไฟให้กับ CMOS
เพื่อเก็บข้อมูลในไบออส เช่น ฮาร์ดดิสก์
ซีดีรอม วันเวลา ถ้าหากแบตเตอรี่หมดอายุ
จะทาให้ข้อมูลในไบออสหายไป ทาให้เครื่อง
คอมพิวเตอร์ไม่สามารถ ตรวจสอบ ได้ว่ามี
ฮาร์ดดิสก์ มีซีดีรอมต่อพ่วงอยู่หรือเปล่า ทา
ให้คอมพิวเตอร์ไม่สามารถทางานได้
แบตเตอรี่จะมีอายุการใช้งานประมาณสอง
หรือสามปี หากต้องการเปลี่ยนก็หาซื้อได้ตาม
ร้านนาฬิกาหรือร้านถ่ายรูป
แรม (RAM; Random Access Memory)
เป็นหน่วยความ จาที่สามารถเก็บข้อมูล และคาสั่ง
จากหน่วยรับข้อมูล แต่ข้อมูลและคาสั่งเหล่านั้น
สามารถหายไปได้ เมื่อมีการรับข้อมูลหรือคาสั่ง
ใหม่ หรือปิดเครื่อง หรือกระแสไฟฟ้าขัดข้อง
หน่วยความจาแรม เป็นหน่วย ความจาที่สาคัญ
ที่สุดของคอมพิวเตอร์ จาเป็นจะต้องเลือกซื้อให้มี
ขนาดใหญ่พอสมควร มิฉะนั้นจะทางานไม่
สะดวก
ฮาร์ดดิสก์ Hard Disk
เป็นที่สาหรับเก็บข้อมูลขนาดใหญ่ มีความจุสูงถึง
หน่วย เมกะไบต์ จนถึง กิกะไบต์ และมีความเร็วสูง
ในการทางาน จะประกอบไปด้วยจาน Disk หรือที่
เรียกว่า Platters หลายๆ แผ่นมารวมกัน ซึ่งแต่ละ
ด้านของ Platter จะถูกปกคลุมไปด้วยสารประกอบ
Oxide เพื่อให้สามารถบันทึกข้อมูลได้ ฮาร์ดดิสก์
(Hard Disk)) ส่วนมากจะอยู่ภายในเครื่อง
คอมพิวเตอร์ ซึ่งไม่สะดวกในการเคลื่อนย้าย บางที
ถูกเรียกว่า Fixed Disk
การ์ดเสียง
ช่วยให้ฟังเพลง ดูหนัง เล่นเกม บันทึกเสียงเข้า
ไปในคอมพิวเตอร์ได้ แม้เมนบอร์ดส่วนใหญ่
จะรวมเอาการ์ดเสียงเป็นชุดเดียวกับเมนบอร์ด
(Sound on Board) แต่ถ้าหากต้องการคุณภาพ
เสียงที่ดีกว่า หรือต้องการใช้งานด้านตนตรี ตัด
ต่อวิดีโอ ฟังเพลง ดูหนัง ที่ได้อารมณ์สุดๆ ก็
ควรเลือกการ์ดเสียงที่ทาเป็นการ์ด แยกต่างหาก
ตัวอย่างการ์ดที่ได้รับความนิยมก็เช่น Creative
SoundBlaster Live, Audigy
การ์ดแสดงผลหรือการ์ดจอ
หรือเรียกอีกอย่างก็คือ VGA Card (Video
Graphic Array) ถ้าเป็นการ์ดรุ่นใหม่ๆ ที่ใช้สาหรับ
เล่นเกมก็จะเรียกว่า 3D Card ซึ่งเป็นการ์ดที่ช่วยให้
การแสดงรูปภาพที่เป็นภาพสามมิติทาได้เร็วขึ้น
การ์ดแสดงผลจะส่งสัญญาณภาพไปแสดงที่
จอคอมพิวเตอร์ การ์ดบางรุ่นจะแสดงผลได้สองจอ
พร้อมกัน เรียกว่า Dual Head เนื่องจากมีพอร์ต
สาหรับต่อสายจากจอมอนิเตอร์ได้สองจอ และการ์ด
บางรุ่นจะมีช่องส่งสัญญาณภาพ ออกไปที่โทรทัศน์
ได้ด้วย เรียกว่า TV-Out
ไดรฟ์ สาหรับอ่านและบันทึกข้อมูล
ไดรฟ์ ที่เห็นในรูปเป็นไดรฟ์ ขนาด 3.5 นิ้ว ใช้
อ่านข้อมูลจากแผ่นดิสก์ ขนาด 3.5 นิ้ว ด้านท้าย
ของไดรฟ์ จะมีคอนเน็คเตอร์ สาหรับต่อสายไฟ
จากพาวเวอร์ซัพพลายเข้าที่ตัวไดรฟ์ และคอน
เน็คเตอร์สาหรับต่อสายแพ (สายรับส่งข้อมูล)
เข้ากับคอนเน็คเตอร์ FDD Connector บน
เมนบอร์ด
Floppy Disk
ทาหน้าที่เก็บข้อมูล เช่นเดียวกับ Hard Disk
แต่มีความจุน้อยกว่าตัว Disk ถูกทาจาก
Mylar และฉาบ ด้วยสารแม่เหล็ก เมื่อ Disk
ถูกใส่ใน Drive Unit ใน Spindle Clamps ที่
อยู่ส่วนกลางของช่องว่างจะถูกหมุน ด้วย
ความเร็วคงที่ อาจจะ 300 หรือ 360 รอบต่อ
นาที ข้อมูลจะถูกเก็บบน Disk ใน Circular
Tracks
CD-ROM (Compact Discs Read Only Memory)
เป็นอุปกรณ์บันทึกข้อมูลรูปแบบหนึ่ง โดยเฉพาะ
ข้อมูลทางด้าน Multimedia เนื่องจาก Multimedia
ต้องใช้สื่อเป็นจานวนมาก เช่น ภาพ และ เสียง สิ่ง
เหล่านี้เป็น ข้อมูลที่มีขนาดใหญ่ ถ้ามีการเก็บ
รูปภาพเป็นจานวนมาก และเสียงที่มีความยาว
นานๆ เช่น Music Video ที่มีความยาวประมาณ 3-4
นาที จะต้องใช้เนื้อที่ในการเก็บถึง 50 MB หรือ บาง
ไฟล์อาจจะเล็ก/ใหญ่ กว่าได้ ดังนั้นข้อมูลเหล่านี้
โดยมาก จึงถูกเก็บไว้ใน CD-ROM ซึ่งมีความ
สามารถในการบันทึกข้อมูลได้มาก
เครื่องบันทึก CD
สามารถอ่านและเขียนข้อมูลลงบน CD ได้
(แผ่น CD ที่ใช้ สามารถใช้ได้ทั้ง CD-R และ
CD-RW) ส่วน ซอร์ฟแวร์ที่ใช้ในการบันทึก
โดยปกติ ถ้าเราซื้อ recordable CD drive มา
จะมีโปรแกรมแถมมาให้ด้วย เช่น Easy CD
Creator, Nero Burning ROM เป็นต้น
DVD-ROM (Read Only Memory)
อ่านรวมๆว่า ดีวีดีรอม เป็นเครื่องที่ใช้อ่านแผ่น
DVD ได้อย่างเดียวไม่สามารถใช้การเขียนข้อมูล
ลงบนแผ่น DVD-R , DVD+R:(DVD
Recordable) ได้
Combo Drive
หรือไดรฟ์ ที่รวมความสามารถของดีวีดี และซีดีอาร์
ดับบลิวเข้าด้วยกัน เรียกว่าจะเขียนแผ่นซีดีอาร์ หรือ
จะดูหนังฟังเพลงผ่านทางดีวีดีก็ย่อมได้ ข้อดีของมัน
ก็คือราคาจะถูกกว่าการซื้อไดรฟ์ แยกตัวใดตัวหนึ่ง
แถมยังประหยัดพื้นที่ในการติดตั้งไดรฟ์ ไปได้หนึ่ง
ช่อง
ใช้สาหรับติดตั้งซีพียูเข้ากับเมนบอร์ด เมนบอร์ดที่ใช้กับ
ซีพียูของอินเทลคือ Pentium 4 และ Celeron จะเรียก
ซ็อคเก็ตว่า SOCKET 478 ส่วนเมนบอร์ดสาหรับซีพียู
AMD นั้นจะมีซ็อคเก็ตแบบ SOCKET 462 หรือเรียกอีก
ชื่อหนึ่งว่า SOCKET A จุดสังเกตว่าเมนบอร์ดเป็นซ็อค
เก็ตแบบใดนั้นก็ดูจากชื่อที่พิมพ์ไว้บนซ็อคเก็ต ส่วนความ
แตกต่างอีกอย่างหนึ่งก็คือรอยมาร์ค ที่มุมของซ็อคเก็ต ถ้า
เป็นซ็อคเก็น 478 จะมีรอยมาร์คอยู่ที่มุมหนึ่งด้าน ส่วน
ซ็อคเก็ต 462 จะมีรอยมาร์คที่มุมสองด้าน โดยรอยมาร์ค
จะตรงกับตาแหน่งของซีพียู เพื่อให้ติดตั้งซีพียูเข้า
กับซ็อคเก็ตได้อย่างถูกต้อง
คอนเน็คเตอร์สาหรับต่อสายแพเข้ากับ Disk Drive ซึ่ง
เมนบอร์ดจะมีคอนเน็คเตอร์ไว้ให้หนึ่งช่อง ซึ่งก็เพียงพอ
ต่อการ ใช้งาน เพราะเครื่องคอมพิวเตอร์ส่วนใหญ่จะ
ติดตั้งดิสก์ไดรฟ์ เพียงแค่หนึ่งไดรฟ์ เท่านั้น จุดสังเกตก็
คือจะมีข้อความว่า FLOPPY หรือเมนบอร์ดบางรุ่นจะ
เป็นตัวย่อว่า FDD พิมพ์กากับอยู่ ส่วนที่สาคัญอย่างหนึ่ง
ก็คือที่ช่องคอนเน็คเตอร์จะมี Pin หรือเข็มอยู่ 33 อัน โดย
ด้านหนึ่งจะมีคาว่า PIN 1 พิมพ์กากับอยู่ด้วย เมื่อ
ต้องการต่อสายแพเข้ากับคอนเน็คเตอร์ จะต้องเอาด้านที่
มีสีแดงหรือสีน้าเงินมาไว้ที่ตาแหน่ง PIN 1
เป็นคอนเน็คเตอร์ที่ใช้สาหรับเชื่อมต่อสายแพกับฮาร์ดดิสก์แบบ IDE รวมถึงอุปกรณ์จาพวก
ไดรฟ์ อ่านเขียนข้อมูล เช่น ซีดีรอม ดีวีดีซิฟไดรฟ์ โดยเมนบอร์ดจะมีคอนเน็คเตอร์ IDE อยู่
สองชุดด้วยกัน เรียกว่า IDE 1 กับ IDE 2 แต่ละคอนเน็คเตอร์ จะรองรับอุปกรณ์ได้สองชิ้น
ซึ่งหมายถึงว่าคุณจะต่อฮาร์ดดิสก์รวมทั้งซีดีรอมได้สูงสุดแค่สี่ชิ้น ซึ่งอาจจะเป็นฮาร์ดิสก์
สองตัวกับไดรฟ์ CD-RW และไดรฟ์ DVD อีกอย่างละหนึ่ง เช่นเดียวกันกับ FDD
Connector ก็คือจะมีตัวอักษรพิมพ์กากับว่าด้านใดคือ PIN 1 เพื่อให้ต่อสายแพเข้าไปอย่าง
ถูกต้อง แต่ IDE Connector จะมีจานวนพินมากกว่าคือ 39 พิน (ในรูปคือที่เห็นเป็นสีแดงกับ
สีขาว)
สล็อตพีซีไอ เป็นช่องที่เอาไว้สาหรับติดตั้งอุปกรณ์เพิ่มเติม เช่น ติดตั้งการ์ด SCSI
การ์ดเสียง การ์ดเน็ตเวิร์ค โมเด็มแบบ Internal เมนบอร์ดโดยส่วนใหญ่จะมีสล็อตพีซี
ไอเป็นสีขาวครีม แต่ก็มีเมนบอร์ดรุ่นใหม่บางรุ่นที่เพิ่มสล็อตพีซีไอ โดยใช้สีแตกต่าง
เช่น สีน้าเงิน เพื่อใช้ติดตั้งการ์ดที่ออกแบบมาโดยเฉพาะ สล็อตแบบพีซีไอนั้นถูก
ออกแบบมาแทนสล็อตแบบ VL ซึ่งทางานได้ช้า การติดตั้งอุปกรณ์ทาได้ยาก เนื่องจาก
ต้องเซ็ตจัมเปอร์ แต่พีซีไอนั้นจะเป็นระบบ Plug and Play ที่ติดตั้งอุปกรณ์ได้ง่ายกว่า
อุปกรณ์บางอย่าง เช่น การ์ดเสียง เมื่อติดตั้งแล้วโอเอส จะรู้จักทันทีหรือเพียงแค่ลงไดร
เวอร์เพิ่มเติมเท่านั้น อนึ่งสล็อตแบบพีซีไอนั้นเรียกอีกอย่างหนึ่งว่า PCI Bus ซึ่งก็
หมายถึง เส้นทางที่ใช้ในการรับส่งข้อมูลระหว่างเมนบอร์ดกับอุปกรณ์ต่อพ่วงแบบบัส
จะทางานในระบบ 32 บิต
เป็นสล็อตที่มีไว้สาหรับติดตั้งการ์ดแสดงผล หรือการ์ดจอ
เท่านั้น สล็อตเอจีพีจะมีสีน้าตาล ตาแหน่งจะอยู่ด้านบนของ
สล็อต พีซีไอ และอยู่ใกล้กับตาแหน่งของซ็อคเก็ตที่ติดตั้ง
ซีพียู เหตุผลที่ใช้ติดตั้งเฉพาะการ์ดแสดงผล ก็เนื่องจาก
ระบบบัสแบบ PCI ที่ใช้กันอยู่เดิมนั้น ไม่สามารถตอบสนอง
การใช้งาน ที่ต้องการความรวดเร็วในการแสดงผลสูงๆ
อย่างเช่น เกมสามมิติ โปรแกรมกราฟิกประเภทสามมิติ
ออกแบบ บัสแบบเอจีพีหรือสล็อตแบบเอจีพีรุ่นใหม่จะมี
ความเร็วในการรับส่งข้อมูลสูงขึ้น ซึ่งมีข้อสังเกตๆ ง่ายคือ
2X 4X และล่าสุด 8X ตัวเลขยิ่งสูงมากยิ่งเร็วขึ้น
เป็นพอร์ต์ที่ใช้สาหรับต่อสายเม้าส์กับสายคีย์บอร์ดเข้ากับเครื่อง
คอมพิวเตอร์ โดยเรียกว่าพีเอสทูเม้าส์หรือพีเอสทูคีย์บอร์ด ซึ่ง
พอร์ตจะมีรูกลมหกรู แล้วก็รูสี่เหลี่ยมหนึ่งรู ซึ่งปลายสาย
คีย์บอร์ดหรือเม้าส์ก็จะมีเข็มที่ตรงกับตาแหน่งของรูที่พอร์ตด้วย
การเสียบสายเม้าส์และคีย์บอร์ดเข้าไป ต้องระวังให้เข็มตรงกับรู
สาหรับพอร์ตเม้าส์และคีย์บอร์ดนั้นจะใช้ Color Key แสดง
เอาไว้ สีเขียวคือต่อสายเม้าส์ ส่วนสีน้าเงินต่อสายคีย์บอร์ด
นอกจากนี้ยังมีจุดสังเกตุอีกประการหนึ่งก็คือ เมื่อประกอบ
เมนบอร์ดเข้ากับเคส ที่เคสจะมีสัญลักษณ์รูปเม้าส์กับรูป
คีย์บอร์ด ติดอยู่ เพื่อให้ต่อสายเม้าส์และคีย์บอร์ดได้ถูกต้อง
พอร์ตสาหรับต่อพ่วงกับอุปกรณ์ที่มีพอร์ตแบบยูเอส
บี เช่น พรินเตอร์ สแกนเนอร์ กล้องดิจิตอล ซีดีรอม
ไดรฟ์ ซิพไดรฟ์ เป็นต้น เมนบอร์ดรุ่นใหม่จะมีพอร์ต
ยูเอสบีเพิ่มมาอีกเรียกว่าพอร์ต USB 2.0 ซึ่ง
รับส่งข้อมูลได้เร็วกว่าเดิม เมื่อคุณต้องซื้ออุปกรณ์ต่อ
พ่วง ควรตรวจสอบด้วยว่าอุปกรณ์นั้นเชื่อมต่อกับ
พอร์ตยูเอสบีรุ่นเก่า หรือว่าต้องใช้ร่วมกับพอร์ต ยูเอส
บี 2.0 เพื่อความมั่นใจว่าอุปกรณ์ที่ซื้อมานั้นจะ
ทางานได้อย่างไม่มีปัญหาใดๆ
พอร์ตพาราเรล เป็นพอร์ตแบบตัวเมียมีรู 25
รู สาหรับต่อสายพรินเตอร์หรือสแกนเนอร์ที่
มีพอร์ตแบบพาราเรล ซึ่งส่วนใหญ่ จะใช้ต่อ
กับเครื่องพรินเตอร์มากกว่า ซึ่งบางคนจะ
เรียกว่าพรินเตอร์พอร์ต โดยส่วนใหญ่พอร์ต
พาราเรลจะมีกับเครื่อง พรินเตอร์รุ่นเก่า หรือ
ในเครื่องพรินเตอร์ระดับกลางๆ ขึ้นไป
พอร์ตแบบตัวผู้ที่มีขาสัญญาณอยู่ 9 ขา เรียกว่าคอม
พอร์ต (COM Port) เป็นพอร์ตที่ใช้สาหรับต่อ
โมเด็ม เม้าส์ หรือจอยสติ๊ก ปัจจุบันอุปกรณ์ที่ใช้
พอร์ตนี้แทบไม่มีให้เห็น เนื่องจากหันไปใช้พอร์ต
แบบ USB เป็นส่วนใหญ่
พอร์ตสาหรับต่อสายสัญญาณภาพ
กับจอคอมพิวเตอร์ ลักษณะของ
พอร์ตจะเป็นพอร์ตแบบตัวเมียมีรู 15
รู สาหรับพอร์ตนี้ จะมีอยู่เฉพาะใน
เมนบอร์ดรุ่นที่รวมเอาการ์ดแสดงผล
เข้าไปกับเมนบอร์ดด้วย (VGA
Onboard)
สาหรับเมนบอร์ดรุ่นใหม่ ซาวน์การ์ด
จะถูกรวมเข้าไปกับเมนบอร์ดด้วย ที่เรียก
กันว่า Sound on Board จุด
สังเกตก็คือที่เมนบอร์ดจะมีช่องสาหรับต่อ
ไมโครโฟน ลาโพง แล้วก็เครื่องเล่นเทป ทา
ให้ไม่ต้องซื้อซาวน์การ์ดเพิ่ม อย่างไรก็ดีถ้า
คุณต้องการคุณภาพเสียงที่ดีกว่า หรือ
ต้องการใช้เครื่องคอมกับการทาดนตรี หรือ
งานตัดต่อวิดีโอ ซาวน์การ์ดแบบติดตั้งเพิ่ม
ก็ยังจาเป็น

More Related Content

What's hot

บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์konkamon
 
บทที่ 1 การใช้คอมพิวเตอร์และระบบสารสนเทศ
บทที่ 1 การใช้คอมพิวเตอร์และระบบสารสนเทศบทที่ 1 การใช้คอมพิวเตอร์และระบบสารสนเทศ
บทที่ 1 การใช้คอมพิวเตอร์และระบบสารสนเทศwilaiporntoey
 
การใช้คอมพิวเตอร์และระบบสารสนเทศ
การใช้คอมพิวเตอร์และระบบสารสนเทศการใช้คอมพิวเตอร์และระบบสารสนเทศ
การใช้คอมพิวเตอร์และระบบสารสนเทศhs8zlb
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการใช้คอมพิวเตอร์และระบบสารสนเทศเพื่องานอาชีพ
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการใช้คอมพิวเตอร์และระบบสารสนเทศเพื่องานอาชีพความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการใช้คอมพิวเตอร์และระบบสารสนเทศเพื่องานอาชีพ
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการใช้คอมพิวเตอร์และระบบสารสนเทศเพื่องานอาชีพJakarin Damrak
 
บทที่ 4 หลักการทำงานของระบบคอมพิวเตอร์
บทที่ 4 หลักการทำงานของระบบคอมพิวเตอร์บทที่ 4 หลักการทำงานของระบบคอมพิวเตอร์
บทที่ 4 หลักการทำงานของระบบคอมพิวเตอร์russana
 
Computer
ComputerComputer
Computernuting
 
Chapter1 Intro to Computer System
Chapter1 Intro to Computer SystemChapter1 Intro to Computer System
Chapter1 Intro to Computer SystemAdul Yimngam
 
สรุปความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
สรุปความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์สรุปความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
สรุปความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์supatra2011
 
ระบบการทำงานของคอมพิวเตอร์
ระบบการทำงานของคอมพิวเตอร์ระบบการทำงานของคอมพิวเตอร์
ระบบการทำงานของคอมพิวเตอร์nprave
 
ระบบคอมพิวเตอร์
ระบบคอมพิวเตอร์ระบบคอมพิวเตอร์
ระบบคอมพิวเตอร์ThanThai Sangwong
 
บทที่ 2 ส่วนประกอบและหลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
บทที่ 2 ส่วนประกอบและหลักการทำงานของคอมพิวเตอร์บทที่ 2 ส่วนประกอบและหลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
บทที่ 2 ส่วนประกอบและหลักการทำงานของคอมพิวเตอร์Kriangx Ch
 
คอมพิวเตอร์เบื้องต้น ปรับปรุง
คอมพิวเตอร์เบื้องต้น ปรับปรุงคอมพิวเตอร์เบื้องต้น ปรับปรุง
คอมพิวเตอร์เบื้องต้น ปรับปรุงจีระภา บุญช่วย
 
คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
คอมพิวเตอร์เบื้องต้นคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
คอมพิวเตอร์เบื้องต้นNOiy Ka
 

What's hot (19)

บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
 
บทที่ 1 การใช้คอมพิวเตอร์และระบบสารสนเทศ
บทที่ 1 การใช้คอมพิวเตอร์และระบบสารสนเทศบทที่ 1 การใช้คอมพิวเตอร์และระบบสารสนเทศ
บทที่ 1 การใช้คอมพิวเตอร์และระบบสารสนเทศ
 
การใช้คอมพิวเตอร์และระบบสารสนเทศ
การใช้คอมพิวเตอร์และระบบสารสนเทศการใช้คอมพิวเตอร์และระบบสารสนเทศ
การใช้คอมพิวเตอร์และระบบสารสนเทศ
 
หน่วยที่1
หน่วยที่1หน่วยที่1
หน่วยที่1
 
Computer
ComputerComputer
Computer
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการใช้คอมพิวเตอร์และระบบสารสนเทศเพื่องานอาชีพ
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการใช้คอมพิวเตอร์และระบบสารสนเทศเพื่องานอาชีพความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการใช้คอมพิวเตอร์และระบบสารสนเทศเพื่องานอาชีพ
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการใช้คอมพิวเตอร์และระบบสารสนเทศเพื่องานอาชีพ
 
บทที่ 4 หลักการทำงานของระบบคอมพิวเตอร์
บทที่ 4 หลักการทำงานของระบบคอมพิวเตอร์บทที่ 4 หลักการทำงานของระบบคอมพิวเตอร์
บทที่ 4 หลักการทำงานของระบบคอมพิวเตอร์
 
Computer
ComputerComputer
Computer
 
Chapter1 Intro to Computer System
Chapter1 Intro to Computer SystemChapter1 Intro to Computer System
Chapter1 Intro to Computer System
 
สรุปความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
สรุปความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์สรุปความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
สรุปความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
 
ระบบการทำงานของคอมพิวเตอร์
ระบบการทำงานของคอมพิวเตอร์ระบบการทำงานของคอมพิวเตอร์
ระบบการทำงานของคอมพิวเตอร์
 
ใบงาน 1 คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
ใบงาน 1 คอมพิวเตอร์เบื้องต้นใบงาน 1 คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
ใบงาน 1 คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
 
ระบบคอมพิวเตอร์
ระบบคอมพิวเตอร์ระบบคอมพิวเตอร์
ระบบคอมพิวเตอร์
 
คูมื่อ E book
คูมื่อ E bookคูมื่อ E book
คูมื่อ E book
 
บทที่ 2 ส่วนประกอบและหลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
บทที่ 2 ส่วนประกอบและหลักการทำงานของคอมพิวเตอร์บทที่ 2 ส่วนประกอบและหลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
บทที่ 2 ส่วนประกอบและหลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
 
Lesson2
Lesson2Lesson2
Lesson2
 
Basic1
Basic1Basic1
Basic1
 
คอมพิวเตอร์เบื้องต้น ปรับปรุง
คอมพิวเตอร์เบื้องต้น ปรับปรุงคอมพิวเตอร์เบื้องต้น ปรับปรุง
คอมพิวเตอร์เบื้องต้น ปรับปรุง
 
คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
คอมพิวเตอร์เบื้องต้นคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
 

Similar to หน่วยที่ 2-องค์ประกอบและหลักการทำงานของคอม

Similar to หน่วยที่ 2-องค์ประกอบและหลักการทำงานของคอม (20)

Computer
ComputerComputer
Computer
 
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
แนวข้อสอบคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
แนวข้อสอบคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศแนวข้อสอบคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
แนวข้อสอบคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
คอมพิวเตอร์
คอมพิวเตอร์คอมพิวเตอร์
คอมพิวเตอร์
 
computer
computercomputer
computer
 
Week01
Week01Week01
Week01
 
Week01
Week01Week01
Week01
 
Week01
Week01Week01
Week01
 
Week01
Week01Week01
Week01
 
Week02
Week02Week02
Week02
 
Week01
Week01Week01
Week01
 
Week01
Week01Week01
Week01
 
Week01
Week01Week01
Week01
 
Week01
Week01Week01
Week01
 
Week01
Week01Week01
Week01
 
คอมพิวเตอร์
คอมพิวเตอร์คอมพิวเตอร์
คอมพิวเตอร์
 
งาน
งานงาน
งาน
 
คอมพิวเตอร์
คอมพิวเตอร์คอมพิวเตอร์
คอมพิวเตอร์
 
Week02
Week02Week02
Week02
 
Week01
Week01Week01
Week01
 

หน่วยที่ 2-องค์ประกอบและหลักการทำงานของคอม

  • 3. ความหมายของคอมพิวเตอร์  คือ อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ ที่ทางานตาม ชุดคาสั่งที่มนุษย์เขียนขึ้น เพื่อให้คอมพิวเตอร์ ทางานตามขั้นตอนที่กาหนดไว้ และ ประมวลผลออกมาตามต้องการ  ขนาดของคอมพิวเตอร์ สามารถแบ่งออกเป็น 4 ขนาด ดังนี้
  • 4. 1. ซุปเปอร์คอมพิวเตอร์ (Super Computer) เป็นเครื่องคอมพิวเตอร์ที่มีขนาดใหญ่ที่สุด สามารถจัดการ คานวณ และทางานได้อย่างรวดเร็ว จึงจัดว่าเป็นเครื่อง คอมพิวเตอร์ ที่ทางานได้รวดเร็วที่สุดในโลก ส่วนใหญ่นาไปใช้ งานเฉพาะด้าน เช่น ด้านพยากรณ์อากาศ งานทางด้าน วิทยาศาสตร์ เป็นต้น
  • 5. 2. เมนเฟรม (Mainframe Computer) เป็นเครื่องคอมพิวเตอร์ที่มีขนาดใหญ่รองลงมาจาก ซุปเปอร์ คอมพิวเตอร์ เมนเฟรมนิยมใช้ในงานอุตสาหกรรมสาหรับบริษัทใหญ่ ๆ หรือองค์กรขนาดใหญ่ เมนเฟรมจะใช้เป็นเครื่องศูนย์กลาง และ กระจายการใช้งานให้กับเครื่องคอมพิวเตอร์อื่นๆ เช่น ระบบ ATM เป็นต้น
  • 7. 4. ไมโครคอมพิวเตอร์ (Microcomputer) หรืออาจเรียกสั้นๆ ว่า คอมพิวเตอร์ เป็นเครื่องคอมพิวเตอร์ที่มีขนาด เล็กที่สุด ราคาถูกที่สุด สามารถซื้อมาใช้งานส่วนบุคคลได้ จึงมีชื่อ เรียกอีกอย่างหนึ่งว่าคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล (Personal Computer) หรือ เครื่อง PC
  • 8. การทางานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์ มี 4 ขั้นตอน ดังนี้ 1. รับข้อมูล (Input) คอมพิวเตอร์จะทาหน้าที่รับข้อมูลไป ประมวลผล อุปกรณ์ที่ทาหน้าที่รับข้อมูล ได้แก่ แป้นพิมพ์ เมาส์ เครื่อง สแกน เป็นต้น 2. ประมวลผลข้อมูล (Process) เมื่อคอมพิวเตอร์รับข้อมูลเข้าสู่ระบบ แล้วจะทาการประมวลผลตามคาสั่ง หรือโปรแกรมที่กาหนด อุปกรณ์ทีทา หน้าที่ประมวลผลได้แก่ CPU 3. แสดงผลข้อมูล (Output) เมื่อทาการประมวลผลแล้ว คอมพิวเตอร์จะแสดง ผลลัพธ์ อุปกรณ์ที่ทาหน้าที่ในการแสดงผลข้อมูลคือ จอภาพและเครื่องพิมพ์ เป็น ต้น 4. จัดเก็บข้อมูล คอมพิวเตอร์จะทาการจัดเก็บข้อมูลลงในอุปกรณ์ที่เก็บ ข้อมูล เช่น ฮาร์ดดิสก์ แผ่นซีดี แฟลชไดรว์
  • 12. 1. หน่วยรับข้อมูล (Input Unit) เป็นหน่วยแรกของคอมพิวเตอร์ที่ใช้รับข้อมูลจากผู้ใช้ เพื่อให้คอมพิวเตอร์ ทางานตามคาสั่งของผู้ใช้ต่อไป โดยหน่วยรับข้อมูลจะทาหน้าที่รับข้อมูลทุกรูปแบบ จากฮาร์ดแวร์ต่างๆ มาเปลี่ยนให้เป็นรูปแบบสัญญาณหรือข้อมูลดิจิทัล เช่น
  • 13.
  • 14. 2. หน่วยประมวลผลกลาง (CPU) CPU (Central Processing Unit) ทาหน้าที่ประมวลผลข้อมูลตามคาสั่งที่ รับมาจากหน่วยรับข้อมูล ประกอบด้วยหน่วยคานวณและตรรกะ และหน่วย ควบคุม อุปกรณ์ที่ทาหน้าที่ในการแระมวลผล เรียกว่า ไมโครโพรเซสเซอร์ (Microprocessor) มีลักษณะเป็นวงจรอิเล็กทรอนิกส์ ซึ่งถูกติดตั้งไว้ในคอมพิวเตอร์
  • 15. 1.หน่วยควบคุม (Control Unit) : CU ทาหน้าที่อ่านคาสั่งเข้ามาทีละคาสั่ง และตีความเพื่อสั่งการควบคุมทรัพยากรใน ระบบคอมพิวเตอร์ที่เกี่ยวโยง ซึ่งถือว่าเป็นการควบคุมการทางาน ควบคุมการเขียน อ่านข้อมูลระหว่างหน่วยความจาของซีพียู ควบคุมกลไกการทางาน ทั้งหมดของ ระบบ ควบคุมจังหวะเวลา โดยมีสัญญาณนาฬิกา เป็นตัวกาหนดจังหวะการทางาน 2. หน่วยคำนวณ (Arithmetic and logic unit) : ALU เป็นหน่วยที่มีหน้าที่นาเอาข้อมูลที่เป็นตัวเลขฐานสองมาประมวลผลทาง คณิตศาสตร์ และตรรกะ เช่น การบวก การลบ การเปรียบเทียบ และ การสลับตัวเลข เป็นต้นการคานวณทาได้เร็วตามจังหวะการควบคุม ของหน่วยควบคุม
  • 16. ซีพียู คืออะไร ? ซีพียู (CPU) คือ อุปกรณ์ตัวหนึ่งที่มีความสาคัญและจาเป็นในการทางาน ของคอมพิวเตอร์ซึ่งอาจจะเรียกว่าเป็นหัวใจของคอมพิวเตอร์เลยก็ได้ ซีพียู เป็นตัว ควบคุมการทางานของอุปกรณ์ต่างๆ ไม่ว่าจะเป็นอุปกรณ์ที่อยู่ในคอมพิวเตอร์ หรือ อุปกรณ์ต่อพ่วงที่ต่อร่วมกับคอมพิวเตอร์ โดย จะเป็นตัวกาหนดความสาคัญของ อุปกรณ์ว่าตัวใดมีความสาคัญมากกว่าซึ่งหากติดตั้งอุปกรณ์ 2 ตัวที่อินเทอรัพ, การ แจ้งกับซีพียูว่าจะขอเฉพาะอุปกรณ์ที่มีความสาคัญมากกว่าเท่านั้น ส่วนตัวที่สาคัญ น้อยกว่าจะไม่สามารถใช้งานได้ เช่น ถ้าเราต่อการ์ดจอภาพกับการ์ดเสียงที่อินเทอรัพ เดียวกัน ซีพียู จะเลือกให้ใช้ได้เฉพาะการ์ดจอภาพเท่านั้น
  • 17.  ยุคที่ 1 บริษัท IBM ได้ผลิตเครื่องคอมพิวเตอร์ส่วนบุคลขึ้นมา และได้ เลือกใช้ซีพียู 8088 และ 8086 ของบริษัท Intel เครื่องคอมพิวเตอร์ของ บริษัท IBM เป็นที่แพร่หลายจนมีผู้ผลิตเครื่องเลียนแบบออกมามากมาย ที่ใช้ซีพียูรุ่นนี้ซึ่งเป็นของบริษัท Intel ซีพียูรุ่น 8086 ซีพียูรุ่น 8086
  • 23.
  • 24.
  • 25.
  • 26. § ลักษณะของซีพียู เป็นชิ้นส่วนขนาดเล็กมาก ภายในประกอบด้วยทรานซิสเตอร์ประกอบกันเป็นวงจร หลายล้านตัว ตัวอย่างเช่น ซีพียูรุ่นเพนเทียม จะมีทรานซิสเตอร์เล็กๆจานวนมากถึง 3.1 ล้านตัว ซีพียูมีหน่วยที่ใช้ในการบอกขนาดของการคานวณเรียกว่า บิต (Bit)ถ้าจานวนบิต มากจะสามารถทางานได้เร็ว ซีพียูปัจจุบันทางานที่ 32 บิต § ความเร็วของซีพียู(Speed) มีหน่วยวัดเป็น เมกะเฮริตซ์ (MHz = MegaHertz) ถ้าค่าตัวเลขยิ่งสูงแสดงว่ายิ่งมี ความเร็วมาก ปัจจุบันความเร็วของซีพียู สามารถทางานได้ถึงระดับ กิกะเฮ ริตซ์ (GHz = Gigahertz) โดยมีความเร็วระหว่าง 2-3 GHz ในการเลือกใช้ซีพียู ผู้ จาหน่ายจะบอกไว้ว่า เครื่องรุ่นนี้มีความเร็วเท่าไหร่ เช่น Pentium IV 2.8 GHz หมายความว่าเป็น CPUรุ่นเพนเทียมโฟว์ มีความเร็วในการทางานที่ 2.8 กิกะ เฮริตซ์ § ซีพียูรุ่นต่างๆ โดยทั่วไปมีผู้ผลิตซีพียูหลักๆ คือ บริษัท Intel, AMD, Cyrix และ Motorola โดย บริษัท Intel เป็นผู้นาในการผลิตรายใหญ่ที่สุดของโลก
  • 27. ตัวอย่าง CPU ที่ใช้ใน ระบบปฏิบัติการ Windows 1. ซีพียู Pentium, Pentium II, Pentium III, Pentium IV เป็นซีพียูรุ่น 486 ของบริษัทอินเทล มีขนาดการเข้าออกของข้อมูลขนาด 32 บิต ภายในมีส่วนคานวณแบบขนาน สามารถทางานพร้อมกันได้หลายๆคาสั่ง โดยเฉพาะ Pentium IV ถือว่าให้ประสิทธิภาพสูงมาก เหมาะสาหรับการใช้งาน ด้านมัลติมีเดีย 2. ซีพียู AMD เป็นของบริษัท AMD เป็นบริษัทที่ผลิตซีพียูที่สามารถใช้งานกับ ระบบปฏิบัติการ Windows ได้ เช่นเดียวกับซีพียูของอินเทล 3. ซีพียูเซเลรอน (Celeron) เป็น ซีพียู ของบริษัทอินเทล
  • 28. 3.1 หน่วยความจาหลัก (Main Memory) คือ หน่วยความจาหลักเป็นหน่วยความจาพื้นฐานในคอมพิวเตอร์ทุกเครื่อง เป็นหัวใจ ของการทางานในรูปแบบอัตโนมัติ มีหน้าที่เก็บข้อมูลต่างๆ ที่ป้อนเข้ามาเพื่อให้หน่วย ประมวลผลนาไปใช้ และเก็บข้อมูลที่เกี่ยวกับคุณสมบัติและระบบการทางานของเครื่อง คอมพิวเตอร์ด้วย หน้าที่ของหน่วยความจาหลักในระบบคอมพิวเตอร์ คือ ใช้เป็นที่เก็บข้อมูลก่อน นาไปประมวลผล เก็บคาสั่งของโปรแกรมขณะใช้งาน และเก็บผลลัพธ์ที่ได้จากการ ประมวลผลก่อนนาไปแสดงผล 3.หน่วยความจา (Memory Unit) แบ่งเป็น 2 ประเภท 3.1 หน่วยความจาหลัก (Main Memory) 3.2 หน่วยความจาสารอง (Secondary Memory Unit)
  • 29.
  • 30. 3.1.1 หน่วยความจาแบบไม่ลบเลือน คือ เป็นหน่วยความจาที่ได้บรรจุชิป หน่วยความจาแบบติดตั้งถาวรหรือไบออส (Basic Input Output System : BIOS )หน่วยความจาที่เก็บข้อมูลโดยไม่ขึ้นกับกระแสไฟฟ้า แม้ไฟฟ้าจะดับ ข้อมูลก็ยังอยู่ เรียกหน่วยความจานี้ว่า รอม (Read Only Memory: ROM) >หน่วยความจาหลัก ในระบบคอมพิวเตอร์ แบ่งออกเป็น 4 ประเภท
  • 31. ROM สามารถที่จะแบ่งออกเป็น 3 ประเภทด้วยกันคือ 1. PROM (Programmable ROM) คือหน่วยความจาที่ไม่สามารถแก้ไขข้อมูลที่บันทึกไว้ได้ โดยส่วนมากแล้วจะเป็นโปรแกรมที่ถูกบันทึกมาจากโรงงานหรือมาจากผู้ผลิตโดยตรงนั่นเอง 2. EPROM (Erasable Programmable ROM) เป็นหน่วยความจาที่สามารถลบข้อมูลหรือ โปรแกรมใหม่ได้ หน่วยความจานี้แบ่งย่อยได้อีก 2ประเภท คือ UV PROM และ EEPROM ซึ่ง การลบข้อมูลในโปรแกรมจะใช้วิธีการฉายแสงอุลตราไวโลเล็ต เราจะสังเกตอุปกรณ์ที่เป็น EPROM ได้จากลักษณะของอุปกรณ์ที่มีแผ่นกระจกใสๆอยู่ตรงกลางอุปกรณ์ 3. EAROM (Electrically Alterable ROM) เป็นหน่วยความจาอ่านและลบข้อมูลโปรแกรม ได้ด้วยการใช้ไฟฟ้าในการลบซึ่งแตกต่างจากแบบ EPROM ที่ต้องใช้การฉายแสงอุลตราไวโลเล็ต ในการลบข้อมูล
  • 32. 3.1.2 หน่วยความจาแบบลบเลือนได้ คือ ทาหน้าที่ สาหรับเก็บข้อมูล และคาสั่งที่จะทาการประมวลผล ในขณะที่เปิดเครื่อง มีไฟฟ้าเท่านั้น ถ้ากระ ไฟฟ้าดับ ข้อมูลที่ถูกเก็บไว้จะหายหมด เรียกหน่วยความจานี้ว่า แรม (Random Access Memory: RAM) แบ่งออกเป็น 2 ประเภท 1. สแตติกแรม หรือเอสแรม (Static RAM : SRAM) มักพบในตัวซีพียูทาหน้าที่ เป็นหน่วยความจาภายในซีพียูที่เรียกว่าหน่วยความจาแคช ซึ่งจะมีความเร็วสูงกว่า ไดนามิกแรม 2. ไดนามิกแรม หรือ ดีแรม (Dynamic RAM : DRAM) เป็นหน่วยความจาที่ใช้ใน การจดจาข้อมูลและโปรแกรมต่างๆ ที่อยู่ระหว่างการประมวลผลของคอมพิวเตอร์ เป็นหน่วยความจาที่มีอยู่ในเครื่องคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล หรือพีซีมากที่สุด เนื่องจากราคาไม่แพงและมีความจุสูง
  • 33.
  • 34.
  • 35.
  • 36. 3.2 หน่วยความจาสารอง (Secondary Memory Unit) >หน่วยความจาสารอง ทาหน้าที่เก็บข้อมูลตามคาสั่งของผู้ใช้ ซึ่งจะมีพื้นที่หรือ ความจุมากกว่าหน่วยความจาหลัก ลักษณะในการเก็บข้อมูลจะเป็นแบบถาวร เช่น
  • 37. 4.หน่วยแสดงผล (Output Unit) เป็นหน่วยที่ทาหน้าที่แสดงผลที่ได้จากการประมวลผลข้อมูลที่เตรียมไว้ใน หน่วยความจา เพื่อส่งข้อมูลหรือสื่อสารกับผู้รับ โดยมีฮาร์ดแวร์ทาหน้าที่เป็นส่วน แสดงผล มีทั้งรูปแบบภาพ เสียงและสิ่งพิมพ์
  • 39. 1. ฮำร์ดแวร์ (Hardware) หมำยถึง ส่วนประกอบของเครื่องคอมพิวเตอร์ ที่สำมำรถมองเห็นและสัมผัสได้ เช่น ตัวเครื่อง จอภำพ คีย์บอร์ด รวมทั้ง อุปกรณ์รอบข้ำงต่ำงๆ เช่น เครื่องพิมพ์ สแกนเนอร์ โมเด็ม ฯลฯ คอมพิวเตอร์ประกอบด้วยอุปกรณ์ที่สำคัญ 2 ส่วน ได้แก่ ฮำร์ดแวร์ ซอฟต์แวร์
  • 40. 2. ซอฟต์แวร์ (Software) หรืออำจเรียกว่ำโปรแกรม หมำยถึงชุดคำสั่งที่เขียนขึ้น โดยโปรแกรมเมอร์ เพื่อสั่งให้เครื่องคอมพิวเตอร์ทำงำน ซอฟต์แวร์จะช่วยใน กำรแก้ปัญหำจำกต้นจนจบ จะถูกอ่ำนจำกหน่วยบันทึกข้อมูล ไปเก็บไว้ช่วยครำว ที่หน่วยควำมจำแรม แล้วถูกส่งต่อไปยังซีพียู เพื่อควบคุมกำรประมวลผล และคำนวณ (1) ซอฟต์แวร์ระบบปฏิบัติกำร (Operating System Software) เป็นซอฟต์แวร์ที่ควบคุมกำรทำงำนทั้งหมดของฮำร์ดแวร์ Window Me , Windows XP (2) ซอฟต์แวร์ประยุกต์ (Application Software) ชุดคำสั่งที่เขียนขึ้นเพื่อให้เครื่องคอมพิวเตอร์ทำงำนต่ำงๆ ตำมที่ผู้ใช้ต้องกำร Microsoft Word, Microsoft Excel, Microsoft PowerPoint, Photoshop
  • 41.
  • 42.
  • 43. เคสหรือตัวถัง หลายคนจะเรียกว่าซีพียูเนื่องจากเข้าใจผิด สาหรับเคส นั้นเป็นเพียงวัสดุที่ทาเพื่อให้เราสามารถติดตั้ง อุปกรณ์ ต่างๆ ประกอบกันได้เป็นระเบียบ แล้วก็ช่วยป้องกัน ความเสียหายที่จะเกิดขึ้นกับชิ้นส่วนคอมพิวเตอร์ด้วย ภายในเคสก็จะมีพื้นที่สาหรับติดตั้งเมนบอร์ด ติดตั้ง ฮาร์ดดิสก์ ติดตั้งซีดีรอม มีพัดลมระบายความร้อน และ ที่ขาดไม่ได้ก็คือ Power Supply ซึ่งจะมีติดอยู่ในเคส เรียบร้อย CASE
  • 44. พาวเวอร์ซัพพลาย ทาหน้าที่ในการจ่ายกระแสไฟฟ้า ให้กับ ชิ้นส่วนคอมพิวเตอร์ เพื่อให้เครื่อง คอมพิวเตอร์สามารถทางานได้ หากเครื่อง คอมพิวเตอร์มีอุปกรณ์ต่อพ่วงเยอะ เช่น ฮาร์ดดิสก์ ซีดีรอมไดรฟ์ ดีวีดีไดรฟ์ ก็ควร เลือกพาวเวอร์ซัพพลายที่มีจานวนวัตต์สูง เช่น 450 วัตต์ เพื่อให้สามารถ จ่ายกระแส ไฟได้เพียงพอ
  • 46. ชุดพัดลมและฮีตซิงก์ ใช้ติดตั้งบนตัวซีพียู เพื่อช่วยระบายความ ร้อนออกจากซีพียู โดยพัดลม กับฮีตซิงค์นั้น จะมีขายให้พร้อมกับซีพียู หรือจะซื้อแยก ต่างหากก็ได้ พัดลมจะมีความเร็วในการ หมุน หากมีความเร็วรอบสูงๆ จะช่วยให้การ ระบายความร้อนทาได้ดี แต่ก็ทาให้เกิดเสียง ดังรบกวน
  • 47. เมนบอร์ด หรือแผงวงจรหลักที่ใช้ในเครื่อง คอมพิวเตอร์ การจะให้อุปกรณ์ต่างๆ ทางานได้ นั้น ต้องติดตั้งหรือเชื่อมต่อ สายเข้ากับ เมนบอร์ด แม้แต่ซีพียูก็ต้องติดตั้งเข้ากับ เมนบอร์ด เมนบอร์ดถูกผลิตออกมาเพื่อใช้กับ ซีพียูต่างรุ่นต่างแบบ และยัง มีผู้ผลิตหลายราย ด้วยกัน เช่น ASUS, ECS, GIGABYTE, CHAINTECH, MSI, ABIT, INTEL เป็นต้น
  • 48. แบตเตอรี่เบอร์ CR2032 เป็นแบตเตอรี่ที่จ่ายกระแสไฟให้กับ CMOS เพื่อเก็บข้อมูลในไบออส เช่น ฮาร์ดดิสก์ ซีดีรอม วันเวลา ถ้าหากแบตเตอรี่หมดอายุ จะทาให้ข้อมูลในไบออสหายไป ทาให้เครื่อง คอมพิวเตอร์ไม่สามารถ ตรวจสอบ ได้ว่ามี ฮาร์ดดิสก์ มีซีดีรอมต่อพ่วงอยู่หรือเปล่า ทา ให้คอมพิวเตอร์ไม่สามารถทางานได้ แบตเตอรี่จะมีอายุการใช้งานประมาณสอง หรือสามปี หากต้องการเปลี่ยนก็หาซื้อได้ตาม ร้านนาฬิกาหรือร้านถ่ายรูป
  • 49. แรม (RAM; Random Access Memory) เป็นหน่วยความ จาที่สามารถเก็บข้อมูล และคาสั่ง จากหน่วยรับข้อมูล แต่ข้อมูลและคาสั่งเหล่านั้น สามารถหายไปได้ เมื่อมีการรับข้อมูลหรือคาสั่ง ใหม่ หรือปิดเครื่อง หรือกระแสไฟฟ้าขัดข้อง หน่วยความจาแรม เป็นหน่วย ความจาที่สาคัญ ที่สุดของคอมพิวเตอร์ จาเป็นจะต้องเลือกซื้อให้มี ขนาดใหญ่พอสมควร มิฉะนั้นจะทางานไม่ สะดวก
  • 50. ฮาร์ดดิสก์ Hard Disk เป็นที่สาหรับเก็บข้อมูลขนาดใหญ่ มีความจุสูงถึง หน่วย เมกะไบต์ จนถึง กิกะไบต์ และมีความเร็วสูง ในการทางาน จะประกอบไปด้วยจาน Disk หรือที่ เรียกว่า Platters หลายๆ แผ่นมารวมกัน ซึ่งแต่ละ ด้านของ Platter จะถูกปกคลุมไปด้วยสารประกอบ Oxide เพื่อให้สามารถบันทึกข้อมูลได้ ฮาร์ดดิสก์ (Hard Disk)) ส่วนมากจะอยู่ภายในเครื่อง คอมพิวเตอร์ ซึ่งไม่สะดวกในการเคลื่อนย้าย บางที ถูกเรียกว่า Fixed Disk
  • 51. การ์ดเสียง ช่วยให้ฟังเพลง ดูหนัง เล่นเกม บันทึกเสียงเข้า ไปในคอมพิวเตอร์ได้ แม้เมนบอร์ดส่วนใหญ่ จะรวมเอาการ์ดเสียงเป็นชุดเดียวกับเมนบอร์ด (Sound on Board) แต่ถ้าหากต้องการคุณภาพ เสียงที่ดีกว่า หรือต้องการใช้งานด้านตนตรี ตัด ต่อวิดีโอ ฟังเพลง ดูหนัง ที่ได้อารมณ์สุดๆ ก็ ควรเลือกการ์ดเสียงที่ทาเป็นการ์ด แยกต่างหาก ตัวอย่างการ์ดที่ได้รับความนิยมก็เช่น Creative SoundBlaster Live, Audigy
  • 52. การ์ดแสดงผลหรือการ์ดจอ หรือเรียกอีกอย่างก็คือ VGA Card (Video Graphic Array) ถ้าเป็นการ์ดรุ่นใหม่ๆ ที่ใช้สาหรับ เล่นเกมก็จะเรียกว่า 3D Card ซึ่งเป็นการ์ดที่ช่วยให้ การแสดงรูปภาพที่เป็นภาพสามมิติทาได้เร็วขึ้น การ์ดแสดงผลจะส่งสัญญาณภาพไปแสดงที่ จอคอมพิวเตอร์ การ์ดบางรุ่นจะแสดงผลได้สองจอ พร้อมกัน เรียกว่า Dual Head เนื่องจากมีพอร์ต สาหรับต่อสายจากจอมอนิเตอร์ได้สองจอ และการ์ด บางรุ่นจะมีช่องส่งสัญญาณภาพ ออกไปที่โทรทัศน์ ได้ด้วย เรียกว่า TV-Out
  • 53. ไดรฟ์ สาหรับอ่านและบันทึกข้อมูล ไดรฟ์ ที่เห็นในรูปเป็นไดรฟ์ ขนาด 3.5 นิ้ว ใช้ อ่านข้อมูลจากแผ่นดิสก์ ขนาด 3.5 นิ้ว ด้านท้าย ของไดรฟ์ จะมีคอนเน็คเตอร์ สาหรับต่อสายไฟ จากพาวเวอร์ซัพพลายเข้าที่ตัวไดรฟ์ และคอน เน็คเตอร์สาหรับต่อสายแพ (สายรับส่งข้อมูล) เข้ากับคอนเน็คเตอร์ FDD Connector บน เมนบอร์ด
  • 54. Floppy Disk ทาหน้าที่เก็บข้อมูล เช่นเดียวกับ Hard Disk แต่มีความจุน้อยกว่าตัว Disk ถูกทาจาก Mylar และฉาบ ด้วยสารแม่เหล็ก เมื่อ Disk ถูกใส่ใน Drive Unit ใน Spindle Clamps ที่ อยู่ส่วนกลางของช่องว่างจะถูกหมุน ด้วย ความเร็วคงที่ อาจจะ 300 หรือ 360 รอบต่อ นาที ข้อมูลจะถูกเก็บบน Disk ใน Circular Tracks
  • 55. CD-ROM (Compact Discs Read Only Memory) เป็นอุปกรณ์บันทึกข้อมูลรูปแบบหนึ่ง โดยเฉพาะ ข้อมูลทางด้าน Multimedia เนื่องจาก Multimedia ต้องใช้สื่อเป็นจานวนมาก เช่น ภาพ และ เสียง สิ่ง เหล่านี้เป็น ข้อมูลที่มีขนาดใหญ่ ถ้ามีการเก็บ รูปภาพเป็นจานวนมาก และเสียงที่มีความยาว นานๆ เช่น Music Video ที่มีความยาวประมาณ 3-4 นาที จะต้องใช้เนื้อที่ในการเก็บถึง 50 MB หรือ บาง ไฟล์อาจจะเล็ก/ใหญ่ กว่าได้ ดังนั้นข้อมูลเหล่านี้ โดยมาก จึงถูกเก็บไว้ใน CD-ROM ซึ่งมีความ สามารถในการบันทึกข้อมูลได้มาก
  • 56. เครื่องบันทึก CD สามารถอ่านและเขียนข้อมูลลงบน CD ได้ (แผ่น CD ที่ใช้ สามารถใช้ได้ทั้ง CD-R และ CD-RW) ส่วน ซอร์ฟแวร์ที่ใช้ในการบันทึก โดยปกติ ถ้าเราซื้อ recordable CD drive มา จะมีโปรแกรมแถมมาให้ด้วย เช่น Easy CD Creator, Nero Burning ROM เป็นต้น
  • 57. DVD-ROM (Read Only Memory) อ่านรวมๆว่า ดีวีดีรอม เป็นเครื่องที่ใช้อ่านแผ่น DVD ได้อย่างเดียวไม่สามารถใช้การเขียนข้อมูล ลงบนแผ่น DVD-R , DVD+R:(DVD Recordable) ได้
  • 58. Combo Drive หรือไดรฟ์ ที่รวมความสามารถของดีวีดี และซีดีอาร์ ดับบลิวเข้าด้วยกัน เรียกว่าจะเขียนแผ่นซีดีอาร์ หรือ จะดูหนังฟังเพลงผ่านทางดีวีดีก็ย่อมได้ ข้อดีของมัน ก็คือราคาจะถูกกว่าการซื้อไดรฟ์ แยกตัวใดตัวหนึ่ง แถมยังประหยัดพื้นที่ในการติดตั้งไดรฟ์ ไปได้หนึ่ง ช่อง
  • 59. ใช้สาหรับติดตั้งซีพียูเข้ากับเมนบอร์ด เมนบอร์ดที่ใช้กับ ซีพียูของอินเทลคือ Pentium 4 และ Celeron จะเรียก ซ็อคเก็ตว่า SOCKET 478 ส่วนเมนบอร์ดสาหรับซีพียู AMD นั้นจะมีซ็อคเก็ตแบบ SOCKET 462 หรือเรียกอีก ชื่อหนึ่งว่า SOCKET A จุดสังเกตว่าเมนบอร์ดเป็นซ็อค เก็ตแบบใดนั้นก็ดูจากชื่อที่พิมพ์ไว้บนซ็อคเก็ต ส่วนความ แตกต่างอีกอย่างหนึ่งก็คือรอยมาร์ค ที่มุมของซ็อคเก็ต ถ้า เป็นซ็อคเก็น 478 จะมีรอยมาร์คอยู่ที่มุมหนึ่งด้าน ส่วน ซ็อคเก็ต 462 จะมีรอยมาร์คที่มุมสองด้าน โดยรอยมาร์ค จะตรงกับตาแหน่งของซีพียู เพื่อให้ติดตั้งซีพียูเข้า กับซ็อคเก็ตได้อย่างถูกต้อง
  • 60. คอนเน็คเตอร์สาหรับต่อสายแพเข้ากับ Disk Drive ซึ่ง เมนบอร์ดจะมีคอนเน็คเตอร์ไว้ให้หนึ่งช่อง ซึ่งก็เพียงพอ ต่อการ ใช้งาน เพราะเครื่องคอมพิวเตอร์ส่วนใหญ่จะ ติดตั้งดิสก์ไดรฟ์ เพียงแค่หนึ่งไดรฟ์ เท่านั้น จุดสังเกตก็ คือจะมีข้อความว่า FLOPPY หรือเมนบอร์ดบางรุ่นจะ เป็นตัวย่อว่า FDD พิมพ์กากับอยู่ ส่วนที่สาคัญอย่างหนึ่ง ก็คือที่ช่องคอนเน็คเตอร์จะมี Pin หรือเข็มอยู่ 33 อัน โดย ด้านหนึ่งจะมีคาว่า PIN 1 พิมพ์กากับอยู่ด้วย เมื่อ ต้องการต่อสายแพเข้ากับคอนเน็คเตอร์ จะต้องเอาด้านที่ มีสีแดงหรือสีน้าเงินมาไว้ที่ตาแหน่ง PIN 1
  • 61. เป็นคอนเน็คเตอร์ที่ใช้สาหรับเชื่อมต่อสายแพกับฮาร์ดดิสก์แบบ IDE รวมถึงอุปกรณ์จาพวก ไดรฟ์ อ่านเขียนข้อมูล เช่น ซีดีรอม ดีวีดีซิฟไดรฟ์ โดยเมนบอร์ดจะมีคอนเน็คเตอร์ IDE อยู่ สองชุดด้วยกัน เรียกว่า IDE 1 กับ IDE 2 แต่ละคอนเน็คเตอร์ จะรองรับอุปกรณ์ได้สองชิ้น ซึ่งหมายถึงว่าคุณจะต่อฮาร์ดดิสก์รวมทั้งซีดีรอมได้สูงสุดแค่สี่ชิ้น ซึ่งอาจจะเป็นฮาร์ดิสก์ สองตัวกับไดรฟ์ CD-RW และไดรฟ์ DVD อีกอย่างละหนึ่ง เช่นเดียวกันกับ FDD Connector ก็คือจะมีตัวอักษรพิมพ์กากับว่าด้านใดคือ PIN 1 เพื่อให้ต่อสายแพเข้าไปอย่าง ถูกต้อง แต่ IDE Connector จะมีจานวนพินมากกว่าคือ 39 พิน (ในรูปคือที่เห็นเป็นสีแดงกับ สีขาว)
  • 62.
  • 63. สล็อตพีซีไอ เป็นช่องที่เอาไว้สาหรับติดตั้งอุปกรณ์เพิ่มเติม เช่น ติดตั้งการ์ด SCSI การ์ดเสียง การ์ดเน็ตเวิร์ค โมเด็มแบบ Internal เมนบอร์ดโดยส่วนใหญ่จะมีสล็อตพีซี ไอเป็นสีขาวครีม แต่ก็มีเมนบอร์ดรุ่นใหม่บางรุ่นที่เพิ่มสล็อตพีซีไอ โดยใช้สีแตกต่าง เช่น สีน้าเงิน เพื่อใช้ติดตั้งการ์ดที่ออกแบบมาโดยเฉพาะ สล็อตแบบพีซีไอนั้นถูก ออกแบบมาแทนสล็อตแบบ VL ซึ่งทางานได้ช้า การติดตั้งอุปกรณ์ทาได้ยาก เนื่องจาก ต้องเซ็ตจัมเปอร์ แต่พีซีไอนั้นจะเป็นระบบ Plug and Play ที่ติดตั้งอุปกรณ์ได้ง่ายกว่า อุปกรณ์บางอย่าง เช่น การ์ดเสียง เมื่อติดตั้งแล้วโอเอส จะรู้จักทันทีหรือเพียงแค่ลงไดร เวอร์เพิ่มเติมเท่านั้น อนึ่งสล็อตแบบพีซีไอนั้นเรียกอีกอย่างหนึ่งว่า PCI Bus ซึ่งก็ หมายถึง เส้นทางที่ใช้ในการรับส่งข้อมูลระหว่างเมนบอร์ดกับอุปกรณ์ต่อพ่วงแบบบัส จะทางานในระบบ 32 บิต
  • 64. เป็นสล็อตที่มีไว้สาหรับติดตั้งการ์ดแสดงผล หรือการ์ดจอ เท่านั้น สล็อตเอจีพีจะมีสีน้าตาล ตาแหน่งจะอยู่ด้านบนของ สล็อต พีซีไอ และอยู่ใกล้กับตาแหน่งของซ็อคเก็ตที่ติดตั้ง ซีพียู เหตุผลที่ใช้ติดตั้งเฉพาะการ์ดแสดงผล ก็เนื่องจาก ระบบบัสแบบ PCI ที่ใช้กันอยู่เดิมนั้น ไม่สามารถตอบสนอง การใช้งาน ที่ต้องการความรวดเร็วในการแสดงผลสูงๆ อย่างเช่น เกมสามมิติ โปรแกรมกราฟิกประเภทสามมิติ ออกแบบ บัสแบบเอจีพีหรือสล็อตแบบเอจีพีรุ่นใหม่จะมี ความเร็วในการรับส่งข้อมูลสูงขึ้น ซึ่งมีข้อสังเกตๆ ง่ายคือ 2X 4X และล่าสุด 8X ตัวเลขยิ่งสูงมากยิ่งเร็วขึ้น
  • 65. เป็นพอร์ต์ที่ใช้สาหรับต่อสายเม้าส์กับสายคีย์บอร์ดเข้ากับเครื่อง คอมพิวเตอร์ โดยเรียกว่าพีเอสทูเม้าส์หรือพีเอสทูคีย์บอร์ด ซึ่ง พอร์ตจะมีรูกลมหกรู แล้วก็รูสี่เหลี่ยมหนึ่งรู ซึ่งปลายสาย คีย์บอร์ดหรือเม้าส์ก็จะมีเข็มที่ตรงกับตาแหน่งของรูที่พอร์ตด้วย การเสียบสายเม้าส์และคีย์บอร์ดเข้าไป ต้องระวังให้เข็มตรงกับรู สาหรับพอร์ตเม้าส์และคีย์บอร์ดนั้นจะใช้ Color Key แสดง เอาไว้ สีเขียวคือต่อสายเม้าส์ ส่วนสีน้าเงินต่อสายคีย์บอร์ด นอกจากนี้ยังมีจุดสังเกตุอีกประการหนึ่งก็คือ เมื่อประกอบ เมนบอร์ดเข้ากับเคส ที่เคสจะมีสัญลักษณ์รูปเม้าส์กับรูป คีย์บอร์ด ติดอยู่ เพื่อให้ต่อสายเม้าส์และคีย์บอร์ดได้ถูกต้อง
  • 66. พอร์ตสาหรับต่อพ่วงกับอุปกรณ์ที่มีพอร์ตแบบยูเอส บี เช่น พรินเตอร์ สแกนเนอร์ กล้องดิจิตอล ซีดีรอม ไดรฟ์ ซิพไดรฟ์ เป็นต้น เมนบอร์ดรุ่นใหม่จะมีพอร์ต ยูเอสบีเพิ่มมาอีกเรียกว่าพอร์ต USB 2.0 ซึ่ง รับส่งข้อมูลได้เร็วกว่าเดิม เมื่อคุณต้องซื้ออุปกรณ์ต่อ พ่วง ควรตรวจสอบด้วยว่าอุปกรณ์นั้นเชื่อมต่อกับ พอร์ตยูเอสบีรุ่นเก่า หรือว่าต้องใช้ร่วมกับพอร์ต ยูเอส บี 2.0 เพื่อความมั่นใจว่าอุปกรณ์ที่ซื้อมานั้นจะ ทางานได้อย่างไม่มีปัญหาใดๆ
  • 67. พอร์ตพาราเรล เป็นพอร์ตแบบตัวเมียมีรู 25 รู สาหรับต่อสายพรินเตอร์หรือสแกนเนอร์ที่ มีพอร์ตแบบพาราเรล ซึ่งส่วนใหญ่ จะใช้ต่อ กับเครื่องพรินเตอร์มากกว่า ซึ่งบางคนจะ เรียกว่าพรินเตอร์พอร์ต โดยส่วนใหญ่พอร์ต พาราเรลจะมีกับเครื่อง พรินเตอร์รุ่นเก่า หรือ ในเครื่องพรินเตอร์ระดับกลางๆ ขึ้นไป
  • 68. พอร์ตแบบตัวผู้ที่มีขาสัญญาณอยู่ 9 ขา เรียกว่าคอม พอร์ต (COM Port) เป็นพอร์ตที่ใช้สาหรับต่อ โมเด็ม เม้าส์ หรือจอยสติ๊ก ปัจจุบันอุปกรณ์ที่ใช้ พอร์ตนี้แทบไม่มีให้เห็น เนื่องจากหันไปใช้พอร์ต แบบ USB เป็นส่วนใหญ่
  • 69. พอร์ตสาหรับต่อสายสัญญาณภาพ กับจอคอมพิวเตอร์ ลักษณะของ พอร์ตจะเป็นพอร์ตแบบตัวเมียมีรู 15 รู สาหรับพอร์ตนี้ จะมีอยู่เฉพาะใน เมนบอร์ดรุ่นที่รวมเอาการ์ดแสดงผล เข้าไปกับเมนบอร์ดด้วย (VGA Onboard)
  • 70. สาหรับเมนบอร์ดรุ่นใหม่ ซาวน์การ์ด จะถูกรวมเข้าไปกับเมนบอร์ดด้วย ที่เรียก กันว่า Sound on Board จุด สังเกตก็คือที่เมนบอร์ดจะมีช่องสาหรับต่อ ไมโครโฟน ลาโพง แล้วก็เครื่องเล่นเทป ทา ให้ไม่ต้องซื้อซาวน์การ์ดเพิ่ม อย่างไรก็ดีถ้า คุณต้องการคุณภาพเสียงที่ดีกว่า หรือ ต้องการใช้เครื่องคอมกับการทาดนตรี หรือ งานตัดต่อวิดีโอ ซาวน์การ์ดแบบติดตั้งเพิ่ม ก็ยังจาเป็น