SlideShare a Scribd company logo
วันมาฆบูชา
วันวิสาขบูชา
วันธรรสวนะ
แผนผังความคิด ประจาหน่วยการเรียนรู้ที่ 1
พุทธประวัติ
พิธีกรรมทางศาสนาพุทธ
การบารุงรักษาวัด วันสาคัญทางศาสนา
พุทธศาสนา
ประสูติ
ตรัสรู้
ปรินิพพาน
การทาบุญ
การบูชาคุณพระพุทธเจ้า
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
กลุ่มสาระ สังคมศึกษา ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 พุทธศาสนา เวลา 22 ชั่วโมง
เรื่อง ความสาคัญของศาสนา เวลา 1 ชั่วโมง
***********************************************************************
มาตรฐาน ส 2.1 เข้าใจและปฏิบัติตนตามหน้าที่ของการเป็นพลเมืองดี มีค่านิยมที่ดี
งามและธารงรักษาประเพณีและวัฒนธรรมไทยดารงชีวิตอยู่ร่วมกัน
ในสังคมไทยและสังคมโลกอย่างสันติสุข
ตัวชี้วัด
มาตรฐาน ส 2.1 ป.6 / 1 วิเคราะห์ความสาคัญของพระพุทธ- ศาสนาในฐานะเป็น
ศาสนาประจาชาติ หรือความสาคัญของศาสนาที่ตนนับถือ
สาระสาคัญ
ศาสนาทุกศาสนามุ่งสอนให้คนทาความดี เพื่อให้มีชีวิตอยู่อย่างเป็นสุข การปฏิบัติ
ตามหลักธรรมคาสอนของศาสนาย่อมให้ผลดีแก่ผู้ปฏิบัติ
จุดประสงค์การเรียนรู้
1. อธิบายความหมายของศาสนาได้
2. จาแนกองค์ประกอบของศาสนาที่ตนนับถือได้
3. ปฏิบัติคาสอนของศาสนาที่ตนนับถือได้
คุณลักษณะอันพึงประสงค์
1. รับผิดชอบต่อหน้าที่
2. มีความละอายต่อบาป
3. มุ่งมั่นทาความดี
4. มีความสนใจใฝ่เรียนรู้
5. มีความขยันประหยัดและอดทน
สาระการเรียนรู้
1. ความหมายของศาสนา
2. องค์ประกอบของศาสนา
1) ศาสดา 2) คัมภีร์ 3) สาวก
4) ศาสนสถาน 5) พิธีกรรม
3. ประโยชน์ของศาสนา
กระบวนการเรียนรู้
1. ครูนารูปภาพ เกี่ยวกับศาสนามาให้นักเรียนดูและร่วมอภิปรายทั้งความสาคัญและ
ประโยชน์ของศาสนา
2. ครูอธิบายว่าประเทศไทยเป็นประเทศที่ให้สิทธิเสรีภาพในการนับถือศาสนา
ดังนั้นประชาชนในประเทศจะนับถือศาสนาใดก็ได้ที่ตนศรัทธาเลื่อมใส และ
สามารถเปลี่ยนการนับถือศาสนาที่เคยนับถืออยู่ไปนับถือศาสนาใดก็ได้โดยที่การ
ปฏิบัติตามลัทธิความเชื่อของศาสนานั้น ๆ ต้องไม่ทาลายความมั่นคงของประเทศ
และไม่ลิดรอนสิทธิเสรีภาพของผู้อื่น
3. ให้นักเรียนช่วยกันยกตัวอย่างศาสนาที่นักเรียนนับถือ หรือที่นักเรียนรู้จักว่ามี
ศาสนาอะไรบ้างและสารวจว่าในห้องเรียนมีใครนับถือศาสนาอะไรบ้าง และส่วน
ใหญ่นักเรียนนับถือศาสนาอะไรซึ่งขึ้นอยู่กับชุมชนที่โรงเรียนตั้งอยู่ แล้วบันทึก
ในใบงานที่ 1
4. ให้นักเรียนแบ่งกลุ่ม ให้แต่ละกลุ่มค้นหาความหมายของศาสนาจากพจนานุกรมฯ
หรือจากแหล่งความรู้อื่น ๆ จากนั้น ให้แต่ละกลุ่มส่งตัวแทนออกมารายงานที่หน้า
ชั้น ครูอธิบายเพิ่มเติมและช่วยกันสรุปความหมายของศาสนา
5. ครูและนักเรียนช่วยกันสรุปความรู้เรื่อง ความหมายของศาสนา ดังนี้
1) ศาสนา หมายถึง ลักธิความเชื่อ อันประกอบด้วยศาสดาผู้ประกาศศาสนา
หลักธรรมคาสอนและแนวทางปฏิบัติต่าง ๆ ตามคติของแต่ละศาสนา
2) ศาสนาส่วนใหญ่จะสอนให้คนทาดี ละเว้นความชั่ว และมีหน้าที่ที่ต้องปฏิบัติ
ต่อสังคม เพื่อความเจริญในชีวิตและการอยู่ร่วมกันอย่างสันติสุข
6. ครูและนักเรียนร่วมอภิปราย เกี่ยวกับองค์ประกอบของศาสนา โดยใช้แผนภูมิ
ภาพประกอบ จากนั้น ครูยกตัวอย่างศาสนาที่นักเรียนนับถือมากที่สุด แล้วให้
นักเรียนช่วยกันแยกองค์ประกอบของศาสนาว่ามีอะไรบ้าง เช่น องค์ประกอบของ
พระพุทธศาสนา ได้แก่
1) ศาสดา คือ พระพุทธเจ้า
2) คัมภีร์ คือ พระไตรปิฏก เป็นหลักธรรมคาสอน
3) สาวก คือ พระภิกษุสงฆ์ และพุทธศาสนิกชน
4) ศาสนสถาน คือ วัด และสานักปฏิบัติธรรมต่าง ๆ
5) พิธีกรรม คือ พิธีธรรมทางพระพุทธศาสนาต่าง ๆ เช่น การอุปสมบท การ
ทาบุญ เป็นต้น
7. ครูนาแผนภูมิตารางจาแนกองค์ประกอบของศาสนาต่าง ๆ ได้แก่ พระพุทธศาสนา
ศาสนาคริสต์ ศาสนาอิสลาม ศาสนาพราหมณ์-ฮินดู และศาสนาสิกข์ ที่เว้นว่าง
อยู่ ให้นักเรียนช่วยกันเขียนองค์ประกอบของศาสนา คือ ศาสดา คัมภีร์ สาวก
ศาสนสถาน และพิธีกรรม โดยครูถามนา แล้วให้นักเรียนช่วยกันบอก และครู
เขียนเติมลงในตาราง
8. ครูและนักเรียนช่วยกันสรุปความรู้เรื่อง องค์ประกอบของศาสนา ดังนี้
1) องค์ประกอบของศาสนา ได้แก่ ศาสดา คัมภีร์ สาวก ศาสนสถาน และ
พิธีกรรม
(1) ศาสดา หมายถึง ผู้ก่อตั้งและประกาศศาสนา
(2) คัมภีร์ หมายถึง หลักธรรมคาสอนของศาสนา เพื่อเป็นแนวทางให้ผู้นับ
ถือได้ปฏิบัติตาม
(3) สาวก หมายถึง ผู้สืบต่อศาสนา โดยเป็นผู้เผยแผ่หรือปฏิบัติตาม
(4) ศาสนสถาน หมายถึง สถานที่ประกอบพิธีกรรมทางศาสนา
(5) พิธีกรรมหมายถึง การปฏิบัติพิธีกรรมต่าง ๆ เพื่อให้เกิดความสุขความ
เจริญเป็นศิริมงคลต่อผู้ปฏิบัติ
9. ให้นักเรียนบันทึกข้อมูลเกี่ยวกับศาสนาที่นักเรียนนับถือ ลงในใบงานที่ 2 เรื่อง
องค์ประกอบของศาสนา แล้วนาเสนอผลงานที่หน้าชั้น
กระบวนการวัดผลประเมินผล
1. สังเกตพฤติกรรมการทางานกลุ่ม
2. สังเกตพฤติกรรมรายบุคคล
3. การนาเสนอผลงาน
4. การตรวจผลงาน
เครื่องมือ
1. แบบประเมินพฤติกรรมการทางานกลุ่ม
2. แบบประเมินพฤติกรรมรายบุคคล
3. แบบประเมินการนาเสนอผลงาน
4. แบบประเมินการตรวจผลงาน
เกณฑ์การประเมิน
1. สังเกตการทางานกลุ่ม ผ่านเกณฑ์ร้อยละ 80
2. สังเกตพฤติกรรมรายบุคคล ผ่านเกณฑ์ร้อยละ 80
3. การนาเสนอผลงาน ผ่านเกณฑ์ร้อยละ 80
4. การตรวจผลงาน ผ่านเกณฑ์ร้อยละ 80
สื่อ/แหล่งการเรียนรู้
1. ใบงาน
2. ใบความรู้
3. ห้องสมุด
กิจกรรมเสนอแนะ
…………………………………………………………………………………………………
.………………………………………………………………………………………………
….……………………………………………………………………………………………
…….…………………………………………………………………………………………
………….……………………………………………………………………………………
…………….………………………………………….………………………………………
บันทึกข้อเสนอแนะของผู้บริหารหรือผู้ที่ได้รับมอบหมาย
…………………………………………………………………………………………………
…….…………………………………………………………………………………………
…………….………………………………………………………………….………………
…………………………………………………………………………………………………
…….…………………………………………………………………………………………
…………….…………………………………………………………………………………
………….……………………………………………………………………………………
…………….………………………………………………………………….………………
ลงชื่อ……………………………………..
(…………………………..)
ตาแหน่ง ผู้อานวยการโรงเรียน…………..
วันที่……เดือน……………..พ.ศ……….
บันทึกผลหลังกระบวนการจัดการเรียนรู้
ผลการเรียนรู้ที่เกิดขึ้นกับผู้เรียน
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………….…………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………..………………………………
ปัญหา / อุปสรรค
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
……………….………………………………………………………….……………………
ข้อเสนอแนะ / แนวทางแก้ไข
…………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………….………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
ลงชื่อ……………………………………..
(………………………….)
ตาแหน่ง ครู วิทยฐานะ………………..
วันที่……เดือน……………..พ.ศ……….
ใบงานที่ 1
เรื่อง ศาสนาที่นับถือ
ชื่อ………………………………………..ชั้น……………………………………
วันที่………………………………………..กลุ่ม………………………………..
คาชี้แจง ให้นักเรียนสารวจเพื่อนในห้องว่านับถือศาสนาอะไรบ้าง ลงในแบบบันทึก
ชื่อ ศาสนาที่นับถือ
1…………………………………………..
2…………………………………………..
3…………………………………………..
4…………………………………………..
5…………………………………………..
6…………………………………………..
7…………………………………………..
8…………………………………………..
9…………………………………………..
10…………………………………………..
……………………………………………
……………………………………………
……………………………………………
……………………………………………
……………………………………………
……………………………………………
……………………………………………
……………………………………………
……………………………………………
……………………………………………
ใบงานที่ 2
เรื่อง ความหมายของศาสนา
ชื่อ………………………………………..ชั้น……………………………………
วันที่………………………………………..กลุ่ม………………………………..
คาชี้แจง ให้นักเรียนค้นคว้าหาความหมายของคาว่า ศาสนา จากพจนานุกรมฯ จาก
หนังสือต่าง ๆ หรือจากผู้รู้ และนามาอภิปรายร่วมกัน จากนั้น บันทึกลงในใบงาน
หรือส่งตัวแทนออกมารายงานที่หน้าชั้น
กลุ่มที่…………..
รายชื่อสมาชิก 1……………………….. 4……………………………
2………………………. 5……………………………
3………………………. 6…………………………….
ความหมายของศาสนา จากพจนานุกรมฯ
………………………………………………………………………………………………..
………………………………………………………………………………………………..
………………………………………………………………………………………………..
ความหมายของศาสนา จากแหล่งความรู้อื่น ๆ
………………………………………………………………………………………………..
………………………………………………………………………………………………..
………………………………………………………………………………………………..
ความหมายของศาสนา ตามความคิดของนักเรียน
………………………………………………………………………………………………..
………………………………………………………………………………………………..
………………………………………………………………………………………………..
ใบงานที่ 3
เรื่อง องค์ประกอบของศาสนา
ชื่อ………………………………………..ชั้น……………………………………
วันที่………………………………………..กลุ่ม………………………………..
คาชี้แจง ให้นักเรียนบันทึกข้อมูลเกี่ยวกับศาสนาที่นักเรียนนับถือ
ฉันนับถือศาสนา………………………………..
องค์ประกอบของศาสนาที่ฉันนับถือ มีดังนี้
ศาสดา
คัมภีร์
สาวก
ศาสนสถาน
พิธีกรรม
ใบความรู้
เรื่อง ศาสนากับชีวิต
ความคิดรวบยอด
ศาสนาทุกศาสนามุ่งสอนให้คนทาความดี
เพื่อให้มีชีวิตอยู่อย่างเป็นสุข การปฏิบัติตาม
หลักธรรมคาสอนของศาสนาย่อมให้ผลดีแก่
ผู้ปฏิบัติ
สาระการเรียนรู้
ความหมาย ความสาคัญ องค์ประกอบ
และประโยชน์ของศาสนา
ผลการเรียนรู้ รู้และเข้าใจความหมาย ความสาคัญ และประโยชน์
ใบความรู้
เรื่อง ศาสนา
ศาสนา คือ คาสั่งสอนของศาสดาผู้ประกาศศาสนา ประกอบด้วยหลักธรรมคาสอน
แนวความเชื่อ และแนวการปฏิบัติต่าง ๆ ตามคติของแต่ละศาสนา เพื่อให้ผู้ปฏิบัติตามเกิด
ความเจริญในชีวิต และให้อยู่ร่วมกันอย่างสันติสุข
พระพุทธศาสนา ศาสนาคริสต์ ศาสนาอสลาม ศาสนา
พราหมณ์-ฮินดู
ศาสนาสิกข์
ศาสดา พระพุทธเจ้า พระเยซู ท่านนบีมุฮัมมัด - ท่านคุระนานัก
คัมภีร์ พระไตรปิฏก ไบเบิล อัลกุรอาน พระเวท ครันถสาหิพ
สาวก พระภิกษุสงฆ์ บาทหลวง อิหม่าม พราหมณ์ -
ศาสนสถาน วัด โบสถ์ มัสยิดหรือ
สุเหร่า
โบสถ์พรหมณ์ โบสถ์สิกข์
พิธีกรรม การเวียนเทียน
การอุปสมบท
การทาบุญฯลฯ
พิธีรับศีล พิธี
ล้างบาป ฯลฯ
การละหมาด
การถือศีลอด
ฯลฯ
พิธีชาระบาป
พิธีบูชาเทวดา
ฯลฯ
พิธีปาหุล
พิธีสังคัต
ฯลฯ
องค์ประกอบ
ของ
ศาสนา
1. ศาสดา คือ ผู้ก่อตั้งและประกาศศาสนา
2. คัมภีร์ คือ หลักธรรมคาสอนของศาสนา
เพื่อเป็นแนวทางให้ผู้นับถือได้ปฏิบัติ
ตาม
5. พิธีกรรม คือ การปฏิบัติพิธีกรรมต่าง ๆ
เพื่อให้เกิดความสุขความเจริญเป็น สิริ
มงคลตอผู้ปฏิบัติ
6.
3. สาวก คือ ผู้สืบต่อศาสนา โดยเป็นผู้เผย
แผ่หรือผู้ปฏิบัติตาม
4.
4. ศาสนสถาน คือ สถานที่ประกอบ
พิธีกรรมทางศาสนา
พระพุทธศาสนาเป็นศูนย์รวมจิตใจของพุทธศาสนา
พระพุทธศาสนากาเนิดในประเทศอินเดียและได้เผยแผ่เข้ามาในดินแดนสุวรรณภูมิซึ่ง
รวมทั้งที่เป็นดินแดนของไทยในปัจจุบัน และดินแดนของประเทศเพื่อนบ้าน ซึ่งอยู่ในราว
ประมาณพุทธศตวรรษที่ 3
พระมหากษัตริย์ไทยทุกพระองค์ทรงนับถือพระพุทธศาสนา ทรงเป็นพระพุทธ
มามกะ และได้ให้ความอุปถัมภ์ค้าชูพระพุทธศาสนามาโดยตลอด
คนไทยส่วนใหญ่นับถือพระพุทธศาสนาจึงได้นาหลักธรรมคาสอนของพระพุทธเจ้า
มาเป็นหลักสาคัญในการดารงชีวิต ทาให้อยู่ร่วมกันอย่างมีความสุข
ชีวิตของคนไทยผูกพันอยู่กับพระพุทธศาสนาจะเห็นได้ว่าทุกหมู่บ้านจะมีพระสงฆ์
เป็นศูนย์รวมทางจิตใจคอางบแนะแนวทางเพื่อแก้ไขปัญหาต่าง ๆ ที่เกิดขึ้น และมีวัดเป็น
ศูนย์กลางในการจัดงานต่าง ๆ ทั้งทางด้านสังคม ศิลปวัฒนธรรม ประเพณีและอื่น ๆ ดังนั้น
พระพุทธศาสนาจึงเป็นศูนย์รวมจิตใจของชาวพุทธทุกคน
พระพุทธศาสนาเป็นศาสนาประจาชาติไทย และเป็นศูนย์รวมทางจิตใจของชาวพุทธ
จึงมีอิทธิพลและความสาคัญต่อวิถีชีวิตของคนไทยหลายประการ คือ
ด้านอุปนิสัย หลักธรรมคาสอนใน
พระพุทธศาสนาทาให้คนไทยมีอุปนิสัย
เช่น ความกตัญญูกตเวทีเคารพเชื่อฟังผู้ใหญ่
อ่อนน้อมถ่อมตน ให้อภัยซึ่งกันและกัน
มีความเมตตากรุณา เป็นต้น ซึ่งสิ่งเหล่านี้
ล้วนได้รับจากการอบรมสั่งสอนตามหลักธรรม
ในพระพุทธศาสนาทั้งสิ้น
ด้านสังคม วัดเป็นศูนย์รวมของการดาเนินชีวิตของ
สังคมไทย ไม่ว่าจะเป็นงานเทศกาลต่าง ๆ มักจะจัดที่วัด ทา
ให้ประชาชนในท้องถิ่นนั้น ๆ ได้รับความสนุกสนาน ได้พัก
ผ่อนหย่อนใจ วัดยังเป็นศูนย์รวมความสามัคคี เป็นสมบัติ
ส่วนรวมที่ประชาชนจะมาพบปะสังสรรค์และมีการแลก
เปลี่ยนความคิดเห็นซึ่งกันและกัน เป็นต้น
ด้านการศึกษา ในสมัยโบราณชาวบ้าน
มักจะพาลูกหลานไปฝากไว้กับพระที่นั่งเพื่อให้
เรียนหนังสือ และได้รับการอบรมสั่งสอนเกี่ยวกับ
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา วัดจึงเป็นสถานที่
ศึกษาเล่าเรื่องและในปัจจุบันได้มีการจัดสร้าง
โรงเรียนขึ้นในวัด หรืออาศัยที่ดินของวัดปลูก
สร้างโรงเรียนอีกด้วย
ด้านประเพณีและวัฒนธรรม ประเพณีและ
วัฒนธรรมของไทยส่วนใหญ่มีรากฐานมาจากพระพุทธ
ศาสนา เช่น ประเพณีการทอดกฐิน งานอุปสมบท การทา
บุญเลี้ยงพระ และบางประเพณีก็นาพระพุทธศาสนาเข้าไป
ผสมผสาน เช่น งานแต่งงาน งานสงกรานต์งานศพ
เป็นต้น ตลอดจนวัฒนธรรมการ กราบไหว้ ที่คนไทยได้สืบ
ต่อกันมาจน เป็นวัฒนธรรมไทยที่เป็นเอกลักษณะของชาติ
แบบฝึกหัด
คาชี้แจง ให้นักเรียนทาเครื่องหมาย X หน้าข้อที่ถูกที่สุด
1. เมื่อมีพิธีกรรมทางศาสนา ซึ่งไม่ใช่
ศาสนาของตนเองควรปฏิบัติอย่างไร
ก. ลุกออกจากสถานที่นั้นทันที
ข. แสดงออกถึงศาสนาของตน
ค. ไม่เข้าไปในสถานที่เช่นนั้นอีก
ง. แสดงความสารวมกิริยาท่าทาง
2. ข้อใดไม่ใช่ศาสนพิธี
ก. การประชุมทางศาสนา
ข. การแสดงธรรมเทศนา
ค. การฝึกนั่งสมาธิ
ง. การปลุกเสกของขลัง
3. ข้อใดคือความมุ่งหมายของศาสนพิธี
ก. โฆษณาชวนเชื่อ
ข. ชักชวนกันสร้างวัตถุ
ค. เป็นการเผยแพร่ศาสนา
ง. ใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์
4. ข้อใดคือมารยาทที่ไม่ควรปฏิบัติต่อ
ศาสนาอื่น
ก. ไม่ลบหลู่ศาสนาอื่น
ข. ไม่ควรเรียนรู้ศาสนาอื่น
ค. ไม่ควรลบหลู่สถานที่สาคัญทาง
ศาสนา
ง. ล้อเลียนเหยียดหยามผู้นับถือศาสนา
อื่น
5. การทาบุญของชาวพุทธเน้นในเรื่องใด
ก. พิธีกรรม ข. ความสามัคคี
ค. ความศักดิ์สิทธิ์ ง. การทาความดี
6. ศาสนพิธีใดที่นักเรียนควรปฏิบัติเป็น
ประจาทุกวัน
ก. การอาราธนาศีล
ข. การอาราธนาธรรม
ค. การทาบุญตักบาตร
ง. การสวดมนต์ไหว้พระ
7. ข้อใดไม่ใช่หลักในพุทธโอวาท
ก. การทาแต่ความดี
ข. การไม่ทาความชั่วทั้งปวง
ค. การประกอบศาสนพิธีสม่าเสมอ
ง. การทาจิตใจให้บริสุทธิ์สะอาด
8. การประกอบพิธีฮัจญ์ของศาสนาอิสลาม
จะกระทาที่ใด
ก. มัสยิด ข. นครเมกกะ
ค. ที่ใดก็ได้ ง. ภายในบ้าน
9. ศาสนาใดที่มุ่งสอนให้มนุษย์มีความรัก
เมตตากรุณาต่อกันเป็นสาคัญ
ก. คริสต์ ข. อิสลาม
ค. พุทธ ง. พราหมณ์ – ฮินดู
10. ข้อใดไม่จัดอยู่ในองค์ประกอบของ
ศาสนา
ก. ศาสดา ข. ศาสนสถาน
ค. คัมภีร์ ง. ประเพณี
แบบบันทึกผลการประเมินการเรียนรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 หน่วยที่ 1 เรื่องพุทธศาสนา ประกอบแผนที่ 1 ความสาคัญของศาสนา
เลข
ที่
ชื่อ – สกุล
ด้านคุณลักษณะอันพึงประสงค์
รวมคะแนนด้านคุณลักษณะฯ
ด้านผลงาน
รวม
ผ่าน/ไม่ผ่าน
รับผิดชอบต่อหน้าที่
มีความละอายต่อบาป
มุ่งมั่นในการทาความดี
มีความสนใจใฝ่เรียนรู้
มีความขยันอดทน
การทาแบบทดสอบก่อนเรียน
การทาแบบฝึกกิจกรรมชุดที่
2 2 2 2 2 10 15 10 35
1
2
3
4
5
6
7
8
9
10
11
12
ความหมายระดับคุณภาพ 2 หมายถึง ดี เกณฑ์ระดับคะแนน 30 – 35 = 2
1 หมายถึง พอใช้ 20 – 29 = 1
0 หมายถึง ปรับปรุง 0 - 19 = 0
เกณฑ์การผ่าน ได้คะแนน 1 ขึ้นไป
ลงชื่อ...........................................ผู้ประเมิน
(……………………….)
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2
กลุ่มสาระ สังคมศึกษา ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 พุทธศาสนา เวลา 22 ชั่วโมง
เรื่อง ชาติภูมิของพระพุทธเจ้า เวลา 1 ชั่วโมง
***********************************************************************
มาตรฐาน ส 1.1 รู้ และเข้าใจประวัติ ความสาคัญ ศาสดา หลักธรรมของ
พระพุทธศาสนาหรือศาสนาที่ตนนับถือและศาสนาอื่น มีศรัทธาที่
ถูกต้อง ยึดมั่นและปฏิบัติตามหลักธรรมเพื่ออยู่ร่วมกันอย่าง
สันติสุข
ตัวชี้วัด
มาตรฐาน ส 1.1 ป.6 / 2 สรุปพุทธประวัติตั้งแต่ปลงอายุสังขารจนถึงสังเวชนีย
สถาน หรือประวัติศาสดาที่ตนนับถือตามที่กาหนด
สาระสาคัญ
พระพุทธเจ้าเป็นโอรสของกษัตริย์ที่มีความสุขและความสบายทุกอย่าง แต่พระองค์ได้
เสด็จออกมาหาแนวทางของการดับทุกข์และยังทรงสั่งสอนให้ชาวโลกได้รู้จักดับทุกข์เพื่อพบ
ความสุขที่แท้จริง
จุดประสงค์การเรียนรู้
บอกประวัติของพระพุทธเจ้าได้
คุณลักษณะอันพึงประสงค์
1. รู้จักผิดชอบชั่วดี
2 . ให้ความร่วมมือและช่วยเหลือผู้อื่นได้
3. ปฏิบัติตนเป็นคนเสียสละ
4. เลือกวิธีปฏิบัติตนเป็นคนดี
5. มีความขยันประหยัดและอดทน
สาระการเรียนรู้
ชาติภูมิของพระพุทธเจ้า
พระพุทธเจ้าเป็นศาสดาของศาสนาพุทธ พระพุทธเจ้ามีความหมายว่า ท่านผู้ตรัสรู้
ศาสนาพุทธได้เกิดขึ้นเมื่อก่อนพุทธศักราช 80 ปี ในประเทศอินเดีย พระราชบิดาของ
พระองค์คือ พระเจ้าสุทโธทนะในราชวงศ์ศากยะ ผู้ครองแคว้นสักกะ กับพระนางสิริมหา
มายาพระราชธิดา ในราชวงศ์โกลิยะแห่งกรุงเทวทหะ ซึ่งปัจจุบันอยู่ในประเทศเนปาล
กระบวนการเรียนรู้
1. นักเรียนดูภาพ พระพุทธรูป แล้วร่วมกันบอกว่า พระพุทธรูปแทนใคร มีประวัติ
ความเป็นมาอย่างไร ให้นักเรียนอาสาตอบหลาย ๆ คน
2. แบ่งนักเรียนออกเป็น 2 กลุ่มเท่า ๆ กัน แข่งขันกันตอบคาถามโดยครูอ่านคาถาม
แล้วให้กลุ่มที่ทราบคาตอบออกมาตีกลองเพื่อขอตอบคาถาม กลุ่มใดตีกลองก่อน
กลุ่มนั้นได้ตอบถ้าตอบคาถามถูกต้องจะได้ 1 คะแนน ถ้าตอบผิด อีกกลุ่มหนึ่งจะ
สิทธิตอบ เมื่อตอบคาถามแล้วรวมคะแนนของทั้งสองกลุ่ม กลุ่มใดได้คะแนนมาก
ได้รับการปรบมือชมเชย ลงในใบงานที่ 1
3. ครูและนักเรียนสรุปร่วมกันถึงชาติภูมิของพระพุทธเจ้า แล้วศึกษาใบความรู้
4. นักเรียนทาแบบฝึกหัด
กระบวนการวัดผลประเมินผล
1. สังเกตพฤติกรรมการทางานกลุ่ม
2. สังเกตพฤติกรรมรายบุคคล
3. การนาเสนอผลงาน
4. การตรวจผลงาน
เครื่องมือ
1. แบบประเมินพฤติกรรมการทางานกลุ่ม
2. แบบประเมินพฤติกรรมรายบุคคล
3. แบบประเมินการนาเสนอผลงาน
4. แบบประเมินการตรวจผลงาน
เกณฑ์การประเมิน
1. สังเกตการทางานกลุ่ม ผ่านเกณฑ์ร้อยละ 80
2. สังเกตพฤติกรรมรายบุคคล ผ่านเกณฑ์ร้อยละ 80
3. การนาเสนอผลงาน ผ่านเกณฑ์ร้อยละ 80
4. การตรวจผลงาน ผ่านเกณฑ์ร้อยละ 80
สื่อ/แหล่งการเรียนรู้
1. รูปภาพ
2. ใบงานที่ 1
3. ใบความรู้
กิจกรรมเสนอแนะ
…………………………………………………………………………………………………
.………………………………………………………………………………………………
….……………………………………………………………………………………………
…….…………………………………………………………………………………………
………….……………………………………………………………………………………
…………….………………………………………………………………………………….
บันทึกข้อเสนอแนะของผู้บริหารหรือผู้ที่ได้รับมอบหมาย
…………………………………………………………………………………………………
…….…………………………………………………………………………………………
…………….………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………
…….…………………………………………………………………………………………
…………….…………………………………………………………………………………
………….……………………………………………………………………………………
…………….…………………………………………………………….……………………
ลงชื่อ……………………………………..
(………………………………..)
ตาแหน่ง ผู้อานวยการโรงเรียน……………..
วันที่……เดือน……………..พ.ศ……….
บันทึกผลหลังกระบวนการจัดการเรียนรู้
ผลการเรียนรู้ที่เกิดขึ้นกับผู้เรียน
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………….…………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
ปัญหา / อุปสรรค
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
……………….………………………………………………………………………..………
ข้อเสนอแนะ / แนวทางแก้ไข
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………….…………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
ลงชื่อ……………………………………..
(…………………………………)
ตาแหน่ง ครู วิทยฐานะ………………..
วันที่……เดือน……………..พ.ศ……….
แผ่นภาพ
เรื่อง ชาติภูมิของพระพุทธเจ้า
นักเรียนดูภาพ พระพุทธรูป แล้วร่วมกันบอกว่า พระพุทธรูปแทนใคร มีประวัติความเป็นมา
อย่างไร
ใบงานที่ 1
เรื่อง ชาติภูมิของพระพุทธเจ้า
คาชี้แจง แบ่งนักเรียนออกเป็น 2 กลุ่ม เท่า ๆ กัน แข่งขันกันตอบคาถาม โดยครูอ่านคาถาม
แล้วให้กลุ่มที่ทราบคาตอบออกมาตีกลองเพื่อขอตอบคาถาม กลุ่มใดตีกลองก่อน กลุ่มนั้นได้
ตอบ ถ้าตอบคาถามถูกต้องจะได้ 1 คะแนน ถ้าตอบผิด อีกกลุ่มหนึ่งจะสิทธิ์ตอบ เมื่อตอบ
คาถามแล้วร่วมคะแนนของทั้งสองกลุ่ม กลุ่มใดได้คะแนนมากได้รับการปรบมือชมเชย
ข้อ 1 ชาติภูมิของพระพุทธเจ้าอยู่ในประเทศใด………………………………
ข้อ 2 พระพุทธเจ้าเกิดในวรรณะใด……………………………………………
ข้อ 3 พระบิดาของพระพุทธเจ้ามีพระนามว่าอะไร……………………………
ข้อ 4 พระมารดาของพระพุทธเจ้ามีพระนามว่าอะไร…………………………
ข้อ 5 พระพุทธเจ้าหมายความว่าอย่างไร.……………………………………
ใบความรู้
พุทธประวัติ
สรุปพุทธประวัติ
เมื่อ 2,600 กว่าปีมาแล้ว ในดินแดนที่เรียกว่า ชมพูทวีป มีอาณาจักรหนึ่งตั้งอยู่และมี
ราชธานีว่า กรุงกบิลพัสดุ์ มีพระราชาผู้ปกครองพระนามว่า พระเจ้าสุทโธทนะ พระองค์มี
พระมเหสีนามว่า พระนางสิริมหามายา
เมื่อพระนางสิริมหามายาทรงมีพระครรภ์
จึงได้ทูลขออนุญาติจากพระราชสวามีเพื่อเสด็จ
ไปยังกรุงเทวทหะ อันเป็นถิ่นกาเนิดของพระนาง
ครั้นเมื่อขบสนเสด็จของพนะรางได้ผ่านมาถึง
สวนลุมพินีพระนางก็ได้ประสูติพระโอรส ณ ที่นั้น
ซึ่งตรงกับวันขึ้น 15 ค่า เดือน 6 หลังจากพระนาง
ประสูติพระโอรสแล้ว ขบวนเสด็จจึงได้นาพระนาง
และพระโอรสกลับคืนสู่กรุงกบิลพัสดุ์
เมื่อพระโอรสประสูติได้ห้าวัน พระเจ้าสุทโธทนะทรงประกอบพิธีขนานนามโดย
เชิญพรามหมณ์ 108 คน มาประชมเพื่อทาพิธีขนานนามพระกุมาร ในครั้งนั้นที่ประชุมขนาน
นามพระโอรสว่า “สิทธัตถะ” แปลว่า ผู้สาเร็จตามความประสงค์ และพราหมณ์เหล่านั้นยัง
พากันทานายว่า ถ้าพระโอรสอยู่ครองเมืองจักเป็นพระเจ้าจักรพรรดิที่ยิ่งใหญ่ แต่ถ้าออกบวช
จะเป็นศาสดาเอกของโลก
แบบฝึกหัด
เรื่อง ชาติภูมิของพระพุทธเจ้า
คาชี้แจง
จงกาเครื่องหมาย  หน้าข้อความที่ถูก กา X หน้าข้อความที่ผิด
………….ข้อ 1 พระพุทธเจ้า หมายถึง ผู้เจริญแล้ว
………….ข้อ 2 พระบิดาของพระพุทธเจ้าอยู่ในราชวงศ์โกลิยะ
…………ข้อ 3 พระบิดาของพระพุทธเจ้าเป็นผู้ครองแคว้นสักกะ
…………ข้อ 4 พระมารดาของพระพุทธเจ้าเป็นพระราชธิดาในราชวงศ์ศากยะ
…………ข้อ 5 พระมารดาของพระพุทธเจ้าของกรุงเทวทหะ
X
X
X
เฉลยแบบฝึกหัด
เรื่อง ชาติภูมิของพระพุทธเจ้า
คาชี้แจง
จงกาเครื่องหมาย  หน้าข้อความที่ถูก กา X หน้าข้อความที่ผิด
………x . ข้อ 1 พระพุทธเจ้า หมายถึง ผู้เจริญแล้ว
………x….ข้อ 2 พระบิดาของพระพุทธเจ้าอยู่ในราชวงศ์โกลิยะ
………… ข้อ 3 พระบิดาของพระพุทธเจ้าเป็นผู้ครองแคว้นสักกะ
………x…ข้อ 4 พระมารดาของพระพุทธเจ้าเป็นพระราชธิดาในราชวงศ์ศากยะ
………… ข้อ 5 พระมารดาของพระพุทธเจ้าของกรุงเทวทหะ


แบบบันทึกผลการประเมินการเรียนรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 หน่วยที่ 1 เรื่องพุทธศาสนา ประกอบแผนที่ 2 ชาติภูมิของพระพุทธเจ้า
เลข
ที่
ชื่อ – สกุล
ด้านคุณลักษณะอันพึงประสงค์
รวมคะแนนด้านคุณลักษณะฯ
ด้านผลงาน
รวม
ผ่าน/ไม่ผ่าน
รับผิดชอบต่อหน้าที่
มีความละอายต่อบาป
มุ่งมั่นในการทาความดี
มีความสนใจใฝ่เรียนรู้
มีความขยันอดทน
การทาแบบฝึกกิจกรรมชุดที่
การทาแบบฝึกกิจกรรมชุดที่
2 2 2 2 2 10 10 10 30
1
2
3
4
5
6
7
8
9
10
11
12
ความหมายระดับคุณภาพ 2 หมายถึง ดี เกณฑ์ระดับคะแนน 25 – 30 = 2
1 หมายถึง พอใช้ 18 – 24 = 1
0 หมายถึง ปรับปรุง 0 - 17 = 0
เกณฑ์การผ่าน ได้คะแนน 1 ขึ้นไป
ลงชื่อ...........................................ผู้ประเมิน
(…………………………)
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3
กลุ่มสาระ สังคมศึกษา ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 พุทธศาสนา เวลา 22 ชั่วโมง
เรื่อง การประสูติและเหตุการณ์หลังประสูติ เวลา 1 ชั่วโมง
***********************************************************************
มาตรฐาน ส 1.1 รู้ และเข้าใจประวัติ ความสาคัญ ศาสดา หลักธรรมของ
พระพุทธศาสนาหรือศาสนาที่ตนนับถือและศาสนาอื่น มีศรัทธาที่
ถูกต้อง ยึดมั่นและปฏิบัติตามหลักธรรมเพื่ออยู่ร่วมกันอย่าง
สันติสุข
ตัวชี้วัด
มาตรฐาน ส 1.1 ป.6 / 2 สรุปพุทธประวัติตั้งแต่ปลงอายุสังขารจนถึงสังเวชนีย
สถาน หรือประวัติศาสดาที่ตนนับถือตามที่กาหนด
สาระสาคัญ
พระพุทธเจ้าประสูติที่สวนลุมพินีวัน
จุดประสงค์การเรียนรู้
บอกประวัติการประสูติและเหตุการณ์หลังประสูติได้
คุณลักษณะอันพึงประสงค์
1. รู้จักผิดชอบชั่วดี
2 . ให้ความร่วมมือและช่วยเหลือผู้อื่นได้
3. ปฏิบัติตนเป็นคนเสียสละ
4. เลือกวิธีปฏิบัติตนเป็นคนดี
5. มีความขยันประหยัดและอดทน
สาระการเรียนรู้
พระนางศิริมหามายา มเหสีของพระเจ้าสุทโธทนะได้ประสูติประโอรส ในวันศุกร์
ขึ้น 15 ค่า เดือน 6 ตอนเที่ยงวัน ที่ใต้ต้นสาละ ณ สวนลุมพินีวัน ซึ่งเป็นตาบลระหว่าง
เมืองกบิลพัสดุ์และเมืองเทวทหะ ขณะเสด็จไปเผ้าพระราชบิดาและพระนาชมารดา พระเจ้าสุ
ทโธทนะ ทรงประชุมนักปราชญ์ถวายพระนามว่า เจ้าชายสิทธัตถะ ซึ่งแปลว่า ผู้สาเร็จสม
ความปรารถนาในทุกสิ่งที่ตนตั้งใจจะทา เหล่านักปราชญ์ยังได้ทานายลักษณะของพระราช
กุมารว่า ถ้าครองราชสมบัติจะได้เป็นจักรพรรดิ แต่ถ้าออกบวชจะได้เป็นศาสดา มีท่านโกณ
ฑัญญะนักปราชญ์หนุ่มได้ทานายว่าพระองค์จะสละราชสมบัติออกบวชและจะได้เป็นศาสดา
เอกของโลก
เมื่อเจ้าชายสิทธัตถะมีอายุได้ 7 วัน พระราชมารดาส้นพระชนม์ พระองค์จึงได้รับ
การดูแลเลี้ยงดูจากพระนางปชาบดีโคตมี ผู้เป็นน้า
พระองค์ทรงศึกษากับครูวิศวามิตร ทรงเรียนรู้ในวิชาการด้านต่าง ๆ ได้อย่างรวดเร็ว
นอกจากนั้น พระองค์ยังเป็นผู้ที่มีความอ่อนน้อมต่อครู อาจารย์มีจิตใจเอื้อเฟื้อเมตตากรุณาต่อ
สัตว์ทั้งหลาย
กระบวนการเรียนรู้
1. นักเรียนดูภาพ พุทธประวัติ ภาคประสูติ แล้วร่วมกันเล่าเรื่องประสูติของ
พระพุทธเจ้าตามความรู้เดิมที่นักเรียนเคยรู้มา ครูให้โอกาสนักเรียนเล่าเรื่องอย่าง
อิสระ
2. เพื่อให้นักเรียนทราบพุทธประวัติ ภาคประสูติอย่างละเอียดและเล่าเรื่องได้อย่าง
ถูกต้องให้นักเรียนจับคู่กับเพื่อนร่วมกันศึกษาใบความรู้ เรื่องการประสูติและ
เหตุการณ์หลังประสูติ
3. นักเรียนทาแบบฝึกหัด แล้วร่วมกันตรวจคาตอบ
กระบวนการวัดผลประเมินผล
1. สังเกตพฤติกรรมการทางานกลุ่ม
2. สังเกตพฤติกรรมรายบุคคล
3. การนาเสนอผลงาน
4. การตรวจผลงาน
เครื่องมือ
1. แบบประเมินพฤติกรรมการทางานกลุ่ม
2. แบบประเมินพฤติกรรมรายบุคคล
3. แบบประเมินการนาเสนอผลงาน
4. แบบประเมินการตรวจผลงาน
เกณฑ์การประเมิน
1. สังเกตการทางานกลุ่ม ผ่านเกณฑ์ร้อยละ 80
2. สังเกตพฤติกรรมรายบุคคล ผ่านเกณฑ์ร้อยละ 80
3. การนาเสนอผลงาน ผ่านเกณฑ์ร้อยละ 80
4. การตรวจผลงาน ผ่านเกณฑ์ร้อยละ 80
สื่อ/แหล่งการเรียนรู้
1. รูปภาพ
2. ใบความรู้
3. แบบฝึกหัด
4. ห้องสมุด
กิจกรรมเสนอแนะ
…………………………………………………………………………………………………
.………………………………………………………………………………………………
….……………………………………………………………………………………………
…….…………………………………………………………………………………………
………….……………………………………………………………………………………
…………….………………………………………………………………………………….
บันทึกข้อเสนอแนะของผู้บริหารหรือผู้ที่ได้รับมอบหมาย
…………………………………………………………………………………………………
…….…………………………………………………………………………………………
…………….………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………
…….…………………………………………………………………………………………
…………….…………………………………………………………………………………
………….……………………………………………………………………………………
…………….…………………………………………………………….……………………
ลงชื่อ……………………………………..
(…………………………………)
ตาแหน่ง ผู้อานวยการโรงเรียน……………..
วันที่……เดือน……………..พ.ศ……….
บันทึกผลหลังกระบวนการจัดการเรียนรู้
ผลการเรียนรู้ที่เกิดขึ้นกับผู้เรียน
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………….…………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
ปัญหา / อุปสรรค
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
……………….………………………………………………………………………..………
ข้อเสนอแนะ / แนวทางแก้ไข
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………….…………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
ลงชื่อ……………………………………..
(………………………………….)
ตาแหน่ง ครู วิทยฐานะ…………………..
วันที่……เดือน……………..พ.ศ……….
แผ่นภาพ
เรื่อง พุทธประวัติ ภาคประสูติ
นักเรียนดูภาพ พุทธประวัติ ภาคประสูติ แล้วร่วมกันเล่าเรื่องประสูติของพระพุทธเจ้า
ตามความรู้เดิมที่นักเรียนเคยรู้มา ครูให้โอกาสนักเรียนเล่าเรื่องอย่างอิสระ
ใบความรู้
เรื่อง การประสูติและเหตุการณ์หลังประสูติ
พระนางสิริมหามายา มเหสีของพระเจ้าสุทโธทนะได้ประสูติพระโอรส ในวันศุกร์ขึ้น
15 ค่า เดือน 6 ตอนเที่ยงวัน ที่ใต้ต้นสาละ ณ สวนลุมพินีวัน ซึ่งเป็นตาบลระหว่างเมืองก
ลิลพัสดุ์และเมืองเทวทหะ ขณะเสด็จไปเฝ้าพระราชบิดาและพระราชมารดา พระเจ้าสุทโธท
นะทรงประชุมนักปราชญ์ถวายพระนามว่า เจ้าชายสิทธัตถะ ซึ่งแปลว่า ผู้สาเร็จสมความ
ปรารถนาในทุกสิ่งที่ตนตั้งใจจะทา เหล่านักปราชญ์ยังได้ทานายลักษณะของพระราชกุมารว่า
ถ้าครองราชสมบัติจะได้เป็นจักรพรรดิ แต่ถ้าออกบวชจะได้เป็นศาสดา มีท่านโกณฑัญญะ
นักปราชญ์หนุ่มได้ทานายว่าพระองค์จะสละราชสมบัติออกบวชและจะได้เป็นศาสดาเอกของ
โลก
ใบความรู้
เรื่อง การประสูติ
หลังจากที่เจ้าชายสิทธัตถะประสูติได้เพียง 7 วัน พระนางสิริมหามายาสิ้นพระชนม์
ลง เจ้าสิทธัตถะจึงอยู่ในความดูแลของพระนางปชาบดีโคตมี * ซึ่งเป็นพระมาตุจฉา (น้า)
เจ้าชายสิทธัตถะมีพระชนมพรรษาได้
7 พรรษา ดังนั้นพระบิดาทรงศึกษาศิลปวิทยา
ในสานักครูวิสวามิเจ้าชายสามารถเรียนรู้ได้
อย่างรวดเร็วจนสิ้นความรู้ของอาจารย์
เมื่อเจ้าชายสิทธัตถะมีพระชนมายุได้
16 พรรษา ได้อภิเษกสมรสกับพระนางพิมพา
หรือยโสธรา และเมื่อพระชนมายุได้29 พรรษา มี
พระโอรสองค์หนึ่งทรงพระนามว่า “ราหุล”
ข้อมูลจาเพาะเกี่ยวกับพุทธประวัติ
ประสูติ : วันขึ้น 15 ค่า เดือน 6 ที่สวนลุมพินีวัน (ปัจจุบันอยู่ในประเทศเนปาล)
ตรัสรู้ : วันขึ้น 15 ค่า เดือน 6 ที่โคนต้นโพธิ์ ในตาบลอุรุเวลาเสนานิคม (พุทธคยา)
แคว้นมคธ เมื่องพระชนมายุ 35 พรรษา
ปรินิพพาน : วันขึ้น 15 ค่า เดือน 6 ที่สาวลโนทยาน เมืองกุสินารา แคว้นมัลละ
เมื่อพระชนมายุ 80 พรรษา
พระพุทธเจ้าตรัสรู้ : อริยสัจ 4
แบบฝึกหัด
เรื่อง การประสูติและเหตุการณ์หลังประสูติ
คาชี้แจง เขียนเครื่องหมายกา X ทับตัวอักษรหน้าคาตอบที่ถูกที่สุดเพียงข้อเดียว
1. ใครเป็นผู้เลี้ยงพระพุทธเจ้าหลังจากประสูติได้7
ก. พระนางพิมพา
ข. พระนางประชาบดีโคตมี
ค. พระนางสิริมหามายา
ง. พระนางยโสธรา
2. คาว่า สิทธัตถะ มีความหมายอย่างไร
ก. ศาสดาที่ยิ่งใหญ่
ข. กษัตริย์ผู้มีอานาจ
ค. มีอานาจตามปรารถนา
ง. สาเร็จผลตามต้องการ
3. ผู้ตั้งชื่อ สิทธัตถะ คือผู้ใด
ก. พระพุทธเจ้า
ข. พระเจ้าสุทโธทนะ
ค. นักปราชญ์
ง. โกณฑัญญะ
4. ผู้ทานายว่า เจ้าชายสิทธัตถะจะสละราชสมบัติออกบวช คือผู้ใด
ก. พระพุทธเจ้า ข. พระเจ้าสุทโธทนะ
ค. นักปราชญ์ ง. โฏณฑัญญะ
5. ครูที่พระพุทธเจ้าศึกษาความรู้ด้านวิชาการต่าง ๆ คือใคร
ก. พระเจ้าสุทโธทนะ ข. โฏณฑัญญะ
ค. วิศวามิตร ง. พระนางปชาบดีโคตมี
เฉลยแบบฝึกหัด
เรื่อง การประสูติและเหตุการณ์หลังประสูติ
ข้อ 1 ข
ข้อ 2 ง
ข้อ 3 ค
ข้อ 4 ง
ข้อ 5 ค
แบบบันทึกผลการประเมินการเรียนรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 หน่วยที่ 1 เรื่องพุทธศาสนา ประกอบแผนที่ 3 เหตุการณ์ประสูติและหลังประสูติ
เลข
ที่
ชื่อ – สกุล
ด้านคุณลักษณะอันพึงประสงค์
รวมคะแนนด้านคุณลักษณะฯ
ด้านผลงาน
รวม
ผ่าน/ไม่ผ่าน
รับผิดชอบต่อหน้าที่
มีความละอายต่อบาป
มุ่งมั่นในการทาความดี
มีความสนใจใฝ่เรียนรู้
มีความขยันอดทน
การทาแบบฝึกกิจกรรมชุดที่
การทาแบบฝึกกิจกรรมชุดที่
2 2 2 2 2 10 10 10 30
1
2
3
4
5
6
7
8
9
10
11
12
ความหมายระดับคุณภาพ 2 หมายถึง ดี เกณฑ์ระดับคะแนน 25 – 30 = 2
1 หมายถึง พอใช้ 18 – 24 = 1
0 หมายถึง ปรับปรุง 0 - 17 = 0
เกณฑ์การผ่าน ได้คะแนน 1 ขึ้นไป
ลงชื่อ...........................................ผู้ประเมิน
(…………………………….)
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 4
กลุ่มสาระ สังคมศึกษา ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 พุทธศาสนา เวลา 22 ชั่วโมง
เรื่อง พระชายาและพระโอรส เวลา 1 ชั่วโมง
***********************************************************************
มาตรฐาน ส 1.1 รู้ และเข้าใจประวัติ ความสาคัญ ศาสดา หลักธรรมของ
พระพุทธศาสนาหรือศาสนาที่ตนนับถือและศาสนาอื่น มีศรัทธาที่
ถูกต้อง ยึดมั่นและปฏิบัติตามหลักธรรมเพื่ออยู่ร่วมกันอย่าง
สันติสุข
ตัวชี้วัด
มาตรฐาน ส 1.1 ป.6 / 2 สรุปพุทธประวัติตั้งแต่ปลงอายุสังขารจนถึงสังเวชนีย
สถาน หรือประวัติศาสดาที่ตนนับถือตามที่กาหนด
สาระสาคัญ
เจ้าชายสิทธัตถะอายุได้16 ปี ทรงอภิเษกสมรสกับพระนางยโสธรา หรือพิมพา มี
พระโอรสองค์หนึ่ง ทรงพระนามว่า ราหุล
จุดประสงค์การเรียนรู้
บอกชื่อพระชายาและพระโอรสของพระพุทธเจ้าได้
คุณลักษณะอันพึงประสงค์
1. มีความเสียสละ
2. รู้จักผิดชอบชั่วดี
3. เลือกวิธีปฏิบัติตนเป็นคนดี
4. มีความขยันประหยัดและอดทน
5 . ให้ความร่วมมือและช่วยเหลือผู้อื่นได้
สาระการเรียนรู้
พระเจ้าสุทโธทนะทรงกลัวพระโอรสสละทิ้งบ้านเมืองหันไปฝักใฝ่ทางธรรม
พระองค์ทรงสร้างปราสาทอันสวยงามขึ้น 3 ปราสาท สาหรับฤดูร้อน ฤดูหนาว และฤดูฝน
ทรงรับสั่งมิให้ผู้ใดพูดถึงความแก่ ความเจ็บความตาย จัดสิ่งต่าง ๆ ให้สวยงาม พบแต่
ความสุขสาราญ
เมื่อพระชนมายุ 16 พรรษา พระราชบิดาทรงสู่ของพระนางยโสธราหรือพระนาง
พิมพา พระราชธิดากรุงเทวทหะเป็นพระชายา ต่อมาพระองค์ทรงเบื่อหน่ายต่อสิ่งต่าง ๆ และ
ทรงได้พบกับสภาพชีวิตที่แท้จริงของผู้คน ความแก่ ความเจ็บ ความตายและนักบวช ทรง
ครุ่นคิดหาทางพ้นทุกข์พระองค์จึงตัดสินพระทัยออกบวชและในคืนนั้นพระนางยโสธราได้
คลอดพระโอรส เมื่อทรงทราบ พระองค์ทรงอุทานว่า “บ่วงเกิดแก่ฉันแล้ว” พระกุมารจึงได้
พระนามว่า “ราหุล”
กระบวนการเรียนรู้
1. ครูและนักเรียนเล่าเรื่อง เมื่อพระเจ้าสุทโธทนะ ผู้ครองเมือง กบิลพัสดุ์ ได้รู้เรื่อง
การทานายลักษณะของพระราชกุมารว่าถ้าครองราชสมบัติจะได้เป็นจักรพรรดิ
แต่ถ้าออกบวชจะได้เป็นศาสดา แล้วครูตั้งประเด็นคาถามให้นักเรียนอภิปราย
ร่วมกัน “นักเรียนคิดว่า พระเจ้าสุทโธทนะต้องการให้ พระราชกุมาร เป็นอะไร”
ให้นักเรียนแสดงความคิดเห็นอย่างหลากหลาย
2. นักเรียนศึกษาไปความรู้ เรื่องพระชายาและพระโอรส แล้วร่วมกันสรุปสาระการ
เรียนรู้ที่ได้รับ
3. นักเรียนทาแบบฝึกหัด
กระบวนการวัดผลประเมินผล
1. สังเกตพฤติกรรมการทางานกลุ่ม
2. สังเกตพฤติกรรมรายบุคคล
3. การนาเสนอผลงาน
4. การตรวจผลงาน
เครื่องมือ
1. แบบประเมินพฤติกรรมการทางานกลุ่ม
2. แบบประเมินพฤติกรรมรายบุคคล
3. แบบประเมินการนาเสนอผลงาน
4. แบบประเมินการตรวจผลงาน
เกณฑ์การประเมิน
1. สังเกตการทางานกลุ่ม ผ่านเกณฑ์ร้อยละ 80
2. สังเกตพฤติกรรมรายบุคคล ผ่านเกณฑ์ร้อยละ 80
3. การนาเสนอผลงาน ผ่านเกณฑ์ร้อยละ 80
4. การตรวจผลงาน ผ่านเกณฑ์ร้อยละ 80
สื่อ/แหล่งการเรียนรู้
1. ใบความรู้
2. แบบฝึกหัด
3. ห้องสมุด
กิจกรรมเสนอแนะ
…………………………………………………………………………………………………
.………………………………………………………………………………………………
….……………………………………………………………………………………………
…….…………………………………………………………………………………………
………….……………………………………………………………………………………
…………….………………………………………………………………………………….
บันทึกข้อเสนอแนะของผู้บริหารหรือผู้ที่ได้รับมอบหมาย
…………………………………………………………………………………………………
…….…………………………………………………………………………………………
…………….………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………
…….…………………………………………………………………………………………
…………….…………………………………………………………………………………
………….……………………………………………………………………………………
…………….…………………………………………………………….……………………
ลงชื่อ……………………………………..
(………………………………..)
ตาแหน่ง ผู้อานวยการโรงเรียน………………..
วันที่……เดือน……………..พ.ศ……….
บันทึกผลหลังกระบวนการจัดการเรียนรู้
ผลการเรียนรู้ที่เกิดขึ้นกับผู้เรียน
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………….…………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
ปัญหา / อุปสรรค
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
……………….………………………………………………………………………..………
ข้อเสนอแนะ / แนวทางแก้ไข
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………….…………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
ลงชื่อ……………………………………..
(…………………………………)
ตาแหน่ง ครู วิทยฐานะ…………………..
วันที่……เดือน……………..พ.ศ……….
ใบความรู้
เรื่อง พระชายาและพระโอรส
พระเจ้าสุทโธทนะทรงกลัวพระโอรสสละทิ้งบ้านเมืองหันไปฝักใฝ่ทางธรรม
พระองค์ทรงสร้างปราสาทอันสวยงามขึ้น 3 ปราสาท สาหรับฤดูร้อน ฤดูหนาว และฤดูฝน
ทรงรับสั่งมิให้ผู้ใดพูดถึงความแก่ ความเจ็บ ความตาย จัดสิ่งต่าง ๆ ให้สวยงาม พบแต่
ความสุขสาราญ
เมื่อพระชนมายุ 16 พรรษา พระราชบิดาทรงสู่ของพระนางยโสธราหรือพระ
นางพิมพา พระราชธิดากรุงเทวทหะเป็นพระชายา ต่อมาพระองค์ทรงเบื่อหน่ายต่อสิ่งต่าง ๆ
และทรงได้พบกับสภาพชีวิตที่แท้จริงของผู้คน ความแก่ ความเจ็บ ความตายและนักบวช
ทรงครุ่นคิดหาทางพ้นทุกข์พระองค์จึงตัดสินพระทัยออกบวชและในคืนนั้นพระนางยโสธรา
ได้คลอดพระโอรส เมื่อทรงทราบ พระองค์ทรงอุทานว่า “บ่วงเกิดแก่ฉันแล้ว” พระกุมารจึง
ได้พระนามว่า “ราหุล”
แบบฝึกหัด
เรื่อง พระชายาและพระโอรส
คาชี้แจง เขียนเครื่องหมายกา X ทับตัวอักษรหน้าคาตอบที่ถูกที่สุดเพียงข้อเดียว
ข้อ 1 พระเจ้าสุทโธทนะ ต้องการให้เจ้าชายสิทธัตถะเติบโตขึ้นเป็นอะไร
ก. เป็นศาสดาเอก
ข. ออกบวชเป็นนักบวช
ค. เป็นพระเจ้าจักรพรรดิ
ง. มีคนเคารพยกย่องมากหมาย
ข้อ 2 เหตุใดพระพุทธเจ้าจึงทรงออกผนวช
ก. เบื่อครอบครัว
ข. หาทางดับทุกข์
ค. ศึกษาหลักธรรม
ง. ไม่ต้องการเป็นกษัตริย์
ข้อ 3 สิทธัตถะ ราชกุมาร ทรงเห็นว่าวิธีใดที่จะไปสู่ทางหลุดพ้นจากทุกข์ได้
ก. ตาย
ข. ออกบวช
ค. อดอาหาร
ง. ทรมานตาย
ข้อ 4 พระโอรสของเจ้าชายสิทธัตถะคือข้อใด
ก. ยโสธรา ข. พิมพา
ค. ราหุล ง. โกณฑัญญะ
ข้อ 5 พระชายาของเจ้าชายสิทธัตถะ คือใคร
ก. พระนางปชาบดีโคตมี ข. พระนางพิมพา
ค. พระนางสิริมาหามายา ง. พระนางสุชาดา
เฉลยแบบฝึกหัด
เรื่อง พระชายาและพระโอรส
ข้อ 1 ค
ข้อ 2 ข
ข้อ 3 ข
ข้อ 4 ค
ข้อ 5 ข
แบบบันทึกผลการประเมินการเรียนรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 หน่วยที่ 1 เรื่องพุทธศาสนา ประกอบแผนที่ 4 พระชายาและพระโอรส
เลข
ที่
ชื่อ – สกุล
ด้านคุณลักษณะอันพึงประสงค์
รวมคะแนนด้านคุณลักษณะฯ
ด้านผลงาน
รวม
ผ่าน/ไม่ผ่าน
มีความเสียสละ
รู้จักผิดชอบชั่วดี
เลือกวิธีปฏิบัติเป็นคนดี
ขยันประหยัดอดทน
ให้ความร่วมมือและช่วยเหลือผู้อื่น
การทาแบบฝึกกิจกรรมชุดที่
การทาแบบฝึกกิจกรรมชุดที่
2 2 2 2 2 10 10 10 30
1
2
3
4
5
6
7
8
9
10
11
12
ความหมายระดับคุณภาพ 2 หมายถึง ดี เกณฑ์ระดับคะแนน 25 – 30 = 2
1 หมายถึง พอใช้ 18 – 24 = 1
0 หมายถึง ปรับปรุง 0 - 17 = 0
เกณฑ์การผ่าน ได้คะแนน 1 ขึ้นไป
ลงชื่อ...........................................ผู้ประเมิน
(…………………………)
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 5
กลุ่มสาระ สังคมศึกษา ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 พุทธศาสนา เวลา 22 ชั่วโมง
เรื่อง การออกบวช บาเพ็ญเพียร และตรัสรู้ เวลา 1 ชั่วโมง
***********************************************************************
มาตรฐาน ส 1.1 รู้ และเข้าใจประวัติ ความสาคัญ ศาสดา หลักธรรมของ
พระพุทธศาสนาหรือศาสนาที่ตนนับถือและศาสนาอื่น มีศรัทธาที่
ถูกต้อง ยึดมั่นและปฏิบัติตามหลักธรรมเพื่ออยู่ร่วมกันอย่าง
สันติสุข
ตัวชี้วัด
มาตรฐาน ส 1.1 ป.6 / 2 สรุปพุทธประวัติตั้งแต่ปลงอายุสังขารจนถึงสังเวชนีย
สถาน หรือประวัติศาสดาที่ตนนับถือตามที่กาหนด
สาระสาคัญ
พระพุทธเจ้าเสด็จออกผนวชบาเพ็ญเพียรด้วยการทรมานร่างกาย แต่ไม่สาเร็จ
พระองค์จึงบาเพ็ญเพียรทางจิตให้สงบ จนสามารถตรัสรู้ได้
จุดประสงค์การเรียนรู้
ปฏิบัติตามแบบอย่างที่ดีของพระพุทธเจ้าได้
คุณลักษณะอันพึงประสงค์
1. มีความเสียสละ
2. รู้จักผิดชอบชั่วดี
3. เลือกวิธีปฏิบัติตนเป็นคนดี
4. มีความขยันประหยัดและอดทน
5 . ให้ความร่วมมือและช่วยเหลือผู้อื่นได้
สาระการเรียนรู้
เจ้าชายสิทธัตถะทรงตัดสินพระทัยออกผนวชในคืนที่พระโอรสคลอดนั้น ขณะมีพระ
ชนม์ 29 พรรษา ทรงขี่ม้ากัณฐกะไปกับนายฉันนะยังแคว้นมคธ ทรงตัดพระเมาลีด้วยพระ
ขรรค์และอธิษฐานบวชโดยเปลี่ยนเครื่องทรงแบบสมณเพศ แล้วพระองค์เสด็จแสวงหาธรรม
ซึ่งเป็นเครื่องหลุดพ้นจากกิเลสเพียรพระองค์เดียว ทรงเข้าศึกษาในสานักต่าง ๆ แต่ทรงไม่พบ
ทางหลุดพ้นจากทุกข์ พระองค์จึงเสด็จไปยังตาบลอุรุเวลาเสนานิคม ริมฝั่งแม่น้าเนรัญชรา
ทรงบาเพ็ญทุกรกิริยาโดยมีปัญจวัคคีย์เป็นผู้เฝ้าถวายปฏิบัติ พระองค์บาเพ็ญทุก กิริยาอยู่ 6 ปี
จึงทรงเลิกเพราะมิได้พบทางหลุดพ้น ปัญจวัคคีย์คิดว่าพระองค์ทรงเลิกแสวงหาโมกขธรรม
จึงพากันละทิ้งพระองค์ไป
จนกระทั่งวันเพ็ญเดือน 6 พระองค์ทรงตรัสรู้ คือการรู้แจ้งในธรรมะที่จะนาไปสู่
ความหลุดพ้นจากความทุกข์ ธรรมะนั้นคืออริยสัจ 4 ขณะมีพระชนม์ 35 พรรษา ณ โคน
ต้นโพธิ์ ริมฝั่งแม่น้าเนรัญชรา
กระบวนการเรียนรู้
1. นักเรียนดูภาพ พระพุทธเจ้า บาเพ็ญเพียรและตรัสรู้ แล้วร่วมกันเล่าเรื่อง
พระพุทธเจ้าขณะบาเพ็ญเพียรและตรัสรู้ ตามความรู้เดิมของนักเรียนโดยให้
นักเรียนมีโอกาสได้ร่วมกันเล่าเรื่องทุกคน
2. นักเรียนศึกษาใบความรู้ เรื่อง การเสด็จออกผนวช บาเพ็ญเพียรและตรัสรู้
3. นักเรียนทาใบงาน เรื่อง การเสด็จออกผนวชบาเพ็ญเพียรและตรัสรู้
4. นักเรียนนาใบงานมาติดบอร์ด แลกเปลี่ยนเรียนรู้กับเพื่อนคู่อื่น ๆ แล้วร่วมกัน
คัดเลือกบัตรงานที่ทุกคนเห็นว่า ดีที่สุด
5. ครูและนักเรียนร่วมกันสรุป เนื้อหาสาระพุทธประวัติ ตอนเสด็จออกผนวชบาเพ็ญ
เพียรและตรัสรู้ที่สาคัญ และแนวทางการปฏิบัติตนตามแบบอย่างของพระพุทธเจ้า
กระบวนการวัดผลประเมินผล
1. สังเกตพฤติกรรมการทางานกลุ่ม
2. สังเกตพฤติกรรมรายบุคคล
3. การนาเสนอผลงาน
4. การตรวจผลงาน
เครื่องมือ
1. แบบประเมินพฤติกรรมการทางานกลุ่ม
2. แบบประเมินพฤติกรรมรายบุคคล
3. แบบประเมินการนาเสนอผลงาน
4. แบบประเมินการตรวจผลงาน
เกณฑ์การประเมิน
1. สังเกตการทางานกลุ่ม ผ่านเกณฑ์ร้อยละ 80
2. สังเกตพฤติกรรมรายบุคคล ผ่านเกณฑ์ร้อยละ 80
3. การนาเสนอผลงาน ผ่านเกณฑ์ร้อยละ 80
4. การตรวจผลงาน ผ่านเกณฑ์ร้อยละ 80
สื่อ/แหล่งการเรียนรู้
1. ภาพพระพุทธเจ้า บาเพ็ญเพียรและตรัสรู้
2. ใบความรู้ เรื่อง การเสด็จออกผนวช บาเพ็ญเพียรและตรัสรู้
3. ใบงาน เรื่อง การเสด็จออกผนวช บาเพ็ญเพียรและตรัสรู้
แผ่นภาพ
เรื่อง การเสด็จออกผนวชบาเพ็ญเพียรและตรัสรู้
นักเรียนดูภาพ พระพุทธเจ้า บาเพ็ญเพียรและตรัสรู้ แล้วร่วมกันเล่าเรื่องพระพุทธเจ้า
ขณะบาเพ็ญเพียรและตรัสรู้ ตามความรู้เดิมของนักเรียน
ศีลธรรม
ศีลธรรม
ศีลธรรม
ศีลธรรม
ศีลธรรม
ศีลธรรม
ศีลธรรม
ศีลธรรม
ศีลธรรม
ศีลธรรม
ศีลธรรม
ศีลธรรม
ศีลธรรม
ศีลธรรม
ศีลธรรม
ศีลธรรม
ศีลธรรม
ศีลธรรม
ศีลธรรม
ศีลธรรม
ศีลธรรม
ศีลธรรม
ศีลธรรม
ศีลธรรม
ศีลธรรม
ศีลธรรม
ศีลธรรม
ศีลธรรม
ศีลธรรม
ศีลธรรม
ศีลธรรม
ศีลธรรม
ศีลธรรม
ศีลธรรม
ศีลธรรม
ศีลธรรม
ศีลธรรม
ศีลธรรม
ศีลธรรม
ศีลธรรม
ศีลธรรม
ศีลธรรม
ศีลธรรม
ศีลธรรม
ศีลธรรม
ศีลธรรม
ศีลธรรม
ศีลธรรม
ศีลธรรม
ศีลธรรม
ศีลธรรม
ศีลธรรม
ศีลธรรม
ศีลธรรม
ศีลธรรม
ศีลธรรม
ศีลธรรม
ศีลธรรม
ศีลธรรม
ศีลธรรม
ศีลธรรม
ศีลธรรม
ศีลธรรม
ศีลธรรม
ศีลธรรม
ศีลธรรม
ศีลธรรม
ศีลธรรม
ศีลธรรม
ศีลธรรม
ศีลธรรม
ศีลธรรม
ศีลธรรม
ศีลธรรม
ศีลธรรม
ศีลธรรม
ศีลธรรม
ศีลธรรม
ศีลธรรม
ศีลธรรม
ศีลธรรม
ศีลธรรม
ศีลธรรม
ศีลธรรม
ศีลธรรม
ศีลธรรม
ศีลธรรม
ศีลธรรม
ศีลธรรม
ศีลธรรม
ศีลธรรม
ศีลธรรม
ศีลธรรม
ศีลธรรม
ศีลธรรม
ศีลธรรม
ศีลธรรม
ศีลธรรม
ศีลธรรม
ศีลธรรม
ศีลธรรม
ศีลธรรม
ศีลธรรม
ศีลธรรม
ศีลธรรม
ศีลธรรม
ศีลธรรม
ศีลธรรม
ศีลธรรม
ศีลธรรม
ศีลธรรม
ศีลธรรม
ศีลธรรม
ศีลธรรม
ศีลธรรม
ศีลธรรม
ศีลธรรม
ศีลธรรม
ศีลธรรม
ศีลธรรม
ศีลธรรม
ศีลธรรม
ศีลธรรม
ศีลธรรม
ศีลธรรม
ศีลธรรม
ศีลธรรม
ศีลธรรม
ศีลธรรม
ศีลธรรม
ศีลธรรม
ศีลธรรม
ศีลธรรม
ศีลธรรม
ศีลธรรม
ศีลธรรม
ศีลธรรม
ศีลธรรม
ศีลธรรม
ศีลธรรม
ศีลธรรม
ศีลธรรม
ศีลธรรม
ศีลธรรม
ศีลธรรม
ศีลธรรม
ศีลธรรม
ศีลธรรม
ศีลธรรม
ศีลธรรม
ศีลธรรม
ศีลธรรม
ศีลธรรม
ศีลธรรม
ศีลธรรม
ศีลธรรม
ศีลธรรม
ศีลธรรม
ศีลธรรม
ศีลธรรม
ศีลธรรม
ศีลธรรม
ศีลธรรม
ศีลธรรม
ศีลธรรม
ศีลธรรม
ศีลธรรม
ศีลธรรม
ศีลธรรม
ศีลธรรม
ศีลธรรม
ศีลธรรม
ศีลธรรม
ศีลธรรม
ศีลธรรม
ศีลธรรม
ศีลธรรม
ศีลธรรม
ศีลธรรม
ศีลธรรม
ศีลธรรม
ศีลธรรม
ศีลธรรม
ศีลธรรม
ศีลธรรม
ศีลธรรม
ศีลธรรม
ศีลธรรม
ศีลธรรม
ศีลธรรม
ศีลธรรม
ศีลธรรม
ศีลธรรม
ศีลธรรม
ศีลธรรม
ศีลธรรม
ศีลธรรม
ศีลธรรม
ศีลธรรม
ศีลธรรม
ศีลธรรม
ศีลธรรม
ศีลธรรม
ศีลธรรม
ศีลธรรม
ศีลธรรม
ศีลธรรม
ศีลธรรม
ศีลธรรม
ศีลธรรม
ศีลธรรม
ศีลธรรม
ศีลธรรม
ศีลธรรม
ศีลธรรม
ศีลธรรม
ศีลธรรม
ศีลธรรม
ศีลธรรม
ศีลธรรม
ศีลธรรม
ศีลธรรม
ศีลธรรม
ศีลธรรม
ศีลธรรม
ศีลธรรม
ศีลธรรม
ศีลธรรม
ศีลธรรม
ศีลธรรม
ศีลธรรม
ศีลธรรม
ศีลธรรม
ศีลธรรม
ศีลธรรม
ศีลธรรม
ศีลธรรม
ศีลธรรม
ศีลธรรม
ศีลธรรม
ศีลธรรม
ศีลธรรม
ศีลธรรม
ศีลธรรม
ศีลธรรม
ศีลธรรม
ศีลธรรม
ศีลธรรม
ศีลธรรม
ศีลธรรม
ศีลธรรม
ศีลธรรม
ศีลธรรม
ศีลธรรม
ศีลธรรม
ศีลธรรม
ศีลธรรม
ศีลธรรม
ศีลธรรม
ศีลธรรม
ศีลธรรม
ศีลธรรม
ศีลธรรม
ศีลธรรม
ศีลธรรม
ศีลธรรม
ศีลธรรม
ศีลธรรม
ศีลธรรม
ศีลธรรม
ศีลธรรม
ศีลธรรม
ศีลธรรม
ศีลธรรม
ศีลธรรม
ศีลธรรม
ศีลธรรม
ศีลธรรม
ศีลธรรม
ศีลธรรม
ศีลธรรม
ศีลธรรม
ศีลธรรม
ศีลธรรม
ศีลธรรม
ศีลธรรม
ศีลธรรม
ศีลธรรม
ศีลธรรม
ศีลธรรม
ศีลธรรม
ศีลธรรม
ศีลธรรม
ศีลธรรม
ศีลธรรม
ศีลธรรม
ศีลธรรม
ศีลธรรม
ศีลธรรม
ศีลธรรม
ศีลธรรม
ศีลธรรม
ศีลธรรม
ศีลธรรม
ศีลธรรม
ศีลธรรม
ศีลธรรม
ศีลธรรม
ศีลธรรม
ศีลธรรม
ศีลธรรม
ศีลธรรม
ศีลธรรม
ศีลธรรม
ศีลธรรม
ศีลธรรม
ศีลธรรม
ศีลธรรม
ศีลธรรม
ศีลธรรม
ศีลธรรม
ศีลธรรม
ศีลธรรม
ศีลธรรม
ศีลธรรม
ศีลธรรม
ศีลธรรม
ศีลธรรม
ศีลธรรม
ศีลธรรม
ศีลธรรม
ศีลธรรม
ศีลธรรม
ศีลธรรม
ศีลธรรม
ศีลธรรม
ศีลธรรม
ศีลธรรม
ศีลธรรม
ศีลธรรม
ศีลธรรม
ศีลธรรม
ศีลธรรม
ศีลธรรม
ศีลธรรม
ศีลธรรม
ศีลธรรม
ศีลธรรม
ศีลธรรม
ศีลธรรม
ศีลธรรม
ศีลธรรม
ศีลธรรม
ศีลธรรม
ศีลธรรม
ศีลธรรม
ศีลธรรม
ศีลธรรม
ศีลธรรม
ศีลธรรม
ศีลธรรม
ศีลธรรม
ศีลธรรม
ศีลธรรม
ศีลธรรม
ศีลธรรม
ศีลธรรม
ศีลธรรม
ศีลธรรม
ศีลธรรม
ศีลธรรม
ศีลธรรม
ศีลธรรม
ศีลธรรม
ศีลธรรม
ศีลธรรม
ศีลธรรม
ศีลธรรม
ศีลธรรม
ศีลธรรม
ศีลธรรม
ศีลธรรม
ศีลธรรม
ศีลธรรม
ศีลธรรม
ศีลธรรม
ศีลธรรม
ศีลธรรม
ศีลธรรม
ศีลธรรม
ศีลธรรม
ศีลธรรม
ศีลธรรม
ศีลธรรม
ศีลธรรม
ศีลธรรม
ศีลธรรม
ศีลธรรม
ศีลธรรม
ศีลธรรม
ศีลธรรม
ศีลธรรม
ศีลธรรม
ศีลธรรม
ศีลธรรม
ศีลธรรม
ศีลธรรม
ศีลธรรม
ศีลธรรม
ศีลธรรม
ศีลธรรม
ศีลธรรม
ศีลธรรม
ศีลธรรม
ศีลธรรม
ศีลธรรม
ศีลธรรม
ศีลธรรม
ศีลธรรม
ศีลธรรม
ศีลธรรม
ศีลธรรม
ศีลธรรม
ศีลธรรม
ศีลธรรม
ศีลธรรม
ศีลธรรม
ศีลธรรม
ศีลธรรม
ศีลธรรม
ศีลธรรม

More Related Content

What's hot

วันออกพรรษา
วันออกพรรษาวันออกพรรษา
วันออกพรรษาsuchinmam
 
การบ้านแผนที่1
การบ้านแผนที่1การบ้านแผนที่1
การบ้านแผนที่1
Ch Khankluay
 
แผนการจัดการเรียนรู้ ป.1-3 หน่วยที่ 6+443+dltvsocp3+T2 p1 3-u6_soc
แผนการจัดการเรียนรู้ ป.1-3 หน่วยที่ 6+443+dltvsocp3+T2 p1 3-u6_socแผนการจัดการเรียนรู้ ป.1-3 หน่วยที่ 6+443+dltvsocp3+T2 p1 3-u6_soc
แผนการจัดการเรียนรู้ ป.1-3 หน่วยที่ 6+443+dltvsocp3+T2 p1 3-u6_soc
Prachoom Rangkasikorn
 
ผลการใช้การศึกษากรณีตัวอย่างต่อความรับผิดชอบ
ผลการใช้การศึกษากรณีตัวอย่างต่อความรับผิดชอบผลการใช้การศึกษากรณีตัวอย่างต่อความรับผิดชอบ
ผลการใช้การศึกษากรณีตัวอย่างต่อความรับผิดชอบ05102500
 
โครงการส่งเสริมคุณธรรมจริยธรรม ค่านิยมที่พึงประสงค์.54
โครงการส่งเสริมคุณธรรมจริยธรรม ค่านิยมที่พึงประสงค์.54โครงการส่งเสริมคุณธรรมจริยธรรม ค่านิยมที่พึงประสงค์.54
โครงการส่งเสริมคุณธรรมจริยธรรม ค่านิยมที่พึงประสงค์.54somchaitumdee50
 
วิจัยบทที่ 1 5
วิจัยบทที่ 1 5วิจัยบทที่ 1 5
วิจัยบทที่ 1 5
Kongkrit Pimpa
 
ข้อมูลเตรียมการประชุมสัมมนาโดยละเอียด
ข้อมูลเตรียมการประชุมสัมมนาโดยละเอียดข้อมูลเตรียมการประชุมสัมมนาโดยละเอียด
ข้อมูลเตรียมการประชุมสัมมนาโดยละเอียดTongsamut vorasan
 
วันธรรมสวนะ
วันธรรมสวนะวันธรรมสวนะ
วันธรรมสวนะsuchinmam
 
4.หลักสูตรสังคม
4.หลักสูตรสังคม4.หลักสูตรสังคม
4.หลักสูตรสังคมnang_phy29
 
ใบงาน 1
ใบงาน 1ใบงาน 1
ใบงาน 1piboon7516
 
รายวิชาสังคมศึกษาพื้นฐาน รหัสวิชา ส 21101
รายวิชาสังคมศึกษาพื้นฐาน รหัสวิชา ส 21101รายวิชาสังคมศึกษาพื้นฐาน รหัสวิชา ส 21101
รายวิชาสังคมศึกษาพื้นฐาน รหัสวิชา ส 21101
spk906
 
วันวิสาขบูชา
วันวิสาขบูชาวันวิสาขบูชา
วันวิสาขบูชาsuchinmam
 
สมุดประเมินผลกิจกรรมชุมนุม กูรูไอที
สมุดประเมินผลกิจกรรมชุมนุม กูรูไอทีสมุดประเมินผลกิจกรรมชุมนุม กูรูไอที
สมุดประเมินผลกิจกรรมชุมนุม กูรูไอที
Pakornkrits
 
พระพุทธศาสนา ม.3
พระพุทธศาสนา ม.3พระพุทธศาสนา ม.3
พระพุทธศาสนา ม.3New Nan
 
แนวข้อสอบ วิชา พระพุทธศาสนา
แนวข้อสอบ วิชา พระพุทธศาสนาแนวข้อสอบ วิชา พระพุทธศาสนา
แนวข้อสอบ วิชา พระพุทธศาสนา
Oppo Optioniez
 
13. ม.๓ เทอม ๑ สาระพื้นฐาน วิชาสังคมศึกษา๕ 2
13. ม.๓  เทอม ๑ สาระพื้นฐาน วิชาสังคมศึกษา๕  213. ม.๓  เทอม ๑ สาระพื้นฐาน วิชาสังคมศึกษา๕  2
13. ม.๓ เทอม ๑ สาระพื้นฐาน วิชาสังคมศึกษา๕ 2hadradchai7515
 

What's hot (17)

วันออกพรรษา
วันออกพรรษาวันออกพรรษา
วันออกพรรษา
 
หน่วยที่๑๐
หน่วยที่๑๐หน่วยที่๑๐
หน่วยที่๑๐
 
การบ้านแผนที่1
การบ้านแผนที่1การบ้านแผนที่1
การบ้านแผนที่1
 
แผนการจัดการเรียนรู้ ป.1-3 หน่วยที่ 6+443+dltvsocp3+T2 p1 3-u6_soc
แผนการจัดการเรียนรู้ ป.1-3 หน่วยที่ 6+443+dltvsocp3+T2 p1 3-u6_socแผนการจัดการเรียนรู้ ป.1-3 หน่วยที่ 6+443+dltvsocp3+T2 p1 3-u6_soc
แผนการจัดการเรียนรู้ ป.1-3 หน่วยที่ 6+443+dltvsocp3+T2 p1 3-u6_soc
 
ผลการใช้การศึกษากรณีตัวอย่างต่อความรับผิดชอบ
ผลการใช้การศึกษากรณีตัวอย่างต่อความรับผิดชอบผลการใช้การศึกษากรณีตัวอย่างต่อความรับผิดชอบ
ผลการใช้การศึกษากรณีตัวอย่างต่อความรับผิดชอบ
 
โครงการส่งเสริมคุณธรรมจริยธรรม ค่านิยมที่พึงประสงค์.54
โครงการส่งเสริมคุณธรรมจริยธรรม ค่านิยมที่พึงประสงค์.54โครงการส่งเสริมคุณธรรมจริยธรรม ค่านิยมที่พึงประสงค์.54
โครงการส่งเสริมคุณธรรมจริยธรรม ค่านิยมที่พึงประสงค์.54
 
วิจัยบทที่ 1 5
วิจัยบทที่ 1 5วิจัยบทที่ 1 5
วิจัยบทที่ 1 5
 
ข้อมูลเตรียมการประชุมสัมมนาโดยละเอียด
ข้อมูลเตรียมการประชุมสัมมนาโดยละเอียดข้อมูลเตรียมการประชุมสัมมนาโดยละเอียด
ข้อมูลเตรียมการประชุมสัมมนาโดยละเอียด
 
วันธรรมสวนะ
วันธรรมสวนะวันธรรมสวนะ
วันธรรมสวนะ
 
4.หลักสูตรสังคม
4.หลักสูตรสังคม4.หลักสูตรสังคม
4.หลักสูตรสังคม
 
ใบงาน 1
ใบงาน 1ใบงาน 1
ใบงาน 1
 
รายวิชาสังคมศึกษาพื้นฐาน รหัสวิชา ส 21101
รายวิชาสังคมศึกษาพื้นฐาน รหัสวิชา ส 21101รายวิชาสังคมศึกษาพื้นฐาน รหัสวิชา ส 21101
รายวิชาสังคมศึกษาพื้นฐาน รหัสวิชา ส 21101
 
วันวิสาขบูชา
วันวิสาขบูชาวันวิสาขบูชา
วันวิสาขบูชา
 
สมุดประเมินผลกิจกรรมชุมนุม กูรูไอที
สมุดประเมินผลกิจกรรมชุมนุม กูรูไอทีสมุดประเมินผลกิจกรรมชุมนุม กูรูไอที
สมุดประเมินผลกิจกรรมชุมนุม กูรูไอที
 
พระพุทธศาสนา ม.3
พระพุทธศาสนา ม.3พระพุทธศาสนา ม.3
พระพุทธศาสนา ม.3
 
แนวข้อสอบ วิชา พระพุทธศาสนา
แนวข้อสอบ วิชา พระพุทธศาสนาแนวข้อสอบ วิชา พระพุทธศาสนา
แนวข้อสอบ วิชา พระพุทธศาสนา
 
13. ม.๓ เทอม ๑ สาระพื้นฐาน วิชาสังคมศึกษา๕ 2
13. ม.๓  เทอม ๑ สาระพื้นฐาน วิชาสังคมศึกษา๕  213. ม.๓  เทอม ๑ สาระพื้นฐาน วิชาสังคมศึกษา๕  2
13. ม.๓ เทอม ๑ สาระพื้นฐาน วิชาสังคมศึกษา๕ 2
 

Similar to ศีลธรรม

Plan
PlanPlan
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1หน่วยการเรียนรู้ที่ 1
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1suchinmam
 
โครงการตักบาตรวันพระ
โครงการตักบาตรวันพระโครงการตักบาตรวันพระ
โครงการตักบาตรวันพระKhuanruthai Pomjun
 
เสริมสร้างคุณธรรม
เสริมสร้างคุณธรรมเสริมสร้างคุณธรรม
เสริมสร้างคุณธรรมchanhom357
 
กรอบการจัดกิจกรรมพัฒนาคุณภาพชีวิต
กรอบการจัดกิจกรรมพัฒนาคุณภาพชีวิตกรอบการจัดกิจกรรมพัฒนาคุณภาพชีวิต
กรอบการจัดกิจกรรมพัฒนาคุณภาพชีวิต
ปฏิมา ช่องคูณ
 
กำหนดการสอนพุทธ1
กำหนดการสอนพุทธ1กำหนดการสอนพุทธ1
กำหนดการสอนพุทธ1tassanee chaicharoen
 
โรงเรียนคุณธรรมชั้นนำ (Good practice)
โรงเรียนคุณธรรมชั้นนำ (Good practice)โรงเรียนคุณธรรมชั้นนำ (Good practice)
โรงเรียนคุณธรรมชั้นนำ (Good practice)yana54
 
แผนการจัดการเรียนรู้พระพุทธศาสนา
แผนการจัดการเรียนรู้พระพุทธศาสนาแผนการจัดการเรียนรู้พระพุทธศาสนา
แผนการจัดการเรียนรู้พระพุทธศาสนาPrincess Chulabhorn's College, Chiang Rai Thailand
 
Road Map นคร Model
Road Map นคร ModelRoad Map นคร Model
Road Map นคร Model
Dr.Piyawat Saisang
 
กิจกรรม สาระสังคม
กิจกรรม สาระสังคมกิจกรรม สาระสังคม
กิจกรรม สาระสังคมkruarada
 
E0b981e0b89ce0b899e0b881e0b8b2e0b8a3e0b888e0b8b1e0b894e0b881e0b8b2e0b8a3e0b98...
E0b981e0b89ce0b899e0b881e0b8b2e0b8a3e0b888e0b8b1e0b894e0b881e0b8b2e0b8a3e0b98...E0b981e0b89ce0b899e0b881e0b8b2e0b8a3e0b888e0b8b1e0b894e0b881e0b8b2e0b8a3e0b98...
E0b981e0b89ce0b899e0b881e0b8b2e0b8a3e0b888e0b8b1e0b894e0b881e0b8b2e0b8a3e0b98...Sirirat Faiubon
 
13. ม.๓ เทอม ๑ สาระพื้นฐาน วิชาสังคมศึกษา๕ 2
13. ม.๓  เทอม ๑ สาระพื้นฐาน วิชาสังคมศึกษา๕  213. ม.๓  เทอม ๑ สาระพื้นฐาน วิชาสังคมศึกษา๕  2
13. ม.๓ เทอม ๑ สาระพื้นฐาน วิชาสังคมศึกษา๕ 2hadradchai
 
02 สังคมศึกษา
02 สังคมศึกษา02 สังคมศึกษา
02 สังคมศึกษาJustmin PocoYo
 
02 สังคมศึกษา
02 สังคมศึกษา02 สังคมศึกษา
02 สังคมศึกษาJustmin PocoYo
 
02 สังคมศึกษา
02 สังคมศึกษา02 สังคมศึกษา
02 สังคมศึกษาFaralee Benahmad
 

Similar to ศีลธรรม (20)

Plan
PlanPlan
Plan
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1หน่วยการเรียนรู้ที่ 1
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1
 
โครงการตักบาตรวันพระ
โครงการตักบาตรวันพระโครงการตักบาตรวันพระ
โครงการตักบาตรวันพระ
 
เสริมสร้างคุณธรรม
เสริมสร้างคุณธรรมเสริมสร้างคุณธรรม
เสริมสร้างคุณธรรม
 
กรอบการจัดกิจกรรมพัฒนาคุณภาพชีวิต
กรอบการจัดกิจกรรมพัฒนาคุณภาพชีวิตกรอบการจัดกิจกรรมพัฒนาคุณภาพชีวิต
กรอบการจัดกิจกรรมพัฒนาคุณภาพชีวิต
 
กำหนดการสอนพุทธ1
กำหนดการสอนพุทธ1กำหนดการสอนพุทธ1
กำหนดการสอนพุทธ1
 
โรงเรียนคุณธรรมชั้นนำ (Good practice)
โรงเรียนคุณธรรมชั้นนำ (Good practice)โรงเรียนคุณธรรมชั้นนำ (Good practice)
โรงเรียนคุณธรรมชั้นนำ (Good practice)
 
แผนการจัดการเรียนรู้พระพุทธศาสนา
แผนการจัดการเรียนรู้พระพุทธศาสนาแผนการจัดการเรียนรู้พระพุทธศาสนา
แผนการจัดการเรียนรู้พระพุทธศาสนา
 
ใบความรู้โครงงานคุณธรรม
ใบความรู้โครงงานคุณธรรมใบความรู้โครงงานคุณธรรม
ใบความรู้โครงงานคุณธรรม
 
Road Map นคร Model
Road Map นคร ModelRoad Map นคร Model
Road Map นคร Model
 
กิจกรรม สาระสังคม
กิจกรรม สาระสังคมกิจกรรม สาระสังคม
กิจกรรม สาระสังคม
 
หน่วยที่๙
หน่วยที่๙หน่วยที่๙
หน่วยที่๙
 
1
11
1
 
E0b981e0b89ce0b899e0b881e0b8b2e0b8a3e0b888e0b8b1e0b894e0b881e0b8b2e0b8a3e0b98...
E0b981e0b89ce0b899e0b881e0b8b2e0b8a3e0b888e0b8b1e0b894e0b881e0b8b2e0b8a3e0b98...E0b981e0b89ce0b899e0b881e0b8b2e0b8a3e0b888e0b8b1e0b894e0b881e0b8b2e0b8a3e0b98...
E0b981e0b89ce0b899e0b881e0b8b2e0b8a3e0b888e0b8b1e0b894e0b881e0b8b2e0b8a3e0b98...
 
Cas 11 1
Cas 11 1Cas 11 1
Cas 11 1
 
13. ม.๓ เทอม ๑ สาระพื้นฐาน วิชาสังคมศึกษา๕ 2
13. ม.๓  เทอม ๑ สาระพื้นฐาน วิชาสังคมศึกษา๕  213. ม.๓  เทอม ๑ สาระพื้นฐาน วิชาสังคมศึกษา๕  2
13. ม.๓ เทอม ๑ สาระพื้นฐาน วิชาสังคมศึกษา๕ 2
 
Standard7
Standard7Standard7
Standard7
 
02 สังคมศึกษา
02 สังคมศึกษา02 สังคมศึกษา
02 สังคมศึกษา
 
02 สังคมศึกษา
02 สังคมศึกษา02 สังคมศึกษา
02 สังคมศึกษา
 
02 สังคมศึกษา
02 สังคมศึกษา02 สังคมศึกษา
02 สังคมศึกษา
 

ศีลธรรม