SlideShare a Scribd company logo
1 of 8
1 
บทที่ 9 อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี 
1. การเปลี่ยนแปลงของสารในขณะเกิดปฏิกิริยา 
ในขณะที่เกิดปฏิกิริยา ส า ร ตั้ ง ต้ น 
ผลิตภัณฑ์ 
สารตั้งต้นจะลดลงส่วนสารผลิตภัณฑ์จะเพิ่มขึ้น สมมติ 
ปฏิกิริยา 
2A + B c + 2D ปริมาณสารมีการ 
เปลี่ยนแปลงดังกราฟ 
ปริมาณสาร 
สารผลิตภัณฑ์ 
สารตั้งต้น 
เวลา 
ข้อสังเกต การเปลี่ยนแปลงของสารตั้งต้นและผลิตภัณฑ์ตอนแรก 
จะเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว แล้วจะค่อยช้าลงเมื่อเวลาผ่านไปนาน 
ขึ้น 
การวัดอัตราการเกิดปฏิกิริยา 
เนื่องจากในขณะเกิดปฏิกิริยาปริมาณสารตั้งต้นจะลดลง 
ส่วนปริมาณของสารผลิตภัณฑ์จะเพิ่มขึ้น ดังนั้น การวัดอัตราการ 
เกิดปฏิกิริยาอาจทำาได้โดย 
1. วัดจากอัตราการลดลงของสารตั้งต้น 
R = ปริมาณสารตััั้งต้นทดี่ลง 
เวลาที่ใช้ในการเกิดปฏิกิริยา 
2. วัดจากอัตราการเพิ่มขึ้นของสารผลิตภัณฑ์ 
R = ปริมาณสารผลิตภัณฑ์ทีั่เพิ่มขึ้น 
เวลาที่ใช้ในการเกิดปฏิกิริยา 
โดยปริมาณสารที่เปลี่ยนไปอาจหมายถึง มวลสาร ปริมาณ 
ของสาร ความเข้มข้นของสาร นอกจากนี้สมบัติที่เปลี่ยนไปบาง 
ประการของสารก็สามารถนำามาใช้ในการวัดอัตราการเกิดปฏิกิริยา 
ได้ เช่น ความเข้มของสี ค่า pH การนำาไฟฟ้าก็ได้ 
ถ้าสมการทั่วไปเป็นดังนี้ aA + bB 
cC + dD 
อัตราการเกิดปฏิกิริยามีค่าดังนี้
2 
[ ] [ ] [ ] [ ] 
R = - 1 D = - 1 D 
= 1 D 
1 
D 
a D 
t 
C 
t d 
B 
t c 
A 
t b 
= D 
D 
D 
D 
หรือ [ ] [ ] [ ] [ ] 
R = d D 
dt 
d C 
- 1 = - 1 = 1 = 1 
dt d 
d B 
dt c 
d A 
a 
dt b 
- 1 = - 1 = 1 = 1 
R = A B C D R 
d 
R 
c 
R 
b 
R 
a 
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเฉลี่ย 
อัตราการเกิดปฏิกิริยาช่วงเวลาหนึ่งเราสามารถหาอัตราเร็ว 
เฉลี่ยได้จากความสัมพันธ์ดังนี้ 
ปริมาณสารทัีั่เปลยี่นปแลงทั้งหมด 
อัตราเร็วเฉลี่ย = เวลาทใี่ช้ทั้งหมด 
อัตราปฏิกิริยาเคมี ณ เวลาใดเวลาหนึ่ง 
การหาอัตรา ณ เวลาหนึ่งๆ จะต้องคิดจากกราฟโดยสร้างกราฟ 
ตามข้อมูลระหว่างปริมาณสารกับเวลา แล้วหาค่าความชัน ( slop ) 
ณ เวลาหนึ่งๆ ซึ่งค่าความชันนี้คือค่าของอัตรา ณ เวลานั้นๆ 
จากการศึกษาของนักเคมีพบว่า อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีจะ 
ขึ้นอยู่กับความเข้มข้นของสารตั้งต้น ซึ่งแสดงได้ดังสมการต่อไปนี้ 
AA+bB cC+ dD 
จะได้ว่า R a [A]m[B]n 
R = K [A]m[B]n เรียกสมการนี้ว่า กฎอัตรา (Rate 
Law) 
เมื่อ K คือ ค่าคงที่ของอัตรา 
[] คือ ความเข้มข้นในหน่วย mol/dm3 
m ,n เป็นตัวเลขใด ๆ ก็ได้ซึ่งหาได้จากผลการทดลอง 
เท่านั้น ซึ่งอาจเท่ากับ a ,b หรือไม่เท่าก็ได้ 
m +n เรียกว่า อันดับของปฏิกิริยา (Order of Reaction) 
ถ้าเลขยกกำา ลังของสารใดเป็น 0 แสดงว่าอัตราการเกิด 
ปฏิกิริยาไม่ขึ้นกับความเข้มข้นของสารนั้น 
ข้อสังเกตการนำากฎอัตราไปใช้ 
1. ต้องมีข้อมูลเป็นผลการทดลองมาให้โดยการกำาหนดความเข้ม 
ข้น / ปริมาณสารตั้งต้นมาให้ และกำาหนดอัตราการเกิด 
ปฏิกิริยาจากการทดลองแต่ละครั้งมาให้ ( ถ้าไม่กำาหนดอัตรา 
มาให้อาจต้องคำา นวณหาเอง โดยคิดจากปริมาณสารที่ 
เปลี่ยนแปลงในหนึ่งหน่วยเวลา )
3 
2. เขียนสมการแสดงอัตราการเกิดปฏิกิริยาในรูปของกฎอัตรา 
โดยคิดค่าเลขยกกำาลังคือค่าของ m , n ไว้ 
3. หาค่า m , n โดยนำาข้อมูลแสดงการทดลองจากข้อ 1 มา 
คำานวณหา 
4. ถ้าโจทย์ต้องการให้หาอัตราการเกิดปฏิกิริยาจากข้อมูลใหม่ที่ 
กำาหนดซึ่งไม่ใช่ผลการทดลองที่มีอยู่เดิม ให้หาค่า K แล้วนำา 
ไปแทนค่าในสมการกฎอัตราในข้อ 2 ( เพื่อหาอัตราตาม 
เงื่อนไขใหม่ตามที่โจทย์กำาหนด 
ตัวอย่า ง ปฏิกิริยาระหว่างสารละลาย A กับสารละลาย B 
เป็นดังนี้ A + B C 
การทดลอง 
ครั้งที่ 
ความเข้มข้นของสารละลาย 
( mol/dm3 ) 
อัตราการเกิด 
ปฏิกิริยา 
สาร A สาร B mol/dm3.s 
1 0.1 0.1 0.5 
2 0.1 0.2 1.0 
3 0.2 0.2 2.0 
1. จงเขียนสมการแสดงอัตราการเกิดปฏิกิริยานี้ 
2. ถ้าสาร A และสาร B เข้มข้น 0.3 และ 0.4 mol/dm3 
ตามลำาดับอัตราการเกิดปฏิกิริยานี้จะเป็นเท่าไร 
วิธีคิด 
จากการทดลองที่ 1 และ 2 ความเข้มข้นของสาร A คงที่ แต่ 
ความเข้มข้นของสาร B เพิ่มขึ้นเป็น 2 เท่า อัตราก็เพิ่มขึ้นจาก 
เดิม 2 เท่า แสดงว่าอัตราขึ้นกับความเข้มข้นของสาร B ยก 
กำาลัง 1 
จากการทดลองที่ 2 และ 3 ความเข้มข้นของสาร B คงที่ แต่ 
ความเข้มข้นของสาร A เพิ่มขึ้นเป็น 2 เท่า อัตราก็เพิ่มขึ้นจาก 
เดิม 4 เท่า แสดงว่าอัตราขึ้นกับความเข้มข้นของสาร A ยก 
กำาลัง 2 
ดังนั้นจะได้ว่า R = K[A]2 [B] 
จากการทดลองที่ 1 เมื่อนำาความเข้มข้นของสาร A สาร B 
และอัตราการเกิดปฏิกิริยามาแทนในสมการที่ 
ดังนั้น K = 500
4 
เมื่อนำาความเข้มข้นของสาร A และสาร B แทนลงในสมการ 
แสดงอัตราการเกิดปฏิกิริยาจะได้อัตราการเกิดปฏิกิริยาใหม่ดังนี้ 
R = 500[0.3]2 [0.4] 
= 18.0 mol/dm3.s 
รูปกราฟที่น่าสนใจ 
1.กราฟแสดงอัตราการเกิดปฏิกิริยาคงที่ 
อัตรา 
เวลา 
2.กราฟแสดงอัตราการเกิดปฏิกิริยาไม่ขึ้นกับความเข้ม 
ข้นของสารตั้งตั้น 
ความเข้มข้นของสารตั้งต้น 
เวลา 
3.กราฟแสดงอัตราการเกิดปฏิกิริยาขึ้นกับความเข้มข้น 
ของสารตั้งต้น(มีการเปลี่ยนแปลงเมื่อความเข้มข้นของสารตั้งต้น 
เปลี่ยนไป) 
ปริมาณสารตั้งต้น 
เวลา 
4.กราฟระหว่างผลิตภัณฑ์กับเวลา 
ปริมาณสารผลิตภัณฑ์
เวลา 
5 
5.กราฟระหว่างอัตราการเกิดปฏิกิริยากับความเข้มข้น 
ของผลิตภัณฑ์ 
อัตรา 
ผลิตภัณฑ์ 
การอธิบายการเกิดปฏิกิริยาเคมี 
ทฤษฎีก า รชน ( Collission Theory ) เป็น 
ทฤษฎีที่ใช้อธิบายการเกิดปฏิกิริยาของสารเคมี โดยกล่าวว่า “ 
ปฏิกิริยาเคมีจะเกิดขึ้นก็ต่อเมื่ออนุภาคของสารมีการชนกันและการ 
ชนกันต้องเป็นการชนแบบมีผล ” ซึ่งมีเงื่อนไข ดังนี้ 
1. ทิศทางการชนต้องเหมาะสม 
2. มีการสะสมพลังงานอย่างน้อยเท่ากับพลังงานก่อกัมมันต์ 
( Activation Energy ) 
พลังงานก่อกัมมันต์ ( Activation Energy : Ea ) หมาย 
ถึง พลังงานจำานวนน้อยที่สุดที่สารเคมีแต่ละคู่จะต้องสะสมไว้เพื่อ 
เปลี่ยนสารตั้งต้นไปเป็นสารใหม่ ดังนั้นพลังงานก่อกัมมันต์ของสาร 
แต่ละคู่เวลาทำาปฏิกิริยากัน จึงไม่เท่ากัน 
แผนภาพแสดงการเปลี่ยนของสารใน 
ขณะเกิดปฏิกิริยา 
A B A A 
2 A B 
A + B 
พลังงานตำ่ากว่า Ea B B 
พลังงานสูงกว่า Ea 
สารเชิงซ้อนถูกกระตุ้น
6 
[ Activated complex ] 
ก า ร เ ป ลี่ยน แ ป ล งพลัง ง า น ข อ ง ส า ร ใ น ร ะ ห ว่า ง ก า ร 
ดำาเนินไปของปฏิกิริยา 
ในขณะที่สารเกิดปฏิกิริยาจะมีการเปลี่ยนแปลงพลังงานเกิดขึ้น 
เสมอ ซึ่งลักษณะการเปลี่ยนแปลงพลังงานแบ่งเป็น 2 แบบ คือ 
ปฏิกิริยาดูดความร้อน และปฏิกิริยาคายความร้อน 
1.ปฏิกิริยาดูดความร้อน มีลักษณะการเปลี่ยนแปลงพลังงาน 
ดังนี้ 
พลังงาน E2 
Ea 
E3 
E1 
ก า ร ดำา เ นิน ไ ป ข อ ง 
ปฏิกิริยา 
2.ปฏิกิริยาคายความร้อน มีลักษณะการเปลี่ยนแปลงพลังงาน 
ดังนี้ 
พลังงาน E2 
Ea 
E3 
E1 
ก า ร ดำา เ นิน ไ ป ข อ ง 
ปฏิกิริยา 
ข้อสังเกต ปฏิกิริยาที่มีค่า Ea ตำ่าเกิดง่ายเร็วขึ้น : ถ้าค่า Ea สูง 
เกิดยาก เกิดช้า
7 
ในบางปฏิกิริยามีกลไกในการเกิดปฏิกิริยาหลายขั้น เช่น A2 +3B2 
2AB3 เกิดปฏิกิริยา 3 ขั้น คือ 
(1) B2 2B …. เร็ว 
(2) A2 2A …. ช้า (อัตราขึ้นกับ 
ขั้นนี้) 
(3) A + 3B AB3 …. เร็ว 
อัตราการเกิดปฏิกิริยาของปฏิกิริยาที่มีหลายขั้นจะขึ้นกับขั้นที่ 
ช้าที่สุดเสมอ เนื่องจากขั้นที่มี Ea สูงที่สุด 
ถ้านำามาเขียนกราฟจะได้ดังนี้ ( สมมติว่าปฏิกิริยานี้คาย 
ความพลังงาน ) 
พลังงาน ขั้นที่ 2 
ขั้นที่ 1 ขั้นที่ 3 
เวลา 
ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยา 
1. ค ว า ม เข้มข้นขอ ง ส า ร ตั้ง ต้น ในกรณีที่สารตั้งต้นเป็น 
สารละลาย ยิ่งสารละลายนั้นมีความเข้มข้นมากขึ้นอัตราการเกิด 
ปฏิกิริยาจะเร็วขึ้นเนื่องจากมีจำานวนอนุภาคของตัวถูกละลายมากขึ้น 
จะชนกันบ่อยมากขึ้น 
แต่การเพิ่มปริมาตรของสารละลายโดยความเข้มข้นเท่าเดิมอัตรา 
การเกิดปฏิกิริยาจะเท่าเดิม 
2. อุณหภูมิ การที่อุณหภูมิของสารตั้งต้นเพิ่มขึ้นอัตราการ 
เกิดปฏิกิริยาจะเพิ่มขึ้น เนื่องจากเมื่ออุณหภูมิสูงขึ้น โมเลกุลของ 
สารจะมีพลังงานจลน์สูงขึ้น เคลื่อนที่เร็วขึ้นจึงชนกันบ่อยมากขึ้น 
สุดท้ายก็จะมีจำานวนโมเลกุลที่มีพลังงานอย่างน้อยเท่ากับหรือ 
มากกว่า Ea มากขึ้น เมื่ออุณหภูมิเพิ่มขึ้น จึงทำาให้อัตราการเกิด 
ปฏิกิริยาเร็วขึ้นนั้นเอง 
3. พื้นที่ผิว สัม ผัส สารที่มีพื้นที่ผิวสัมผัสมากกว่าจะทำา 
ปฏิกิริยาได้เร็วขึ้น เนื่องจากสัมผัสกัน (ชนกัน) มากขึ้น ใช้ในการ 
พิจารณาสารตั้งต้นที่เป็นของแข็ง ดังนั้นสารที่เป็นของแข็งจึงต้อง 
บดให้ละเอียดก่อนทำาปฏิกิริยา 
4. ตัวเร่งปฏิกิริยา ( Catalyst) ตัวเร่งปฏิกิริยาเป็นสาร 
เคมีที่ช่วยทำาให้อัตราการเกิดปฏิกิริยาได้เร็วขึ้น เนื่องจากตัวเร่งจะ
8 
ช่วยในการลดพลังงานกระตุ้นในการเกิดปฏิกิริยา โดยช่วยปรับ 
กลไกในการเกิดปฏิกิริยาให้เหมาะสมกว่าเดิม โดยจะเข้าไปช่วย 
ตั้งแต่เริ่มปฏิกิริยาแต่เมื่อปฏิกิริยาสิ้นสุดมันจะกลับมาเป็นสารเดิม 
5. ตัวหน่วงปฏิกิริยา (Inhibitor) หมายถึง สารที่ทำาให้ 
อัตราการเกิดปฏิกิริยาช้าลงโดยขัดขวางกลไกในการเกิดปฏิกิริยา 
ทำาให้ค่าพลังงานก่อกัมมันต์สูงขึ้น 
6. ธรรมชาติของสารตั้งต้น เนื่องจากสารเคมีจะมีการ 
ยึดเหนี่ยวด้วยพันธะที่ต่างกัน โดยปกติสารละลาย ของสารประกอ 
บอิออนิกเวลาเข้าทำาปฏิกิริยาจะแตกตัวเป็นอิออนบวกและอิออนลบ 
ก่อนและเคลื่อนที่ได้เร็วกว่าโมเลกุลของสารประกอบโควาเลนต์ ดัง 
นั้นสารอิออนิกจึงทำาปฏิกิริยาได้เร็วกว่าสารโควาเลนต์ แม้กระทั่ง 
สารโควาเลนต์ด้วยกันก็ยังแตกต่างกัน เนื่องจากอาจยึดด้วยพันธะ 
เดี่ยว พันธะคู่ หรือพันธะสามก็ได้

More Related Content

What's hot

1 ความหมายอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
1 ความหมายอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี1 ความหมายอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
1 ความหมายอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีSircom Smarnbua
 
ปฏิบัติการทดลอง
ปฏิบัติการทดลอง ปฏิบัติการทดลอง
ปฏิบัติการทดลอง ืkanya pinyo
 
5 ปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
5 ปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี5 ปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
5 ปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีSircom Smarnbua
 
ปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยา
ปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยา
ปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาManchai
 
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมีการเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมีครูเสกสรรค์ สุวรรณสุข
 
ใบความแนวคิดการเกิดปฏิกิริยา
ใบความแนวคิดการเกิดปฏิกิริยาใบความแนวคิดการเกิดปฏิกิริยา
ใบความแนวคิดการเกิดปฏิกิริยาyaowaluk
 
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีweerabong
 
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีchemnpk
 
จลนศาสตร์เคมีและสมดุลเคมี
จลนศาสตร์เคมีและสมดุลเคมีจลนศาสตร์เคมีและสมดุลเคมี
จลนศาสตร์เคมีและสมดุลเคมีnn ning
 
สมดุลเคมี
สมดุลเคมีสมดุลเคมี
สมดุลเคมีja1122
 
สมดุลเคมี
สมดุลเคมีสมดุลเคมี
สมดุลเคมีGesika
 
3210000000000000000
32100000000000000003210000000000000000
3210000000000000000Awirut619
 
สมดุลเคมี2
สมดุลเคมี2สมดุลเคมี2
สมดุลเคมี2Khwan Jomkhwan
 
สมดุลเคมี สุกัญญา คำนนท์
สมดุลเคมี สุกัญญา คำนนท์สมดุลเคมี สุกัญญา คำนนท์
สมดุลเคมี สุกัญญา คำนนท์Nnear .
 
แบบฝึกหัดอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
แบบฝึกหัดอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีแบบฝึกหัดอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
แบบฝึกหัดอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีืkanya pinyo
 
บทที่ 2 ปฏิกิริยาเคมี
บทที่ 2 ปฏิกิริยาเคมีบทที่ 2 ปฏิกิริยาเคมี
บทที่ 2 ปฏิกิริยาเคมีJariya Jaiyot
 

What's hot (20)

1 ความหมายอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
1 ความหมายอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี1 ความหมายอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
1 ความหมายอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
 
ปฏิบัติการทดลอง
ปฏิบัติการทดลอง ปฏิบัติการทดลอง
ปฏิบัติการทดลอง
 
5 ปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
5 ปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี5 ปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
5 ปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
 
ปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยา
ปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยา
ปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยา
 
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมีการเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
 
ใบความแนวคิดการเกิดปฏิกิริยา
ใบความแนวคิดการเกิดปฏิกิริยาใบความแนวคิดการเกิดปฏิกิริยา
ใบความแนวคิดการเกิดปฏิกิริยา
 
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
 
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
 
จลนศาสตร์เคมีและสมดุลเคมี
จลนศาสตร์เคมีและสมดุลเคมีจลนศาสตร์เคมีและสมดุลเคมี
จลนศาสตร์เคมีและสมดุลเคมี
 
สมดุลเคมี
สมดุลเคมีสมดุลเคมี
สมดุลเคมี
 
Rate
RateRate
Rate
 
Sheet rate
Sheet rateSheet rate
Sheet rate
 
สมดุลเคมี
สมดุลเคมีสมดุลเคมี
สมดุลเคมี
 
Rate3
Rate3Rate3
Rate3
 
3210000000000000000
32100000000000000003210000000000000000
3210000000000000000
 
สมดุลเคมี2
สมดุลเคมี2สมดุลเคมี2
สมดุลเคมี2
 
สมดุลเคมี สุกัญญา คำนนท์
สมดุลเคมี สุกัญญา คำนนท์สมดุลเคมี สุกัญญา คำนนท์
สมดุลเคมี สุกัญญา คำนนท์
 
Rate012
Rate012Rate012
Rate012
 
แบบฝึกหัดอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
แบบฝึกหัดอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีแบบฝึกหัดอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
แบบฝึกหัดอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
 
บทที่ 2 ปฏิกิริยาเคมี
บทที่ 2 ปฏิกิริยาเคมีบทที่ 2 ปฏิกิริยาเคมี
บทที่ 2 ปฏิกิริยาเคมี
 

Similar to อัตราการเกิดปฎิกิริยาเคมี

อัตราการเกิดปฏิกริยาเคมี
อัตราการเกิดปฏิกริยาเคมีอัตราการเกิดปฏิกริยาเคมี
อัตราการเกิดปฏิกริยาเคมีweerabong
 
ปฏิกิริยานิวเคลียร์
ปฏิกิริยานิวเคลียร์ปฏิกิริยานิวเคลียร์
ปฏิกิริยานิวเคลียร์girapong
 
1แผนที่2
1แผนที่21แผนที่2
1แผนที่2yaowaluk
 
สมดุลเคมี
สมดุลเคมีสมดุลเคมี
สมดุลเคมีKhwan Jomkhwan
 
สมดุลเคมี1
สมดุลเคมี1สมดุลเคมี1
สมดุลเคมี1Khwan Jomkhwan
 
นางสาวศิริพร เทพศรีหาม.5
นางสาวศิริพร เทพศรีหาม.5นางสาวศิริพร เทพศรีหาม.5
นางสาวศิริพร เทพศรีหาม.5Siriporn112
 
สมดุลเคมี ชินกร ดีดวงพันธ์
สมดุลเคมี ชินกร ดีดวงพันธ์สมดุลเคมี ชินกร ดีดวงพันธ์
สมดุลเคมี ชินกร ดีดวงพันธ์Nnear .
 
สมดุลเคมี ชินกร ดีดวงพันธ์
สมดุลเคมี ชินกร ดีดวงพันธ์สมดุลเคมี ชินกร ดีดวงพันธ์
สมดุลเคมี ชินกร ดีดวงพันธ์Nnear .
 
รายงานเรียน
รายงานเรียนรายงานเรียน
รายงานเรียนtippawan61
 
จลนศาสตร์เคมี (Kinetics Chemistry)
จลนศาสตร์เคมี (Kinetics Chemistry)จลนศาสตร์เคมี (Kinetics Chemistry)
จลนศาสตร์เคมี (Kinetics Chemistry)Dr.Woravith Chansuvarn
 
สมดุล
สมดุลสมดุล
สมดุลMuk52
 
สมดุลเคมี ธวัชชัย รุ่งโรจน์
สมดุลเคมี ธวัชชัย  รุ่งโรจน์สมดุลเคมี ธวัชชัย  รุ่งโรจน์
สมดุลเคมี ธวัชชัย รุ่งโรจน์Nnear .
 
Ch 03 nuclear chemistry
Ch 03 nuclear chemistryCh 03 nuclear chemistry
Ch 03 nuclear chemistrykruannchem
 
สมดุลเคมี โชติช่วง ดีดวงพันธ์
สมดุลเคมี โชติช่วง ดีดวงพันธ์สมดุลเคมี โชติช่วง ดีดวงพันธ์
สมดุลเคมี โชติช่วง ดีดวงพันธ์Nnear .
 
สมดุลเคมี โชติช่วง ดีดวงพันธ์
สมดุลเคมี โชติช่วง ดีดวงพันธ์สมดุลเคมี โชติช่วง ดีดวงพันธ์
สมดุลเคมี โชติช่วง ดีดวงพันธ์Nnear .
 
สมดุลเคมี โชติช่วง ดีดวงพันธ์
สมดุลเคมี โชติช่วง ดีดวงพันธ์สมดุลเคมี โชติช่วง ดีดวงพันธ์
สมดุลเคมี โชติช่วง ดีดวงพันธ์Nnear .
 
สมดุลเคมี ยุวธิดา ดีดวงพันธ์
สมดุลเคมี ยุวธิดา ดีดวงพันธ์สมดุลเคมี ยุวธิดา ดีดวงพันธ์
สมดุลเคมี ยุวธิดา ดีดวงพันธ์Nnear .
 

Similar to อัตราการเกิดปฎิกิริยาเคมี (20)

อัตราการเกิดปฏิกริยาเคมี
อัตราการเกิดปฏิกริยาเคมีอัตราการเกิดปฏิกริยาเคมี
อัตราการเกิดปฏิกริยาเคมี
 
ปฏิกิริยานิวเคลียร์
ปฏิกิริยานิวเคลียร์ปฏิกิริยานิวเคลียร์
ปฏิกิริยานิวเคลียร์
 
Rate
RateRate
Rate
 
1แผนที่2
1แผนที่21แผนที่2
1แผนที่2
 
สมดุลเคมี
สมดุลเคมีสมดุลเคมี
สมดุลเคมี
 
สมดุลเคมี1
สมดุลเคมี1สมดุลเคมี1
สมดุลเคมี1
 
นางสาวศิริพร เทพศรีหาม.5
นางสาวศิริพร เทพศรีหาม.5นางสาวศิริพร เทพศรีหาม.5
นางสาวศิริพร เทพศรีหาม.5
 
สมดุลเคมี ชินกร ดีดวงพันธ์
สมดุลเคมี ชินกร ดีดวงพันธ์สมดุลเคมี ชินกร ดีดวงพันธ์
สมดุลเคมี ชินกร ดีดวงพันธ์
 
สมดุลเคมี ชินกร ดีดวงพันธ์
สมดุลเคมี ชินกร ดีดวงพันธ์สมดุลเคมี ชินกร ดีดวงพันธ์
สมดุลเคมี ชินกร ดีดวงพันธ์
 
Chemical.ppt
Chemical.pptChemical.ppt
Chemical.ppt
 
รายงานเรียน
รายงานเรียนรายงานเรียน
รายงานเรียน
 
จลนศาสตร์เคมี (Kinetics Chemistry)
จลนศาสตร์เคมี (Kinetics Chemistry)จลนศาสตร์เคมี (Kinetics Chemistry)
จลนศาสตร์เคมี (Kinetics Chemistry)
 
สมดุล
สมดุลสมดุล
สมดุล
 
สมดุลเคมี ธวัชชัย รุ่งโรจน์
สมดุลเคมี ธวัชชัย  รุ่งโรจน์สมดุลเคมี ธวัชชัย  รุ่งโรจน์
สมดุลเคมี ธวัชชัย รุ่งโรจน์
 
Ch 03 nuclear chemistry
Ch 03 nuclear chemistryCh 03 nuclear chemistry
Ch 03 nuclear chemistry
 
สมดุลเคมี โชติช่วง ดีดวงพันธ์
สมดุลเคมี โชติช่วง ดีดวงพันธ์สมดุลเคมี โชติช่วง ดีดวงพันธ์
สมดุลเคมี โชติช่วง ดีดวงพันธ์
 
สมดุลเคมี โชติช่วง ดีดวงพันธ์
สมดุลเคมี โชติช่วง ดีดวงพันธ์สมดุลเคมี โชติช่วง ดีดวงพันธ์
สมดุลเคมี โชติช่วง ดีดวงพันธ์
 
สมดุลเคมี โชติช่วง ดีดวงพันธ์
สมดุลเคมี โชติช่วง ดีดวงพันธ์สมดุลเคมี โชติช่วง ดีดวงพันธ์
สมดุลเคมี โชติช่วง ดีดวงพันธ์
 
สมดุลเคมี ยุวธิดา ดีดวงพันธ์
สมดุลเคมี ยุวธิดา ดีดวงพันธ์สมดุลเคมี ยุวธิดา ดีดวงพันธ์
สมดุลเคมี ยุวธิดา ดีดวงพันธ์
 
16442806.ppt
16442806.ppt16442806.ppt
16442806.ppt
 

อัตราการเกิดปฎิกิริยาเคมี

  • 1. 1 บทที่ 9 อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี 1. การเปลี่ยนแปลงของสารในขณะเกิดปฏิกิริยา ในขณะที่เกิดปฏิกิริยา ส า ร ตั้ ง ต้ น ผลิตภัณฑ์ สารตั้งต้นจะลดลงส่วนสารผลิตภัณฑ์จะเพิ่มขึ้น สมมติ ปฏิกิริยา 2A + B c + 2D ปริมาณสารมีการ เปลี่ยนแปลงดังกราฟ ปริมาณสาร สารผลิตภัณฑ์ สารตั้งต้น เวลา ข้อสังเกต การเปลี่ยนแปลงของสารตั้งต้นและผลิตภัณฑ์ตอนแรก จะเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว แล้วจะค่อยช้าลงเมื่อเวลาผ่านไปนาน ขึ้น การวัดอัตราการเกิดปฏิกิริยา เนื่องจากในขณะเกิดปฏิกิริยาปริมาณสารตั้งต้นจะลดลง ส่วนปริมาณของสารผลิตภัณฑ์จะเพิ่มขึ้น ดังนั้น การวัดอัตราการ เกิดปฏิกิริยาอาจทำาได้โดย 1. วัดจากอัตราการลดลงของสารตั้งต้น R = ปริมาณสารตััั้งต้นทดี่ลง เวลาที่ใช้ในการเกิดปฏิกิริยา 2. วัดจากอัตราการเพิ่มขึ้นของสารผลิตภัณฑ์ R = ปริมาณสารผลิตภัณฑ์ทีั่เพิ่มขึ้น เวลาที่ใช้ในการเกิดปฏิกิริยา โดยปริมาณสารที่เปลี่ยนไปอาจหมายถึง มวลสาร ปริมาณ ของสาร ความเข้มข้นของสาร นอกจากนี้สมบัติที่เปลี่ยนไปบาง ประการของสารก็สามารถนำามาใช้ในการวัดอัตราการเกิดปฏิกิริยา ได้ เช่น ความเข้มของสี ค่า pH การนำาไฟฟ้าก็ได้ ถ้าสมการทั่วไปเป็นดังนี้ aA + bB cC + dD อัตราการเกิดปฏิกิริยามีค่าดังนี้
  • 2. 2 [ ] [ ] [ ] [ ] R = - 1 D = - 1 D = 1 D 1 D a D t C t d B t c A t b = D D D D หรือ [ ] [ ] [ ] [ ] R = d D dt d C - 1 = - 1 = 1 = 1 dt d d B dt c d A a dt b - 1 = - 1 = 1 = 1 R = A B C D R d R c R b R a อัตราการเกิดปฏิกิริยาเฉลี่ย อัตราการเกิดปฏิกิริยาช่วงเวลาหนึ่งเราสามารถหาอัตราเร็ว เฉลี่ยได้จากความสัมพันธ์ดังนี้ ปริมาณสารทัีั่เปลยี่นปแลงทั้งหมด อัตราเร็วเฉลี่ย = เวลาทใี่ช้ทั้งหมด อัตราปฏิกิริยาเคมี ณ เวลาใดเวลาหนึ่ง การหาอัตรา ณ เวลาหนึ่งๆ จะต้องคิดจากกราฟโดยสร้างกราฟ ตามข้อมูลระหว่างปริมาณสารกับเวลา แล้วหาค่าความชัน ( slop ) ณ เวลาหนึ่งๆ ซึ่งค่าความชันนี้คือค่าของอัตรา ณ เวลานั้นๆ จากการศึกษาของนักเคมีพบว่า อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีจะ ขึ้นอยู่กับความเข้มข้นของสารตั้งต้น ซึ่งแสดงได้ดังสมการต่อไปนี้ AA+bB cC+ dD จะได้ว่า R a [A]m[B]n R = K [A]m[B]n เรียกสมการนี้ว่า กฎอัตรา (Rate Law) เมื่อ K คือ ค่าคงที่ของอัตรา [] คือ ความเข้มข้นในหน่วย mol/dm3 m ,n เป็นตัวเลขใด ๆ ก็ได้ซึ่งหาได้จากผลการทดลอง เท่านั้น ซึ่งอาจเท่ากับ a ,b หรือไม่เท่าก็ได้ m +n เรียกว่า อันดับของปฏิกิริยา (Order of Reaction) ถ้าเลขยกกำา ลังของสารใดเป็น 0 แสดงว่าอัตราการเกิด ปฏิกิริยาไม่ขึ้นกับความเข้มข้นของสารนั้น ข้อสังเกตการนำากฎอัตราไปใช้ 1. ต้องมีข้อมูลเป็นผลการทดลองมาให้โดยการกำาหนดความเข้ม ข้น / ปริมาณสารตั้งต้นมาให้ และกำาหนดอัตราการเกิด ปฏิกิริยาจากการทดลองแต่ละครั้งมาให้ ( ถ้าไม่กำาหนดอัตรา มาให้อาจต้องคำา นวณหาเอง โดยคิดจากปริมาณสารที่ เปลี่ยนแปลงในหนึ่งหน่วยเวลา )
  • 3. 3 2. เขียนสมการแสดงอัตราการเกิดปฏิกิริยาในรูปของกฎอัตรา โดยคิดค่าเลขยกกำาลังคือค่าของ m , n ไว้ 3. หาค่า m , n โดยนำาข้อมูลแสดงการทดลองจากข้อ 1 มา คำานวณหา 4. ถ้าโจทย์ต้องการให้หาอัตราการเกิดปฏิกิริยาจากข้อมูลใหม่ที่ กำาหนดซึ่งไม่ใช่ผลการทดลองที่มีอยู่เดิม ให้หาค่า K แล้วนำา ไปแทนค่าในสมการกฎอัตราในข้อ 2 ( เพื่อหาอัตราตาม เงื่อนไขใหม่ตามที่โจทย์กำาหนด ตัวอย่า ง ปฏิกิริยาระหว่างสารละลาย A กับสารละลาย B เป็นดังนี้ A + B C การทดลอง ครั้งที่ ความเข้มข้นของสารละลาย ( mol/dm3 ) อัตราการเกิด ปฏิกิริยา สาร A สาร B mol/dm3.s 1 0.1 0.1 0.5 2 0.1 0.2 1.0 3 0.2 0.2 2.0 1. จงเขียนสมการแสดงอัตราการเกิดปฏิกิริยานี้ 2. ถ้าสาร A และสาร B เข้มข้น 0.3 และ 0.4 mol/dm3 ตามลำาดับอัตราการเกิดปฏิกิริยานี้จะเป็นเท่าไร วิธีคิด จากการทดลองที่ 1 และ 2 ความเข้มข้นของสาร A คงที่ แต่ ความเข้มข้นของสาร B เพิ่มขึ้นเป็น 2 เท่า อัตราก็เพิ่มขึ้นจาก เดิม 2 เท่า แสดงว่าอัตราขึ้นกับความเข้มข้นของสาร B ยก กำาลัง 1 จากการทดลองที่ 2 และ 3 ความเข้มข้นของสาร B คงที่ แต่ ความเข้มข้นของสาร A เพิ่มขึ้นเป็น 2 เท่า อัตราก็เพิ่มขึ้นจาก เดิม 4 เท่า แสดงว่าอัตราขึ้นกับความเข้มข้นของสาร A ยก กำาลัง 2 ดังนั้นจะได้ว่า R = K[A]2 [B] จากการทดลองที่ 1 เมื่อนำาความเข้มข้นของสาร A สาร B และอัตราการเกิดปฏิกิริยามาแทนในสมการที่ ดังนั้น K = 500
  • 4. 4 เมื่อนำาความเข้มข้นของสาร A และสาร B แทนลงในสมการ แสดงอัตราการเกิดปฏิกิริยาจะได้อัตราการเกิดปฏิกิริยาใหม่ดังนี้ R = 500[0.3]2 [0.4] = 18.0 mol/dm3.s รูปกราฟที่น่าสนใจ 1.กราฟแสดงอัตราการเกิดปฏิกิริยาคงที่ อัตรา เวลา 2.กราฟแสดงอัตราการเกิดปฏิกิริยาไม่ขึ้นกับความเข้ม ข้นของสารตั้งตั้น ความเข้มข้นของสารตั้งต้น เวลา 3.กราฟแสดงอัตราการเกิดปฏิกิริยาขึ้นกับความเข้มข้น ของสารตั้งต้น(มีการเปลี่ยนแปลงเมื่อความเข้มข้นของสารตั้งต้น เปลี่ยนไป) ปริมาณสารตั้งต้น เวลา 4.กราฟระหว่างผลิตภัณฑ์กับเวลา ปริมาณสารผลิตภัณฑ์
  • 5. เวลา 5 5.กราฟระหว่างอัตราการเกิดปฏิกิริยากับความเข้มข้น ของผลิตภัณฑ์ อัตรา ผลิตภัณฑ์ การอธิบายการเกิดปฏิกิริยาเคมี ทฤษฎีก า รชน ( Collission Theory ) เป็น ทฤษฎีที่ใช้อธิบายการเกิดปฏิกิริยาของสารเคมี โดยกล่าวว่า “ ปฏิกิริยาเคมีจะเกิดขึ้นก็ต่อเมื่ออนุภาคของสารมีการชนกันและการ ชนกันต้องเป็นการชนแบบมีผล ” ซึ่งมีเงื่อนไข ดังนี้ 1. ทิศทางการชนต้องเหมาะสม 2. มีการสะสมพลังงานอย่างน้อยเท่ากับพลังงานก่อกัมมันต์ ( Activation Energy ) พลังงานก่อกัมมันต์ ( Activation Energy : Ea ) หมาย ถึง พลังงานจำานวนน้อยที่สุดที่สารเคมีแต่ละคู่จะต้องสะสมไว้เพื่อ เปลี่ยนสารตั้งต้นไปเป็นสารใหม่ ดังนั้นพลังงานก่อกัมมันต์ของสาร แต่ละคู่เวลาทำาปฏิกิริยากัน จึงไม่เท่ากัน แผนภาพแสดงการเปลี่ยนของสารใน ขณะเกิดปฏิกิริยา A B A A 2 A B A + B พลังงานตำ่ากว่า Ea B B พลังงานสูงกว่า Ea สารเชิงซ้อนถูกกระตุ้น
  • 6. 6 [ Activated complex ] ก า ร เ ป ลี่ยน แ ป ล งพลัง ง า น ข อ ง ส า ร ใ น ร ะ ห ว่า ง ก า ร ดำาเนินไปของปฏิกิริยา ในขณะที่สารเกิดปฏิกิริยาจะมีการเปลี่ยนแปลงพลังงานเกิดขึ้น เสมอ ซึ่งลักษณะการเปลี่ยนแปลงพลังงานแบ่งเป็น 2 แบบ คือ ปฏิกิริยาดูดความร้อน และปฏิกิริยาคายความร้อน 1.ปฏิกิริยาดูดความร้อน มีลักษณะการเปลี่ยนแปลงพลังงาน ดังนี้ พลังงาน E2 Ea E3 E1 ก า ร ดำา เ นิน ไ ป ข อ ง ปฏิกิริยา 2.ปฏิกิริยาคายความร้อน มีลักษณะการเปลี่ยนแปลงพลังงาน ดังนี้ พลังงาน E2 Ea E3 E1 ก า ร ดำา เ นิน ไ ป ข อ ง ปฏิกิริยา ข้อสังเกต ปฏิกิริยาที่มีค่า Ea ตำ่าเกิดง่ายเร็วขึ้น : ถ้าค่า Ea สูง เกิดยาก เกิดช้า
  • 7. 7 ในบางปฏิกิริยามีกลไกในการเกิดปฏิกิริยาหลายขั้น เช่น A2 +3B2 2AB3 เกิดปฏิกิริยา 3 ขั้น คือ (1) B2 2B …. เร็ว (2) A2 2A …. ช้า (อัตราขึ้นกับ ขั้นนี้) (3) A + 3B AB3 …. เร็ว อัตราการเกิดปฏิกิริยาของปฏิกิริยาที่มีหลายขั้นจะขึ้นกับขั้นที่ ช้าที่สุดเสมอ เนื่องจากขั้นที่มี Ea สูงที่สุด ถ้านำามาเขียนกราฟจะได้ดังนี้ ( สมมติว่าปฏิกิริยานี้คาย ความพลังงาน ) พลังงาน ขั้นที่ 2 ขั้นที่ 1 ขั้นที่ 3 เวลา ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยา 1. ค ว า ม เข้มข้นขอ ง ส า ร ตั้ง ต้น ในกรณีที่สารตั้งต้นเป็น สารละลาย ยิ่งสารละลายนั้นมีความเข้มข้นมากขึ้นอัตราการเกิด ปฏิกิริยาจะเร็วขึ้นเนื่องจากมีจำานวนอนุภาคของตัวถูกละลายมากขึ้น จะชนกันบ่อยมากขึ้น แต่การเพิ่มปริมาตรของสารละลายโดยความเข้มข้นเท่าเดิมอัตรา การเกิดปฏิกิริยาจะเท่าเดิม 2. อุณหภูมิ การที่อุณหภูมิของสารตั้งต้นเพิ่มขึ้นอัตราการ เกิดปฏิกิริยาจะเพิ่มขึ้น เนื่องจากเมื่ออุณหภูมิสูงขึ้น โมเลกุลของ สารจะมีพลังงานจลน์สูงขึ้น เคลื่อนที่เร็วขึ้นจึงชนกันบ่อยมากขึ้น สุดท้ายก็จะมีจำานวนโมเลกุลที่มีพลังงานอย่างน้อยเท่ากับหรือ มากกว่า Ea มากขึ้น เมื่ออุณหภูมิเพิ่มขึ้น จึงทำาให้อัตราการเกิด ปฏิกิริยาเร็วขึ้นนั้นเอง 3. พื้นที่ผิว สัม ผัส สารที่มีพื้นที่ผิวสัมผัสมากกว่าจะทำา ปฏิกิริยาได้เร็วขึ้น เนื่องจากสัมผัสกัน (ชนกัน) มากขึ้น ใช้ในการ พิจารณาสารตั้งต้นที่เป็นของแข็ง ดังนั้นสารที่เป็นของแข็งจึงต้อง บดให้ละเอียดก่อนทำาปฏิกิริยา 4. ตัวเร่งปฏิกิริยา ( Catalyst) ตัวเร่งปฏิกิริยาเป็นสาร เคมีที่ช่วยทำาให้อัตราการเกิดปฏิกิริยาได้เร็วขึ้น เนื่องจากตัวเร่งจะ
  • 8. 8 ช่วยในการลดพลังงานกระตุ้นในการเกิดปฏิกิริยา โดยช่วยปรับ กลไกในการเกิดปฏิกิริยาให้เหมาะสมกว่าเดิม โดยจะเข้าไปช่วย ตั้งแต่เริ่มปฏิกิริยาแต่เมื่อปฏิกิริยาสิ้นสุดมันจะกลับมาเป็นสารเดิม 5. ตัวหน่วงปฏิกิริยา (Inhibitor) หมายถึง สารที่ทำาให้ อัตราการเกิดปฏิกิริยาช้าลงโดยขัดขวางกลไกในการเกิดปฏิกิริยา ทำาให้ค่าพลังงานก่อกัมมันต์สูงขึ้น 6. ธรรมชาติของสารตั้งต้น เนื่องจากสารเคมีจะมีการ ยึดเหนี่ยวด้วยพันธะที่ต่างกัน โดยปกติสารละลาย ของสารประกอ บอิออนิกเวลาเข้าทำาปฏิกิริยาจะแตกตัวเป็นอิออนบวกและอิออนลบ ก่อนและเคลื่อนที่ได้เร็วกว่าโมเลกุลของสารประกอบโควาเลนต์ ดัง นั้นสารอิออนิกจึงทำาปฏิกิริยาได้เร็วกว่าสารโควาเลนต์ แม้กระทั่ง สารโควาเลนต์ด้วยกันก็ยังแตกต่างกัน เนื่องจากอาจยึดด้วยพันธะ เดี่ยว พันธะคู่ หรือพันธะสามก็ได้