SlideShare a Scribd company logo
1 
ขั้นตอนวิธีการประมวลผล ภาษาคอมพิวเตอร์ 
และ 
ผังงาน 
อ.ศิริรัตน์ วณิชโยบล
2 
โครงสร้างข้อมูล 
แบ่งออกเป็น4 ส่วนคือ 
1.CharacterหรือDataItemคือหน่วยที่เล็กที่สุดของข้อมูล 
2.DataFieldการรวมกันของDataItemอย่างน้อย1DataItem 
3.DataRecordการรวมกันของDataFieldอย่างน้อย1DataField 
4.DataFileการรวมกันของDataRecordอย่างน้อย1DataRecord 
Data File 
Data Record 
Data Field 
Character
3 
ประเภทของข้อมูล(Data Type) 
สาหรับคอมพิวเตอร์ข้อมูลจะมีเพียง2ประเภทคือ 
1.ข้อมูลที่สามารถใช้คานวณได้(Numeric) 
2.ข้อมูลที่ไม่สามารถใช้คานวณได้(CharacterหรือString)
4 
มี2 ชนิดคือ 
1.Transaction Fileเป็นแฟ้มข้อมูลที่เก็บค่าของข้อมูลที่มีการเปลี่ยนแปลง บ่อยๆเป็นแฟ้มข้อมูลชั่วคราวและมักจะไม่เก็บไว้อย่างถาวรเช่นข้อมูล ลูกค้าธนาคารประจาวันที่มีการเปลี่ยนแปลง 
2.Master File 
เป็นแฟ้มหลักที่ใช้เก็บข้อมูลที่ไม่ค่อยมีการเปลี่ยนแปลงและมักเป็น ผลลัพธ์สุดท้ายของแต่ละช่วงเวลาเช่นยอดบัญชีรวมทั้งหมดของลูกค้าณ วันปิดงวดธนาคารแฟ้มประเภทนี้เป็นแฟ้มถาวรเพื่อเก็บไว้ใช้งานต่อไป ทุกๆช่วงเวลาจะมีการปรับยอดโดยใช้ข้อมูลจากTransaction file ที่ เกี่ยวข้อง รูปแบบของการจัดเก็บแฟ้มข้อมูล
5 
หมายถึง 
•การนาข้อมูลมากระทาให้อยู่ในรูปแบบที่มีประโยชน์ต่อผู้ใช้มากขึ้น 
•ผู้ใช้ได้รับความสะดวกและใช้ข้อมูลได้ง่ายขึ้น 
•ทาให้ข้อมูลมีความหมายมีค่ามากขึ้น 
•สิ่งที่ได้จากการประมวลผลข้อมูลเราเรียกว่าข้อสนเทศ(Information) การประมวลผลข้อมูล(Data Processing)
6 
การเตรียม(Input) 
การประมวลผล(Processing) 
การนาเสนอข้อมูล(Output) ขั้นตอนการประมวลผลข้อมูล
7 
การเตรียม(Input) 
หมายถึงการเก็บรวบรวมข้อมูลและการจัดการข้อมูลให้มีรูปแบบ โครงสร้างที่เหมาะสมกับการจะนาไปประมวลผลให้ได้Output ที่ ต้องการ การจัดเตรียมข้อมูลทาตามลาดับได้ดังนี้ 
•การลงรหัส(Coding) 
•การบรรณาธิกรณ์(Editing) 
•การแยกประเภท(Classifying) 
•การบันทึกข้อมูลในสื่อ(Media)
8 
การประมวลผลข้อมูล(Data Processing) 
เป็นขั้นตอนการนาข้อมูลที่ผ่านการตรวจทานและเรียงลาดับแล้ว มาเข้าเครื่องเพื่อการประมวลผล 
ขั้นตอนการทางานของการประมวลผล 
•การคานวณ(Calculating) 
•การรวมข้อมูล(Merging) 
•การเรียงลาดับข้อมูล(Sorting) 
•การดึงข้อมูล(Retrieving) 
•การสรุป(Summerrizing)
9 
การนาเสนอข้อมูล(Output) 
คือการนาผลลัพธ์ที่ได้จากการประมวลผลมาแสดงให้ผู้เกี่ยวข้องหรือ ผู้สนใจทราบเช่น 
•ผลสรุปในรูปตารางกราฟหรือ 
•รายงานในรูปแบบต่างๆ 
เพื่อจะนาไปใช้ประโยชน์ในงานที่เกี่ยวข้อง
10 
การรวบรวมข้อมูล 
การเตรียมข้อมูล 
ข้อมูล 
INPUT 
CPU(ทาการประมวลผล) 
OUTPUT 
Information(ข้อสนเทศ)
11 
ประเภทของการประมวลผลข้อมูล 
แบ่งออกได้เป็น3 ประเภทโดยพิจารณาจากอุปกรณ์ที่ใช้คือ 
•การประมวลผลข้อมูลด้วยมือ(Manual Data Processing) 
•การประมวลผลข้อมูลด้วยเครื่องจักรกล(Mechanical Data Processing) 
•การประมวลผลข้อมูลด้วยเครื่องคอมพิวเตอร์(Electronic Data Processing)
12 
•เป็นวิธีการที่ใช้มานานแล้วก่อนมีComputerมาใช้งาน 
•มีการเก็บข้อมูลเข้าแฟ้ม 
•มีการคิดคานวณด้วยเครื่องคิดเลขกระดาษทดหรือลูกคิด 
•ใช้กับงานที่มีข้อมูลน้อยไม่ต้องการผลแบบเร่งด่วน การประมวลผลข้อมูลด้วยมือ
13 
•เป็นการประมวลผลแบบกึ่งอัตโนมัติ 
•มีการนาเครื่องจักรกลมาช่วยผ่อนแรงงานคนแต่ยังใช้แรงงานคนร่วมด้วยเช่น 
oเครื่องจักรทาบัญชี 
oเครื่องที่เป็นกึ่งอัตโนมัติเรียกว่าเครื่องUnitRecordเช่น 
เครื่องเจาะบัตร 
เครื่องรวมบัตร 
เครื่องเรียงบัตร 
•ใช้กับงานที่มีปริมาณไม่มากนักและต้องการความรวดเร็วปานกลาง การประมวลผลข้อมูลด้วยเครื่องจักรกล
14 
การประมวลผลข้อมูลด้วยเครื่องคอมพิวเตอร์(ElectronicDataProcessing-EPD)คาว่า EPDแปลว่าการประมวลผลด้วยอิเล็กทรอนิกส์หมายถึงการใช้คอมพิวเตอร์นั้นเองงานที่ เหมาะกับการประมวลผลประเภทนี้ควรมีลักษณะดังต่อไปนี้ 
1.เป็นงานที่มีปริมาณมากมีขั้นตอนการทางานซ้าๆกัน 
2.ต้องการความถูกต้องและเสร็จทันเวลา 
3.เป็นงานที่มีความยุ่งยากซับซ้อน 
4.เป็นงานที่ต้องการมีภาพพจน์ที่ทันสมัย การประมวลผลข้อมูลด้วยเครื่องคอมพิวเตอร์
15 
แบ่งออกเป็น2 ลักษณะคือ 
•Batch Processingคือการประมวลผลข้อมูลที่ต้องมีการรวบรวมข้อมูลให้มาก พอสมควรโดยใช้ระยะเวลาช่วงหนึ่งในการเก็บรวบรวมข้อมูลระยะเวลาอาจเป็นวัน สัปดาห์เดือนหรือปีเมื่อสิ้นสุดระยะเวลาดังกล่าวจึงนาข้อมูลมาประมวลผลเราเรียก การประมวลผลแบบนี้ว่าOff-Line System 
•Interactive Processing 
คือการประมวลผลที่เกิดขึ้นทันทีทันใดโดยไม่ต้องรอสะสมข้อมูลข้อมูลแต่ละ รายการจะถูกนาไปประมวลผลทันทีอุปกรณ์รับและแสดงข้อมูลติดต่อหรือควบคุมโดย หน่วยประมวลผลกลางของเครื่องคอมพิวเตอร์ทาให้สามารถประมวลผลได้ตลอดเวลา ระบบนี้เรียกว่าOn-Line Systemลักษณะการประมวลผลด้วยคอมพิวเตอร์
16 
ภาษาคอมพิวเตอร์ (Computer Language)
17 
คือ 
•ชุดคาสั่งเพื่อให้คอมพิวเตอร์ทางานได้ 
•Programmer จาเป็นต้องเขียนคาสั่งให้คอมพิวเตอร์เข้าใจการทางานให้ได้ตามจุดประสงค์ 
•ต้องเขียนด้วยภาษาคอมพิวเตอร์ให้ถูกกฎเกณฑ์และวิธีการเขียนคาสั่ง 
ในปัจจุบันภาษาคอมพิวเตอร์มีให้เลือกใช้มากมายหลายภาษาแต่ละภาษาจะมีลักษณะและ วิธีการเขียนโปรแกรมที่แตกต่างกันเพื่อให้เหมาะสมกับลักษณะงานต่างๆเราจาแนก ภาษาคอมพิวเตอร์ออกเป็นระดับต่างๆดังนี้ 
•ภาษาระดับต่า(Low Level Language) 
•ภาษาระดับสูง(High Level Language) 
•ภาษา4GLภาษาคอมพิวเตอร์
18 
เป็นภาษาที่เครื่องคอมพิวเตอร์สามารถเข้าใจภาษานั้นได้ง่าย 
แต่คนเรานั้นไม่สามารถเข้าใจง่ายนัก 
แบ่งได้เป็น2ประเภทคือ 
1.ภาษาเครื่อง(MachineLanguage) 
2.ภาษาเอสเซมบลี(Assembly) ภาษาระดับต่า(Low Level Language)
19 
เป็นภาษาที่ใช้ในเครื่องคอมพิวเตอร์ระยะแรกๆเครื่องสามารถเข้าใจยอมรับพร้อมจะ 
ทางานตามคาสั่งทั นทีคาสั่งทุกคาสั่งของภาษาเครื่องจะประกอบด้วยตัวเลขล้วนๆโดย ที่ 
โครงสร้างของแต่ละคาสั่งจะประกอบด้วยส่วนสาคัญ2 ส่วนคือ 
1.Operation Code หรือOp-Codeเป็นส่วนที่ใช้ระบุว่าจะให้คอมพิวเตอร์ทา อะไรเช่นการบวกลบคูณหารหรือเปรียบเทียบเบื้องต้น 
2.Operand เป็นส่วนระบุตาแหน่งในหน่วยความจาที่เก็บข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับการ ทางาน 
ของคาสั่งในส่วนแรก ภาษาเครื่อง
20 
•ภาษาเครื่องมีความยุ่งยากในการเขียนมากจึงไม่เป็นที่นิยม 
•ได้มีการพัฒนาภาษาคอมพิวเตอร์ขึ้นอีกระดับหนึ่งทาให้สะดวกในการั้้้เขียน โปรแกรม 
ยิ่งขึ้น 
oใช้อักษรภาษาอังกฤษเป็นรหัสแทนการทางานเช่นADD , SUB 
oใช้ชื่อตัวแปรแทนตาแหน่งที่เก็บข้อมูล 
oใช้สัญลักษณ์ช่วยเขียนโปรแกรม 
•เป็นภาษาที่ใกล้เคียงกับMachine Language มากทาให้้้เขียนโปรแกรมง่ายขึ้นกว่า 
การใช้ภาษาเครื่องโดยตรงเพราะภาษาเครื่องเป็นเพียงตัวเลขล้วนๆ ภาษาเอสเซมบลี
21 
เป็นภาษาที่สร้างขึ้นเพื่อช่วยอานวยความสะดวกในการเขียนโปรแกรมเพราะการเขียน โปรแกรมนั้นเขียนเป็นประโยคภาษาอังกฤษให้เป็นไปตามรูปแบบที่กาหนดของแต่ละภาษา ของHigh-level language 
ผู้เขียนและผู้อ่านโปรแกรมทาได้ง่ายและสะดวกกว่าการเขียนด้วยภาษาAssemblyหรือ ภาษาเครื่องตัวอย่างของHigh-level Language คือ 
•FORTRAN language 
•COBOL language 
•Basic Language 
•RPG languageภาษาระดับสูง(High-level Language)
22 
การแปล (Compilation) 
Computer 
Data 
Data 
Outputการปฎิบัติ(Execution) 
Computer 
Complier 
Source Program 
Object Program 
Program Listingขั้นตอนการแปลและการปฎิบัติงานของ คอมพิวเตอร์
23 
•ภาษา4GL เป็นภาษาที่ส่วนมากแล้วมักจะพบในงานทางด้านของDatabase ซึ่งภาษา 
เหล่านี้ได้แก่ภาษาพวกSQL เป็นต้น 
•ส่วนมากใช้ในลักษณ์ที่บอกว่าต้องการที่จะได้คาตอบอะไรจากคาสั่งนี้โดยมีการเขียน 
คาสั่งตามรูปแบบและไวยากรณ์ของภาษานั้นๆ ภาษา4GL
24 
การเขียนผังงาน 
(Flowcharting)
25 
หมายถึงการเขียนภาพแสดงลาดับขั้นตอนการทางานของผังงาน 
แบ่งออกเป็น2 ประเภทคือ 
•ผังงานระบบ(System Flowchart) 
หมายถึงผังงานที่แสดงขั้นตอนการทางานภายในระบบ 
•ผังงานโปรแกรม(Programming Flowchart) 
หมายถึงผังแสดงลาดับขั้นตอนคาสั่งการทางานในโปรแกรมซึ่งมีส่วนแสดงขั้น ตอนการรับข้อมูลการประมวลผลและการแสดงผลลัพธ์ การเขียนผังงาน
26 
Flowchart หรือผังงานที่จะกล่าวต่อไปนี้ขอกล่าวเฉพาะผังงานโปรแกรม 
•คนสามารถเรียนรู้และเข้าใจผังงานได้ง่ายเพราะผังงานไม่ขึ้นอยู่กับ ภาษาคอมพิวเตอร์ภาษาใดภาษาหนึ่งโดยเฉพาะ 
•ผังงานเป็นการสื่อความหมายด้วยภาพทาให้ง่ายและสะดวกต่อการพิจารณาถึง ลาดับขั้นตอนการทางาน 
•ตรวจสอบความถูกต้องของลาดับขั้นตอนได้ง่าย 
•เขียนโปรแกรมสามารถทาตามFlowchart ได้สะดวกรวดเร็วและง่าย 
•ง่ายต่อการบารุงรักษาโปรแกรมหรือเปลี่ยนแปลงแก้ไขโปรแกรมให้มีประสิทธิภาพขึ้น ประโยชน์ของผังงาน
27 
ข้อจากัดของผังงาน 
•ใช้เป็นสื่อได้ระหว่างคนกับคนแต่ไม่สามารถสื่อระหว่างคนกับเครื่อง 
คอมพิวเตอร์ได้ 
•ไม่สามารถทราบได้ว่ามีขั้นตอนใดสาคัญมากน้อยกว่ากันเพราะใช้สัญลักษณ์ 
ในลักษณะเดียวกัน 
•สิ้นเปลืองเพราะรูปภาพบางครั้งต้องสื่อหลายภาพแต่อาจสามารถเขียนเป็น 
ประโยคอธิบายได้สั้นๆกว่า 
•ในผ งงานบอกแต่ให้ทาอะไรตามขั้นตอนแต่ไม่ได้อธิบายถึงที่มาและที่ไป
28 
สัญลักษณ์ที่ใช้ในการเขียนผังงาน 
จุดเริ่มต้นหรือสิ้นสุดการทางาน 
การประมวลผลคาสั่งต่างๆ 
การตรวจสอบเงื่อนไขหรือการตัดสินใจ 
รับข้อมูลทางแป้นพิมพ์ 
อ่านข้อมูลจากอุปกรณ์ต่างๆ
29 
สัญลักษณ์ที่ใช้ในการเขียนผังงาน 
แสดงผลลัพธ์ทางจอภาพ 
แสดงผลลัพธ์ทางกระดาษ 
ทิศทางการทางาน 
จุดต่อเชื่อมของผังงาน
30 
หลักเกณฑ์ทั่วไปของการเขียนผังงาน 
การเขียนFlowchart สามารถเขียนในกระดาษแบบฟอร์มมาตรฐาน (FlowchartWorksheet)เพื่อความสะดวกประหยัดเนื้อที่และยังมีเครื่องมือ ช่วยคือFlowchart Template
31 
การใช้สัญลักษณ์ในการเขียนผังงาน 
1.การกาหนดค่าเริ่มต้น(Initialization) เป็นการกาหนดค่าเริ่มต้นให้ตัวแปรบางตัวโดยใช้ สัญลักษณ์ 
2.การรับข้อมูล(Input) เป็นการรับค่าตัวแปรสัญลักษณ์ที่ใช้คือ 
3.การประมวลผล(Process) เป็นการแสดงวิธีทาการประมวลผลหรือคานวณเปรียบเทียบ โดยใช้สัญลักษณ์ 
4.การแสดงค่าของผลลัพธ์(Output) แสดงโดย
32 
เพื่อให้Flowchart เป็นมาตรฐานเดียวกันผู้อื่นสามารถอ่านเข้าใจได้ง่ายจึงมีหลักการจัดภาพ และทิศทางของFlowchartด งนี้ 
1.ทิศทางของFlowchartจะเริ่มจากส่วนบนลงมายังส่วนล่างและจากทางซ้ายของกระดาษ 
โดยมีหัวลูกศรกากับทิศทาง 
2. สัญลักษณ์หรือภาพที่ใช้ในFlowchart มีความหมายเดียวกัน 
3. การเขียนทิศทางควรเขียนไปอย่างมีระเบียบ 
4. เขียนคาอธิบายสั้นๆในFlowchart ถ้าจาเป็น 
5. Flowchart ที่ดีควรมีความหมายเป็นระเบียบสะอาดและมีชื่อของผังงานผู้เขียน 
วันที่ที่เขียนและเลขหน้าลาดับ การจัดภาพและทิศทางของFlowchart
33 
•เป็นการเขียนคาเชิงบรรยายเพื่ออธิบายลาดับหรือขั้นตอนของคาสั่งใน โปรแกรม 
•ช่วยให้ผู้ออกแบบโปรแกรมได้เน้นถึงวิธีการของโปรแกรมโดยการอธิบายมาก 
กว่าจะบอกเป็นสูตรคานวณซึ่งเป็นการบอกว่าต้องใช้ข้อมูลหรือการคานวณ 
ใดๆในแต่ละช่วงของโปรแกรม 
ต วอย่าง ซูโดโค้ด(Pseudocode) 
Start 
Read A, B 
Sum = A + B 
Print Sum 
Stop 
Start; 
Read A, B; 
Sum = A + B; 
Print Sum;
34 
บริษัทแห่งหนึ่งต้องการคานวณค่าแรงต่อวันของพนักงานจานวนหนึ่งโดยพิจารณาว่า ถ้าพนักงานคนใดทางานเกินกว่า6 ชั่วโมงเป็นชั่วโมงการทางานนอกเวลาและให้คิดค่าแรง เป็น2 เท่าของค่าแรงปกติจงหาจานวนเงินที่พนักงานแต่ละคนจะได้รับในแต่ละวันและ จานวนเงินที่บริษัทจะต้องจ่ายในวันหนึ่งๆ 
จงเขียนผังงานแสดงขั้นตอนการทางาน ตัวอย่าง

More Related Content

What's hot

แผนการสอนการงานอาชีพ ป.6
แผนการสอนการงานอาชีพ ป.6แผนการสอนการงานอาชีพ ป.6
แผนการสอนการงานอาชีพ ป.6Napadon Yingyongsakul
 
การเขียนบรรณานุกรม
การเขียนบรรณานุกรมการเขียนบรรณานุกรม
การเขียนบรรณานุกรม
Supaporn Khiewwan
 
หน่วยที่ 8 การแต่งคำประพันธ์ประเภทโคลง
หน่วยที่ 8 การแต่งคำประพันธ์ประเภทโคลงหน่วยที่ 8 การแต่งคำประพันธ์ประเภทโคลง
หน่วยที่ 8 การแต่งคำประพันธ์ประเภทโคลง
ณรงค์ศักดิ์ กาหลง
 
รำวงมาตรฐาน ใช้สอน ปี 2557
รำวงมาตรฐาน ใช้สอน ปี 2557รำวงมาตรฐาน ใช้สอน ปี 2557
รำวงมาตรฐาน ใช้สอน ปี 2557Panomporn Chinchana
 
แบบเสนอเค้าโครงร่างโครงงาน
แบบเสนอเค้าโครงร่างโครงงานแบบเสนอเค้าโครงร่างโครงงาน
แบบเสนอเค้าโครงร่างโครงงานnoeypornnutcha
 
โครงงานออกแบบ
โครงงานออกแบบโครงงานออกแบบ
โครงงานออกแบบWatcharinz
 
สารบัญโครงงานคอม
สารบัญโครงงานคอมสารบัญโครงงานคอม
สารบัญโครงงานคอมkand-2539
 
โครงงานประเภททฤษฏี
โครงงานประเภททฤษฏีโครงงานประเภททฤษฏี
โครงงานประเภททฤษฏีNuchy Geez
 
การเขียนเรียงความ ย่อความ
การเขียนเรียงความ ย่อความการเขียนเรียงความ ย่อความ
การเขียนเรียงความ ย่อความ
พัน พัน
 
2.ส่วนคำนำ และสารบัญ
2.ส่วนคำนำ และสารบัญ2.ส่วนคำนำ และสารบัญ
2.ส่วนคำนำ และสารบัญPongpob Srisaman
 
แบบทดสอบหลังเรียนเรื่องบทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจาริยคุณ_ม.4
แบบทดสอบหลังเรียนเรื่องบทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจาริยคุณ_ม.4แบบทดสอบหลังเรียนเรื่องบทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจาริยคุณ_ม.4
แบบทดสอบหลังเรียนเรื่องบทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจาริยคุณ_ม.4Sivagon Soontong
 
ข้อสอบปลายภาค วิชานาฏศิลป์ รหัส ศ 32101
ข้อสอบปลายภาค  วิชานาฏศิลป์  รหัส  ศ 32101ข้อสอบปลายภาค  วิชานาฏศิลป์  รหัส  ศ 32101
ข้อสอบปลายภาค วิชานาฏศิลป์ รหัส ศ 32101นารูโต๊ะ อิอิอิ
 
สารบัญโครงงานคอม
สารบัญโครงงานคอมสารบัญโครงงานคอม
สารบัญโครงงานคอมkand-2539
 
แผนผังความสัมพันธ์ของตัวละครเรื่อง ขุนช้างขุนแผน
แผนผังความสัมพันธ์ของตัวละครเรื่อง ขุนช้างขุนแผนแผนผังความสัมพันธ์ของตัวละครเรื่อง ขุนช้างขุนแผน
แผนผังความสัมพันธ์ของตัวละครเรื่อง ขุนช้างขุนแผนChittraporn Phalao
 
สมุดเล่มเล็ก
สมุดเล่มเล็กสมุดเล่มเล็ก
สมุดเล่มเล็ก
Ged Gis
 
โครงงานภาษาไทยเรื่องนิทาน
โครงงานภาษาไทยเรื่องนิทานโครงงานภาษาไทยเรื่องนิทาน
โครงงานภาษาไทยเรื่องนิทานRawinnipha Joy
 
สารบัญภาษาไทย
สารบัญภาษาไทยสารบัญภาษาไทย
สารบัญภาษาไทยPoppy Nana
 
ใบงานที่ 1 mind map
ใบงานที่ 1 mind mapใบงานที่ 1 mind map
ใบงานที่ 1 mind mapkrupornpana55
 
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
พัน พัน
 
21 วิธีการสอน และเอกสารฝ่ายวิชาการ
21 วิธีการสอน และเอกสารฝ่ายวิชาการ21 วิธีการสอน และเอกสารฝ่ายวิชาการ
21 วิธีการสอน และเอกสารฝ่ายวิชาการ
Proud N. Boonrak
 

What's hot (20)

แผนการสอนการงานอาชีพ ป.6
แผนการสอนการงานอาชีพ ป.6แผนการสอนการงานอาชีพ ป.6
แผนการสอนการงานอาชีพ ป.6
 
การเขียนบรรณานุกรม
การเขียนบรรณานุกรมการเขียนบรรณานุกรม
การเขียนบรรณานุกรม
 
หน่วยที่ 8 การแต่งคำประพันธ์ประเภทโคลง
หน่วยที่ 8 การแต่งคำประพันธ์ประเภทโคลงหน่วยที่ 8 การแต่งคำประพันธ์ประเภทโคลง
หน่วยที่ 8 การแต่งคำประพันธ์ประเภทโคลง
 
รำวงมาตรฐาน ใช้สอน ปี 2557
รำวงมาตรฐาน ใช้สอน ปี 2557รำวงมาตรฐาน ใช้สอน ปี 2557
รำวงมาตรฐาน ใช้สอน ปี 2557
 
แบบเสนอเค้าโครงร่างโครงงาน
แบบเสนอเค้าโครงร่างโครงงานแบบเสนอเค้าโครงร่างโครงงาน
แบบเสนอเค้าโครงร่างโครงงาน
 
โครงงานออกแบบ
โครงงานออกแบบโครงงานออกแบบ
โครงงานออกแบบ
 
สารบัญโครงงานคอม
สารบัญโครงงานคอมสารบัญโครงงานคอม
สารบัญโครงงานคอม
 
โครงงานประเภททฤษฏี
โครงงานประเภททฤษฏีโครงงานประเภททฤษฏี
โครงงานประเภททฤษฏี
 
การเขียนเรียงความ ย่อความ
การเขียนเรียงความ ย่อความการเขียนเรียงความ ย่อความ
การเขียนเรียงความ ย่อความ
 
2.ส่วนคำนำ และสารบัญ
2.ส่วนคำนำ และสารบัญ2.ส่วนคำนำ และสารบัญ
2.ส่วนคำนำ และสารบัญ
 
แบบทดสอบหลังเรียนเรื่องบทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจาริยคุณ_ม.4
แบบทดสอบหลังเรียนเรื่องบทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจาริยคุณ_ม.4แบบทดสอบหลังเรียนเรื่องบทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจาริยคุณ_ม.4
แบบทดสอบหลังเรียนเรื่องบทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจาริยคุณ_ม.4
 
ข้อสอบปลายภาค วิชานาฏศิลป์ รหัส ศ 32101
ข้อสอบปลายภาค  วิชานาฏศิลป์  รหัส  ศ 32101ข้อสอบปลายภาค  วิชานาฏศิลป์  รหัส  ศ 32101
ข้อสอบปลายภาค วิชานาฏศิลป์ รหัส ศ 32101
 
สารบัญโครงงานคอม
สารบัญโครงงานคอมสารบัญโครงงานคอม
สารบัญโครงงานคอม
 
แผนผังความสัมพันธ์ของตัวละครเรื่อง ขุนช้างขุนแผน
แผนผังความสัมพันธ์ของตัวละครเรื่อง ขุนช้างขุนแผนแผนผังความสัมพันธ์ของตัวละครเรื่อง ขุนช้างขุนแผน
แผนผังความสัมพันธ์ของตัวละครเรื่อง ขุนช้างขุนแผน
 
สมุดเล่มเล็ก
สมุดเล่มเล็กสมุดเล่มเล็ก
สมุดเล่มเล็ก
 
โครงงานภาษาไทยเรื่องนิทาน
โครงงานภาษาไทยเรื่องนิทานโครงงานภาษาไทยเรื่องนิทาน
โครงงานภาษาไทยเรื่องนิทาน
 
สารบัญภาษาไทย
สารบัญภาษาไทยสารบัญภาษาไทย
สารบัญภาษาไทย
 
ใบงานที่ 1 mind map
ใบงานที่ 1 mind mapใบงานที่ 1 mind map
ใบงานที่ 1 mind map
 
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
 
21 วิธีการสอน และเอกสารฝ่ายวิชาการ
21 วิธีการสอน และเอกสารฝ่ายวิชาการ21 วิธีการสอน และเอกสารฝ่ายวิชาการ
21 วิธีการสอน และเอกสารฝ่ายวิชาการ
 

Viewers also liked

แนวคิดแผนภาพกระแสข้อมูล
แนวคิดแผนภาพกระแสข้อมูลแนวคิดแผนภาพกระแสข้อมูล
แนวคิดแผนภาพกระแสข้อมูล
Shengyou Lin
 
หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์
หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์
หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์Noomim
 
Cstructure
CstructureCstructure
บทที่ 1ข้อมูลและเทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 1ข้อมูลและเทคโนโลยีสารสนเทศบทที่ 1ข้อมูลและเทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 1ข้อมูลและเทคโนโลยีสารสนเทศBeerza Kub
 
หน่วยที่ 3 การคำนวณของคอมพิวเตอร์
หน่วยที่ 3 การคำนวณของคอมพิวเตอร์หน่วยที่ 3 การคำนวณของคอมพิวเตอร์
หน่วยที่ 3 การคำนวณของคอมพิวเตอร์
จูน นะค่ะ
 
๐๔ การเขียนผังงาน
๐๔ การเขียนผังงาน๐๔ การเขียนผังงาน
๐๔ การเขียนผังงานAiice Pimsupuk
 
บทที่8 การเขียนผังงาน - work3
บทที่8 การเขียนผังงาน - work3บทที่8 การเขียนผังงาน - work3
บทที่8 การเขียนผังงาน - work3
pornnutcha
 
ประโยชน์ของผังงาน
ประโยชน์ของผังงานประโยชน์ของผังงาน
ประโยชน์ของผังงาน
Pannathat Champakul
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 การเขียนโปรแกรม
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 การเขียนโปรแกรมหน่วยการเรียนรู้ที่ 2 การเขียนโปรแกรม
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 การเขียนโปรแกรมFon Edu Com-sci
 
การจัดเรียงข้อมูล (sorting)
การจัดเรียงข้อมูล (sorting)การจัดเรียงข้อมูล (sorting)
การจัดเรียงข้อมูล (sorting)
tumetr
 
แบบทดสอบหน่วยที่ 1 ผังงาน
แบบทดสอบหน่วยที่ 1 ผังงานแบบทดสอบหน่วยที่ 1 ผังงาน
แบบทดสอบหน่วยที่ 1 ผังงาน
Amonrat Tabklang
 
ความหมายโครงงานประเภทการพัฒนาเครื่องมือ
ความหมายโครงงานประเภทการพัฒนาเครื่องมือความหมายโครงงานประเภทการพัฒนาเครื่องมือ
ความหมายโครงงานประเภทการพัฒนาเครื่องมือThitinun Phoawleeklee
 
แผนภาพกระบวนการผลิตขนมปัง
แผนภาพกระบวนการผลิตขนมปังแผนภาพกระบวนการผลิตขนมปัง
แผนภาพกระบวนการผลิตขนมปัง
Phisitasak Wisatsukun
 
อัลกอริทึมและการวิเคราะห์ปัญหา
อัลกอริทึมและการวิเคราะห์ปัญหาอัลกอริทึมและการวิเคราะห์ปัญหา
อัลกอริทึมและการวิเคราะห์ปัญหาskiats
 
แบบฝึกหัดโครงสร้างการเขียนผังงาน
แบบฝึกหัดโครงสร้างการเขียนผังงานแบบฝึกหัดโครงสร้างการเขียนผังงาน
แบบฝึกหัดโครงสร้างการเขียนผังงานChess
 

Viewers also liked (20)

การประมวลผลข้อมูล
การประมวลผลข้อมูลการประมวลผลข้อมูล
การประมวลผลข้อมูล
 
แนวคิดแผนภาพกระแสข้อมูล
แนวคิดแผนภาพกระแสข้อมูลแนวคิดแผนภาพกระแสข้อมูล
แนวคิดแผนภาพกระแสข้อมูล
 
หลักการเขียนผังงาน(Flow chart)
หลักการเขียนผังงาน(Flow chart)หลักการเขียนผังงาน(Flow chart)
หลักการเขียนผังงาน(Flow chart)
 
หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์
หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์
หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์
 
Chapter4
Chapter4 Chapter4
Chapter4
 
Cstructure
CstructureCstructure
Cstructure
 
บทที่ 1ข้อมูลและเทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 1ข้อมูลและเทคโนโลยีสารสนเทศบทที่ 1ข้อมูลและเทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 1ข้อมูลและเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
หน่วยที่ 3 การคำนวณของคอมพิวเตอร์
หน่วยที่ 3 การคำนวณของคอมพิวเตอร์หน่วยที่ 3 การคำนวณของคอมพิวเตอร์
หน่วยที่ 3 การคำนวณของคอมพิวเตอร์
 
๐๔ การเขียนผังงาน
๐๔ การเขียนผังงาน๐๔ การเขียนผังงาน
๐๔ การเขียนผังงาน
 
บทที่8 การเขียนผังงาน - work3
บทที่8 การเขียนผังงาน - work3บทที่8 การเขียนผังงาน - work3
บทที่8 การเขียนผังงาน - work3
 
ประโยชน์ของผังงาน
ประโยชน์ของผังงานประโยชน์ของผังงาน
ประโยชน์ของผังงาน
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 การเขียนโปรแกรม
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 การเขียนโปรแกรมหน่วยการเรียนรู้ที่ 2 การเขียนโปรแกรม
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 การเขียนโปรแกรม
 
การจัดเรียงข้อมูล (sorting)
การจัดเรียงข้อมูล (sorting)การจัดเรียงข้อมูล (sorting)
การจัดเรียงข้อมูล (sorting)
 
คำสั่งในการวนรอบการทำงาน Vb2010 (1)
คำสั่งในการวนรอบการทำงาน Vb2010 (1)คำสั่งในการวนรอบการทำงาน Vb2010 (1)
คำสั่งในการวนรอบการทำงาน Vb2010 (1)
 
แบบทดสอบหน่วยที่ 1 ผังงาน
แบบทดสอบหน่วยที่ 1 ผังงานแบบทดสอบหน่วยที่ 1 ผังงาน
แบบทดสอบหน่วยที่ 1 ผังงาน
 
หลักการเขียนโปรแกรม
หลักการเขียนโปรแกรมหลักการเขียนโปรแกรม
หลักการเขียนโปรแกรม
 
ความหมายโครงงานประเภทการพัฒนาเครื่องมือ
ความหมายโครงงานประเภทการพัฒนาเครื่องมือความหมายโครงงานประเภทการพัฒนาเครื่องมือ
ความหมายโครงงานประเภทการพัฒนาเครื่องมือ
 
แผนภาพกระบวนการผลิตขนมปัง
แผนภาพกระบวนการผลิตขนมปังแผนภาพกระบวนการผลิตขนมปัง
แผนภาพกระบวนการผลิตขนมปัง
 
อัลกอริทึมและการวิเคราะห์ปัญหา
อัลกอริทึมและการวิเคราะห์ปัญหาอัลกอริทึมและการวิเคราะห์ปัญหา
อัลกอริทึมและการวิเคราะห์ปัญหา
 
แบบฝึกหัดโครงสร้างการเขียนผังงาน
แบบฝึกหัดโครงสร้างการเขียนผังงานแบบฝึกหัดโครงสร้างการเขียนผังงาน
แบบฝึกหัดโครงสร้างการเขียนผังงาน
 

Similar to การประมวลผลด้วยคอมพิวเตอร์

Software
SoftwareSoftware
Software
Tay Chaloeykrai
 
20 ณัฐดามาศ-ปวช.3-7
20 ณัฐดามาศ-ปวช.3-720 ณัฐดามาศ-ปวช.3-7
20 ณัฐดามาศ-ปวช.3-7
naraporn buanuch
 
การเขียนโปรแกรมภาษา
การเขียนโปรแกรมภาษาการเขียนโปรแกรมภาษา
การเขียนโปรแกรมภาษา
N'Name Phuthiphong
 
การสร างงานโปรแกรมด วยภาษาคอมพ_วเตอร_
การสร างงานโปรแกรมด วยภาษาคอมพ_วเตอร_การสร างงานโปรแกรมด วยภาษาคอมพ_วเตอร_
การสร างงานโปรแกรมด วยภาษาคอมพ_วเตอร_Aoy-Phisit Modify-Computer
 
Database
DatabaseDatabase
Database
kruninkppk
 
น.ส.ศิรพร โมกศิริ เลขที่ 9 ม.4.5
น.ส.ศิรพร   โมกศิริ  เลขที่ 9 ม.4.5น.ส.ศิรพร   โมกศิริ  เลขที่ 9 ม.4.5
น.ส.ศิรพร โมกศิริ เลขที่ 9 ม.4.5Siriporn Narak
 
น.ส.ศิรพร โมกศิริ เลขที่ 9 ม.4.5
น.ส.ศิรพร   โมกศิริ  เลขที่ 9 ม.4.5น.ส.ศิรพร   โมกศิริ  เลขที่ 9 ม.4.5
น.ส.ศิรพร โมกศิริ เลขที่ 9 ม.4.5Siriporn Narak
 
น.ส.ศิรพร โมกศิริ เลขที่ 9 ม.4.5
น.ส.ศิรพร   โมกศิริ  เลขที่ 9 ม.4.5น.ส.ศิรพร   โมกศิริ  เลขที่ 9 ม.4.5
น.ส.ศิรพร โมกศิริ เลขที่ 9 ม.4.5Siriporn Narak
 
น.ส.ศิรพร โมกศิริ เลขที่ 9 ม.4.5
น.ส.ศิรพร   โมกศิริ  เลขที่ 9 ม.4.5น.ส.ศิรพร   โมกศิริ  เลขที่ 9 ม.4.5
น.ส.ศิรพร โมกศิริ เลขที่ 9 ม.4.5Siriporn Narak
 
น.ส.ศิรพร โมกศิริ เลขที่ 9 ม.4.5
น.ส.ศิรพร   โมกศิริ  เลขที่ 9 ม.4.5น.ส.ศิรพร   โมกศิริ  เลขที่ 9 ม.4.5
น.ส.ศิรพร โมกศิริ เลขที่ 9 ม.4.5Siriporn Narak
 
น.ส.ศิรพร โมกศิริ เลขที่ 9 ม.4.5
น.ส.ศิรพร   โมกศิริ  เลขที่ 9 ม.4.5น.ส.ศิรพร   โมกศิริ  เลขที่ 9 ม.4.5
น.ส.ศิรพร โมกศิริ เลขที่ 9 ม.4.5Siriporn Narak
 
น.ส.ศิรพร โมกศิริ เลขที่ 9 ม.4.5
น.ส.ศิรพร   โมกศิริ  เลขที่ 9 ม.4.5น.ส.ศิรพร   โมกศิริ  เลขที่ 9 ม.4.5
น.ส.ศิรพร โมกศิริ เลขที่ 9 ม.4.5Siriporn Narak
 
28 ธันย์ชนก-ปวช.3-7
28 ธันย์ชนก-ปวช.3-728 ธันย์ชนก-ปวช.3-7
28 ธันย์ชนก-ปวช.3-7
naraporn buanuch
 
1.ซอฟต์แวร์และภาษาคอมพิวเตอร์
1.ซอฟต์แวร์และภาษาคอมพิวเตอร์1.ซอฟต์แวร์และภาษาคอมพิวเตอร์
1.ซอฟต์แวร์และภาษาคอมพิวเตอร์
Saipanyarangsit School
 
การเขียนโปรแกรมภาษา
การเขียนโปรแกรมภาษาการเขียนโปรแกรมภาษา
การเขียนโปรแกรมภาษา
tyt13
 

Similar to การประมวลผลด้วยคอมพิวเตอร์ (20)

Software
SoftwareSoftware
Software
 
20 ณัฐดามาศ-ปวช.3-7
20 ณัฐดามาศ-ปวช.3-720 ณัฐดามาศ-ปวช.3-7
20 ณัฐดามาศ-ปวช.3-7
 
การเขียนโปรแกรมภาษา
การเขียนโปรแกรมภาษาการเขียนโปรแกรมภาษา
การเขียนโปรแกรมภาษา
 
ภาษาโปรแกรมคอมพิวเตอร์
ภาษาโปรแกรมคอมพิวเตอร์ภาษาโปรแกรมคอมพิวเตอร์
ภาษาโปรแกรมคอมพิวเตอร์
 
การสร างงานโปรแกรมด วยภาษาคอมพ_วเตอร_
การสร างงานโปรแกรมด วยภาษาคอมพ_วเตอร_การสร างงานโปรแกรมด วยภาษาคอมพ_วเตอร_
การสร างงานโปรแกรมด วยภาษาคอมพ_วเตอร_
 
Database
DatabaseDatabase
Database
 
vb.net
vb.netvb.net
vb.net
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
น.ส.ศิรพร โมกศิริ เลขที่ 9 ม.4.5
น.ส.ศิรพร   โมกศิริ  เลขที่ 9 ม.4.5น.ส.ศิรพร   โมกศิริ  เลขที่ 9 ม.4.5
น.ส.ศิรพร โมกศิริ เลขที่ 9 ม.4.5
 
น.ส.ศิรพร โมกศิริ เลขที่ 9 ม.4.5
น.ส.ศิรพร   โมกศิริ  เลขที่ 9 ม.4.5น.ส.ศิรพร   โมกศิริ  เลขที่ 9 ม.4.5
น.ส.ศิรพร โมกศิริ เลขที่ 9 ม.4.5
 
น.ส.ศิรพร โมกศิริ เลขที่ 9 ม.4.5
น.ส.ศิรพร   โมกศิริ  เลขที่ 9 ม.4.5น.ส.ศิรพร   โมกศิริ  เลขที่ 9 ม.4.5
น.ส.ศิรพร โมกศิริ เลขที่ 9 ม.4.5
 
น.ส.ศิรพร โมกศิริ เลขที่ 9 ม.4.5
น.ส.ศิรพร   โมกศิริ  เลขที่ 9 ม.4.5น.ส.ศิรพร   โมกศิริ  เลขที่ 9 ม.4.5
น.ส.ศิรพร โมกศิริ เลขที่ 9 ม.4.5
 
น.ส.ศิรพร โมกศิริ เลขที่ 9 ม.4.5
น.ส.ศิรพร   โมกศิริ  เลขที่ 9 ม.4.5น.ส.ศิรพร   โมกศิริ  เลขที่ 9 ม.4.5
น.ส.ศิรพร โมกศิริ เลขที่ 9 ม.4.5
 
น.ส.ศิรพร โมกศิริ เลขที่ 9 ม.4.5
น.ส.ศิรพร   โมกศิริ  เลขที่ 9 ม.4.5น.ส.ศิรพร   โมกศิริ  เลขที่ 9 ม.4.5
น.ส.ศิรพร โมกศิริ เลขที่ 9 ม.4.5
 
น.ส.ศิรพร โมกศิริ เลขที่ 9 ม.4.5
น.ส.ศิรพร   โมกศิริ  เลขที่ 9 ม.4.5น.ส.ศิรพร   โมกศิริ  เลขที่ 9 ม.4.5
น.ส.ศิรพร โมกศิริ เลขที่ 9 ม.4.5
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
28 ธันย์ชนก-ปวช.3-7
28 ธันย์ชนก-ปวช.3-728 ธันย์ชนก-ปวช.3-7
28 ธันย์ชนก-ปวช.3-7
 
1.ซอฟต์แวร์และภาษาคอมพิวเตอร์
1.ซอฟต์แวร์และภาษาคอมพิวเตอร์1.ซอฟต์แวร์และภาษาคอมพิวเตอร์
1.ซอฟต์แวร์และภาษาคอมพิวเตอร์
 
งานนำเสนอ
งานนำเสนองานนำเสนอ
งานนำเสนอ
 
การเขียนโปรแกรมภาษา
การเขียนโปรแกรมภาษาการเขียนโปรแกรมภาษา
การเขียนโปรแกรมภาษา
 

More from เสย ๆๆๆๆ

โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
เสย ๆๆๆๆ
 
การเขียนโปรแกรมเบื้องต้น
การเขียนโปรแกรมเบื้องต้นการเขียนโปรแกรมเบื้องต้น
การเขียนโปรแกรมเบื้องต้น
เสย ๆๆๆๆ
 
ทฤษฎีการออกแบบ
ทฤษฎีการออกแบบทฤษฎีการออกแบบ
ทฤษฎีการออกแบบเสย ๆๆๆๆ
 
หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ศึกษา
หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ศึกษาหลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ศึกษา
หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ศึกษาเสย ๆๆๆๆ
 
หลักสูตรครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ศึกษา
หลักสูตรครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ศึกษาหลักสูตรครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ศึกษา
หลักสูตรครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ศึกษาเสย ๆๆๆๆ
 
หลักสูตรครุศาสตรบัณฑิต สาขาคอมพิวเตอร์ศึกษา
หลักสูตรครุศาสตรบัณฑิต สาขาคอมพิวเตอร์ศึกษาหลักสูตรครุศาสตรบัณฑิต สาขาคอมพิวเตอร์ศึกษา
หลักสูตรครุศาสตรบัณฑิต สาขาคอมพิวเตอร์ศึกษาเสย ๆๆๆๆ
 

More from เสย ๆๆๆๆ (10)

โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
การเขียนโปรแกรมเบื้องต้น
การเขียนโปรแกรมเบื้องต้นการเขียนโปรแกรมเบื้องต้น
การเขียนโปรแกรมเบื้องต้น
 
ทฤษฎีการออกแบบ
ทฤษฎีการออกแบบทฤษฎีการออกแบบ
ทฤษฎีการออกแบบ
 
Reflection
ReflectionReflection
Reflection
 
Presentation
PresentationPresentation
Presentation
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
Theory of website design
Theory of website designTheory of website design
Theory of website design
 
หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ศึกษา
หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ศึกษาหลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ศึกษา
หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ศึกษา
 
หลักสูตรครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ศึกษา
หลักสูตรครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ศึกษาหลักสูตรครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ศึกษา
หลักสูตรครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ศึกษา
 
หลักสูตรครุศาสตรบัณฑิต สาขาคอมพิวเตอร์ศึกษา
หลักสูตรครุศาสตรบัณฑิต สาขาคอมพิวเตอร์ศึกษาหลักสูตรครุศาสตรบัณฑิต สาขาคอมพิวเตอร์ศึกษา
หลักสูตรครุศาสตรบัณฑิต สาขาคอมพิวเตอร์ศึกษา
 

การประมวลผลด้วยคอมพิวเตอร์