SlideShare a Scribd company logo
1 of 2
Download to read offline
เซลล์ (Cell) คือ อะไร (What is Cell ?) 
เซลล์ (cell) 
เซลล์ (Cell) คือ หน่วยเล็กทีÉสุดของสิÉงมีชีวิต โดยเซลล์(cell) มาจากคำว่า Cella ในภาษาละติน ซึÉงมีความหมายว่าห้องเล็ก ๆ 
เซลล์ (Cell)สามารถเพิÉมจำนวน เจริญเติบโตและตอบสนองต่อสิÉงเร้าได้ เซลล์บางชนิดเคลืÉอนทีÉได้ด้วยตัวเอง เช่น เซลล์อสุจิ 
เป็นต้น 
เซลล์ (Cell)มีอยู่หลายชนิดซึÉงมีรูปร่างและลักษณะทีÉแตกต่างกันไปตามตำแหน่งทีÉอยู่ของเซลล์(cell)และหน้าทีÉการทำงานของ 
เซลล์(cell) แต่เซลล์(cell)มีโครงสร้างทีÉสำคัญอยู่ 3 ส่วน ทีÉมีเหมือนกัน คือ เยืÉอหุ้มเซลล์(cell membrane) ไซโตพลาซึม(cytoplasm)และ 
นิวเคลียส(nucleus) โดยเยือÉหุ้มเซลล์ (cell membrane) เป็นส่วนทีÉห่อหุ้มเซลล์(cell)และกัÊนเซลล์(cell)จากสิÉงแวดล้อมภายนอก ภายใน 
เซลล์(cell)มีโครงสร้างเล็ก ๆ เรียกว่า ออร์แกเนลล์ (Organelle) ล่องลอยอยู่ในส่วนของเหลวทีÉเรียกว่า ไซโตซอล (cytosol) ออร์ 
แกเนลล์เหล่านีÊทำหน้าทีÉต่าง ๆ กันมีนิวเคลียส(Nucleus) เป็นศูนย์กลางควบคุมกระบวนการเมแทบอลิซึม(metabolism)ต่าง ๆและการ 
ถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
สิÉงมีชีวิตทุกชนิดต่างก็ประกอบด้วยเซลล์(cell)ซึÉงเป็นหน่วยทีÉเล็กทีÉสุดทีÉสามารถบ่งบอกถึงคุณสมบัติและแสดงความเป็น 
สิÉงมีชีวิตอย่างชัดเจนสมบูรณ์ เซลล์(cell)ช่วยในการสร้างและซ่อมแซม ผิวหนัง กล้ามเนืÊอ กระดูก อวัยวะต่างๆ ของร่างกาย 
มีเซลล์(cell)อยู่ในร่างกายของคนเรามากมายหลายชนิด ซึÉงเซลล์(cell)แต่ละชนิดจะมีหน้าทีÉแตกต่างกันไป เช่น เซลล์(cell)ของ 
กล้ามเนืÊอหัวใจ จะทำหน้าทีÉกระตุ้นหัวใจให้เกิดการทำงาน, เซลล์(cell)ของตับอ่อน จะทำหน้าทีÉในการผลิตอินซูลิน(insulin)ทีÉ 
สามารถช่วยเปลีÉยนสารอาหารเป็นพลังงานให้กับร่างกาย 
ในปี พ.ศ.2208 (ค.ศ. 1665) โรเบิร์ต ฮุค (Robert Hooke) ซึÉงเป็นนักวิทยาศาสตร์ชาวอังกฤษ ได้ทำการประดิษฐ์กล้องจุลทรรศน์ชนิด 
เลนส์ประกอบมาใช้ในการศึกษาเนืÊอเยือÉของไม้คอร์ก พบว่าเนืÊอเยือÉของไม้คอร์ก ประกอบด้วยช่องว่างเล็ก ๆ จำนวนมาก แล้ว 
เรียกช่องทีÉว่านีÊว่า “เซลล์ (cell)” ซึÉงเป็นเซลล์(cell)ทีÉตายแล้วแต่ยังสามารถคงรูปให้อยู่ได้เพราะมีผนังเซลล์(cell wall)ซึÉงมีความแข็ง 
หลังจากนัÊนก็ทำการค้นคว้าศึกษาในเรืÉองของ เซลล์(cell)ของพืช เซลล์(cell)ของสัตว์และเซลล์(cell)ของจุลินทรีย์ต่างๆ เรืÉอยมา จน 
ในปี พ.ศ.2382 (ค.ศ. 1839) นักวิทยาศาสตร์ชืÉอ ทีโอดอร์ ชวานน์(Theodor Schwann) และ แมตเทียส จาคอบ ชไลเดน(Matthias Jakob 
Schleiden) (ทัÊงคู่เป็นชาวเยอรมัน)ได้ร่วมกันตัÊงทฤษฎีเซลล์ (cell theory)ขึÊนมา 
ร่างกายของเรามีจุดกำเนิดจากเซลล์เริÉมต้นหน่วยเล็กๆ เพียงหนึÉงเซลล์ แล้วเจริญเติบโตเพิÉมจำนวนขึÊนจนเป็นเซลล์นับล้านๆ 
เซลล์ ทีÉสร้างเป็นอวัยวะส่วนต่างๆ เซลล์เริÉมต้นหน่วยเล็ก ๆ นีÊ ถือเป็นต้นกำเนิดของชีวิตเซลล์เรา ทำหน้าทีÉดูแลร่างกายให้ 
ทำงานได้เป็นปกติ สามารถเพิÉมจำนวนและเสืÉอมสลายไป แล้วก่อตัวขึÊนใหม่ได้เองโดยอัตโนมัติ แต่ด้วยปัจจัยต่างๆ ทัÊงรูปแบบ 
การใช้ชีวิต การรับประทานอาหาร การใช้ยา รวมถึงอายุทีÉเพิÉมขึÊน ทำให้เซลล์ทีÉสร้างขึÊนใหม่เสืÉอมถอยลง นานวันเข้าเซลล์จะเริÉม 
ทำงานผิดปกติ ส่งผลกับระบบอวัยวะต่างๆ จนกลายเป็นทีÉมาของโรคและความผิดปกติต่างๆ ในทีÉสุด ซึÉงปัจจัยส่วนใหญ่ล้วนมา 
จากพฤติกรรมการละเลย และขาดการเอาใจใส่สุขภาพของเรานัÉนเอง 
เมืÉอโรคต่างๆ เกิดขึÊนในร่างกาย การรักษาตามอาการด้วยการใช้ยาและเคมีเพียงอย่างเดียว ซึÉงมุ่งเน้นเพืÉอ 
ระงับอาการ ไม่สามารถเข้าไปรักษาถึงต้นตอสาเหตุของการเกิดโรคทีÉแท้จริงได้ นัÉนก็คือ “เซลล์” เซลล์ทีÉเปลีÉยนไปก่อให้เกิดการ 
ทำงานทีÉผิดปกติ วงการแพทย์โดยเฉพาะอย่างยิงÉในยุโรป จึงเริÉมหันมาให้ความสนใจศึกษาค้นคว้าถึงการดูแลรักษาสุขภาพแบบ 
เซลล์บำบัด (Live Cell Therapy) เพืÉอให้เป็นการรักษาทางเลือกใหม่ และเป็นการรักษาแบบองค์รวม (Holistic Medical) ในการฟืÊนฟู 
สุขภาพร่างกายให้กลับคืนความแข็งแรง คือฟืÊนฟูอวัยวะทุกส่วนทีÉเกีÉยวข้องไปพร้อมๆ กัน โดยการนำ Live Cell เข้าไปทดแทน 
และเสริมสร้างเซลล์ทีÉบกพร่อง กระตุ้นให้เกิดการรักษาและฟืÊนฟูให้กับเซลล์ทีÉมีปัญหา

More Related Content

What's hot

Cell and structure of cell
Cell and structure of cellCell and structure of cell
Cell and structure of cell
Phattarawan Wai
 
โครงสร้างของเซลล์
โครงสร้างของเซลล์โครงสร้างของเซลล์
โครงสร้างของเซลล์
Krupol Phato
 
เซลล์ของสิ่งมีชีวิต
เซลล์ของสิ่งมีชีวิตเซลล์ของสิ่งมีชีวิต
เซลล์ของสิ่งมีชีวิต
pongrawee
 
รูปร่างลักษณะของเซลล์
รูปร่างลักษณะของเซลล์รูปร่างลักษณะของเซลล์
รูปร่างลักษณะของเซลล์
dnavaroj
 
เซลล์และการแบ่งเซลล์
เซลล์และการแบ่งเซลล์เซลล์และการแบ่งเซลล์
เซลล์และการแบ่งเซลล์
Sukan
 
โอลิมปิก สอวน.
โอลิมปิก สอวน.โอลิมปิก สอวน.
โอลิมปิก สอวน.
itualeksuriya
 

What's hot (14)

Cell and structure of cell
Cell and structure of cellCell and structure of cell
Cell and structure of cell
 
โครงสร้างของเซลล์
โครงสร้างของเซลล์โครงสร้างของเซลล์
โครงสร้างของเซลล์
 
Cell
CellCell
Cell
 
Cell
CellCell
Cell
 
เซลล์ของสิ่งมีชีวิต
เซลล์ของสิ่งมีชีวิตเซลล์ของสิ่งมีชีวิต
เซลล์ของสิ่งมีชีวิต
 
รูปร่างลักษณะของเซลล์
รูปร่างลักษณะของเซลล์รูปร่างลักษณะของเซลล์
รูปร่างลักษณะของเซลล์
 
ใบงานวิทย์ ม.1
ใบงานวิทย์ ม.1ใบงานวิทย์ ม.1
ใบงานวิทย์ ม.1
 
บทที่ 1 อยู่ดีมีสุข
บทที่ 1 อยู่ดีมีสุขบทที่ 1 อยู่ดีมีสุข
บทที่ 1 อยู่ดีมีสุข
 
เซลล์และการแบ่งเซลล์
เซลล์และการแบ่งเซลล์เซลล์และการแบ่งเซลล์
เซลล์และการแบ่งเซลล์
 
โอลิมปิก สอวน.
โอลิมปิก สอวน.โอลิมปิก สอวน.
โอลิมปิก สอวน.
 
เซลล์
เซลล์เซลล์
เซลล์
 
410 Bio002 2 เซลพฐ กล้อง -ดุลยภาพสมช
410 Bio002 2 เซลพฐ กล้อง -ดุลยภาพสมช410 Bio002 2 เซลพฐ กล้อง -ดุลยภาพสมช
410 Bio002 2 เซลพฐ กล้อง -ดุลยภาพสมช
 
ข้อสอบวิทย์เรื่องเซลล์ 1
ข้อสอบวิทย์เรื่องเซลล์ 1ข้อสอบวิทย์เรื่องเซลล์ 1
ข้อสอบวิทย์เรื่องเซลล์ 1
 
ชีววิทยา เรื่อง การลำเลียงสารระหว่างเซลล์ cell transport
ชีววิทยา เรื่อง การลำเลียงสารระหว่างเซลล์  cell transportชีววิทยา เรื่อง การลำเลียงสารระหว่างเซลล์  cell transport
ชีววิทยา เรื่อง การลำเลียงสารระหว่างเซลล์ cell transport
 

Viewers also liked

นำเสนอหน้าชั้นเรื่อง เซลล์สิ่งมีชีวิต
นำเสนอหน้าชั้นเรื่อง  เซลล์สิ่งมีชีวิตนำเสนอหน้าชั้นเรื่อง  เซลล์สิ่งมีชีวิต
นำเสนอหน้าชั้นเรื่อง เซลล์สิ่งมีชีวิต
Chidchanok Puy
 
การเกิดออสโมซิสในเซลล์ของสิ่งมีชีวิต
การเกิดออสโมซิสในเซลล์ของสิ่งมีชีวิตการเกิดออสโมซิสในเซลล์ของสิ่งมีชีวิต
การเกิดออสโมซิสในเซลล์ของสิ่งมีชีวิต
dnavaroj
 
กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง
กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง
กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง
Issara Mo
 
The structure and function of macromolecules
The structure and function of macromoleculesThe structure and function of macromolecules
The structure and function of macromolecules
Issara Mo
 
ปฏิกิริยาเคมีในเซลล์สิ่งมีชีวิต
ปฏิกิริยาเคมีในเซลล์สิ่งมีชีวิตปฏิกิริยาเคมีในเซลล์สิ่งมีชีวิต
ปฏิกิริยาเคมีในเซลล์สิ่งมีชีวิต
Issara Mo
 
การเคลื่อนที่ของสารผ่านเซลล์
การเคลื่อนที่ของสารผ่านเซลล์การเคลื่อนที่ของสารผ่านเซลล์
การเคลื่อนที่ของสารผ่านเซลล์
Issara Mo
 
การศึกษาเซลล์
การศึกษาเซลล์การศึกษาเซลล์
การศึกษาเซลล์
Issara Mo
 
พันธุกรรม
พันธุกรรมพันธุกรรม
พันธุกรรม
tarcharee1980
 
รากและลำต้น
รากและลำต้นรากและลำต้น
รากและลำต้น
Issara Mo
 
โครงสร้างของใบ
โครงสร้างของใบโครงสร้างของใบ
โครงสร้างของใบ
Issara Mo
 
เซลล์ของสิ่งมีชีวิต(สอน)
เซลล์ของสิ่งมีชีวิต(สอน)เซลล์ของสิ่งมีชีวิต(สอน)
เซลล์ของสิ่งมีชีวิต(สอน)
Thanyamon Chat.
 
Responseของพืช
ResponseของพืชResponseของพืช
Responseของพืช
Issara Mo
 
เนื้อเยื่อพืช Plant tissue
เนื้อเยื่อพืช Plant tissueเนื้อเยื่อพืช Plant tissue
เนื้อเยื่อพืช Plant tissue
Issara Mo
 

Viewers also liked (20)

นำเสนอหน้าชั้นเรื่อง เซลล์สิ่งมีชีวิต
นำเสนอหน้าชั้นเรื่อง  เซลล์สิ่งมีชีวิตนำเสนอหน้าชั้นเรื่อง  เซลล์สิ่งมีชีวิต
นำเสนอหน้าชั้นเรื่อง เซลล์สิ่งมีชีวิต
 
Part cell&homeo acr_2
Part cell&homeo acr_2Part cell&homeo acr_2
Part cell&homeo acr_2
 
การเกิดออสโมซิสในเซลล์ของสิ่งมีชีวิต
การเกิดออสโมซิสในเซลล์ของสิ่งมีชีวิตการเกิดออสโมซิสในเซลล์ของสิ่งมีชีวิต
การเกิดออสโมซิสในเซลล์ของสิ่งมีชีวิต
 
กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง
กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง
กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง
 
The structure and function of macromolecules
The structure and function of macromoleculesThe structure and function of macromolecules
The structure and function of macromolecules
 
ปฏิกิริยาเคมีในเซลล์สิ่งมีชีวิต
ปฏิกิริยาเคมีในเซลล์สิ่งมีชีวิตปฏิกิริยาเคมีในเซลล์สิ่งมีชีวิต
ปฏิกิริยาเคมีในเซลล์สิ่งมีชีวิต
 
Cell+&+organelles acr
Cell+&+organelles acrCell+&+organelles acr
Cell+&+organelles acr
 
การเคลื่อนที่ของสารผ่านเซลล์
การเคลื่อนที่ของสารผ่านเซลล์การเคลื่อนที่ของสารผ่านเซลล์
การเคลื่อนที่ของสารผ่านเซลล์
 
Structure of cell
Structure of cellStructure of cell
Structure of cell
 
Mind map
Mind mapMind map
Mind map
 
การศึกษาเซลล์
การศึกษาเซลล์การศึกษาเซลล์
การศึกษาเซลล์
 
พันธุกรรม
พันธุกรรมพันธุกรรม
พันธุกรรม
 
รากและลำต้น
รากและลำต้นรากและลำต้น
รากและลำต้น
 
โครงสร้างของใบ
โครงสร้างของใบโครงสร้างของใบ
โครงสร้างของใบ
 
เซลล์ของสิ่งมีชีวิต(สอน)
เซลล์ของสิ่งมีชีวิต(สอน)เซลล์ของสิ่งมีชีวิต(สอน)
เซลล์ของสิ่งมีชีวิต(สอน)
 
Responseของพืช
ResponseของพืชResponseของพืช
Responseของพืช
 
เนื้อเยื่อพืช Plant tissue
เนื้อเยื่อพืช Plant tissueเนื้อเยื่อพืช Plant tissue
เนื้อเยื่อพืช Plant tissue
 
สรุปวิทยาศาสตร์พื้นฐาน
สรุปวิทยาศาสตร์พื้นฐานสรุปวิทยาศาสตร์พื้นฐาน
สรุปวิทยาศาสตร์พื้นฐาน
 
กล้องจุลทรรศน์ (Microscope)
กล้องจุลทรรศน์ (Microscope)กล้องจุลทรรศน์ (Microscope)
กล้องจุลทรรศน์ (Microscope)
 
ชีววิทยา เรื่อง กล้องจุลทรรศน์ " Microscope"
ชีววิทยา เรื่อง กล้องจุลทรรศน์ " Microscope"ชีววิทยา เรื่อง กล้องจุลทรรศน์ " Microscope"
ชีววิทยา เรื่อง กล้องจุลทรรศน์ " Microscope"
 

Similar to เซลล์

เทคโนโลยีเกี่ยวกับสัตว์
เทคโนโลยีเกี่ยวกับสัตว์เทคโนโลยีเกี่ยวกับสัตว์
เทคโนโลยีเกี่ยวกับสัตว์
kanitnun
 
เซลล์พืชและเซลล์สัตว์
เซลล์พืชและเซลล์สัตว์เซลล์พืชและเซลล์สัตว์
เซลล์พืชและเซลล์สัตว์
dnavaroj
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอม
Prangwadee Sriket
 
Pont มุนี
Pont มุนีPont มุนี
Pont มุนี
mu_nin
 
ติวสอบเตรียมเซลล์และลำเลียง
ติวสอบเตรียมเซลล์และลำเลียงติวสอบเตรียมเซลล์และลำเลียง
ติวสอบเตรียมเซลล์และลำเลียง
Wichai Likitponrak
 
เรื่อง เซลล์
เรื่อง เซลล์เรื่อง เซลล์
เรื่อง เซลล์
Chidchanok Puy
 
หน่วยของสิ่งมีชีวิต
หน่วยของสิ่งมีชีวิตหน่วยของสิ่งมีชีวิต
หน่วยของสิ่งมีชีวิต
netzad
 
M.4 สอนเสริมติว
M.4 สอนเสริมติวM.4 สอนเสริมติว
M.4 สอนเสริมติว
Weeraphon Parawach
 
หน่วยของสิ่งมีชีวิต
หน่วยของสิ่งมีชีวิตหน่วยของสิ่งมีชีวิต
หน่วยของสิ่งมีชีวิต
supreechafkk
 

Similar to เซลล์ (20)

Stem cell คืออะไร
Stem cell คืออะไรStem cell คืออะไร
Stem cell คืออะไร
 
เทคโนโลยีเกี่ยวกับสัตว์
เทคโนโลยีเกี่ยวกับสัตว์เทคโนโลยีเกี่ยวกับสัตว์
เทคโนโลยีเกี่ยวกับสัตว์
 
Kingdom
KingdomKingdom
Kingdom
 
2ติวสสวทเซลล์
2ติวสสวทเซลล์2ติวสสวทเซลล์
2ติวสสวทเซลล์
 
เรื่อง เนื้อเยื่อ tissue น้องๆสามารถศึกษาข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ slide ด้านล่่า...
เรื่อง เนื้อเยื่อ tissue น้องๆสามารถศึกษาข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ slide ด้านล่่า...เรื่อง เนื้อเยื่อ tissue น้องๆสามารถศึกษาข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ slide ด้านล่่า...
เรื่อง เนื้อเยื่อ tissue น้องๆสามารถศึกษาข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ slide ด้านล่่า...
 
โครงสร้างของเซลล์
โครงสร้างของเซลล์โครงสร้างของเซลล์
โครงสร้างของเซลล์
 
เซลล์พืชและเซลล์สัตว์
เซลล์พืชและเซลล์สัตว์เซลล์พืชและเซลล์สัตว์
เซลล์พืชและเซลล์สัตว์
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอม
 
Cell2558
Cell2558Cell2558
Cell2558
 
ชีววิทยา เรื่อง พิ้นฐานเซลล์ ตอนที่ 1 general cell
ชีววิทยา เรื่อง พิ้นฐานเซลล์ ตอนที่ 1 general cellชีววิทยา เรื่อง พิ้นฐานเซลล์ ตอนที่ 1 general cell
ชีววิทยา เรื่อง พิ้นฐานเซลล์ ตอนที่ 1 general cell
 
B03
B03B03
B03
 
Pont มุนี
Pont มุนีPont มุนี
Pont มุนี
 
4
44
4
 
ติวสอบเตรียมเซลล์และลำเลียง
ติวสอบเตรียมเซลล์และลำเลียงติวสอบเตรียมเซลล์และลำเลียง
ติวสอบเตรียมเซลล์และลำเลียง
 
เรื่อง เซลล์
เรื่อง เซลล์เรื่อง เซลล์
เรื่อง เซลล์
 
หน่วยของสิ่งมีชีวิต
หน่วยของสิ่งมีชีวิตหน่วยของสิ่งมีชีวิต
หน่วยของสิ่งมีชีวิต
 
เซลล์
เซลล์เซลล์
เซลล์
 
M.4 สอนเสริมติว
M.4 สอนเสริมติวM.4 สอนเสริมติว
M.4 สอนเสริมติว
 
หน่วยของสิ่งมีชีวิต
หน่วยของสิ่งมีชีวิตหน่วยของสิ่งมีชีวิต
หน่วยของสิ่งมีชีวิต
 
Plant structure part 1
Plant structure part 1Plant structure part 1
Plant structure part 1
 

เซลล์

  • 1. เซลล์ (Cell) คือ อะไร (What is Cell ?) เซลล์ (cell) เซลล์ (Cell) คือ หน่วยเล็กทีÉสุดของสิÉงมีชีวิต โดยเซลล์(cell) มาจากคำว่า Cella ในภาษาละติน ซึÉงมีความหมายว่าห้องเล็ก ๆ เซลล์ (Cell)สามารถเพิÉมจำนวน เจริญเติบโตและตอบสนองต่อสิÉงเร้าได้ เซลล์บางชนิดเคลืÉอนทีÉได้ด้วยตัวเอง เช่น เซลล์อสุจิ เป็นต้น เซลล์ (Cell)มีอยู่หลายชนิดซึÉงมีรูปร่างและลักษณะทีÉแตกต่างกันไปตามตำแหน่งทีÉอยู่ของเซลล์(cell)และหน้าทีÉการทำงานของ เซลล์(cell) แต่เซลล์(cell)มีโครงสร้างทีÉสำคัญอยู่ 3 ส่วน ทีÉมีเหมือนกัน คือ เยืÉอหุ้มเซลล์(cell membrane) ไซโตพลาซึม(cytoplasm)และ นิวเคลียส(nucleus) โดยเยือÉหุ้มเซลล์ (cell membrane) เป็นส่วนทีÉห่อหุ้มเซลล์(cell)และกัÊนเซลล์(cell)จากสิÉงแวดล้อมภายนอก ภายใน เซลล์(cell)มีโครงสร้างเล็ก ๆ เรียกว่า ออร์แกเนลล์ (Organelle) ล่องลอยอยู่ในส่วนของเหลวทีÉเรียกว่า ไซโตซอล (cytosol) ออร์ แกเนลล์เหล่านีÊทำหน้าทีÉต่าง ๆ กันมีนิวเคลียส(Nucleus) เป็นศูนย์กลางควบคุมกระบวนการเมแทบอลิซึม(metabolism)ต่าง ๆและการ ถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
  • 2. สิÉงมีชีวิตทุกชนิดต่างก็ประกอบด้วยเซลล์(cell)ซึÉงเป็นหน่วยทีÉเล็กทีÉสุดทีÉสามารถบ่งบอกถึงคุณสมบัติและแสดงความเป็น สิÉงมีชีวิตอย่างชัดเจนสมบูรณ์ เซลล์(cell)ช่วยในการสร้างและซ่อมแซม ผิวหนัง กล้ามเนืÊอ กระดูก อวัยวะต่างๆ ของร่างกาย มีเซลล์(cell)อยู่ในร่างกายของคนเรามากมายหลายชนิด ซึÉงเซลล์(cell)แต่ละชนิดจะมีหน้าทีÉแตกต่างกันไป เช่น เซลล์(cell)ของ กล้ามเนืÊอหัวใจ จะทำหน้าทีÉกระตุ้นหัวใจให้เกิดการทำงาน, เซลล์(cell)ของตับอ่อน จะทำหน้าทีÉในการผลิตอินซูลิน(insulin)ทีÉ สามารถช่วยเปลีÉยนสารอาหารเป็นพลังงานให้กับร่างกาย ในปี พ.ศ.2208 (ค.ศ. 1665) โรเบิร์ต ฮุค (Robert Hooke) ซึÉงเป็นนักวิทยาศาสตร์ชาวอังกฤษ ได้ทำการประดิษฐ์กล้องจุลทรรศน์ชนิด เลนส์ประกอบมาใช้ในการศึกษาเนืÊอเยือÉของไม้คอร์ก พบว่าเนืÊอเยือÉของไม้คอร์ก ประกอบด้วยช่องว่างเล็ก ๆ จำนวนมาก แล้ว เรียกช่องทีÉว่านีÊว่า “เซลล์ (cell)” ซึÉงเป็นเซลล์(cell)ทีÉตายแล้วแต่ยังสามารถคงรูปให้อยู่ได้เพราะมีผนังเซลล์(cell wall)ซึÉงมีความแข็ง หลังจากนัÊนก็ทำการค้นคว้าศึกษาในเรืÉองของ เซลล์(cell)ของพืช เซลล์(cell)ของสัตว์และเซลล์(cell)ของจุลินทรีย์ต่างๆ เรืÉอยมา จน ในปี พ.ศ.2382 (ค.ศ. 1839) นักวิทยาศาสตร์ชืÉอ ทีโอดอร์ ชวานน์(Theodor Schwann) และ แมตเทียส จาคอบ ชไลเดน(Matthias Jakob Schleiden) (ทัÊงคู่เป็นชาวเยอรมัน)ได้ร่วมกันตัÊงทฤษฎีเซลล์ (cell theory)ขึÊนมา ร่างกายของเรามีจุดกำเนิดจากเซลล์เริÉมต้นหน่วยเล็กๆ เพียงหนึÉงเซลล์ แล้วเจริญเติบโตเพิÉมจำนวนขึÊนจนเป็นเซลล์นับล้านๆ เซลล์ ทีÉสร้างเป็นอวัยวะส่วนต่างๆ เซลล์เริÉมต้นหน่วยเล็ก ๆ นีÊ ถือเป็นต้นกำเนิดของชีวิตเซลล์เรา ทำหน้าทีÉดูแลร่างกายให้ ทำงานได้เป็นปกติ สามารถเพิÉมจำนวนและเสืÉอมสลายไป แล้วก่อตัวขึÊนใหม่ได้เองโดยอัตโนมัติ แต่ด้วยปัจจัยต่างๆ ทัÊงรูปแบบ การใช้ชีวิต การรับประทานอาหาร การใช้ยา รวมถึงอายุทีÉเพิÉมขึÊน ทำให้เซลล์ทีÉสร้างขึÊนใหม่เสืÉอมถอยลง นานวันเข้าเซลล์จะเริÉม ทำงานผิดปกติ ส่งผลกับระบบอวัยวะต่างๆ จนกลายเป็นทีÉมาของโรคและความผิดปกติต่างๆ ในทีÉสุด ซึÉงปัจจัยส่วนใหญ่ล้วนมา จากพฤติกรรมการละเลย และขาดการเอาใจใส่สุขภาพของเรานัÉนเอง เมืÉอโรคต่างๆ เกิดขึÊนในร่างกาย การรักษาตามอาการด้วยการใช้ยาและเคมีเพียงอย่างเดียว ซึÉงมุ่งเน้นเพืÉอ ระงับอาการ ไม่สามารถเข้าไปรักษาถึงต้นตอสาเหตุของการเกิดโรคทีÉแท้จริงได้ นัÉนก็คือ “เซลล์” เซลล์ทีÉเปลีÉยนไปก่อให้เกิดการ ทำงานทีÉผิดปกติ วงการแพทย์โดยเฉพาะอย่างยิงÉในยุโรป จึงเริÉมหันมาให้ความสนใจศึกษาค้นคว้าถึงการดูแลรักษาสุขภาพแบบ เซลล์บำบัด (Live Cell Therapy) เพืÉอให้เป็นการรักษาทางเลือกใหม่ และเป็นการรักษาแบบองค์รวม (Holistic Medical) ในการฟืÊนฟู สุขภาพร่างกายให้กลับคืนความแข็งแรง คือฟืÊนฟูอวัยวะทุกส่วนทีÉเกีÉยวข้องไปพร้อมๆ กัน โดยการนำ Live Cell เข้าไปทดแทน และเสริมสร้างเซลล์ทีÉบกพร่อง กระตุ้นให้เกิดการรักษาและฟืÊนฟูให้กับเซลล์ทีÉมีปัญหา