SlideShare a Scribd company logo
1 of 21
Download to read offline
ส่งเสริมความเข้มแข็งของสถาบันศาสนา ให้เป็นสถาบันหลักของสังคม
ยกร่างรัฐธรรมนูญมาตรา
• ศาสนาเป็ นสถาบันที่สาคัญหนึ่งในสามขององค์ประกอบ “ชาติ ศาสนา
และพระมหากษัตริย์”
• มีศาสนาพุทธเป็ นศาสนาที่ประชาชนชาวไทยส่วนใหญ่นับถือมากที่สุด
มาเป็ นเวลาช้านาน
• ปี พ.ศ. ๒๕๕๔ สานักงานสถิติแห่งชาติ ได้ทาการสารวจประชากร
อายุ ๑๓ ปี ขึ้นไป พบว่า คนไทยนับถือศาสนาพุทธ ร้อยละ
๙๔.๖ ศาสนาอิสลามร้อยละ ๔.๖ ศาสนาคริสต์ร้อยละ ๐.๗ ที่
เหลือคือนับถือศาสนาอื่นๆ และไม่มีศาสนา
• พุทธศาสนาได้ผสมกลมกลืนอยู่ในศิลปวัฒนธรรมและวิถีชีวิตของผู้คน
หล่อหลอมอัตลักษณ์แห่งความเป็ นพลเมืองผู้มีน้าใจอันดีงามและรักสันติ
มาอย่างยาวนาน
ศาสนาเป็นสถาบันหลักของชาติ ที่อยู่คู่กับประเทศไทยมาช้านาน
• มีการพัฒนาด้านวัตถุอย่างมาก ก่อให้เกิดสภาวะแวดล้อมที่ไม่เอื้อต่อ
การเสริมสร้างศีลธรรม คุณธรรม จริยธรรม และการนาหลัก
ศาสนธรรมไปปฏิบัติในหมู่ชนส่วนใหญ่
• ปัจจุบันข่าวสารจากสื่อสารมวลชน สะท้อนภาพผู้คนที่ขาดศีลธรรม
หลงใหลอยู่ในวัตถุนิยม ความฟุ่ มเฟื อย เกิดแหล่งอบายมุขหลาย
ประเภท คนขาดจิตสานึกในคุณธรรมตามหลักศาสนา
• มีพฤติกรรมที่ส่ อไปในทางทุจริตประพฤติมิชอบอย่างแพร่หลาย
ขาดความละอายต่อบาป เกิดขึ้นในทุกมิติของสังคม ภาคประชาสังคม
ประสบความล้มเหลวในการสร้างคนให้เป็ นคนดีทั้งในระดับครอบครัว
และชุมชน
สภาพสังคมไทยในปัจจุบัน
การสํารวจสภาวะทางสังคม วัฒนธรรมและสุขภาพจิต พ.ศ. ๒๕๕๔ สํานักงานสถิติแห่งชาติ สืบค้นจากhttp://service.nso.go.th/nso/nsopublish/themes/files/soc-culRep54.pdf
• กระแสการเปลี่ยนแปลงของโลกเกิดขึ้นอย่างรวดเร็วในยุคโลกาภิวัตน์
ส่งผลกระทบต่อสังคมไทยในภาพรวมอย่างมาก
• สังคมโลกปัจจุบันก่อให้เกิดการเสื่ อมถอยและวิกฤติศรัทธาในหมู่
ประชาชนเพิ่มขึ้น ศาสนิกชนในแต่ละศาสนาขาดความรู้ความเข้าใจ
ในหลักศาสนาของตนอย่างแท้จริง รวมทั้งขาดความเข้าใจในศาสนาอื่น
• สื่อมวลชนยังมีบทบาทน้อยและขาดความรู้ความเข้าในการให้ข้อมูล
ข่าวสารเกี่ยวกับศาสนาที่ถูกต้องครบถ้วน มีผลทาให้สังคมเกิดปัญหา
อย่างมากในด้านศีลธรรมและคุณธรรม
• บุคคลทุกกลุ่ม ทุกเพศ ทุกวัย ขาดการนาหลักศาสนธรรมไปปฏิบัติใน
การดาเนินชีวิตประจาวัน อย่างเพียงพอ
สภาพสังคมไทยในปัจจุบัน
ปัญหาเรื่องความเข้มแข็งขององค์กรศาสนา
• สังคมเปรียบเสมือนกงล้อที่มีสถาบันทางสังคมต่างๆ ร่วมกันขับเคลื่อน “สถาบัน
ศาสนา” ก็คือแกนหลักที่เชื่อมโยงยึดเหนี่ยวสถาบันอื่นๆเข้าด้วยกันมาแต่โบราณกาล
• สังคมไทยมี “วัด” เป็ นศูนย์กลางในการดาเนินชีวิตของผู้คนในแต่ละชุมชนอย่าง
แน่นแฟ้ น แต่ในปัจจุบันพบว่าสถาบันศาสนากลับค่อยๆ ลดบทบาทลงอย่างมาก
• ทุกศาสนาประสบกับปัญหาการดาเนินการภายในองค์กรศาสนาเอง เนื่องมาจาก
กฎระเบียบที่ไม่ได้รับการปรับปรุงแก้ไขให้สอดรับกับสภาพการณ์ของสังคมที่
เปลี่ยนแปลงไปอย่างรวดเร็วในปัจจุบัน
• ปัญหาอุปสรรคในด้านการบังคับใช้กฎหมายและการบริหารจัดการภายในองค์กร
ทางศาสนา ที่มีปัญหาสะสมเป็ นเวลานาน มีผลทาให้สูญเสียภาพลักษณ์ของ
องค์กรที่ผู้คนนับถืออย่างสูงส่งในอดีต รวมทั้งสูญเสียบทบาทในการเป็ นที่พึ่งพา
และเป็ นหลักยึดเหนี่ยวทางด้านจิตใจของมหาชน
• โลกในยุคที่มีการพัฒนาอย่างรวดเร็วทางด้านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและ
สารสนเทศในปัจจุบัน มีผลทาให้เกิดการพัฒนาทางวัตถุมากขึ้นเพียงใด
• ประชาชนก็ดูเหมือนจะถอยห่างจากศาสนามากขึ้นไปด้วย ในศาสนาพุทธเองจะ
พบว่าจานวนพระภิกษุสามเณรลดน้อยลงเรื่อยๆ และมีแนวโน้มจะลดลงไปอีกใน
อนาคต
• วัดจานวนมากกลายเป็ นวัดร้างเนื่องจากไม่มีพระไปจาพรรษาอยู่ นอกจากนี้ทุก
ศาสนายังมีปัญหาในเรื่องคุณภาพของบุคลากรทางศาสนา พบว่าส่วนใหญ่ยังขาด
ความรู้ และทักษะในการสื่อสารหรือถ่ายทอดหลักคาสอนที่ถูกต้อง เพื่อสั่งสอน
ศาสนิกชนอย่างเหมาะสม
• บ่อยครั้งพบว่าจะมุ่งเน้นไปทางทาพิธีกรรมต่างๆหรือมีพฤติกรรมที่ไม่น่าเลื่อมใส
ศรัทธา จึงเป็ นการยากที่จะจูงใจผู้คนให้ตั้งมั่นอยู่ในหลักคาสอนและหลักปฏิบัติ
ของแต่ละศาสนาอย่างแท้จริงได้
ปัญหาเรื่องบุคลากรทางศาสนา
• จากการสารวจ พบว่ามีคนไทยที่ระบุศาสนาของตนเองเป็ นจานวนมาก
เมื่อสอบถามกลับไปพบว่าคนเหล่านี้ประพฤติปฏิบัติตามหลักคาสอน
และข้าร่วมกิจกรรมทางศาสนาของตนเพียงเล็กน้อย
• ศาสนิกชนมีแนวโน้มที่จะนาคาสอนในหลักศาสนาของตนมาใช้เป็ น
แนวทางในการดาเนินชีวิตน้อยลงเรื่อยๆ
• จากการสารวจของสานักงานสถิติแห่งชาติ มุสลิมจะใช้หลักคาสอน
ทางศาสนาแก้ปัญหาชีวิตและการทางานทุกครั้งสูงที่สุด คือร้อยละ
๓๓.๙ รองลงมาคริสต์ศาสนิกชนร้อยละ ๒๒.๙ และ
พุทธศาสนิกชนร้อยละ ๑๓.๖
การขาดการนาหลักศาสนามาใช้ปฏิบัติใน
ชีวิตประจาวัน ทั้งระดับบุคคลและองค์กร
• ผลที่ตามมาจากข่าวสารผ่านสื่อมวลชนในปัจจุบัน สะท้อนถึงภาพผู้คนที่ขาด
ศีลธรรม มีความงมงาย หลงใหลอยู่ในวัตถุนิยม ความฟุ่มเฟือย มั่วสุมใน
แหล่งอบายมุข การพนัน การเสพยาเสพติด ฉาวโฉ่ทางกามโลกีย์
อาชญากรรมเพิ่มขึ้น และนิยมการใช้ความรุนแรง
• มีการทุจริตประพฤติมิชอบอย่างแพร่หลายในทุกมิติของสังคม ภาคประชาสังคม
ประสบความล้มเหลวในการสร้างคนให้เป็นคนดีทั้งในระดับครอบครัวและชุมชน
• ครูและผู้ปกครองไม่สามารถใช้ชีวิตที่เป็ นแบบอย่างที่ดีแก่เยาวชน บุตรหลานและ
คนในครอบครัวของตนเองได้
• ชุมชน องค์กร สถานที่ทางาน อาคารห้างร้านต่างๆไม่มีพื้นปฏิบัติกิจกรรมทาง
ศาสนาที่จะนาหลักคาสอนทางศาสนธรรมมาปฏิบัติในชีวิตประจาวันอย่างเหมาะสม
ส่วนใหญ่จะเน้นพิธีกรรมตามความเชื่อเท่านั้น
การขาดการนาหลักศาสนามาใช้ปฏิบัติใน
ชีวิตประจาวัน ทั้งระดับบุคคลและองค์กร
• ในหมู่ประชาชนที่ปฏิบัติธรรมตามหลักศาสนา ก็ยังมิได้มีการศึกษาหลักธรรมกัน
อย่างเป็ นระบบ ทาให้การจะนาหลักศาสนธรรมมาปฏิบัติในชีวิตประจาวันของ
ทุกกลุ่มบุคคลยังเกิดขึ้นได้ยาก
• ในสถาบันการศึกษายังแยกบทบาทขององค์กรศาสนาออกจากการจัดการศึกษา
อย่างชัดเจน
• ตัวอย่างเช่น พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติพุทธศักราช ๒๕๔๒ และ
แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่๒) พุทธศักราช ๒๕๔๕ในหมวด ๑ มาตรา ๖ แม้
พระราชบัญญัติดังกล่าวจะให้ความสาคัญกับคุณธรรมจริยธรรม แต่ก็แยกออก
จากหลักศาสนา อีกทั้งการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานยังขาดการกาหนดแนวทางการ
สอนหลักศาสนาที่ชัดเจนในทุกระดับชั้นขาดแคลนครูต้นแบบที่ดี และขาดการ
ประเมินผลสัมฤทธิ์ที่ชัดเจนอีกด้วย
(ราชกิจจานุเบกษา,หมวดที่๑บททั่วไปความหมายและหลักการ,(เล่มที่๑๑๖ตอนที่๗๔ก, ๑๙ สิงหาคม
๒๕๔๒),หน้า๓.)
การขาดการนาหลักศาสนามาใช้ปฏิบัติในชีวิตประจาวัน
ทั้งระดับบุคคลและองค์กร
• การดาเนินงานของแต่ละศาสนามีแนวโน้มที่จะนาไปสู่วิกฤติศรัทธาของประชาชน
ความร่วมมือระหว่างศาสนายังไม่เกิดขึ้นเท่าที่ควร อาจเป็ นเพราะขาดองค์กรกลาง
ในการประสานงานและสร้างความรู้ความเข้าใจระหว่างกัน
• การดาเนินกิจกรรมระหว่างศาสนา ขาดงบประมาณสนับสนุนที่เพียงพอ ศาสนิก
ชนในแต่ละศาสนายังขาดความรู้ความเข้าใจและการปฏิบัติตนตามหลักธรรมคาสอน
ทั้งของศาสนาตนเองและศาสนาอื่น
• มีทัศนคติทางลบต่อกันระหว่างศาสนาหรือในศาสนาเดียวกัน เกิดจาก ๑) ความ
แตกต่างทางพิธีกรรม ๒) ความแตกต่างทางความเชื่อ ๓) ความแตกต่างทางเชื้อ
ชาติและเผ่าพันธ์ ๔) ความแตกต่างทางด้านคาสอน ๕) การนาศาสนาเข้าไป
เกี่ยวข้องกับทางการเมือง ๖) การตีความหมายของคาสอนผิดเพี้ยนไปจากเดิม
๗) ผลประโยชน์มหาศาลที่มาพร้อมกับความเลื่อมใสทางศาสนา ๘) การไม่ยอมรับ
ฟังความคิดเห็นของศาสนาอื่นที่อยู่ในชุมชนเดียวกัน ๙) พวกที่คลั่งศาสนาแต่ไม่
เคร่งศาสนา
ปัญหาเรื่องการขาดการเสริมสร้างความสัมพันธ์ที่ดีระหว่างศาสนิกชน
ของทุกศาสนา
• ความแตกต่างระหว่างศาสนา ทาให้โอกาสที่แต่ละศาสนาจะได้เกิด
การเรียนรู้ระหว่างกัน ตลอดจนการมีกิจกรรมที่เชื่อมประสานกันจึงยังมี
น้อย
• ผลจากความไม่เข้าใจกันมากขึ้น และอาจนาไปสู่ความแตกแยกทาง
ความคิดเพิ่มขึ้นเรื่อยๆจนถึงขั้นก่อให้เกิดความรุนแรงทางพฤติกรรมได้
• ประเด็นเรื่องการขาดการเสริมสร้างความสัมพันธ์ที่ดีระหว่างศาสนิกชน
ของทุกศาสนา จึงเป็ นอีกประเด็นปัญหาหนึ่งที่สมควรได้รับการฟื้นฟู
ปัญหาเรื่องการขาดการเสริมสร้างความสัมพันธ์ที่ดี
ระหว่างศาสนิกชนของทุกศาสนา
• การเผยแผ่คาสอนตามหลักศาสนา จาเป็ นต้องอาศัยการสื่อสารเป็ น
หลัก นอกจากสื่อสิ่งพิมพ์ประเภทหนังสือ จุลสาร เทป วีดิทัศน์แล้ว
ยังต้องใช้ การสื่ อสารที่เป็ นกระแสหลักได้แก่ หนังสื อพิมพ์
วิทยุกระจายเสียง วิทยุโทรทัศน์ และสื่อทางเลือกประเภทสื่อออนไลน์
เคเบิลทีวี โทรทัศน์ดาวเทียม
• ปัจจุบันวัดต่างๆ เผยแผ่ศาสนาทางอินเทอร์เน็ตมากขึ้น สาหรับพุทธ
ศาสนาจานวนเว็บไซต์ของวัดเพิ่มขึ้นอย่างมากในปี พ.ศ. ๒๕๔๙ มี
จานวน ๗๐๙ เว็บไซต์ แต่ปี พ.ศ. ๒๕๕๒ พบว่ามีถึง ๑,๐๒๖
เว็บไซต์
• พบว่าเนื้อหาที่นาเสนอยังขาดรูปแบบและการดึงดูดความสนใจ ความ
ใส่ใจในข้อปฏิบัติตามหลักศาสนธรรมยังมีน้อยและไม่ชัดเจน
ปัญหาการขาดสื่อประเภทต่างๆ และสื่อมวลชน
• เมื่อศาสนิกชนส่วนใหญ่ขาดการยึดหลักศาสนธรรมมาเป็นแนวทางในการดาเนิน
ชีวิตอย่างจริงจัง สถาบันศาสนาจึงถูกลดบทบาทจากการเป็นศูนย์กลางที่เป็นที่
พึ่งพาทางด้านจิตใจของคนในสังคม
• องค์กรศาสนาอ่อนแอด้วยเหตุปัจจัยทั้งด้านการบริหารจัดการองค์กรที่โปร่งใส การ
เผยแผ่หลักธรรมคาสอน บุคลากรในสถาบันศาสนาไม่ได้ทาหน้าที่ในการปลูกฝัง
ถ่ายทอด อบรมคุณธรรม จริยธรรมแก่ประชาชนอย่างจริงจัง
• ทาให้ขาดแบบอย่างที่ดีงามจากองค์กรศาสนา และศาสนาไม่สามารถยึดเหนี่ยว
จิตใจคนให้ทาความดีได้
• สื่อมวลชนไม่ได้ทาหน้าที่ด้วยความรู้ความเข้าใจที่ถูกต้องในศาสนา
• ผลสุดท้ายอาจทาให้ประชาชนส่วนใหญ่เกิดการมองศาสนาแต่ในแง่ลบ และไม่
สามารถดึงศักยภาพของพลังเชิงบวกมาแก้ปัญหาในชีวิตประจาวันได้ จึงมีความ
จาเป็นต้องปฏิรูปด้านศาสนา
เพื่อ “ส่งเสริมความเข้มแข็งของสถาบันศาสนา
ให้เป็นสถาบันหลักของสังคม”
(การเผยแผ่พระพุทธศาสนากับเทคโนโลยีสารสนเทศ สืบค้นจากhttp://www.phd.mbu.ac.th/index.php/2๐14-๐8-28-๐8-57-4/1๐6-2๐14-๐9-2๐-๐8-27-56 และรอง
ศาสตราจารย์ ดร.เพ็ญแข ประจนปัจจนึก (๒๕๕๑) การวิจัยเรื่อง การยกระดับคุณธรรม จริยธรรมของสังคมไทยเพื่อการปฏิรูปสังคม : แนวทางและการปฏิบัติสํานักงานสภา
ที่ปรึกษาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ)
• เพื่อพัฒนาศักยภาพขององค์กรและบุคลากรทางศาสนาทุกศาสนา
• เพื่อส่งเสริมการนาหลักศาสนธรรมมาเป็นหลักปฏิบัติในการดาเนินชีวิตประจาวันทั้ง
ในระดับบุคคล ครอบครัว สังคม ชุมชน และองค์กรทุกภาคส่วนอย่างยั่งยืน
• เพื่อเสริมสร้างความสัมพันธ์ที่ดีระหว่างศาสนิกชนในทุกศาสนา
• เพื่อพัฒนาศักยภาพของสถานศึกษาในการบูรณาการหลักศาสนธรรมในการจัด
การศึกษาทุกระดับอย่างชัดเจนรวมทั้งให้กระทรวงศึกษาธิการกาหนดสาระการเรียน
การสอนเรื่องศาสนาในหลักสูตรและการพัฒนาบุคลากรครู
• เพื่อส่งเสริมความเข้มแข็งของสื่อสารมวลชนและเทคโนโลยีสารสนเทศในการนา
หลักศาสนาที่ถูกต้องไปเผยแผ่สู่ประชาชน โดยยึดหลักคุณธรรม จริยธรรม และ
ศีลธรรมในการนาเสนอทุกรูปแบบ
ข้อเสนอยุทธศาสตร์ในการฟื้นฟูกิจการศาสนา
กรอบความคิดรวบยอด
(Conceptual Design)
Thank you
www.facebook.com/ekkachai.srivilas
www.elifesara.com

More Related Content

What's hot

มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรมมาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรมBoonlert Aroonpiboon
 
วรรณคดีไทยกับบริบททางสังคม
วรรณคดีไทยกับบริบททางสังคมวรรณคดีไทยกับบริบททางสังคม
วรรณคดีไทยกับบริบททางสังคมmayavee16
 
สถาบันพระมหากษัตริย์กับปวงชนชาวไทย
สถาบันพระมหากษัตริย์กับปวงชนชาวไทยสถาบันพระมหากษัตริย์กับปวงชนชาวไทย
สถาบันพระมหากษัตริย์กับปวงชนชาวไทยPadvee Academy
 
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาเล่าจื๊อ
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาเล่าจื๊อวิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาเล่าจื๊อ
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาเล่าจื๊อPadvee Academy
 
ศาสนาคริสต์
ศาสนาคริสต์ศาสนาคริสต์
ศาสนาคริสต์Padvee Academy
 
038พระพุทธศาสนากับการเมืองไทย
038พระพุทธศาสนากับการเมืองไทย038พระพุทธศาสนากับการเมืองไทย
038พระพุทธศาสนากับการเมืองไทยniralai
 
ศรีลังกา
ศรีลังกาศรีลังกา
ศรีลังกาTaraya Srivilas
 
1 เศรษฐศาสตร์เบื้องต้น copy
1 เศรษฐศาสตร์เบื้องต้น   copy1 เศรษฐศาสตร์เบื้องต้น   copy
1 เศรษฐศาสตร์เบื้องต้น copyKunlaya Kamwut
 
ข้าราชการกับการเมือง
ข้าราชการกับการเมือง ข้าราชการกับการเมือง
ข้าราชการกับการเมือง Taraya Srivilas
 
ข้าราชการกับการเมือง
ข้าราชการกับการเมืองข้าราชการกับการเมือง
ข้าราชการกับการเมืองTaraya Srivilas
 
ใบความรู้ศาสนาคริสต์
ใบความรู้ศาสนาคริสต์ใบความรู้ศาสนาคริสต์
ใบความรู้ศาสนาคริสต์Proud N. Boonrak
 
เทศกาลและพิธีกรรมทางศาสนาคริสต์
เทศกาลและพิธีกรรมทางศาสนาคริสต์เทศกาลและพิธีกรรมทางศาสนาคริสต์
เทศกาลและพิธีกรรมทางศาสนาคริสต์CC Nakhon Pathom Rajabhat University
 
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาบั๊คจื๊อ (ม่อจื๊อ)
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาบั๊คจื๊อ (ม่อจื๊อ)วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาบั๊คจื๊อ (ม่อจื๊อ)
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาบั๊คจื๊อ (ม่อจื๊อ)Padvee Academy
 
สอนเด็ก ม3
สอนเด็ก ม3สอนเด็ก ม3
สอนเด็ก ม3Sukanda Panpetch
 
ธัมมะฐิตะกะถา (เทศน์ทำบุญอุทิศให้ยายยาน มาลีหวล)
ธัมมะฐิตะกะถา (เทศน์ทำบุญอุทิศให้ยายยาน มาลีหวล)ธัมมะฐิตะกะถา (เทศน์ทำบุญอุทิศให้ยายยาน มาลีหวล)
ธัมมะฐิตะกะถา (เทศน์ทำบุญอุทิศให้ยายยาน มาลีหวล)Kiat Chaloemkiat
 
ภาษาบาลี ชุดที่ ๓ นามศัพท์ ลิงค์ วจนะ วิภัตติ
ภาษาบาลี ชุดที่ ๓   นามศัพท์ ลิงค์ วจนะ วิภัตติภาษาบาลี ชุดที่ ๓   นามศัพท์ ลิงค์ วจนะ วิภัตติ
ภาษาบาลี ชุดที่ ๓ นามศัพท์ ลิงค์ วจนะ วิภัตติAnchalee BuddhaBucha
 
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนาหลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนาmagicgirl123
 
สงครามเปอร์เซีย
สงครามเปอร์เซียสงครามเปอร์เซีย
สงครามเปอร์เซียLatte Mpc
 

What's hot (20)

ปรัชญาเบื้องต้น
ปรัชญาเบื้องต้นปรัชญาเบื้องต้น
ปรัชญาเบื้องต้น
 
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรมมาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม
 
วรรณคดีไทยกับบริบททางสังคม
วรรณคดีไทยกับบริบททางสังคมวรรณคดีไทยกับบริบททางสังคม
วรรณคดีไทยกับบริบททางสังคม
 
สถาบันพระมหากษัตริย์กับปวงชนชาวไทย
สถาบันพระมหากษัตริย์กับปวงชนชาวไทยสถาบันพระมหากษัตริย์กับปวงชนชาวไทย
สถาบันพระมหากษัตริย์กับปวงชนชาวไทย
 
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาเล่าจื๊อ
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาเล่าจื๊อวิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาเล่าจื๊อ
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาเล่าจื๊อ
 
ศาสนาคริสต์
ศาสนาคริสต์ศาสนาคริสต์
ศาสนาคริสต์
 
038พระพุทธศาสนากับการเมืองไทย
038พระพุทธศาสนากับการเมืองไทย038พระพุทธศาสนากับการเมืองไทย
038พระพุทธศาสนากับการเมืองไทย
 
ศรีลังกา
ศรีลังกาศรีลังกา
ศรีลังกา
 
1 เศรษฐศาสตร์เบื้องต้น copy
1 เศรษฐศาสตร์เบื้องต้น   copy1 เศรษฐศาสตร์เบื้องต้น   copy
1 เศรษฐศาสตร์เบื้องต้น copy
 
ข้าราชการกับการเมือง
ข้าราชการกับการเมือง ข้าราชการกับการเมือง
ข้าราชการกับการเมือง
 
ข้าราชการกับการเมือง
ข้าราชการกับการเมืองข้าราชการกับการเมือง
ข้าราชการกับการเมือง
 
ใบความรู้ศาสนาคริสต์
ใบความรู้ศาสนาคริสต์ใบความรู้ศาสนาคริสต์
ใบความรู้ศาสนาคริสต์
 
มงคล38
มงคล38มงคล38
มงคล38
 
เทศกาลและพิธีกรรมทางศาสนาคริสต์
เทศกาลและพิธีกรรมทางศาสนาคริสต์เทศกาลและพิธีกรรมทางศาสนาคริสต์
เทศกาลและพิธีกรรมทางศาสนาคริสต์
 
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาบั๊คจื๊อ (ม่อจื๊อ)
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาบั๊คจื๊อ (ม่อจื๊อ)วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาบั๊คจื๊อ (ม่อจื๊อ)
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาบั๊คจื๊อ (ม่อจื๊อ)
 
สอนเด็ก ม3
สอนเด็ก ม3สอนเด็ก ม3
สอนเด็ก ม3
 
ธัมมะฐิตะกะถา (เทศน์ทำบุญอุทิศให้ยายยาน มาลีหวล)
ธัมมะฐิตะกะถา (เทศน์ทำบุญอุทิศให้ยายยาน มาลีหวล)ธัมมะฐิตะกะถา (เทศน์ทำบุญอุทิศให้ยายยาน มาลีหวล)
ธัมมะฐิตะกะถา (เทศน์ทำบุญอุทิศให้ยายยาน มาลีหวล)
 
ภาษาบาลี ชุดที่ ๓ นามศัพท์ ลิงค์ วจนะ วิภัตติ
ภาษาบาลี ชุดที่ ๓   นามศัพท์ ลิงค์ วจนะ วิภัตติภาษาบาลี ชุดที่ ๓   นามศัพท์ ลิงค์ วจนะ วิภัตติ
ภาษาบาลี ชุดที่ ๓ นามศัพท์ ลิงค์ วจนะ วิภัตติ
 
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนาหลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
 
สงครามเปอร์เซีย
สงครามเปอร์เซียสงครามเปอร์เซีย
สงครามเปอร์เซีย
 

Similar to ส่งเสริมความเข้มแข็งของสถาบันศาสนา เพื่อให้เป็นสถาบันหลักของสังคม

สันติธานี
สันติธานีสันติธานี
สันติธานีTaraya Srivilas
 
“ธรรมกาย” กับพุทธศาสนาและการเมืองในประเทศไทย
“ธรรมกาย” กับพุทธศาสนาและการเมืองในประเทศไทย“ธรรมกาย” กับพุทธศาสนาและการเมืองในประเทศไทย
“ธรรมกาย” กับพุทธศาสนาและการเมืองในประเทศไทยYaowaluk Chaobanpho
 
วัฒนธรรมไทย
วัฒนธรรมไทยวัฒนธรรมไทย
วัฒนธรรมไทยbabyoam
 
คู่มือ นวัตกรสังคม เนื้อหาหลักสูตร
คู่มือ นวัตกรสังคม เนื้อหาหลักสูตรคู่มือ นวัตกรสังคม เนื้อหาหลักสูตร
คู่มือ นวัตกรสังคม เนื้อหาหลักสูตรDental Faculty,Phayao University.
 
พุทธสาวก : พระราธะ ส16101 ป.6
พุทธสาวก :  พระราธะ  ส16101 ป.6พุทธสาวก :  พระราธะ  ส16101 ป.6
พุทธสาวก : พระราธะ ส16101 ป.6Thanawut Rattanadon
 

Similar to ส่งเสริมความเข้มแข็งของสถาบันศาสนา เพื่อให้เป็นสถาบันหลักของสังคม (6)

สันติธานี
สันติธานีสันติธานี
สันติธานี
 
“ธรรมกาย” กับพุทธศาสนาและการเมืองในประเทศไทย
“ธรรมกาย” กับพุทธศาสนาและการเมืองในประเทศไทย“ธรรมกาย” กับพุทธศาสนาและการเมืองในประเทศไทย
“ธรรมกาย” กับพุทธศาสนาและการเมืองในประเทศไทย
 
วัฒนธรรมไทย
วัฒนธรรมไทยวัฒนธรรมไทย
วัฒนธรรมไทย
 
ความหมายและประเภทของศาสนา
ความหมายและประเภทของศาสนาความหมายและประเภทของศาสนา
ความหมายและประเภทของศาสนา
 
คู่มือ นวัตกรสังคม เนื้อหาหลักสูตร
คู่มือ นวัตกรสังคม เนื้อหาหลักสูตรคู่มือ นวัตกรสังคม เนื้อหาหลักสูตร
คู่มือ นวัตกรสังคม เนื้อหาหลักสูตร
 
พุทธสาวก : พระราธะ ส16101 ป.6
พุทธสาวก :  พระราธะ  ส16101 ป.6พุทธสาวก :  พระราธะ  ส16101 ป.6
พุทธสาวก : พระราธะ ส16101 ป.6
 

More from Taraya Srivilas

การบริหารความขัดแย้ง บยส แจก
การบริหารความขัดแย้ง บยส แจกการบริหารความขัดแย้ง บยส แจก
การบริหารความขัดแย้ง บยส แจกTaraya Srivilas
 
นโยบายการจัดการความขัดแย้งด้วยสันติวิธี วทอ แจก
นโยบายการจัดการความขัดแย้งด้วยสันติวิธี วทอ แจกนโยบายการจัดการความขัดแย้งด้วยสันติวิธี วทอ แจก
นโยบายการจัดการความขัดแย้งด้วยสันติวิธี วทอ แจกTaraya Srivilas
 
โปสเตอร์สัญญาประชาคม
โปสเตอร์สัญญาประชาคมโปสเตอร์สัญญาประชาคม
โปสเตอร์สัญญาประชาคมTaraya Srivilas
 
จริยธรรมทางการแพทย์ 75 ปธพ.6
จริยธรรมทางการแพทย์ 75 ปธพ.6จริยธรรมทางการแพทย์ 75 ปธพ.6
จริยธรรมทางการแพทย์ 75 ปธพ.6Taraya Srivilas
 
การเรียนรู้ตามรอยพระยุคลบาท การพัฒนาคุณธรรมและจริยธรรมในการทำงาน
การเรียนรู้ตามรอยพระยุคลบาท การพัฒนาคุณธรรมและจริยธรรมในการทำงานการเรียนรู้ตามรอยพระยุคลบาท การพัฒนาคุณธรรมและจริยธรรมในการทำงาน
การเรียนรู้ตามรอยพระยุคลบาท การพัฒนาคุณธรรมและจริยธรรมในการทำงานTaraya Srivilas
 
แนวทางในการเรียนรู้ร่วมกันเพื่อลดความขัดแย้งในการจัดการป่าม้ระดับชุมชน
แนวทางในการเรียนรู้ร่วมกันเพื่อลดความขัดแย้งในการจัดการป่าม้ระดับชุมชนแนวทางในการเรียนรู้ร่วมกันเพื่อลดความขัดแย้งในการจัดการป่าม้ระดับชุมชน
แนวทางในการเรียนรู้ร่วมกันเพื่อลดความขัดแย้งในการจัดการป่าม้ระดับชุมชนTaraya Srivilas
 
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง สจว แจก
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง สจว  แจกสันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง สจว  แจก
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง สจว แจกTaraya Srivilas
 
ค้นหาตัวเอง อุซะ usa 69
ค้นหาตัวเอง อุซะ usa 69ค้นหาตัวเอง อุซะ usa 69
ค้นหาตัวเอง อุซะ usa 69Taraya Srivilas
 
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง วิทยาลัยตำรวจ
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง วิทยาลัยตำรวจสันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง วิทยาลัยตำรวจ
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง วิทยาลัยตำรวจTaraya Srivilas
 
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 webสถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 webTaraya Srivilas
 
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 webสถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 webTaraya Srivilas
 
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 Taraya Srivilas
 
การสร้างความสามัคคีปรองดอง ปยป. และ ความสมานฉันท์ในสังคมไทย
การสร้างความสามัคคีปรองดอง ปยป. และ ความสมานฉันท์ในสังคมไทยการสร้างความสามัคคีปรองดอง ปยป. และ ความสมานฉันท์ในสังคมไทย
การสร้างความสามัคคีปรองดอง ปยป. และ ความสมานฉันท์ในสังคมไทยTaraya Srivilas
 
สถิติเกี่ยวกับผู้หญิง
สถิติเกี่ยวกับผู้หญิงสถิติเกี่ยวกับผู้หญิง
สถิติเกี่ยวกับผู้หญิงTaraya Srivilas
 
บทบาทสตรีสันติภาพชายแดนใต้
บทบาทสตรีสันติภาพชายแดนใต้บทบาทสตรีสันติภาพชายแดนใต้
บทบาทสตรีสันติภาพชายแดนใต้Taraya Srivilas
 
บทบาทสตรีในอนาคต
บทบาทสตรีในอนาคตบทบาทสตรีในอนาคต
บทบาทสตรีในอนาคตTaraya Srivilas
 
บทบาทสตรีกับการสร้างสรรค์สังคมสันติสุข
บทบาทสตรีกับการสร้างสรรค์สังคมสันติสุขบทบาทสตรีกับการสร้างสรรค์สังคมสันติสุข
บทบาทสตรีกับการสร้างสรรค์สังคมสันติสุขTaraya Srivilas
 
การจัดการความขัดแย้งในพื้นที่
การจัดการความขัดแย้งในพื้นที่การจัดการความขัดแย้งในพื้นที่
การจัดการความขัดแย้งในพื้นที่Taraya Srivilas
 
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้า
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้าการสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้า
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้าTaraya Srivilas
 

More from Taraya Srivilas (20)

การบริหารความขัดแย้ง บยส แจก
การบริหารความขัดแย้ง บยส แจกการบริหารความขัดแย้ง บยส แจก
การบริหารความขัดแย้ง บยส แจก
 
นโยบายการจัดการความขัดแย้งด้วยสันติวิธี วทอ แจก
นโยบายการจัดการความขัดแย้งด้วยสันติวิธี วทอ แจกนโยบายการจัดการความขัดแย้งด้วยสันติวิธี วทอ แจก
นโยบายการจัดการความขัดแย้งด้วยสันติวิธี วทอ แจก
 
โปสเตอร์สัญญาประชาคม
โปสเตอร์สัญญาประชาคมโปสเตอร์สัญญาประชาคม
โปสเตอร์สัญญาประชาคม
 
จริยธรรมทางการแพทย์ 75 ปธพ.6
จริยธรรมทางการแพทย์ 75 ปธพ.6จริยธรรมทางการแพทย์ 75 ปธพ.6
จริยธรรมทางการแพทย์ 75 ปธพ.6
 
การเรียนรู้ตามรอยพระยุคลบาท การพัฒนาคุณธรรมและจริยธรรมในการทำงาน
การเรียนรู้ตามรอยพระยุคลบาท การพัฒนาคุณธรรมและจริยธรรมในการทำงานการเรียนรู้ตามรอยพระยุคลบาท การพัฒนาคุณธรรมและจริยธรรมในการทำงาน
การเรียนรู้ตามรอยพระยุคลบาท การพัฒนาคุณธรรมและจริยธรรมในการทำงาน
 
แนวทางในการเรียนรู้ร่วมกันเพื่อลดความขัดแย้งในการจัดการป่าม้ระดับชุมชน
แนวทางในการเรียนรู้ร่วมกันเพื่อลดความขัดแย้งในการจัดการป่าม้ระดับชุมชนแนวทางในการเรียนรู้ร่วมกันเพื่อลดความขัดแย้งในการจัดการป่าม้ระดับชุมชน
แนวทางในการเรียนรู้ร่วมกันเพื่อลดความขัดแย้งในการจัดการป่าม้ระดับชุมชน
 
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง สจว แจก
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง สจว  แจกสันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง สจว  แจก
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง สจว แจก
 
ค้นหาตัวเอง อุซะ usa 69
ค้นหาตัวเอง อุซะ usa 69ค้นหาตัวเอง อุซะ usa 69
ค้นหาตัวเอง อุซะ usa 69
 
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง วิทยาลัยตำรวจ
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง วิทยาลัยตำรวจสันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง วิทยาลัยตำรวจ
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง วิทยาลัยตำรวจ
 
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 webสถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
 
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 webสถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
 
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8
 
American first muslim
American first muslimAmerican first muslim
American first muslim
 
การสร้างความสามัคคีปรองดอง ปยป. และ ความสมานฉันท์ในสังคมไทย
การสร้างความสามัคคีปรองดอง ปยป. และ ความสมานฉันท์ในสังคมไทยการสร้างความสามัคคีปรองดอง ปยป. และ ความสมานฉันท์ในสังคมไทย
การสร้างความสามัคคีปรองดอง ปยป. และ ความสมานฉันท์ในสังคมไทย
 
สถิติเกี่ยวกับผู้หญิง
สถิติเกี่ยวกับผู้หญิงสถิติเกี่ยวกับผู้หญิง
สถิติเกี่ยวกับผู้หญิง
 
บทบาทสตรีสันติภาพชายแดนใต้
บทบาทสตรีสันติภาพชายแดนใต้บทบาทสตรีสันติภาพชายแดนใต้
บทบาทสตรีสันติภาพชายแดนใต้
 
บทบาทสตรีในอนาคต
บทบาทสตรีในอนาคตบทบาทสตรีในอนาคต
บทบาทสตรีในอนาคต
 
บทบาทสตรีกับการสร้างสรรค์สังคมสันติสุข
บทบาทสตรีกับการสร้างสรรค์สังคมสันติสุขบทบาทสตรีกับการสร้างสรรค์สังคมสันติสุข
บทบาทสตรีกับการสร้างสรรค์สังคมสันติสุข
 
การจัดการความขัดแย้งในพื้นที่
การจัดการความขัดแย้งในพื้นที่การจัดการความขัดแย้งในพื้นที่
การจัดการความขัดแย้งในพื้นที่
 
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้า
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้าการสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้า
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้า
 

ส่งเสริมความเข้มแข็งของสถาบันศาสนา เพื่อให้เป็นสถาบันหลักของสังคม

  • 3. • ศาสนาเป็ นสถาบันที่สาคัญหนึ่งในสามขององค์ประกอบ “ชาติ ศาสนา และพระมหากษัตริย์” • มีศาสนาพุทธเป็ นศาสนาที่ประชาชนชาวไทยส่วนใหญ่นับถือมากที่สุด มาเป็ นเวลาช้านาน • ปี พ.ศ. ๒๕๕๔ สานักงานสถิติแห่งชาติ ได้ทาการสารวจประชากร อายุ ๑๓ ปี ขึ้นไป พบว่า คนไทยนับถือศาสนาพุทธ ร้อยละ ๙๔.๖ ศาสนาอิสลามร้อยละ ๔.๖ ศาสนาคริสต์ร้อยละ ๐.๗ ที่ เหลือคือนับถือศาสนาอื่นๆ และไม่มีศาสนา • พุทธศาสนาได้ผสมกลมกลืนอยู่ในศิลปวัฒนธรรมและวิถีชีวิตของผู้คน หล่อหลอมอัตลักษณ์แห่งความเป็ นพลเมืองผู้มีน้าใจอันดีงามและรักสันติ มาอย่างยาวนาน ศาสนาเป็นสถาบันหลักของชาติ ที่อยู่คู่กับประเทศไทยมาช้านาน
  • 4. • มีการพัฒนาด้านวัตถุอย่างมาก ก่อให้เกิดสภาวะแวดล้อมที่ไม่เอื้อต่อ การเสริมสร้างศีลธรรม คุณธรรม จริยธรรม และการนาหลัก ศาสนธรรมไปปฏิบัติในหมู่ชนส่วนใหญ่ • ปัจจุบันข่าวสารจากสื่อสารมวลชน สะท้อนภาพผู้คนที่ขาดศีลธรรม หลงใหลอยู่ในวัตถุนิยม ความฟุ่ มเฟื อย เกิดแหล่งอบายมุขหลาย ประเภท คนขาดจิตสานึกในคุณธรรมตามหลักศาสนา • มีพฤติกรรมที่ส่ อไปในทางทุจริตประพฤติมิชอบอย่างแพร่หลาย ขาดความละอายต่อบาป เกิดขึ้นในทุกมิติของสังคม ภาคประชาสังคม ประสบความล้มเหลวในการสร้างคนให้เป็ นคนดีทั้งในระดับครอบครัว และชุมชน สภาพสังคมไทยในปัจจุบัน การสํารวจสภาวะทางสังคม วัฒนธรรมและสุขภาพจิต พ.ศ. ๒๕๕๔ สํานักงานสถิติแห่งชาติ สืบค้นจากhttp://service.nso.go.th/nso/nsopublish/themes/files/soc-culRep54.pdf
  • 5. • กระแสการเปลี่ยนแปลงของโลกเกิดขึ้นอย่างรวดเร็วในยุคโลกาภิวัตน์ ส่งผลกระทบต่อสังคมไทยในภาพรวมอย่างมาก • สังคมโลกปัจจุบันก่อให้เกิดการเสื่ อมถอยและวิกฤติศรัทธาในหมู่ ประชาชนเพิ่มขึ้น ศาสนิกชนในแต่ละศาสนาขาดความรู้ความเข้าใจ ในหลักศาสนาของตนอย่างแท้จริง รวมทั้งขาดความเข้าใจในศาสนาอื่น • สื่อมวลชนยังมีบทบาทน้อยและขาดความรู้ความเข้าในการให้ข้อมูล ข่าวสารเกี่ยวกับศาสนาที่ถูกต้องครบถ้วน มีผลทาให้สังคมเกิดปัญหา อย่างมากในด้านศีลธรรมและคุณธรรม • บุคคลทุกกลุ่ม ทุกเพศ ทุกวัย ขาดการนาหลักศาสนธรรมไปปฏิบัติใน การดาเนินชีวิตประจาวัน อย่างเพียงพอ สภาพสังคมไทยในปัจจุบัน
  • 6. ปัญหาเรื่องความเข้มแข็งขององค์กรศาสนา • สังคมเปรียบเสมือนกงล้อที่มีสถาบันทางสังคมต่างๆ ร่วมกันขับเคลื่อน “สถาบัน ศาสนา” ก็คือแกนหลักที่เชื่อมโยงยึดเหนี่ยวสถาบันอื่นๆเข้าด้วยกันมาแต่โบราณกาล • สังคมไทยมี “วัด” เป็ นศูนย์กลางในการดาเนินชีวิตของผู้คนในแต่ละชุมชนอย่าง แน่นแฟ้ น แต่ในปัจจุบันพบว่าสถาบันศาสนากลับค่อยๆ ลดบทบาทลงอย่างมาก • ทุกศาสนาประสบกับปัญหาการดาเนินการภายในองค์กรศาสนาเอง เนื่องมาจาก กฎระเบียบที่ไม่ได้รับการปรับปรุงแก้ไขให้สอดรับกับสภาพการณ์ของสังคมที่ เปลี่ยนแปลงไปอย่างรวดเร็วในปัจจุบัน • ปัญหาอุปสรรคในด้านการบังคับใช้กฎหมายและการบริหารจัดการภายในองค์กร ทางศาสนา ที่มีปัญหาสะสมเป็ นเวลานาน มีผลทาให้สูญเสียภาพลักษณ์ของ องค์กรที่ผู้คนนับถืออย่างสูงส่งในอดีต รวมทั้งสูญเสียบทบาทในการเป็ นที่พึ่งพา และเป็ นหลักยึดเหนี่ยวทางด้านจิตใจของมหาชน
  • 7. • โลกในยุคที่มีการพัฒนาอย่างรวดเร็วทางด้านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและ สารสนเทศในปัจจุบัน มีผลทาให้เกิดการพัฒนาทางวัตถุมากขึ้นเพียงใด • ประชาชนก็ดูเหมือนจะถอยห่างจากศาสนามากขึ้นไปด้วย ในศาสนาพุทธเองจะ พบว่าจานวนพระภิกษุสามเณรลดน้อยลงเรื่อยๆ และมีแนวโน้มจะลดลงไปอีกใน อนาคต • วัดจานวนมากกลายเป็ นวัดร้างเนื่องจากไม่มีพระไปจาพรรษาอยู่ นอกจากนี้ทุก ศาสนายังมีปัญหาในเรื่องคุณภาพของบุคลากรทางศาสนา พบว่าส่วนใหญ่ยังขาด ความรู้ และทักษะในการสื่อสารหรือถ่ายทอดหลักคาสอนที่ถูกต้อง เพื่อสั่งสอน ศาสนิกชนอย่างเหมาะสม • บ่อยครั้งพบว่าจะมุ่งเน้นไปทางทาพิธีกรรมต่างๆหรือมีพฤติกรรมที่ไม่น่าเลื่อมใส ศรัทธา จึงเป็ นการยากที่จะจูงใจผู้คนให้ตั้งมั่นอยู่ในหลักคาสอนและหลักปฏิบัติ ของแต่ละศาสนาอย่างแท้จริงได้ ปัญหาเรื่องบุคลากรทางศาสนา
  • 8. • จากการสารวจ พบว่ามีคนไทยที่ระบุศาสนาของตนเองเป็ นจานวนมาก เมื่อสอบถามกลับไปพบว่าคนเหล่านี้ประพฤติปฏิบัติตามหลักคาสอน และข้าร่วมกิจกรรมทางศาสนาของตนเพียงเล็กน้อย • ศาสนิกชนมีแนวโน้มที่จะนาคาสอนในหลักศาสนาของตนมาใช้เป็ น แนวทางในการดาเนินชีวิตน้อยลงเรื่อยๆ • จากการสารวจของสานักงานสถิติแห่งชาติ มุสลิมจะใช้หลักคาสอน ทางศาสนาแก้ปัญหาชีวิตและการทางานทุกครั้งสูงที่สุด คือร้อยละ ๓๓.๙ รองลงมาคริสต์ศาสนิกชนร้อยละ ๒๒.๙ และ พุทธศาสนิกชนร้อยละ ๑๓.๖ การขาดการนาหลักศาสนามาใช้ปฏิบัติใน ชีวิตประจาวัน ทั้งระดับบุคคลและองค์กร
  • 9. • ผลที่ตามมาจากข่าวสารผ่านสื่อมวลชนในปัจจุบัน สะท้อนถึงภาพผู้คนที่ขาด ศีลธรรม มีความงมงาย หลงใหลอยู่ในวัตถุนิยม ความฟุ่มเฟือย มั่วสุมใน แหล่งอบายมุข การพนัน การเสพยาเสพติด ฉาวโฉ่ทางกามโลกีย์ อาชญากรรมเพิ่มขึ้น และนิยมการใช้ความรุนแรง • มีการทุจริตประพฤติมิชอบอย่างแพร่หลายในทุกมิติของสังคม ภาคประชาสังคม ประสบความล้มเหลวในการสร้างคนให้เป็นคนดีทั้งในระดับครอบครัวและชุมชน • ครูและผู้ปกครองไม่สามารถใช้ชีวิตที่เป็ นแบบอย่างที่ดีแก่เยาวชน บุตรหลานและ คนในครอบครัวของตนเองได้ • ชุมชน องค์กร สถานที่ทางาน อาคารห้างร้านต่างๆไม่มีพื้นปฏิบัติกิจกรรมทาง ศาสนาที่จะนาหลักคาสอนทางศาสนธรรมมาปฏิบัติในชีวิตประจาวันอย่างเหมาะสม ส่วนใหญ่จะเน้นพิธีกรรมตามความเชื่อเท่านั้น การขาดการนาหลักศาสนามาใช้ปฏิบัติใน ชีวิตประจาวัน ทั้งระดับบุคคลและองค์กร
  • 10. • ในหมู่ประชาชนที่ปฏิบัติธรรมตามหลักศาสนา ก็ยังมิได้มีการศึกษาหลักธรรมกัน อย่างเป็ นระบบ ทาให้การจะนาหลักศาสนธรรมมาปฏิบัติในชีวิตประจาวันของ ทุกกลุ่มบุคคลยังเกิดขึ้นได้ยาก • ในสถาบันการศึกษายังแยกบทบาทขององค์กรศาสนาออกจากการจัดการศึกษา อย่างชัดเจน • ตัวอย่างเช่น พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติพุทธศักราช ๒๕๔๒ และ แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่๒) พุทธศักราช ๒๕๔๕ในหมวด ๑ มาตรา ๖ แม้ พระราชบัญญัติดังกล่าวจะให้ความสาคัญกับคุณธรรมจริยธรรม แต่ก็แยกออก จากหลักศาสนา อีกทั้งการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานยังขาดการกาหนดแนวทางการ สอนหลักศาสนาที่ชัดเจนในทุกระดับชั้นขาดแคลนครูต้นแบบที่ดี และขาดการ ประเมินผลสัมฤทธิ์ที่ชัดเจนอีกด้วย (ราชกิจจานุเบกษา,หมวดที่๑บททั่วไปความหมายและหลักการ,(เล่มที่๑๑๖ตอนที่๗๔ก, ๑๙ สิงหาคม ๒๕๔๒),หน้า๓.) การขาดการนาหลักศาสนามาใช้ปฏิบัติในชีวิตประจาวัน ทั้งระดับบุคคลและองค์กร
  • 11. • การดาเนินงานของแต่ละศาสนามีแนวโน้มที่จะนาไปสู่วิกฤติศรัทธาของประชาชน ความร่วมมือระหว่างศาสนายังไม่เกิดขึ้นเท่าที่ควร อาจเป็ นเพราะขาดองค์กรกลาง ในการประสานงานและสร้างความรู้ความเข้าใจระหว่างกัน • การดาเนินกิจกรรมระหว่างศาสนา ขาดงบประมาณสนับสนุนที่เพียงพอ ศาสนิก ชนในแต่ละศาสนายังขาดความรู้ความเข้าใจและการปฏิบัติตนตามหลักธรรมคาสอน ทั้งของศาสนาตนเองและศาสนาอื่น • มีทัศนคติทางลบต่อกันระหว่างศาสนาหรือในศาสนาเดียวกัน เกิดจาก ๑) ความ แตกต่างทางพิธีกรรม ๒) ความแตกต่างทางความเชื่อ ๓) ความแตกต่างทางเชื้อ ชาติและเผ่าพันธ์ ๔) ความแตกต่างทางด้านคาสอน ๕) การนาศาสนาเข้าไป เกี่ยวข้องกับทางการเมือง ๖) การตีความหมายของคาสอนผิดเพี้ยนไปจากเดิม ๗) ผลประโยชน์มหาศาลที่มาพร้อมกับความเลื่อมใสทางศาสนา ๘) การไม่ยอมรับ ฟังความคิดเห็นของศาสนาอื่นที่อยู่ในชุมชนเดียวกัน ๙) พวกที่คลั่งศาสนาแต่ไม่ เคร่งศาสนา ปัญหาเรื่องการขาดการเสริมสร้างความสัมพันธ์ที่ดีระหว่างศาสนิกชน ของทุกศาสนา
  • 12. • ความแตกต่างระหว่างศาสนา ทาให้โอกาสที่แต่ละศาสนาจะได้เกิด การเรียนรู้ระหว่างกัน ตลอดจนการมีกิจกรรมที่เชื่อมประสานกันจึงยังมี น้อย • ผลจากความไม่เข้าใจกันมากขึ้น และอาจนาไปสู่ความแตกแยกทาง ความคิดเพิ่มขึ้นเรื่อยๆจนถึงขั้นก่อให้เกิดความรุนแรงทางพฤติกรรมได้ • ประเด็นเรื่องการขาดการเสริมสร้างความสัมพันธ์ที่ดีระหว่างศาสนิกชน ของทุกศาสนา จึงเป็ นอีกประเด็นปัญหาหนึ่งที่สมควรได้รับการฟื้นฟู ปัญหาเรื่องการขาดการเสริมสร้างความสัมพันธ์ที่ดี ระหว่างศาสนิกชนของทุกศาสนา
  • 13. • การเผยแผ่คาสอนตามหลักศาสนา จาเป็ นต้องอาศัยการสื่อสารเป็ น หลัก นอกจากสื่อสิ่งพิมพ์ประเภทหนังสือ จุลสาร เทป วีดิทัศน์แล้ว ยังต้องใช้ การสื่ อสารที่เป็ นกระแสหลักได้แก่ หนังสื อพิมพ์ วิทยุกระจายเสียง วิทยุโทรทัศน์ และสื่อทางเลือกประเภทสื่อออนไลน์ เคเบิลทีวี โทรทัศน์ดาวเทียม • ปัจจุบันวัดต่างๆ เผยแผ่ศาสนาทางอินเทอร์เน็ตมากขึ้น สาหรับพุทธ ศาสนาจานวนเว็บไซต์ของวัดเพิ่มขึ้นอย่างมากในปี พ.ศ. ๒๕๔๙ มี จานวน ๗๐๙ เว็บไซต์ แต่ปี พ.ศ. ๒๕๕๒ พบว่ามีถึง ๑,๐๒๖ เว็บไซต์ • พบว่าเนื้อหาที่นาเสนอยังขาดรูปแบบและการดึงดูดความสนใจ ความ ใส่ใจในข้อปฏิบัติตามหลักศาสนธรรมยังมีน้อยและไม่ชัดเจน ปัญหาการขาดสื่อประเภทต่างๆ และสื่อมวลชน
  • 14. • เมื่อศาสนิกชนส่วนใหญ่ขาดการยึดหลักศาสนธรรมมาเป็นแนวทางในการดาเนิน ชีวิตอย่างจริงจัง สถาบันศาสนาจึงถูกลดบทบาทจากการเป็นศูนย์กลางที่เป็นที่ พึ่งพาทางด้านจิตใจของคนในสังคม • องค์กรศาสนาอ่อนแอด้วยเหตุปัจจัยทั้งด้านการบริหารจัดการองค์กรที่โปร่งใส การ เผยแผ่หลักธรรมคาสอน บุคลากรในสถาบันศาสนาไม่ได้ทาหน้าที่ในการปลูกฝัง ถ่ายทอด อบรมคุณธรรม จริยธรรมแก่ประชาชนอย่างจริงจัง • ทาให้ขาดแบบอย่างที่ดีงามจากองค์กรศาสนา และศาสนาไม่สามารถยึดเหนี่ยว จิตใจคนให้ทาความดีได้ • สื่อมวลชนไม่ได้ทาหน้าที่ด้วยความรู้ความเข้าใจที่ถูกต้องในศาสนา • ผลสุดท้ายอาจทาให้ประชาชนส่วนใหญ่เกิดการมองศาสนาแต่ในแง่ลบ และไม่ สามารถดึงศักยภาพของพลังเชิงบวกมาแก้ปัญหาในชีวิตประจาวันได้ จึงมีความ จาเป็นต้องปฏิรูปด้านศาสนา เพื่อ “ส่งเสริมความเข้มแข็งของสถาบันศาสนา ให้เป็นสถาบันหลักของสังคม” (การเผยแผ่พระพุทธศาสนากับเทคโนโลยีสารสนเทศ สืบค้นจากhttp://www.phd.mbu.ac.th/index.php/2๐14-๐8-28-๐8-57-4/1๐6-2๐14-๐9-2๐-๐8-27-56 และรอง ศาสตราจารย์ ดร.เพ็ญแข ประจนปัจจนึก (๒๕๕๑) การวิจัยเรื่อง การยกระดับคุณธรรม จริยธรรมของสังคมไทยเพื่อการปฏิรูปสังคม : แนวทางและการปฏิบัติสํานักงานสภา ที่ปรึกษาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ)
  • 15. • เพื่อพัฒนาศักยภาพขององค์กรและบุคลากรทางศาสนาทุกศาสนา • เพื่อส่งเสริมการนาหลักศาสนธรรมมาเป็นหลักปฏิบัติในการดาเนินชีวิตประจาวันทั้ง ในระดับบุคคล ครอบครัว สังคม ชุมชน และองค์กรทุกภาคส่วนอย่างยั่งยืน • เพื่อเสริมสร้างความสัมพันธ์ที่ดีระหว่างศาสนิกชนในทุกศาสนา • เพื่อพัฒนาศักยภาพของสถานศึกษาในการบูรณาการหลักศาสนธรรมในการจัด การศึกษาทุกระดับอย่างชัดเจนรวมทั้งให้กระทรวงศึกษาธิการกาหนดสาระการเรียน การสอนเรื่องศาสนาในหลักสูตรและการพัฒนาบุคลากรครู • เพื่อส่งเสริมความเข้มแข็งของสื่อสารมวลชนและเทคโนโลยีสารสนเทศในการนา หลักศาสนาที่ถูกต้องไปเผยแผ่สู่ประชาชน โดยยึดหลักคุณธรรม จริยธรรม และ ศีลธรรมในการนาเสนอทุกรูปแบบ ข้อเสนอยุทธศาสตร์ในการฟื้นฟูกิจการศาสนา
  • 17.
  • 18.
  • 19.
  • 20.