SlideShare a Scribd company logo
1 of 272
หน่วยของสิ่งมี
ชีวิต
ครูณัทอร ปัญญา
เนตินาถ
•สิ่งมีชีวิตทุกชนิด
ประกอบด้วย หน่วย
ย่อยพื้นฐานที่เรียก
ว่า cell
องค์ประกอบพื้นฐาน
ของเซลล์
•การศึกษาผ่าน
กล้องจุลทรรศน์
อิเล็กตรอนทำาให้
ทราบว่า ออร์
แกเนลล์(organelle)
วีดิทัศน์ศึกษาวิธีการเตรี
ยมทำา slide
plant animal cell
•นักเรียนคิดว่า เซลล์
พืชกับเซลล์สัตว์
เหมือนหรือต่างกัน
อย่างไร plant animal cell slide.flv
เซลล์เยื่อหอมและเซลล์เยื่อ
บุข้างแก้ม
มีรูปร่างลักษณะอย่างไร• เซลล์เยื่อหอม • เซลล์เยื่อบุข้าง
แก้ม
• มีรูปร่างเป็น
เซลล์
สัตว์
เซลล์
พืช
องค์ประกอบพื้นฐาน
ของเซลล์• เยื่อหุ้มเซลล์ cell membrane
• นิวเคลียส nucleus
• ไซโทพลาซึม (cytoplasm)
ร่างแหเอนโดพลาซึม
endoplasmic reticulum
กอลจิคอมเพลกซ์ golgi
complex
เยื่อหุ้มเซลล์ (cell
membrane)• หนาเพียงประมาณ 7
นาโนเมตร
• ประกอบด้วย
phospholipid bilayer
• polar head - hydrophilic
• nonpolar tail -
hydrophobic
prot
ein
Phosph
olipid
bilayer
hydrop
hobic
hydro
philic
หนาเพียงประมาณ 7 นาโน
selective permeable memb
fluid
mosaic
model
นิวเคลียส (nucleus)
• นิวเคลียสเป็นโครงสร้างที่อยู่
ตรงกลางของเซลล์
• เป็นศูนย์กลางควบคุมการ
ทำางานของเซลล์
นิวเคลียสเป็นส่วน
สำาคัญของทุกเซลล์
•Prokaryo
te
•พวกที่ไม่มี
เยื่อหุ้ม
นิวเคลียส
•Eukaryot
e
•พวกที่มี
เยื่อหุ้ม
นิวเคลียส
•ยกเว้นเซลล์เม็ดเลือด
แดงของสัตว์เลี้ยงลูก
ด้วยนม ซึ่งเมื่อเซลล์
เจริญเต็มที่จะไม่มี
นิวเคลียส
กุลของฮีโมโกลบินมากยิ่งขึ้น เพิ่มพื้นที่ผิวในการรับ
ไซโทพลาซึม
(cytoplasm)•เป็นสารที่อยู่ภายใน
เซลล์รอบๆ นิวเคลียส
ร่างแหเอนโดพลาซึม
(endoplasmic reticulum :
ER)มีลักษณะเป็นเยื่อบางๆ สอง
ชั้นเหมือนเป็นท่อแบนใหญ่
เรียงทบไปทบมา มีรูเป็นทาง
ติดต่อกันเอง และเชื่อมกับเยื่อ
หุ้มนิวเคลียส มี 2 ชนิด คือ
R
ESE
1. rough endoplasmic
reticulum : RER
• ชนิดนี้มีไรโบโซมเกาะติดที่ผิว
ทำาหน้าที่สังเคราะห์โปรตีนส่ง
ออกไปนอกเซลล์ผ่านกอลไจคอม
เพลกซ์ไปยังส่วนอื่นของร่างกาย
2. smooth endoplasmic
reticulum : SER
• ชนิดนี้ไม่มีไรโบโซมเกาะที่ผิว ทำา
หน้าที่สร้างไขมันพวก สเต
อรอยด์ (steroid) เช่น ฮอร์โมน
เพศ คอเลสเทอรอล
กอลจิคอมเพลกซ์
(golgi complex)•ประกอบด้วยส่วนที่
เป็นถุงแบนๆ คล้าย
จาน เรียงซ้อนกันเป็น
ชั้นๆ หลายชั้น
•สร้างคาร์โบไฮเดรตที่
รวมกับโปรตีนจาก
ไรโบโซม
(ribosome)• มีรูปร่างเป็นก้อนขนาดเล็ก
มาก ประกอบด้วยโปรตีน และ
ribonucleic acid (RNA)
• เป็นแหล่งสร้างโปรตีน เพื่อใช้
เป็นองค์ประกอบของเยื่อหุ้ม
เซลล์
ไมโทคอนเดรีย
(mitochondria)• มีลักษณะยาวรีและยืดหยุ่นได้
ประกอบด้วยเยื่อสองชั้น
• ทำาหน้าที่สร้างหรือเปลี่ยน
พลังงานจากอาหารอื่นให้เป็น
ATP ( Adenosine Tri
Phosphate)
โครงสร้างที่พบ
เฉพาะในเซลล์พืช
•ผนังเซลล์ cell wall
•แวคิวโอล vacuole
•คลอโรพลาสต์
chloroplast
ผนังเซลล์ (Cell
wall)• สารที่เป็นโครงสร้างหลักคือ
cellulose ทำาให้พืชสามารถ
คงรูปร่าง และมีการเจริญใน
แนวตั้งสวนทางกับแรงโน้ม
ถ่วงของโลกได้
• ยังมี cutin suberin pectin
lignin แทรกปนอยู่
แวคิวโอล
(vacuole)
มีลักษณะเป็นถุง มี
เยื่อเลือกผ่านหุ้ม
แบ่งเป็น 3 ชนิด ได้แก่
1. sap vacuole
• ทำาหน้าที่สะสมสารละลาย
ต่างๆ รวมทั้งกลิ่นของพืช
2.contractile
vacuole• ทำาหน้าที่รักษาสมดุลของนำ้า
และเก็บของเสีย
พารามี ยูกลี
3.food
vacuole•ทำาหน้าที่ย่อยอาหาร
ภายในเซลล์
คลอโรพลาสต์
(chloroplast)เป็นพลาสทิดที่มีสีเขียว เนื่องจาก
มีสารพวก chlorophyll บรรจุ
ภายใน ใช้ในกระบวนการ
สังเคราะห์ด้วยแสง
โครงสร้างที่พบ
เฉพาะในเซลล์สัตว์
•สารเคลือบพวกไกล
โคโปรตีน
glycoprotein
•ไลโซโซม lysosome
•เซนทริโอล
สารเคลือบพวก
glycoprotein•คาร์โบไฮเดรตจาก
golgi complex +
โปรตีนจาก ribosome =
glycoprotein
ไลโซโซม
(lysosome)• คล้ายถุงเล็กๆ หรือ vesicle
สร้างจาก golgi complex มี
เยื่อหุ้มชั้นเดียว
• ย่อยเชื้อโรคต่างๆ ที่เป็นสิ่ง
แปลกปลอมที่เข้าสู่เซลล์
เซนทริโอล
(centriole)• จะมีเซนทริโอล 2 อัน วาง
ในแนวตั้งฉากซึ่งกันและกัน
แต่ละอันประกอบด้วย
microtubule เรียงกันเป็นก
ลุ่มวงกลม 9 กลุ่ม
microtubule
• ทำาหน้าที่สร้าง spindle
fiber ซึ่งทำาหน้าที่ควบคุม
การเคลื่อนที่ของ
โครโมโซมในขณะ เซลล์
แบ่งตัว
spindle fiber
centriole
•ทำาหน้าที่เป็นส่วนที่เป็น
ฐาน (basal body) ของ
ซีเลียและแฟลกเจลลา
cili flag
•ปริศนาอัก
ษรไขว้
crossword
การใช้
กล้องจุลทรรศน์
การใช้
กล้องจุลทรรศน์
อุปกรณ์
บริเวณหน้า
ห้อง
• นำ้ากลั่นกับ
หลอดหยด
• สารละลาย
กลูโคสกับ
หลอดหยด
แต่ละกลุ่ม
• กล้องจุลทรร
ศน์
• ชุดกรรไกร
เล็ก
• กระจกสไลด์
กับ cover
การใช้
กล้องจุลทรรศน์• มือหนึ่งจับที่
แขนกล้อง
อีกมือหนึ่ง
ช้อนก้น
เครื่องไว้
• ปรับให้เลนส์
อยู่ที่กำาลัง
• ให้เลนส์อยู่ที่กำาลังขยายตำ่าสุด
• หากไม่ใช้ให้ปิดไฟกล้อง เพื่อ
ป้องกันไม่ให้หลอดขาดไว
สวิต
ซ์
การทำาสไลด์
• เช็ดกระจกสไลด์ให้แห้งและสะอาด
ด้วยทิชชู
• อาจหยดนำ้ารอไว้
• นำาว่านกาบหอย หักด้านสีเขียวออก
แล้วลอกเอาสีม่วงมาส่อง
• อาจใช้กรรไกรตัดส่วนที่ลอกส่วนที่
บางพอส่องเห็น
• วางเนื้อเยื่อลงบนกระจกสไลด์
อย่างระมัดระวัง
นำา cover glass มาวางแนวเฉียง
45 องศา ก่อนจะปิดทับ
• อาจใช้ทิชชูซับนำ้าส่วนเกินที่เลอะ
ออกมาได้
การส่องดูกระจกสไลด์
• วางกระจกสไลด์ด้วยความระมัดระวัง
หนีบออกก่อนวางกระจกสไลด์
เลื่อนแท่นวางสไลด์ให้สูงจนสุด แล้ว
ค่อยปรับลดตำ่าลง ตอนหา
ตำาแหน่งภาพ
ส่องหาตำาแหน่งเซลล์ด้วย
การขยับปุ่มปรับภาพละเอียด
และเลื่อนแท่นซ้ายขวา
• เมื่อเห็นตำาแหน่งภาพแล้วให้ เปลี่ยน
กำาลังขยายเป็น 100 เท่า
• ระวังอย่าให้เลนส์กระทบกระจก
สไลด์ ห้ามเปลี่ยนเลนส์ระหว่างตา
ส่อง
ค่อยปรับปุ่มปรับภาพละเอียดตรงส่วนนี้
ส่องเลือกเซลล์ที่ชัดด้วยการ
ขยับปุ่มปรับภาพละเอียดและ
เลื่อนแท่นซ้ายขวา
เมื่อเห็นตำำแหน่งภำพแล้ว ให้เปลี่ยน
กำำลังขยำยเป็น 400 เท่ำ
ห้ำมเปลี่ยนเลนส์ระหว่ำงตำส่อง
ระวังอย่ำให้เลนส์กระทบกระจก
สไลด์
ปรับไฟให้สว่ำงขึ้น เพรำะยิ่ง
ซูมใกล้จะมืดขึ้น
กำรทดลองศึกษำรูปร่ำง
เซลพืชและเซลสัตว์
กำรทดลองกำรลำำเลียง
สำรผ่ำนเซลล์
จุดประสงค์กำร
ทดลอง
1. เตรียมสไลด์เพื่อศึกษำ
เปรียบเทียบรูปร่ำงเซล
พืชและเซลสัตว์
2. เพื่อเปรียบเทียบสภำพ
ของเซลล์เมื่ออยู่ใน
สำรละลำยที่มีควำมเข้ม
วิธีกำรทดลอง
1. เตรียมสไลด์เซลพืชและเซลเยื่อบุ
ข้ำงแก้ม (ดูคลิป) บันทึกผลด้วยกำร
วำดภำพเซลพืชและเซลเยื่อบุข้ำง
แก้ม ที่เห็นในกล้อง
2. ส่องกล้องเซลล์ว่ำนกำบหอยที่หยด
นำ้ำกลั่น
3. บันทึกผลด้วยกำรวำดภำพลง
ในตอนที่ 1
4. เซลล์ว่ำนกำบหอยสไลด์เดิม นำำมำ
หยดสำรละลำยกลูโคส
ล้องเซลล์ว่ำนกำบหอยที่หยดน
ดิม นำำมำหยดสำรละลำยกลูโคส
สไลด์เดิม นำำมำหยดสำรละลำย
กลูโคส ส่องกล้องอีกครั้ง
เพิ่มเติม
•ลองนำำสไลด์กลับไป
หยดนำ้ำกลั่นใหม่
แล้วสังเกตกำร
เปลี่ยนแปลงที่เกิด
ขึ้น จะพบว่ำ
•อย่ำลืมบันทึกผล
กำรทดลองหลัง
ส่องสไลด์ทั้ง 2
ตอน เพื่อสังเกต
กำรเปลี่ยนแปลง
ของเซลล์
•ใครไม่ทำำอะไร
เลย กับ ใคร
เปลี่ยนเลนส์
ระหว่ำงตำส่อง
แล้วทำำกระจก
บันทึกผลกำรทดลอง
•บันทึกผลด้วยกำรวำด
ภำพเซลพืชและเซลเยื่อ
บุข้ำงแก้ม
•บันทึกผลด้วยกำรวำด
ภำพลงในตอนที่ 1
•บันทึกผลด้วยกำรวำด
เซลล์เยื่อหอมและเซลล์เยื่อ
บุข้ำงแก้ม• เซลล์เยื่อหอม • เซลล์เยื่อบุข้ำง
แก้ม
ตอนที่ 1
ตอนที่ 2
กำรทดลองกำร
ลำำเลียงสำรผ่ำนเซลล์
จุดประสงค์กำร
ทดลอง
1. เตรียมสไลด์เพื่อศึกษำ
กำรลำำเลียงสำรผ่ำน
เข้ำ-ออกเซลล์
2. เพื่อเปรียบเทียบสภำพ
ของเซลล์เมื่ออยู่ใน
สำรละลำยที่มีควำมเข้ม
ตอนที่ 1
ตอนที่ 2
ตอนที่ 1 เปรียบ
เทียบกับ ตอนที่ 2
อำจสรุปว่ำ...
1.สำรละลำยที่เป็น
สภำพแวดล้อม
รอบเซลล์ มีผล
ทำำให้มีกำร
ต่อ
อำจสรุปว่ำ...
2.ในสภำพแวดล้อม
ที่มีควำมเข้มข้นของ
สำรละลำยสูง จะ
ทำำให้นำ้ำในเซลล์
เคลื่อนที่ออกมำผ่ำนต่อ
กำรแพร่
(diffusion)
ภำพกำรหยดสำรลงไปใน
แก้วที่มีนำ้ำบรรจุอยู่
หำกตั้งแก้วนี้ทิ้งไว้ต่อ
ไปจะเกิดอะไรขึ้น
diffusion.flv
หำกตั้งแก้วนี้ทิ้งไว้ต่อ
ไปจะเกิดอะไรขึ้น
เมื่อตั้งทิ้งไว้ต่อไป
สำรละลำยในแก้ว
เหตุใดจึงเป็น
เช่นนั้น
•เพรำะ อนุภำค
ของสำรต่ำงๆ มี
พลังงำนจลน์ใน
ตัวเอง จึงมีกำร
กำรกระทบกัน
ของอนุภำคสำร
เป็นบริเวณกว้ำง
ออกทุกทิศทุก
ทำง คือ กำร
วีดิทัศน์ภำพจำำลอง
อธิบำยกำรแพร่อีกครั้งanimation
diffusion.flv
animation diffusion.flv
ภำพกำรแพร่ของอนุภำคสำร
กระจำยไปจนทั่วภำชนะ
59
หลักกำรแพร่
•กำรแพร่ของสำรมี
ทิศทำงกำรเคลื่อนที่
จำกบริเวณที่สำรมี
ควำมเข้มข้นสูง ไป
หำควำมเข้มข้นตำ่ำ
กว่ำ
หลักกำรแพร่
•แพร่จนทุกบริเวณมี
ควำมเข้มข้นของ
สำรเท่ำกัน เรียกว่ำ
สมดุลของ
กำรแพร่
หลักกำรแพร่
•แต่สำรก็ยังเคลื่อนที่อยู่
อัตรำกำรเคลื่อนที่ของ
อนุภำคและควำมเข้มข้น
ของสำรโดยเฉลี่ยจะเท่ำ
กันทุกบริเวณ
•กำรแพร่เป็นกระ
บวนกำรหนึ่งที่
ทำำให้เซลล์ของ
สิ่งมีชีวิตได้รับ
สำรเข้ำและ
กำรแพร่ออกซิเจนจำกถุงลมในปอดเข้ำสู่
หลอดเลือดฝอยรอบๆ ถุงลม
สู่ปอด เป็นเลือดที่มีออกซิเจนตำ่ำ คำร์บอนไดออกไซด์สูง
กำรแลกเปลี่ยนแก๊สโดยออกซิเจนในถุงลมจะแพร่เข้ำสู่เส้น
อนไดออกไซด์ในเส้นเลือดจะแพร่เข้ำสู่ถุงลม แล้วขับออก
กำรแพร่
(diffusion)•ทิศทำงกำรเคลื่อนที่
ของสำร
บริเวณที่สำรมีควำม
เข้นข้นสูง
•เซลล์ของสิ่งมีชีวิต
ต้องกำรนำ้ำสำำหรับ
กระบวนกำรต่ำงๆ
ในเซลล์
•นำ้ำผ่ำนเข้ำ-ออก
จำกเซลล์โดย กำร
กำรออสโมซิส
(osmosis)
•กำรแพร่ของนำ้ำ
โดยผ่ำนเยื่อหุ้ม
เซลล์ จำกบริเวณ
ที่มีนำ้ำมำกไปสู่
บริเวณที่มีนำ้ำน้อย
กว่ำเรียกว่ำ ออส
กำรออสโมซิส
(osmosis)•ทิศทำงกำรเคลื่อนที่
ของนำ้ำ
บริเวณที่มีนำ้ำ
มำก
Osmosis.flv
วีดิทัศน์ภำพจำำลอง
อธิบำยกำรออสโม
ซิสosmosis.flv
จำกกำรทดลองที่
ผ่ำนมำ
•ลองนำำสไลด์กลับไป
หยดนำ้ำกลั่นใหม่
แล้วสังเกตกำร
เปลี่ยนแปลงที่เกิด
ขึ้น จะพบว่ำ เซลล์
กลับมำเต่งดังเดิม
**แรงดันออสโมติกแรงดันออสโมติก
(Osmotic pressure(Osmotic pressure หรือหรือ O.PO.P.).)
แรงดันออสโมติกของ
สำรละลำยเกิดจำกแรงดัน
ของตัวถูกละลำย
สำรละลำยที่มีควำมเข้ม
ข้นสูงจะมีแรงดันออสโม
ติกสูง (ตัวถูกละลำยมีมำก)
นำ้ำกลั่นจะมีแรงดัน
ออสโมติกตำ่ำสุด
เนื่องจำกไม่มีตัวถูก
ละลำย
ในกระบวนกำ
รออสโมซิส
นำ้ำจะแพร่จำกบริเวณที่
****แรงดันเต่งแรงดันเต่ง (Turgor(Turgor
pressurepressure หรือหรือ T.PT.P.).)
เป็นแรงดันของตัวทำำ
ละลำย ออสโมซิสแล้ว
ดันให้ถุงเยื่อเต่งขึ้นเกิด
ขึ้นภำยในถุงเยื่อ
*เมื่อสภำวะสมดุล
ของกำรแพร่แล้ว แรง
กำรที่นำ้ำแพร่เข้ำสู่เซลล์
ได้สำรละลำยภำยในเซล
ต้องมีแรงดันออสโมติก
สูง( ตัวถูกละลำยมีมำก
ควำมเข้มข้นสูง ) กว่ำ
สำรละลำยภำยนอก เมื่อมี
โมเลกุลของนำ้ำแพร่เข้ำไป
ในเซลล์มำกขึ้นก็จะไปเพิ่ม
กำรเกิดออสโมซิส
ในเซลล์พืช
61
ในสำรละลำย
hypotonic solution•สำรละลำยภำยนอกมี
ควำมเข้มข้นตำ่ำกว่ำ
สำรละลำยภำยในเซลล์
•เกิดกำรแพร่ของนำ้ำเข้ำสู่
เซลล์ เซลล์จะขยำย
ขนำด หรือ มีปริมำตร
•แรงดันเต่ง (turgor
pressure)
•เซลล์เกิดแรงดันเต่ง
เรียกปรำกฏกำรณ์นี้
ว่ำ Plasmoptysis
ในสำรละลำย
isotonic solution•สำรละลำยภำยนอก
เซลล์มีควำมเข้มข้น
เท่ำกับสำรละลำย
ภำยในเซลล์
•เซลล์คงสภำพปกติ
ในสำรละลำย
hypertonic
solution• สำรละลำยภำยนอกเซลล์ที่
มีควำมเข้มข้นสูงกว่ำ
สำรละลำยภำยในเซลล์
• เยื่อหุ้มเซลล์จะหดตัวและ
เหี่ยวแฟบลง เนื่องจำกมี
กำรสูญเสียนำ้ำออกจำก
เซลล์
•เซลล์เกิดกำรเหี่ยว
เรียกปรำกฏกำรณ์นี้
ว่ำ Plasmolysis
กำรเกิดออสโมซิส
ในเซลล์สัตว์
61
ในสำรละลำย
isotonic solutionดู
คลิป•สำรละลำยภำยนอก
เซลล์ที่มีควำมเข้มข้น
เท่ำกับสำรละลำย
ภำยในเซลล์
•เซลล์คงสภำพปกติ
ในสำรละลำย
hypotonic solutionดู
คลิป•สำรละลำยภำยนอกมี
ควำมเข้มข้นตำ่ำกว่ำ
สำรละลำยภำยในเซลล์
•เกิดกำรแพร่ของนำ้ำเข้ำสู่
เซลล์ เซลล์จะขยำย
ขนำด หรือ มีปริมำตร
•ปริมำณนำ้ำที่แพร่เข้ำไป
จนถึงจุดหนึ่งจะทำำให้
เยื่อหุ้มเซลล์สัตว์แตก
ออกได้
•กำรแตกของเซลล์เม็ด
เลือดแดง เรียกว่ำ
Haemolysis
ในสำรละลำย
hypertonic solutionดู
คลิป• สำรละลำยภำยนอกเซลล์ที่
มีควำมเข้มข้นสูงกว่ำ
สำรละลำยภำยในเซลล์
• เยื่อหุ้มเซลล์จะหดตัวและ
เหี่ยวแฟบลง เนื่องจำกมี
กำรสูญเสียนำ้ำออกจำก
เซลล์
สำรละลำยที่อยู่นอกเซลล์ เมื่อ
เปรียบเทียบกับของเหลวที่อยู่ในเซลล์
มี 3 แบบ คือ
1.Hypotonic solution
2. Hypertonic solution
3. Isotonic solution
น่ำรู้
•แรงดันออสโมซิสวัดได้
ด้วย osmometer
• นำำมำใช้ประโยชน์ในหลักกำร
ให้นำ้ำเกลือแก่ผู้ป่วย
• กำรแช่ผัก รดนำ้ำต้นไม้
น่ำรู้
•หำกสำรที่จะ
เข้ำสู่เซลล์มี
ขนำดใหญ่
กว่ำเยื่อหุ้ม
กำรลำำเลียงสำรที่มีขนำด
ใหญ่กว่ำเยื่อหุ้มเซลล์
ดูคลิป carrier protein.flv
carrier protein.flv
•ในวีดิทัศน์ตัวสีเขียวเข้ม
ที่เห็นคืออะไร
เปลี่ยนแปลงอย่างไร
การลำาเลียงแบบ
ฟาซิลิเทต
(facilitate
diffusion)
การแพร่
(diffusion)•ทิศทางการเคลื่อนที่
ของสาร
บริเวณที่สารมีความ
เข้นข้นสูง
การลำาเลียงแบบ
facilitate
Carr
ier
prot
ein
การลำาเลียงแบบ
facilitate•โปรตีนเป็นตัวพา
(carrier protein) 
•ทำาหน้าที่คล้ายประตู
รับโมเลกุลของสาร
ตัวพาจะเปลี่ยนรูปร่าง
ทำาให้ส่งสารเข้าไป
การลำาเลียงแบบ
ใช้พลังงาน
(active
transport)
•ทิศทางการเคลื่อนที่
ของสาร
บริเวณที่สารมีความ
เข้นข้นน้อย
การลำาเลียงแบบ
active transport
Cell
membr
ane
•ทิศทางการเคลื่อนที่
ของสาร
บริเวณที่สารมีความ
เข้นข้นน้อย
การลำาเลียงแบบ
active transport
Cell
membr
ane
จึงต้องใช้พลังงานจาก
การแพร่
(diffusion)•ทิศทางการเคลื่อนที่
ของสาร
บริเวณที่สารมีความ
เข้นข้นสูง
•ทิศทางการเคลื่อนที่
ของสาร
บริเวณที่สารมีความ
เข้นข้นสูง
การลำาเลียงแบบ
facilitate
Carr
ier
prot
ein
การออสโมซิส
(osmosis)•ทิศทางการเคลื่อนที่
ของนำ้า
บริเวณที่มีนำ้า
มาก
Cell
membr
ane
•การ osmosis
•การลำาเลียงแบบ
facilitate
•การลำาเลียงแบบ
active transport
การลำาเลียงสารโดยทะลุ
ผ่านเยื่อหุ้มเซลล์
การลำาเลียงสารโดยไม่
ทะลุผ่านเยื่อหุ้มเซลล์
ดูคลิปCell Membrane, Exocitosis &
Endocitosis.flv
การนำาสารเข้า
เซลล์
endocytosis
การนำาสารออก
เอนโดไซโทซิส
(endocytosis)
•เป็นการนำาสารที่มี
ขนาดโมเลกุล
ใหญ่เข้าสู่เซลล์
โดย แบ่งได้ 3
endocytosis
บางครั้งเรียกว่า การ
กินของเซลล์ (cell
eating)
1.ฟาโกไซโทซิส
(phagocytosis)
•ยื่นส่วนของโพรโทพลา
ซึมออกมาโอบล้อมสาร
ซึ่งเรียกว่า
เท้า
เทียม
1.ฟาโกไซโทซิส
(phagocytosis)
•เช่น การกินอาหารของ
อะมีบา
1.ฟาโกไซโทซิส
(phagocytosis)
•เช่น การจับเชื้อโรคของ
เซลล์เม็ดเลือดขาว
1.ฟาโกไซโทซิส
(phagocytosis)
•บางครั้งเรียกว่า
การดื่มของเซลล์
(cell drinking)
2.พิโนไซโทซิส
(pinocytosis)
• เซลล์เว้าเข้าไปในไซโท
พลาซึมจนกลายเป็นถุง เมื่อ
เยื่อหุ้มเซลล์ปิดสนิทถุงนี้จะ
หลุดเข้าสู่เซลล์กลายเป็นก
ระเปาะเล็ก หรือ vesicle
2.พิโนไซโทซิส
(pinocytosis)
•บนเยื่อหุ้มเซลล์จะมีตัว
รับ (receptor) ซึ่งทำา
หน้าที่จับกับสารที่จะนำา
เข้าสู่เซลล์แบบจำาเพาะ
ก่อนที่เยื่อหุ้มเซลล์จะเว้า
กลายเป็นถุง
3. อาศัยตัวรับ
(receptor)
เอกโซไซโทซิส
(exocytosis)
•ลำาเลียงสารที่มีขนาด
โมเลกุลใหญ่ออกจาก
เซลล์ โดยสารจะถูก
บรรจุอยู่ vesicle ก่อน
แล้ว vesicle จะค่อยๆ
เคลื่อนเข้ามาเชื่อมกับ
เยื่อหุ้มเซลล์ จากนั้นสาร
เอกโซไซโทซิส
(exocytosis)
• เช่น การนำาของเสียออก
จากเซลล์ของอะมีบา
เอกโซไซโทซิส
(exocytosis)
• ชมวีดิทัศน์การ
ลำาเลียงสารโดย
ไม่ทะลุผ่านเยื่อ
หุ้มเซลล์
•ทบทวน
Cell Membrane, Exocitosis & Endocitosis.flv
เอกโซไซโทซิส
(exocytosis)
เอนโดไซโทซิส
(endocytosis)
สารโมเลกุลเล็กสารโมเลกุลเล็ก ลำาเลียง
โดย
1.1. ACTIVE TRANSPORTACTIVE TRANSPORT
2.2. PASSIVE TRANSPORTPASSIVE TRANSPORT
2.12.1 SIMPLESIMPLE
DIFFUSIONDIFFUSION
2.22.2
FACILITATED DIFFUSIONFACILITATED DIFFUSION
สารโมเลกุลใหญ่สารโมเลกุลใหญ่
•ทำาตาราง
สรุปการ
ลำาเลียงสาร
•ส่งท้ายคาบ
diffusion
osmosis
facilitate
Active
transport
passive
transport
Endo
cytosis
Exo
cytosis
pinocytosis
phagocytosis
อาศัย
เซลล์
เนื้อเยื่อ
อวัยวะ
ระบบอวัยวะ
สิ่งมีชีวิต
หน่วย
ย่อย
หน่วย
จากโฆษณานำ้าดื่ม
เนสเล่
•เชื่อถือได้หรือไม่
อย่างไร
ADintrend3899_Nestle_PureLife(8).wmv
•นักเรียนคิดว่า
อวัยวะใดที่
เกี่ยวข้องกับ
การดื่มนำ้าบ้าง
•หากนักเรียน
ดื่มนำ้ามาก
ร่างกายจะเป็น
อย่างไร
•ในทางกลับกัน
นักเรียนดื่มนำ้า
น้อย ร่างกาย
จะเป็นอย่างไร
•(จะหิวนำ้า
•กลไกที่
นักเรียน
กล่าวถึงนี้
การรักษา
ดุลยภาพของสิ่งมี
ชีวิต
•สารต่างๆ จะ
เคลื่อนที่ผ่าน
เข้า-ออกเซลล์
อยู่ตลอดเวลา
•เซลล์จึงจำาเป็น
ร้อนก็เหงื่อออก
การรักษา
ดุลยภาพ
(Homeostas
is)
รากศัพท์
คำาว่า
Homeostasis
มาจาก
•homeo = คล้าย
ความหมาย
•Homeostasis หมาย
ถึง ความสามารถใน
การปรับระดับของ
สภาพแวดล้อมภายใน
ร่างกายให้มีความ
สภาพแวดล้อมกับสิ่ง
มีชีวิตมี 2 ชนิด
•สภาพแวดล้อม
ภายนอกตัวสิ่งมีชีวิต
(external
environment) เช่น
ความชื้น สายลม
แสงแดด
การรักษา
ดุลยภาพของนำ้า
และสารต่างๆ
ในร่างกาย
  ในร่างกายคนมีนำ้าอยู่
ประมาณ 65 – 70 %
ยังมีเกลือแร่และสาร
ต่างๆ อยู่ด้วย ปริมาณ
น้อยแต่ก็มีความสำาคัญ
ยิ่งที่จะต้องรักษาสมดุล
•อวัยวะสำาคัญในการ
รักษาดุลยภาพของนำ้า
และสารต่างๆ ใน
ร่างกายคือ ไต (kidney)
ไต (kidney)
มี 2 ข้างซ้ายและขวา
ลักษณะ
คล้ายถั่ว
สีแดงแกมนำ้าตาล
ไต (kidney)
ประกอบด้วยเนื้อเยื่อ 2
ชั้น
-ชั้นนอก เรียกว่า
cortex
-ชั้นใน เรียกว่า
ไต (kidney)
ภายในไต
ประกอบด้วย
 
หน่วยไต
(nephron) 
หน่วย
ไต (Nephron)
•  แต่ละหน่วยเป็นท่อ
มีปลายข้างหนึ่ง
เป็นกระเปาะ คือ
โบวแมนส์แคปซูล
(Bowman’s
จากภาพส่วนใด คือ
Bowman’s Capsule
1
2
รวมไปสู่ท่อ
ไต
ท่อ
หน่วย
หน่วยไต (Nephron)
•   ภายในโบวแมนส์
แคปซูล จะมีกลุ่ม
เส้นเลือดฝอยเรียกว่า
โกลเมอรูลัส
(Glomerulus) การก
จากภาพส่วนใด คือ
Glomerulus
1
2
ท่อ
หน่วย
ไต
รวมไปสู่ท่อไต
ท่อของหน่วยไตดูดนำ้า
และสารกลับคืน
เข้าสู่กระแสเลือด
ไตกับการรักษา
สมดุลของนำ้า
•hypothalamus มีหน้าที่
เป็นศูนย์ควบคุมอุณหภูมิ
การนอนหลับ การเต้นของ
หัวใจ ความดันเลือด
ความหิว-อิ่ม การดูดนำ้า
กลับและเป็นศูนย์ควบคุม
อารมณ์ความรู้สึก
•ไฮโปทาลามัส
(hypothalamus)
อยู่ทางด้านล่างของ
สมองส่วนหน้าสมอง
ส่วน
กลาง
สมอง
ส่วน
ท้าย
สมอง
ส่วน
หน้า
Pituitary gland
•  กลไกที่จะกระตุ้นให้
เกิดความต้องการนำ้า
เพื่อรักษาสมดุลของ
นำ้าในร่างกาย คือ
อะไรบ้าง
•ภาวะขาดนำ้าของ
ร่างกายจะไปกระตุ้น
งกายขาดนำ้า
เลือดมีนำ้าน้อย = เลือดมีความเข้มข้น
ผ่านยัง hypothalamus
กระตุ้นต่อมใต้สมองส่วน
ให้หลั่งฮอร์โมน ADH
กระตุ้นท่อของหน่วยไต
นำ้ากลับคืนเข้าสู่กระแสเลือด
ห้ปริมาณนำ้าในเลือดสูงขึ้น
ปัสสาวะลดลง
และเข้มข้นขึ้น
การดูด นำ้า และ สาร กลับคืน
เข้าสู่กระแสเลือด
ท่อ
หน่วย
ไต
รวมไปสู่ท่อไต
ท่อของหน่วยไตดูดนำ้า
และสารกลับคืน
เข้าสู่กระแสเลือด
ไปส่วน
ต่างๆของ
ร่างกาย
ไป
กรอง
ที่
การดูดกลับของ
สารที่ไต•เกิดขึ้นโดยอาศัย 2
กระบวนการ คือ
1. active transport
เป็นการดูดกลับของสาร
ที่จำาเป็นต่อร่างกาย เช่น
กลูโคส วิตามิน กรดอะมิ
  ในทางตรง
กันข้าม
งกายดื่มนำ้ามาก
เลือดมีนำ้ามาก = เลือดมีความเจือ
จางผ่านยัง hypothalamus
กระตุ้นต่อมใต้สมองส่วน
ให้ยับยั้งการหลั่ง ADH
องหน่วยไตดูดนำ้ากลับคืน
กระแสเลือดน้อยลง
ปัสสาวะบ่อย
และเจือจาง
•ADH
(Antidiuretic
hormone )
•เรียกอีกชื่อว่า
Vasopressin
วีดิทัศน์ funtion of
nephron
function of nepron.flv
หน้าที่ของไต
• 1. ขับถ่ายของเสีย ซึ่งเกิดจากเม
แทบอลิซึมของร่างกาย เช่น ยู
เรีย จากโปรตีน กรดยูริก จาก
กรดนิวคลีอิก
     
หน้าที่ของไต
• 1. ขับถ่ายสารแปลกปลอมที่
ร่างกายรับมา เช่น ยา
รักษาโรค สารเคมีในอาหาร
หน้าที่ของไต
• 2. เกิดสารบางอย่างที่เป็น
ประโยชน์ต่อร่างกาย เช่น
• ดูดกลับกลูโคสในขณะอด
อาหาร
• สังเคราะห์กลูโคสจากกรดอะมิ
โนหรือสารอื่นได้
หน้าที่ของไต
• 3. ควบคุมสมดุลนำ้า และสารอิ
เล็กโทรไลต์ของร่างกายให้
พอเหมาะ โดยการดูดนำ้ากลับ
ที่ท่อหน่วยไต เป็นสาเหตุที่
ทำาให้นำ้าปัสสาวะเข้มข้นขึ้น
หน้าที่ของไต
•4. ควบคุมความเป็นก
รด-เบสของของเหลว
ในร่างกายได้          
การดูดนำ้าและสารกลับคืน
เข้าสู่กระแสเลือด
ท่อ
หน่วย
ไต
รวมไปสู่ท่อไต
ท่อของหน่วย
ไตดูดนำ้าและ
สารกลับคืน
เข้าสู่กระแส
เลือด
การรักษาดุลยภาพ
ของกรด-เบส (ค่า
pH) ในร่างกาย
•ความเป็นกรด–เบสมี
ผลต่อสิ่งใดใน
ร่างกาย
•การทำางานของ
เอนไซม์ (enzyme)
•ซึ่งเอนไซม์นั้นสำาคัญ
ต่อกระบวนการเม
•ถ้าในเลือดมีก๊าซ
คาร์บอนไดออก
ไซด์มาก
จะทำาให้เลือดมี
ภาวะเป็นกรด
CO2 รวมกับ H2O ในเลือด
กรดคาร์บอนิก H2CO3
H+
เจนคาร์บอเนตไอออน(HCO3
-
)
แตกตัว
เลือดมีภาวะเป็นกรด ค่า pH
ส่ง
ผล
ให้
เลือดมีก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์มาก
ภาวะเลือดเป็นกรด
รให้กล้ามเนื้อกะบังลมและซี่โครงทำาง
หายใจที่เร็วและถี่
ปริมาณ CO2 ในเลือดก็จะลดลง
ค่า pH ของเลือดจึงสูงขึ้น
การทำางานของสมอง ทำาให้หายใจเป
แก้ไขโดยปรับดุลยภาพให้เลือดมีก๊าซ
คาร์บอนไดออกไซด์มากขึ้น
กรณีภาวะ
เลือดปกติ
มเนื้อกะบังลมและซี่โครงทำางานมากข
แต่.. ...หายใจ
ที่เร็วและถี่
ทำาให้..ปริมาณ CO2 ในเลือดก็จะลดลง
ค่า pH ของเลือดจึงสูงขึ้น ชัก,หอบ
ารทำางานของสมอง ทำาให้หายใจเป
วีดิทัศน์นักร้องAFชักกระตุก
สาเหตุจากเบสในเลือด
¡Òêѡà¾ÃÒÐàºÊã¹àÅ
•นอกจากการ
หายใจแล้ว
ยังมีกระบวนการ
ใดอีกที่ควบคุม
ความเป็นกรด-
หน้าที่ของไต
•ควบคุมความเป็นก
รด-เบส(ขึ้นอยู่กับ
H+
)ของเลือดและ
ของเหลวใน
1.ภาวะกรด
( เลือดมี H+
มาก
เกินไป ) ร่างกาย
ปรับโดยโปรตีน
ในนำ้าเลือด
และHbจับH+
ไว้
2. ภาวะกรด
ร่างกายปรับลด
ความเป็นกรด โดย
หน่วยไตจะเพิ่มการ
ขับสาร ที่มีองค์
ประกอบของ
3. ภาวะกรด
ร่างกายปรับเพิ่ม
ความเป็นเบสของ
เลือด โดยจะเพิ่ม
การดูดกลับไอออน
บางประเภทซึ่งลด
  ในทางตรง
กันข้าม
ปล่อย CO2
กรดคาร์บอนิก H2CO3
เจนคาร์บอเนตไอออน(HCO3
-
) รวมก
แตกตัว
เลือดมีภาวะเป็นเบสpH สูงร่างกาย
ปรับโดย(HCO3
-
)รวมกับ H+
H2O ในเลือด
•ภาวะเบส
ร่างกายปรับเพิ่ม
ความเป็นกรด โดย
หน่วยไตจะลดการ
ขับสาร ที่มีองค์
ประกอบของ
•ภาวะเบส ร่างกาย
ปรับลดความเป็น
เบส โดยจะลดการ
ดูดกลับไอออน
บางประเภทได้แก่
โซเดียม
การรักษาดุลยภาพ
ของอุณหภูมิภายใน
ร่างกาย
วีดิทัศน์แมวเลียอุ้งมือ
Little kitten licking her paw.flv
•เพราะเหตุใด
แมวจึงแสดง
อาการเช่นนั้น
•แมวเลียอุ้งเท้า
สุนัขไม่มีต่อมเหงื่อ จะ
ระบายความร้อน
อย่างไร
ระบายความร้อนทาง
ลิ้นและเพดานปาก ที่
เรียกว่า หอบ
ไก่จะระบายความร้อน
อย่างไร
จะมีการเขย่าลำาคอ
กางปีก และดื่มนำ้า
เพื่อระบายความร้อน
ควายจะระบายความ
ร้อนอย่างไร
จะนอนแช่ปลักโคลน
เพื่อระบายความ
ร้อนไปสู่นำ้า
สัตว์บางชนิดจะหลีกเลี่ยง
อุณหภูมิหรือสภาพแวดล้อม
ที่ไม่เหมาะสม เช่น การ
อาศัยอยู่ในโพรงไม้ และ
การขุดรูอยู่ การออกหากิน
ในเวลากลางคืน
สัตว์ที่อยู่ในเขตหนาว
จะมีขนยาวกว่าสัตว์ที่
อยู่ในเขตร้อน
แมวนำ้าและสิงโตทะเลมี
ชั้นไขมันที่หนามาก
ทำาให้มันอาศัยอยู่ใน
เขตที่หนาวจัดได้
สิงโตทะเล
สัตว์เลือดอุ่น
(Homoeothermic
animal หรือ
endoterm) เป็นสัตว์ที่
สามารถรักษาระดับ
อุณหภูมิภายใน
ร่างกายให้คงที่อยู่ได้
ไม่เปลี่ยนแปลงไปตาม
•นักเรียนคิดว่า
เพนกวิน
เป็นสัตว์ปีกหรือ
สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม?
สัตว์เลือดเย็น
(Poikilothermic
animal หรือ
ectoterm)
เป็นสัตว์ที่อุณหภูมิ
ภายในร่างกาย
•อุณหภูมิภายใน
ร่างกายมีผลต่อการ
ทำางานของเอนไซม์
(enzyme)
•อุณหภูมิปกติของ
ร่างกายอยู่ระหว่าง
อากา
ศร้อน
ผิวหนัง เลือด อุณหภูมิสูงกว่าปกติ
ลดอัตราเมแทบอลิซึม
หลอดเลือดฝอย
บริเวณผิวหนัง
จะขยายตัว
วยถ่ายเท
วามร้อน
นร่างกาย
สิ่งแวดล้อม
กระตุ้นการทำางานของต่อมเ
กล้ามเนื้อที่ยึดโคนเส้นขน
ในผิวหนังจะคลายตัว
ขนจึงเอนราบติดผิวหนัง
ไปกระตุ้นให้เกิดการเปลี่ยนแปลง
ดผ่านยัง
pothalamus
ช่วยให้อากาศ
ไหลเวียนถ่ายเท
ความร้อนได้ดีขึ้น
  ในทางตรง
กันข้าม
อากาศ
หนาว
ผิวหนัง เลือด อุณหภูมิตำ่ากว่าปกติ
เพิ่มอัตราเมแทบอลิซึม
หลอดเลือดฝอย
บริเวณผิวหนัง
จะหดตัว
ือดที่มาเลี้ยง
วหนัง
ดปริมาณลง
าให้ผิวซีด
ลดการขับเหงื่อ
กล้ามเนื้อที่ยึดโคน
เส้นขนในผิวหนังหดตัว
ทำาให้ตัวสั่น ขนลุกชัน
ไปกระตุ้นให้เกิดการเปลี่ยนแปลง
ดผ่านยัง
pothalamus
ช่วยกั้นอากาศไว
เพื่อลดการถ่ายเท
ความร้อน
สู่สิ่งแวดล้อม
การรักษาดุลยภาพ
ของนำ้าและแร่ธาตุใน
สิ่งมีชีวิตอื่นๆ
contractile
vacuole
contractile vacuole.flv
สิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวที่
อาศัยอยู่ในนำ้าจืด
contractile vacuole ทำา
หน้าที่กำาจัดนำ้าและของเสีย
ออกจากเซลล์ เพื่อรักษา
ระดับความเข้มข้นของสาร
ภายในเซลล์และป้องกันไม่ให้
เซลล์แตก
Amoeb Parame
ปลานำ้าจืด
Osmoregulation
ในปลานำ้าจืด
ปัญหา
• ได้รับนำ้าเข้าสู่
ร่างกายจำานวนมาก
• สูญเสียเกลือแร่ออก
จากร่างกาย
การแก้ปัญหา
• ขับปัสสาวะปริมาณ
ปลาทะเล
Osmoregulation
ในปลานำ้าเค็ม
ปัญหา
• ได้รับเกลือเข้าสู่
ร่างกายจำานวนมาก
• สูญเสียนำ้าออกจาก
ร่างกายจำานวนมาก
การแก้ปัญหา
• กำาจัดเกลือออกจาก
เหงือกโดยวิธี active
นกทะเล
นกทะเล
ในขณะที่นกกินปลา
หรือ นำ้าทะเลเข้าไป
ร่างกายจะมีเกลือมากขึ้น
ซึ่งจะถูกกำาจัดที่ ต่อมขับ
เกลือ (salt secreting
glands) หรือ ต่อมนาสิก
การรักษาดุลยภาพ
ของนำ้าในพืช
    
•พืชมีการขับ
ถ่ายของนำ้า
เรียกว่า
กระบวนการ
การคายนำ้าของพืช
แบ่งเป็น 2 วิธีคือ
•1. การคายนำ้าทาง
ปากใบ
(stomatal
transpiration)
•เนื้อเยื่อชั้นนอกสุด
ของใบ เรียกว่า ชั้น
เอพิเดอร์มิส
(epidermis layer)
pper epidermis
ower epidermis
•เซลล์เอพิเดอร์มิสบาง
เซลล์เปลี่ยนแปลงไป
เป็น เซลล์คุม (guard
cell) อยู่ด้วยกัน เป็นคู่
รูปร่างคล้ายเมล็ดถั่วแดง
ประกบกัน มีคลอโรฟีลล์
จึงสังเคราะห์ด้วยแสงได้
     
•เซลล์คุมจะทำาหน้าที่ปิด
และเปิดปากใบ การ
สังเคราะห์ด้วยแสงทำาให้
เกิดการ เปิด-ปิดของปาก
ใบด้วย   
•ระหว่างเซลล์คุมจะเป็น
ปากใบ (stomata) พบว่า
ทางด้านล่างของใบมี
ปากใบอยู่มากกว่าทาง
ด้านบน
ปากใบ
หมายเลขใดในภาพ
คือ guard cell
1
2
3
หมายเลขใดใน
ภาพคือ stomata
1
2
3
•การคายนำ้าผ่านปากใบ
ทำาให้พืช สูญเสียนำ้า
•จึงมีการดูดนำ้าเข้าสู่
รากพืชเป็นการ
ทดแทน
•วัดอัตราการคาย
นำ้าได้ด้วย
โพโตมิเตอร์
(potometer)
•การเปิด-ปิดปากใบ
ขึ้นอยู่กับ
ความเข้มของแสง
ความชื้น อุณหภูมิ
เป็นต้น
guttation
•เป็นการคายนำ้าในรูป
หยดนำ้าเล็ก ๆ ทาง รู
เปิดเล็ก ๆ ตามปลายเส้น
ใบที่ขอบใบที่เรียกว่า
hydathode

More Related Content

What's hot

รูปร่างลักษณะของเซลล์
รูปร่างลักษณะของเซลล์รูปร่างลักษณะของเซลล์
รูปร่างลักษณะของเซลล์dnavaroj
 
โครงสร้างและหน้าที่ของเซลล์
โครงสร้างและหน้าที่ของเซลล์โครงสร้างและหน้าที่ของเซลล์
โครงสร้างและหน้าที่ของเซลล์Kittiya GenEnjoy
 
หน่วยของสิ่งมีชีวิต
หน่วยของสิ่งมีชีวิตหน่วยของสิ่งมีชีวิต
หน่วยของสิ่งมีชีวิตTakky Pinkgirl
 
โครงสร้างของเซลล์
โครงสร้างของเซลล์โครงสร้างของเซลล์
โครงสร้างของเซลล์Krupol Phato
 
เซลล์และการแบ่งเซลล์
เซลล์และการแบ่งเซลล์เซลล์และการแบ่งเซลล์
เซลล์และการแบ่งเซลล์Sukan
 
เซลล์ของสิ่งมีชีวิต(สอน)
เซลล์ของสิ่งมีชีวิต(สอน)เซลล์ของสิ่งมีชีวิต(สอน)
เซลล์ของสิ่งมีชีวิต(สอน)Thanyamon Chat.
 
หน่วยของสิ่งมีชีวิต
หน่วยของสิ่งมีชีวิตหน่วยของสิ่งมีชีวิต
หน่วยของสิ่งมีชีวิตnetzad
 
นำเสนอหน้าชั้นเรื่อง เซลล์สิ่งมีชีวิต
นำเสนอหน้าชั้นเรื่อง  เซลล์สิ่งมีชีวิตนำเสนอหน้าชั้นเรื่อง  เซลล์สิ่งมีชีวิต
นำเสนอหน้าชั้นเรื่อง เซลล์สิ่งมีชีวิตChidchanok Puy
 
โอลิมปิก สอวน.
โอลิมปิก สอวน.โอลิมปิก สอวน.
โอลิมปิก สอวน.itualeksuriya
 
บทที่ 2 ดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 2 ดุลยภาพของสิ่งมีชีวิตบทที่ 2 ดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 2 ดุลยภาพของสิ่งมีชีวิตPinutchaya Nakchumroon
 
เซเรบอส Brands วิชาชีววิทยา (192 หน้า) new
เซเรบอส Brands วิชาชีววิทยา (192 หน้า) newเซเรบอส Brands วิชาชีววิทยา (192 หน้า) new
เซเรบอส Brands วิชาชีววิทยา (192 หน้า) newfindgooodjob
 
เซลล์ของสิ่งมีชีวิต
เซลล์ของสิ่งมีชีวิตเซลล์ของสิ่งมีชีวิต
เซลล์ของสิ่งมีชีวิตpongrawee
 
ติวสอบเตรียมเซลล์และลำเลียง
ติวสอบเตรียมเซลล์และลำเลียงติวสอบเตรียมเซลล์และลำเลียง
ติวสอบเตรียมเซลล์และลำเลียงWichai Likitponrak
 

What's hot (20)

รูปร่างลักษณะของเซลล์
รูปร่างลักษณะของเซลล์รูปร่างลักษณะของเซลล์
รูปร่างลักษณะของเซลล์
 
โครงสร้างและหน้าที่ของเซลล์
โครงสร้างและหน้าที่ของเซลล์โครงสร้างและหน้าที่ของเซลล์
โครงสร้างและหน้าที่ของเซลล์
 
หน่วยของสิ่งมีชีวิต
หน่วยของสิ่งมีชีวิตหน่วยของสิ่งมีชีวิต
หน่วยของสิ่งมีชีวิต
 
หน่วยของสิ่งมีชีวิต
หน่วยของสิ่งมีชีวิตหน่วยของสิ่งมีชีวิต
หน่วยของสิ่งมีชีวิต
 
Cell.ppt25 copy
Cell.ppt25   copyCell.ppt25   copy
Cell.ppt25 copy
 
Cell
CellCell
Cell
 
โครงสร้างของเซลล์
โครงสร้างของเซลล์โครงสร้างของเซลล์
โครงสร้างของเซลล์
 
เซลล์และการแบ่งเซลล์
เซลล์และการแบ่งเซลล์เซลล์และการแบ่งเซลล์
เซลล์และการแบ่งเซลล์
 
Cell
CellCell
Cell
 
เซลล์ของสิ่งมีชีวิต(สอน)
เซลล์ของสิ่งมีชีวิต(สอน)เซลล์ของสิ่งมีชีวิต(สอน)
เซลล์ของสิ่งมีชีวิต(สอน)
 
Cell
CellCell
Cell
 
หน่วยของสิ่งมีชีวิต
หน่วยของสิ่งมีชีวิตหน่วยของสิ่งมีชีวิต
หน่วยของสิ่งมีชีวิต
 
นำเสนอหน้าชั้นเรื่อง เซลล์สิ่งมีชีวิต
นำเสนอหน้าชั้นเรื่อง  เซลล์สิ่งมีชีวิตนำเสนอหน้าชั้นเรื่อง  เซลล์สิ่งมีชีวิต
นำเสนอหน้าชั้นเรื่อง เซลล์สิ่งมีชีวิต
 
โอลิมปิก สอวน.
โอลิมปิก สอวน.โอลิมปิก สอวน.
โอลิมปิก สอวน.
 
บทที่ 2 ดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 2 ดุลยภาพของสิ่งมีชีวิตบทที่ 2 ดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 2 ดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต
 
เซเรบอส Brands วิชาชีววิทยา (192 หน้า) new
เซเรบอส Brands วิชาชีววิทยา (192 หน้า) newเซเรบอส Brands วิชาชีววิทยา (192 หน้า) new
เซเรบอส Brands วิชาชีววิทยา (192 หน้า) new
 
สรุปเซลล์
สรุปเซลล์สรุปเซลล์
สรุปเซลล์
 
Cell structure
Cell structureCell structure
Cell structure
 
เซลล์ของสิ่งมีชีวิต
เซลล์ของสิ่งมีชีวิตเซลล์ของสิ่งมีชีวิต
เซลล์ของสิ่งมีชีวิต
 
ติวสอบเตรียมเซลล์และลำเลียง
ติวสอบเตรียมเซลล์และลำเลียงติวสอบเตรียมเซลล์และลำเลียง
ติวสอบเตรียมเซลล์และลำเลียง
 

Viewers also liked

เกม Xo การแบ่งเซลล์ ไมโทซีส
เกม Xo การแบ่งเซลล์ ไมโทซีสเกม Xo การแบ่งเซลล์ ไมโทซีส
เกม Xo การแบ่งเซลล์ ไมโทซีสMontaka Jaita
 
เนื้อเยื่อสัตว์
เนื้อเยื่อสัตว์เนื้อเยื่อสัตว์
เนื้อเยื่อสัตว์zidane36
 
เนื้อเยื่อพืช Annanet
เนื้อเยื่อพืช Annanetเนื้อเยื่อพืช Annanet
เนื้อเยื่อพืช AnnanetAnana Anana
 
ดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต1
ดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต1ดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต1
ดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต1Tatthep Deesukon
 
การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต
การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิตการรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต
การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิตIssara Mo
 
แบบฝึกหัดที่ 2 เซลล์พืช และเซลล์สัตว์
แบบฝึกหัดที่ 2 เซลล์พืช และเซลล์สัตว์แบบฝึกหัดที่ 2 เซลล์พืช และเซลล์สัตว์
แบบฝึกหัดที่ 2 เซลล์พืช และเซลล์สัตว์Wann Rattiya
 
บทที่ 2 การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 2 การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตบทที่ 2 การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 2 การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตTa Lattapol
 
โครงสร้างและหน้าที่ของเซลล์
โครงสร้างและหน้าที่ของเซลล์โครงสร้างและหน้าที่ของเซลล์
โครงสร้างและหน้าที่ของเซลล์Kankamol Kunrat
 
ระบบย่อยอาหาร - Digestive system
ระบบย่อยอาหาร - Digestive systemระบบย่อยอาหาร - Digestive system
ระบบย่อยอาหาร - Digestive systemsupreechafkk
 
การสลายสารอาหารเพื่อให้ได้พลังงาน - Energy of cell
การสลายสารอาหารเพื่อให้ได้พลังงาน - Energy of cellการสลายสารอาหารเพื่อให้ได้พลังงาน - Energy of cell
การสลายสารอาหารเพื่อให้ได้พลังงาน - Energy of cellsupreechafkk
 

Viewers also liked (11)

เกม Xo การแบ่งเซลล์ ไมโทซีส
เกม Xo การแบ่งเซลล์ ไมโทซีสเกม Xo การแบ่งเซลล์ ไมโทซีส
เกม Xo การแบ่งเซลล์ ไมโทซีส
 
เนื้อเยื่อสัตว์
เนื้อเยื่อสัตว์เนื้อเยื่อสัตว์
เนื้อเยื่อสัตว์
 
เนื้อเยื่อพืช Annanet
เนื้อเยื่อพืช Annanetเนื้อเยื่อพืช Annanet
เนื้อเยื่อพืช Annanet
 
ดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต1
ดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต1ดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต1
ดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต1
 
การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต
การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิตการรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต
การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต
 
แบบฝึกหัดที่ 2 เซลล์พืช และเซลล์สัตว์
แบบฝึกหัดที่ 2 เซลล์พืช และเซลล์สัตว์แบบฝึกหัดที่ 2 เซลล์พืช และเซลล์สัตว์
แบบฝึกหัดที่ 2 เซลล์พืช และเซลล์สัตว์
 
บทที่ 2 การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 2 การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตบทที่ 2 การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 2 การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
 
โครงสร้างและหน้าที่ของเซลล์
โครงสร้างและหน้าที่ของเซลล์โครงสร้างและหน้าที่ของเซลล์
โครงสร้างและหน้าที่ของเซลล์
 
5.ชุดที่ 2 โครงสร้างของเซลล์
5.ชุดที่ 2 โครงสร้างของเซลล์5.ชุดที่ 2 โครงสร้างของเซลล์
5.ชุดที่ 2 โครงสร้างของเซลล์
 
ระบบย่อยอาหาร - Digestive system
ระบบย่อยอาหาร - Digestive systemระบบย่อยอาหาร - Digestive system
ระบบย่อยอาหาร - Digestive system
 
การสลายสารอาหารเพื่อให้ได้พลังงาน - Energy of cell
การสลายสารอาหารเพื่อให้ได้พลังงาน - Energy of cellการสลายสารอาหารเพื่อให้ได้พลังงาน - Energy of cell
การสลายสารอาหารเพื่อให้ได้พลังงาน - Energy of cell
 

Similar to 410 Bio002 2 เซลพฐ กล้อง -ดุลยภาพสมช

Cell project 1 : Cell studying
Cell project 1 : Cell studyingCell project 1 : Cell studying
Cell project 1 : Cell studyingIPST Thailand
 
ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1
ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1
ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1Sumarin Sanguanwong
 
หน่วยของสิ่งมีชีวิต
หน่วยของสิ่งมีชีวิตหน่วยของสิ่งมีชีวิต
หน่วยของสิ่งมีชีวิตsupreechafkk
 
ชีววิทยา เรื่อง พิ้นฐานเซลล์ ตอนที่ 2 general cell
ชีววิทยา เรื่อง พิ้นฐานเซลล์ ตอนที่ 2 general cellชีววิทยา เรื่อง พิ้นฐานเซลล์ ตอนที่ 2 general cell
ชีววิทยา เรื่อง พิ้นฐานเซลล์ ตอนที่ 2 general cellkasidid20309
 
ชีววิทยา
ชีววิทยาชีววิทยา
ชีววิทยาDarika Kanhala
 
2ติวสสวทเซลล์
2ติวสสวทเซลล์2ติวสสวทเซลล์
2ติวสสวทเซลล์Wichai Likitponrak
 
1.รับรู้ตอบสนอง
1.รับรู้ตอบสนอง1.รับรู้ตอบสนอง
1.รับรู้ตอบสนองWichai Likitponrak
 
เรื่อง การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต
เรื่อง การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิตเรื่อง การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต
เรื่อง การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิตcivicton
 
เรื่อง การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต
เรื่อง การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิตเรื่อง การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต
เรื่อง การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิตcivicton
 
เรื่อง การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต
เรื่อง การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิตเรื่อง การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต
เรื่อง การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิตcivicton
 
เนื้อเยื่อชั้นต่างๆ ของราก
เนื้อเยื่อชั้นต่างๆ ของรากเนื้อเยื่อชั้นต่างๆ ของราก
เนื้อเยื่อชั้นต่างๆ ของรากBiobiome
 

Similar to 410 Bio002 2 เซลพฐ กล้อง -ดุลยภาพสมช (20)

Cell project 1 : Cell studying
Cell project 1 : Cell studyingCell project 1 : Cell studying
Cell project 1 : Cell studying
 
ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1
ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1
ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1
 
Microscope
MicroscopeMicroscope
Microscope
 
หน่วยของสิ่งมีชีวิต
หน่วยของสิ่งมีชีวิตหน่วยของสิ่งมีชีวิต
หน่วยของสิ่งมีชีวิต
 
ข้อสอบวิทย์เรื่องเซลล์ 1
ข้อสอบวิทย์เรื่องเซลล์ 1ข้อสอบวิทย์เรื่องเซลล์ 1
ข้อสอบวิทย์เรื่องเซลล์ 1
 
Biology
BiologyBiology
Biology
 
ชีววิทยา เรื่อง พิ้นฐานเซลล์ ตอนที่ 2 general cell
ชีววิทยา เรื่อง พิ้นฐานเซลล์ ตอนที่ 2 general cellชีววิทยา เรื่อง พิ้นฐานเซลล์ ตอนที่ 2 general cell
ชีววิทยา เรื่อง พิ้นฐานเซลล์ ตอนที่ 2 general cell
 
ชีววิทยา
ชีววิทยาชีววิทยา
ชีววิทยา
 
2ติวสสวทเซลล์
2ติวสสวทเซลล์2ติวสสวทเซลล์
2ติวสสวทเซลล์
 
1.รับรู้ตอบสนอง
1.รับรู้ตอบสนอง1.รับรู้ตอบสนอง
1.รับรู้ตอบสนอง
 
Cell2558
Cell2558Cell2558
Cell2558
 
เรื่อง การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต
เรื่อง การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิตเรื่อง การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต
เรื่อง การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต
 
เรื่อง การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต
เรื่อง การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิตเรื่อง การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต
เรื่อง การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต
 
เรื่อง การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต
เรื่อง การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิตเรื่อง การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต
เรื่อง การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต
 
4
44
4
 
4
44
4
 
Bio1.pdf
Bio1.pdfBio1.pdf
Bio1.pdf
 
เนื้อเยื่อชั้นต่างๆ ของราก
เนื้อเยื่อชั้นต่างๆ ของรากเนื้อเยื่อชั้นต่างๆ ของราก
เนื้อเยื่อชั้นต่างๆ ของราก
 
ศูนย์ที่ 1 ชุดที่ 1.1
ศูนย์ที่ 1 ชุดที่ 1.1ศูนย์ที่ 1 ชุดที่ 1.1
ศูนย์ที่ 1 ชุดที่ 1.1
 
ศูนย์ที่ 1 ชุดที่ 1.1
ศูนย์ที่ 1 ชุดที่ 1.1ศูนย์ที่ 1 ชุดที่ 1.1
ศูนย์ที่ 1 ชุดที่ 1.1
 

410 Bio002 2 เซลพฐ กล้อง -ดุลยภาพสมช