SlideShare a Scribd company logo
ประวัติและความเป็นมา ประวัติของอับราฮัม มาสโลว์ (Abraham Maslow. 1908-1970) มาสโลว์ เกิดเมื่อ วันที่ 1 เมษายน ค.ศ. 1908 ที่เมืองบรุคลิน (Brooklyn) ในรัฐนิวยอร์ก (New York) เขาได้รับปริญญาใน ปี ค.ศ. 1930 ปริญญาโท ปี ค.ศ. 1931 และปริญญาเอกในปี ค.ศ. 1934 จากมหาวิทยาลัย วิสคอนซิน (Wisconsin University) ทางสาขาจิตวิทยา แนวความคิดของมาสโลว์ มาสโลว์มองว่า มนุษย์แต่ละคนทีศักยภาพพอสาหรับที่จะชี้นาตัวเอง มนุษย์ไม่ อยู่นิ่งแต่จะเปลี่ยนแปลงไปตามสถานการณ์ต่างๆ ที่แวดล้อมและแสวงหาความต้องการที่จะเข้าใจ ตนเอง ยอมรับตนเองทั้งในส่วนดีส่วนบกพร่อง รู้จักจุดอ่อน และความสามารถของตนเอง เขาได้อธิบาย ว่า มนุษย์ทุกคนมีความต้องการที่จะสนองความต้องการให้กับตนเองทั้งสิ้น และความต้องการของมนุษย์มี มากมายหลายอย่างด้วยกัน ซึ่งต้องได้รับความพึงพอใจจากความต้องการพื้นฐานหรือต่าสุดเสียก่อนจึงจะ ผ่านขึ้นไปยังความต้องการขั้นสูงตามลาดับ 
ทฤษฏีความต้องการพื้นฐาน 
ของอับราฮัม มาสโลว์
ทฤษฎีลาดับขั้นความต้องการของมาสโลว์ 
ทฤษฎีลาดับขั้นความต้องการ (Hierachy of Needs Theory ) ของอับราอัม เอช . มาสโลว์ 
( Abrah H. Maslow )สาระสาคัญของทฤษฎีนี้ก็คือการเน้นย้าในเรื่องของความต้องการของมนุษย์ มนุษย์ทุก คนนั้นมีความต้องการอยู่ตลอดเวลาอย่างไม่สิ้นสุด และเป็นความต้องการที่เป็นชุดที่มีการจัดลาดับไว้เป็น หลั่นชั้น ความต้องการระดับที่ต่าที่สุดก็คือ ความต้องการพื้นฐานทางกายภาพและชีวภาพ ( Basic Physiological and Biological Needs ) และระดับสูงที่สุดก็คือความต้องการที่จะประสบความสาเร็จหรือ ความต้องการประจักษ์ตน ( Self-Fullfillment หรือ Self-Actualization Needs ) 
เป็นทฤษฎีที่พัฒนาขึ้นโดย อับราฮัม มาสโลว์ (Abrahum Maslow) นักจิตวิทยาแห่งมหาวิทยาลัยแบรน ดีส์ เป็นทฤษฎีที่รู้จักกัน มากที่สุด ทฤษฎีหนึ่ง ซึ่งระบุว่า บุคคลมีความต้องการเรียงลาดับจากระดับพื้นฐาน ที่สุดไปยังระดับสูงสุด กรอบความคิดที่สาคัญ ของทฤษฎีนี้ มีสามประการ คือ 
1. บุคคลเป็นสิ่งมีชีวิตที่มีความต้องการ ความต้องการมีอิทธิพลหรือเป็นเหตุจูงใจต่อพฤติกรรม ความ ต้องการที่ยังไม่ได้รับ การสนองตอบเท่านั้นที่เป็นเหตุจูงใจ ส่วนความต้องการที่ได้รับการ สนองตอบแล้วจะไม่เป็นเหตุจูงใจอีกต่อไป 
2. ความต้องการของบุคคลเป็นลาดับชั้นเรียงตามความสาคัญจาก ความต้องการพื้นฐาน ไปจนถึง ความต้องการที่ซับซ้อน 
3. เมื่อความต้องการลาดับต่าได้รับการสนอบตอบอย่างดีแล้ว บุคคลจะก้าวไปสู่ความต้องการลาดับที่ สูงขึ้นต่อไป 
มาสโลว์ เห็นว่าความต้องการของบุคคลมีห้ากลุ่มจัดแบ่งได้เป็นห้าระดับจากระดับต่าไปสูง เพื่อความเข้าใจ มักจะแสดงลาดับของความต้องการเหล่านี้ โดยภาพ ดังนี้
แผนภาพแสดงลาดับชั้นความต้องการตามทฤษฎีของอับราฮัม เอช . , มาสโลว์ (Abraham H. Maslow) 
ขั้นที่ 1. ความต้องการพื้นฐานทางกายภาพและชีวภาพ ความต้องการพื้นฐานทางกายภาพและชีวภาพนั้น เป็นความต้องการในระดับต่าขั้นแรก เป็นความต้องการซึ่งจาเป็นเพื่อการอยู่รอดอันเป็นเรื่องทางกายภาพ และชีวภาพคือ ความต้องการในการพักผ่อน อากาศ อุณหภูมิที่พอเหมาะ การขับถ่าย การเคลื่อนไหว เรื่อง เพศ รวมตลอดถึงความต้องการในปัจจัยสี่คือ อาหาร เครื่องนุ่งห่ม ที่อยู่อาศัย และยารักษาโรค 
ขั้นที่ 2. ความต้องการความปลอดภัยและความมั่นคง สาหรับความต้องการที่จะมีความปลอดภัยและความ มั่นคงนี้เป็นความต้องการที่ปรารถนาที่จะอยู่ห่างจากสิ่งที่เป็นภัยอันตรายทั้งปวงต่อชีวิตไม่ว่าจะเป็น อุบัติเหตุ โรคภัยไข้เจ็บต่าง ๆ รวมตลอดจนถึงความไม่มีเสถียรภาพทางเศรษฐกิจ ดังนั้นบุคคลและองค์การ จึงสนใจในหลักประกันบางอย่าง ได้แก่ การประกันภัยในรูปแบบต่าง ๆ เช่น ในด้านสุขภาพ อุบัติเหตุและ ชีวิต เป็นต้น รวมถึงการเก็บเงินสะสม การใช้บาเหน็จบานาญเมื่อเกษียณอายุ สิ่งต่าง ๆ เหล่านี้อาจทาให้เกิด ความรู้สึกปลอดภัยและมั่นคง 
ขั้นที่ 3. ความต้องการทางสังคม ความรักใคร่และความเป็นเจ้าของ ความต้องการทางสังคม ความต้องการความรักใคร่ และความรู้สึงเป็นเจ้าของนี้ บุคคลโดยทั่วไปมักจะมีความสัมพันธ์กับบิดามารดา สามีภรรยาและลูกรวมตลอดถึงญาติพี่น้อง นอกจากนั้นความต้องการนี้อาจตอบสนองได้ในสภาพแวดล้อม
ทางสังคม ได้แก่ ความต้องการมีความสัมพันธ์อันอบอุ่นกับเพื่อน โดยเฉพาะกับเพื่อนร่วมงาน และ ความรู้สึกที่ว่าตนนั้นแป็นส่วนหนึ่งของกลุ่ม เป็นคนที่มีคุณค่าของกลุ่มที่เขาเป็นสมาชิก ถ้าปราศจาก ความรู้สึกที่เป็นส่วนหนึ่งของกลุ่มแล้ว เขาจะรู้สึกว่าเขาเป็นบุคคลไม่พึงปรารถนา และรู้สึกว่าตนนั้นไม่เป็น ที่ต้องการหรือไม่มีคุณค่าและเรื่องที่คลุมไปถึงความรู้สึกเป็นเจ้าของด้วย 
ขั้นที่ 4. ความต้องการที่จะได้รับการยกย่องและเป็นที่ยอมรับ ความต้องการที่จะได้รับการยกย่องและเป็นที่ ยอมรับ หมายถึง ความต้องการของบุคคลที่มีคุณค่าในสายตาของคนอื่น ดังนั้นจึงเป็นเรื่องที่เกี่ยวกับ ความสามารถ ที่แท้จริง ความสาเร็จ และความเคารพที่ได้รับจากคนอื่น ความต้องการเหล่านี้อาจแบ่งป็น 2 กลุ่มย่อยคือ 
1. ความปรารถนาที่จะมีความแข็งแกร่ง มีความสาเร็จ มีความเพียงพอ มีความมั่นใจ เพื่อที่จะเผชิญโลก และ มีความเป็นอิสระและเสรีภาพ 
2. ความปรารถนาที่จะมีชื่อเสียงและเกียรติภูมิ ซึ่งเป็นการได้รับการเคารพหรือความยกย่องที่ได้รับจาก บุคคลอื่น การได้รับ ความสนใจ ความสาคัญ หรือการเห็นคุณค่า 
ขั้นที่ 5. ความต้องการที่จะประสบความสาเร็จสูงสุดหรือความต้องการประจักษ์ตน มาสโลว์ ได้สรุป ความคิดเกี่ยวกับการที่บุคคลพยายามมุ่งตอบสนองความต้องการที่จะประสบความสาเร็จสูงสุดในชีวิตหรือ ความต้องการประจักษ์ตนนี้ว่า หมายถึงแนวโน้มของบุคคลที่จะเป็นอะไร หรืออยู่ในสถานภาพอะไรสัก อย่างหนึ่งที่เขาเองมีศักยภาพจะเป็นได้ แนวโน้มนี้อาจกล่าวได้ว่าเป็นความปรารถนาที่จะเป็นอย่างที่ตนเป็น มากขึ้น สูงขึ้น โดยเป็นทุกสิ่งทุกอย่างที่เขาสามารถจะเป็นได้
จัดทาโดย 
นางสาวศิริรินทร์ น้อยผาง รหัสนักศึกษา 55191860307 
นางสาวศิริลักษณ์ สิทธิสังข์ รหัสนักศึกษา 55191860308 
นางสาวอมรรัตน์ ศรีเลิศ รหัสนักศึกษา 55191860338 
นางสาวอรอุมา ศรีดาชาติ รหัสนักศึกษา 55191860341 
นางสาวอัมรา สิมมา รหัสนักศึกษา 55191860346 
โปรแกรมวิชาการศึกษาปฐมวัย หมู่3 ระดับ คบ. 5/2 
ที่มา: http://courseware.rmutl.ac.th/courses/44/unit1405.htm#head4

More Related Content

What's hot

เอกสารประกอบการพิจารณาส่งเสริมและคัดเลือกนวัตกรรมสร้างสรรค์คนดี
เอกสารประกอบการพิจารณาส่งเสริมและคัดเลือกนวัตกรรมสร้างสรรค์คนดีเอกสารประกอบการพิจารณาส่งเสริมและคัดเลือกนวัตกรรมสร้างสรรค์คนดี
เอกสารประกอบการพิจารณาส่งเสริมและคัดเลือกนวัตกรรมสร้างสรรค์คนดี
SophinyaDara
 
การตรวจสอบคุณภาพข้อสอบอัตนัย
การตรวจสอบคุณภาพข้อสอบอัตนัยการตรวจสอบคุณภาพข้อสอบอัตนัย
การตรวจสอบคุณภาพข้อสอบอัตนัย
NU
 
แบบทดสอบพร้อมเฉลยรายตัวชี้วัดร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ..Docx 40 ข้อ
แบบทดสอบพร้อมเฉลยรายตัวชี้วัดร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ..Docx 40 ข้อแบบทดสอบพร้อมเฉลยรายตัวชี้วัดร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ..Docx 40 ข้อ
แบบทดสอบพร้อมเฉลยรายตัวชี้วัดร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ..Docx 40 ข้อ
krupornpana55
 
โครงงาน Is-กลุ่มสบู่-1-5
โครงงาน Is-กลุ่มสบู่-1-5โครงงาน Is-กลุ่มสบู่-1-5
โครงงาน Is-กลุ่มสบู่-1-5
Nontagan Lertkachensri
 
การสร้างสรรค์ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทยสมัยรัตนโกสินทร์
การสร้างสรรค์ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทยสมัยรัตนโกสินทร์การสร้างสรรค์ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทยสมัยรัตนโกสินทร์
การสร้างสรรค์ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทยสมัยรัตนโกสินทร์
พัน พัน
 
แนวคิดเสรีนิยม
แนวคิดเสรีนิยมแนวคิดเสรีนิยม
แนวคิดเสรีนิยม
Golfzie Loliconer
 
สถาปัตยกรรมไทย
สถาปัตยกรรมไทยสถาปัตยกรรมไทย
สถาปัตยกรรมไทย
pongpangud13
 
สามัคคีคำฉันท์.Ppt 34
สามัคคีคำฉันท์.Ppt 34สามัคคีคำฉันท์.Ppt 34
สามัคคีคำฉันท์.Ppt 34
Kittisak Chumnumset
 

What's hot (20)

ตัวอย่างการนำเสนอโครงร่างวิจัย 3 บท
ตัวอย่างการนำเสนอโครงร่างวิจัย 3 บทตัวอย่างการนำเสนอโครงร่างวิจัย 3 บท
ตัวอย่างการนำเสนอโครงร่างวิจัย 3 บท
 
โครงการจิตอาสาเพื่อชุมชนและสังคม
โครงการจิตอาสาเพื่อชุมชนและสังคมโครงการจิตอาสาเพื่อชุมชนและสังคม
โครงการจิตอาสาเพื่อชุมชนและสังคม
 
สารบัญ.
สารบัญ.สารบัญ.
สารบัญ.
 
ความสำคัญของพระมหากษัตริย์ต่อชาติไทย
ความสำคัญของพระมหากษัตริย์ต่อชาติไทยความสำคัญของพระมหากษัตริย์ต่อชาติไทย
ความสำคัญของพระมหากษัตริย์ต่อชาติไทย
 
เอกสารประกอบการพิจารณาส่งเสริมและคัดเลือกนวัตกรรมสร้างสรรค์คนดี
เอกสารประกอบการพิจารณาส่งเสริมและคัดเลือกนวัตกรรมสร้างสรรค์คนดีเอกสารประกอบการพิจารณาส่งเสริมและคัดเลือกนวัตกรรมสร้างสรรค์คนดี
เอกสารประกอบการพิจารณาส่งเสริมและคัดเลือกนวัตกรรมสร้างสรรค์คนดี
 
หน้าปกคำนำสารบัญ
หน้าปกคำนำสารบัญหน้าปกคำนำสารบัญ
หน้าปกคำนำสารบัญ
 
บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓
บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓
บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓
 
บทที่ 2 ปรัชญาคืออะไร
บทที่ 2 ปรัชญาคืออะไรบทที่ 2 ปรัชญาคืออะไร
บทที่ 2 ปรัชญาคืออะไร
 
การตรวจสอบคุณภาพข้อสอบอัตนัย
การตรวจสอบคุณภาพข้อสอบอัตนัยการตรวจสอบคุณภาพข้อสอบอัตนัย
การตรวจสอบคุณภาพข้อสอบอัตนัย
 
การเขียนบทที่ 1 บทนำของปริญญานิพนธ์ วิทยานิพนธ์ และงานวิจัย (Introduction)
การเขียนบทที่ 1 บทนำของปริญญานิพนธ์ วิทยานิพนธ์ และงานวิจัย (Introduction)การเขียนบทที่ 1 บทนำของปริญญานิพนธ์ วิทยานิพนธ์ และงานวิจัย (Introduction)
การเขียนบทที่ 1 บทนำของปริญญานิพนธ์ วิทยานิพนธ์ และงานวิจัย (Introduction)
 
แบบทดสอบพร้อมเฉลยรายตัวชี้วัดร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ..Docx 40 ข้อ
แบบทดสอบพร้อมเฉลยรายตัวชี้วัดร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ..Docx 40 ข้อแบบทดสอบพร้อมเฉลยรายตัวชี้วัดร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ..Docx 40 ข้อ
แบบทดสอบพร้อมเฉลยรายตัวชี้วัดร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ..Docx 40 ข้อ
 
โครงงาน Is-กลุ่มสบู่-1-5
โครงงาน Is-กลุ่มสบู่-1-5โครงงาน Is-กลุ่มสบู่-1-5
โครงงาน Is-กลุ่มสบู่-1-5
 
ใบงาน 3.1 3.2
ใบงาน 3.1 3.2ใบงาน 3.1 3.2
ใบงาน 3.1 3.2
 
การสร้างสรรค์ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทยสมัยรัตนโกสินทร์
การสร้างสรรค์ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทยสมัยรัตนโกสินทร์การสร้างสรรค์ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทยสมัยรัตนโกสินทร์
การสร้างสรรค์ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทยสมัยรัตนโกสินทร์
 
บทที่ 2 การฟัง
บทที่ 2 การฟังบทที่ 2 การฟัง
บทที่ 2 การฟัง
 
แนวคิดเสรีนิยม
แนวคิดเสรีนิยมแนวคิดเสรีนิยม
แนวคิดเสรีนิยม
 
สถาปัตยกรรมไทย
สถาปัตยกรรมไทยสถาปัตยกรรมไทย
สถาปัตยกรรมไทย
 
สามัคคีคำฉันท์.Ppt 34
สามัคคีคำฉันท์.Ppt 34สามัคคีคำฉันท์.Ppt 34
สามัคคีคำฉันท์.Ppt 34
 
แบบสอบถาม โครงการบันทึกรักการอ่าน2013
แบบสอบถาม โครงการบันทึกรักการอ่าน2013แบบสอบถาม โครงการบันทึกรักการอ่าน2013
แบบสอบถาม โครงการบันทึกรักการอ่าน2013
 
การนำเสนอผลการวิจัย
การนำเสนอผลการวิจัยการนำเสนอผลการวิจัย
การนำเสนอผลการวิจัย
 

Viewers also liked

ทฤษฎีแรงจูงใจ
ทฤษฎีแรงจูงใจทฤษฎีแรงจูงใจ
ทฤษฎีแรงจูงใจ
Poy Thammaugsorn
 
แรงจูงใจในการทำงาน
แรงจูงใจในการทำงานแรงจูงใจในการทำงาน
แรงจูงใจในการทำงาน
Wasupong Maneekhat
 
ทฤษฎีลำดับความต้องการของมนุษย์
ทฤษฎีลำดับความต้องการของมนุษย์ทฤษฎีลำดับความต้องการของมนุษย์
ทฤษฎีลำดับความต้องการของมนุษย์
wiraja
 
Chapter 3 พฤติกรรมศาสตร์กับการพัฒนาองค์การ
Chapter 3 พฤติกรรมศาสตร์กับการพัฒนาองค์การChapter 3 พฤติกรรมศาสตร์กับการพัฒนาองค์การ
Chapter 3 พฤติกรรมศาสตร์กับการพัฒนาองค์การ
wanna2728
 
002191 Chapter 3 Organizational Theories
002191 Chapter 3 Organizational Theories002191 Chapter 3 Organizational Theories
002191 Chapter 3 Organizational Theories
wiraja
 
ทฤษฎีเกี่ยวกับมนุษย์นิยมของมาสโลว์
ทฤษฎีเกี่ยวกับมนุษย์นิยมของมาสโลว์ทฤษฎีเกี่ยวกับมนุษย์นิยมของมาสโลว์
โครงสร้างทางสังคม0
โครงสร้างทางสังคม0โครงสร้างทางสังคม0
โครงสร้างทางสังคม0
Parn Nichakorn
 
โครงงาน
โครงงานโครงงาน
โครงงาน
Zoe A'Black
 
การศึกษาความพึงพอใจในการจัดการเรียนการสอน55 1
การศึกษาความพึงพอใจในการจัดการเรียนการสอน55 1การศึกษาความพึงพอใจในการจัดการเรียนการสอน55 1
การศึกษาความพึงพอใจในการจัดการเรียนการสอน55 1
Pimpisut Plodprong
 
บทที่ 1 ประวัติทฤษฎีทางด้านการบริหาร
บทที่ 1 ประวัติทฤษฎีทางด้านการบริหารบทที่ 1 ประวัติทฤษฎีทางด้านการบริหาร
บทที่ 1 ประวัติทฤษฎีทางด้านการบริหาร
Sakda Hwankaew
 
ทฤษฏีฮาวิกเวิร์ก
ทฤษฏีฮาวิกเวิร์กทฤษฏีฮาวิกเวิร์ก
ทฤษฏีฮาวิกเวิร์ก
makusoh026
 

Viewers also liked (20)

ทฤษฎีแรงจูงใจ
ทฤษฎีแรงจูงใจทฤษฎีแรงจูงใจ
ทฤษฎีแรงจูงใจ
 
ทฤษฎีแรงจูงใจ
ทฤษฎีแรงจูงใจทฤษฎีแรงจูงใจ
ทฤษฎีแรงจูงใจ
 
งานนำเสนอแรงจูงใจ กลุ่ม 2
งานนำเสนอแรงจูงใจ กลุ่ม 2 งานนำเสนอแรงจูงใจ กลุ่ม 2
งานนำเสนอแรงจูงใจ กลุ่ม 2
 
ทฤษฎีความต้องการและแรงจูงใจ
ทฤษฎีความต้องการและแรงจูงใจทฤษฎีความต้องการและแรงจูงใจ
ทฤษฎีความต้องการและแรงจูงใจ
 
Motivation (แรงจูงใจ) ch.7 สำหรับนิสิตวิชาพฤติกรรมผู้บริโภค
Motivation (แรงจูงใจ) ch.7 สำหรับนิสิตวิชาพฤติกรรมผู้บริโภคMotivation (แรงจูงใจ) ch.7 สำหรับนิสิตวิชาพฤติกรรมผู้บริโภค
Motivation (แรงจูงใจ) ch.7 สำหรับนิสิตวิชาพฤติกรรมผู้บริโภค
 
แรงจูงใจในการทำงาน
แรงจูงใจในการทำงานแรงจูงใจในการทำงาน
แรงจูงใจในการทำงาน
 
ทฤษฎีของอิริคสัน
ทฤษฎีของอิริคสันทฤษฎีของอิริคสัน
ทฤษฎีของอิริคสัน
 
ทฤษฎีลำดับความต้องการของมนุษย์
ทฤษฎีลำดับความต้องการของมนุษย์ทฤษฎีลำดับความต้องการของมนุษย์
ทฤษฎีลำดับความต้องการของมนุษย์
 
Chapter 3 พฤติกรรมศาสตร์กับการพัฒนาองค์การ
Chapter 3 พฤติกรรมศาสตร์กับการพัฒนาองค์การChapter 3 พฤติกรรมศาสตร์กับการพัฒนาองค์การ
Chapter 3 พฤติกรรมศาสตร์กับการพัฒนาองค์การ
 
002191 Chapter 3 Organizational Theories
002191 Chapter 3 Organizational Theories002191 Chapter 3 Organizational Theories
002191 Chapter 3 Organizational Theories
 
เพียเจ
เพียเจ เพียเจ
เพียเจ
 
ทฤษฎีเกี่ยวกับมนุษย์นิยมของมาสโลว์
ทฤษฎีเกี่ยวกับมนุษย์นิยมของมาสโลว์ทฤษฎีเกี่ยวกับมนุษย์นิยมของมาสโลว์
ทฤษฎีเกี่ยวกับมนุษย์นิยมของมาสโลว์
 
โครงสร้างทางสังคม0
โครงสร้างทางสังคม0โครงสร้างทางสังคม0
โครงสร้างทางสังคม0
 
สภาพสังคมที่ส่งผลให้ความสุขลดลง (สถาบันทางสังคม)
สภาพสังคมที่ส่งผลให้ความสุขลดลง (สถาบันทางสังคม)สภาพสังคมที่ส่งผลให้ความสุขลดลง (สถาบันทางสังคม)
สภาพสังคมที่ส่งผลให้ความสุขลดลง (สถาบันทางสังคม)
 
โครงงาน
โครงงานโครงงาน
โครงงาน
 
การศึกษาความพึงพอใจในการจัดการเรียนการสอน55 1
การศึกษาความพึงพอใจในการจัดการเรียนการสอน55 1การศึกษาความพึงพอใจในการจัดการเรียนการสอน55 1
การศึกษาความพึงพอใจในการจัดการเรียนการสอน55 1
 
บทที่ 1 ประวัติทฤษฎีทางด้านการบริหาร
บทที่ 1 ประวัติทฤษฎีทางด้านการบริหารบทที่ 1 ประวัติทฤษฎีทางด้านการบริหาร
บทที่ 1 ประวัติทฤษฎีทางด้านการบริหาร
 
ทฤษฏีฮาวิกเวิร์ก
ทฤษฏีฮาวิกเวิร์กทฤษฏีฮาวิกเวิร์ก
ทฤษฏีฮาวิกเวิร์ก
 
ทฤษฎีพัฒนาการของอีริคสัน
ทฤษฎีพัฒนาการของอีริคสันทฤษฎีพัฒนาการของอีริคสัน
ทฤษฎีพัฒนาการของอีริคสัน
 
ทฤษฎีพัฒนาการตามวัย ของโรเบิร์ต เจ ฮาวิกเฮิร์ต
ทฤษฎีพัฒนาการตามวัย ของโรเบิร์ต เจ ฮาวิกเฮิร์ตทฤษฎีพัฒนาการตามวัย ของโรเบิร์ต เจ ฮาวิกเฮิร์ต
ทฤษฎีพัฒนาการตามวัย ของโรเบิร์ต เจ ฮาวิกเฮิร์ต
 

Similar to ทฤษฏีความต้องการพื้นฐาน(มาสโลว์) (6)

กลุ่มที่1ฟรอยด์
กลุ่มที่1ฟรอยด์กลุ่มที่1ฟรอยด์
กลุ่มที่1ฟรอยด์
 
กลุ่มที่1ฟรอยด์
กลุ่มที่1ฟรอยด์กลุ่มที่1ฟรอยด์
กลุ่มที่1ฟรอยด์
 
ชีวะวิทยา.pdf
ชีวะวิทยา.pdfชีวะวิทยา.pdf
ชีวะวิทยา.pdf
 
ชีวะวิทยา.pdf
ชีวะวิทยา.pdfชีวะวิทยา.pdf
ชีวะวิทยา.pdf
 
กลุ่มปลาUse --ตายแล้วเกิดอีกกี่ครั้งก็ยังเป็นสุข
กลุ่มปลาUse --ตายแล้วเกิดอีกกี่ครั้งก็ยังเป็นสุขกลุ่มปลาUse --ตายแล้วเกิดอีกกี่ครั้งก็ยังเป็นสุข
กลุ่มปลาUse --ตายแล้วเกิดอีกกี่ครั้งก็ยังเป็นสุข
 
ชีววิทยา สิ่งมีชีวิต หลักการทางชีวะวิทยา
ชีววิทยา สิ่งมีชีวิต หลักการทางชีวะวิทยาชีววิทยา สิ่งมีชีวิต หลักการทางชีวะวิทยา
ชีววิทยา สิ่งมีชีวิต หลักการทางชีวะวิทยา
 

ทฤษฏีความต้องการพื้นฐาน(มาสโลว์)

  • 1. ประวัติและความเป็นมา ประวัติของอับราฮัม มาสโลว์ (Abraham Maslow. 1908-1970) มาสโลว์ เกิดเมื่อ วันที่ 1 เมษายน ค.ศ. 1908 ที่เมืองบรุคลิน (Brooklyn) ในรัฐนิวยอร์ก (New York) เขาได้รับปริญญาใน ปี ค.ศ. 1930 ปริญญาโท ปี ค.ศ. 1931 และปริญญาเอกในปี ค.ศ. 1934 จากมหาวิทยาลัย วิสคอนซิน (Wisconsin University) ทางสาขาจิตวิทยา แนวความคิดของมาสโลว์ มาสโลว์มองว่า มนุษย์แต่ละคนทีศักยภาพพอสาหรับที่จะชี้นาตัวเอง มนุษย์ไม่ อยู่นิ่งแต่จะเปลี่ยนแปลงไปตามสถานการณ์ต่างๆ ที่แวดล้อมและแสวงหาความต้องการที่จะเข้าใจ ตนเอง ยอมรับตนเองทั้งในส่วนดีส่วนบกพร่อง รู้จักจุดอ่อน และความสามารถของตนเอง เขาได้อธิบาย ว่า มนุษย์ทุกคนมีความต้องการที่จะสนองความต้องการให้กับตนเองทั้งสิ้น และความต้องการของมนุษย์มี มากมายหลายอย่างด้วยกัน ซึ่งต้องได้รับความพึงพอใจจากความต้องการพื้นฐานหรือต่าสุดเสียก่อนจึงจะ ผ่านขึ้นไปยังความต้องการขั้นสูงตามลาดับ ทฤษฏีความต้องการพื้นฐาน ของอับราฮัม มาสโลว์
  • 2. ทฤษฎีลาดับขั้นความต้องการของมาสโลว์ ทฤษฎีลาดับขั้นความต้องการ (Hierachy of Needs Theory ) ของอับราอัม เอช . มาสโลว์ ( Abrah H. Maslow )สาระสาคัญของทฤษฎีนี้ก็คือการเน้นย้าในเรื่องของความต้องการของมนุษย์ มนุษย์ทุก คนนั้นมีความต้องการอยู่ตลอดเวลาอย่างไม่สิ้นสุด และเป็นความต้องการที่เป็นชุดที่มีการจัดลาดับไว้เป็น หลั่นชั้น ความต้องการระดับที่ต่าที่สุดก็คือ ความต้องการพื้นฐานทางกายภาพและชีวภาพ ( Basic Physiological and Biological Needs ) และระดับสูงที่สุดก็คือความต้องการที่จะประสบความสาเร็จหรือ ความต้องการประจักษ์ตน ( Self-Fullfillment หรือ Self-Actualization Needs ) เป็นทฤษฎีที่พัฒนาขึ้นโดย อับราฮัม มาสโลว์ (Abrahum Maslow) นักจิตวิทยาแห่งมหาวิทยาลัยแบรน ดีส์ เป็นทฤษฎีที่รู้จักกัน มากที่สุด ทฤษฎีหนึ่ง ซึ่งระบุว่า บุคคลมีความต้องการเรียงลาดับจากระดับพื้นฐาน ที่สุดไปยังระดับสูงสุด กรอบความคิดที่สาคัญ ของทฤษฎีนี้ มีสามประการ คือ 1. บุคคลเป็นสิ่งมีชีวิตที่มีความต้องการ ความต้องการมีอิทธิพลหรือเป็นเหตุจูงใจต่อพฤติกรรม ความ ต้องการที่ยังไม่ได้รับ การสนองตอบเท่านั้นที่เป็นเหตุจูงใจ ส่วนความต้องการที่ได้รับการ สนองตอบแล้วจะไม่เป็นเหตุจูงใจอีกต่อไป 2. ความต้องการของบุคคลเป็นลาดับชั้นเรียงตามความสาคัญจาก ความต้องการพื้นฐาน ไปจนถึง ความต้องการที่ซับซ้อน 3. เมื่อความต้องการลาดับต่าได้รับการสนอบตอบอย่างดีแล้ว บุคคลจะก้าวไปสู่ความต้องการลาดับที่ สูงขึ้นต่อไป มาสโลว์ เห็นว่าความต้องการของบุคคลมีห้ากลุ่มจัดแบ่งได้เป็นห้าระดับจากระดับต่าไปสูง เพื่อความเข้าใจ มักจะแสดงลาดับของความต้องการเหล่านี้ โดยภาพ ดังนี้
  • 3. แผนภาพแสดงลาดับชั้นความต้องการตามทฤษฎีของอับราฮัม เอช . , มาสโลว์ (Abraham H. Maslow) ขั้นที่ 1. ความต้องการพื้นฐานทางกายภาพและชีวภาพ ความต้องการพื้นฐานทางกายภาพและชีวภาพนั้น เป็นความต้องการในระดับต่าขั้นแรก เป็นความต้องการซึ่งจาเป็นเพื่อการอยู่รอดอันเป็นเรื่องทางกายภาพ และชีวภาพคือ ความต้องการในการพักผ่อน อากาศ อุณหภูมิที่พอเหมาะ การขับถ่าย การเคลื่อนไหว เรื่อง เพศ รวมตลอดถึงความต้องการในปัจจัยสี่คือ อาหาร เครื่องนุ่งห่ม ที่อยู่อาศัย และยารักษาโรค ขั้นที่ 2. ความต้องการความปลอดภัยและความมั่นคง สาหรับความต้องการที่จะมีความปลอดภัยและความ มั่นคงนี้เป็นความต้องการที่ปรารถนาที่จะอยู่ห่างจากสิ่งที่เป็นภัยอันตรายทั้งปวงต่อชีวิตไม่ว่าจะเป็น อุบัติเหตุ โรคภัยไข้เจ็บต่าง ๆ รวมตลอดจนถึงความไม่มีเสถียรภาพทางเศรษฐกิจ ดังนั้นบุคคลและองค์การ จึงสนใจในหลักประกันบางอย่าง ได้แก่ การประกันภัยในรูปแบบต่าง ๆ เช่น ในด้านสุขภาพ อุบัติเหตุและ ชีวิต เป็นต้น รวมถึงการเก็บเงินสะสม การใช้บาเหน็จบานาญเมื่อเกษียณอายุ สิ่งต่าง ๆ เหล่านี้อาจทาให้เกิด ความรู้สึกปลอดภัยและมั่นคง ขั้นที่ 3. ความต้องการทางสังคม ความรักใคร่และความเป็นเจ้าของ ความต้องการทางสังคม ความต้องการความรักใคร่ และความรู้สึงเป็นเจ้าของนี้ บุคคลโดยทั่วไปมักจะมีความสัมพันธ์กับบิดามารดา สามีภรรยาและลูกรวมตลอดถึงญาติพี่น้อง นอกจากนั้นความต้องการนี้อาจตอบสนองได้ในสภาพแวดล้อม
  • 4. ทางสังคม ได้แก่ ความต้องการมีความสัมพันธ์อันอบอุ่นกับเพื่อน โดยเฉพาะกับเพื่อนร่วมงาน และ ความรู้สึกที่ว่าตนนั้นแป็นส่วนหนึ่งของกลุ่ม เป็นคนที่มีคุณค่าของกลุ่มที่เขาเป็นสมาชิก ถ้าปราศจาก ความรู้สึกที่เป็นส่วนหนึ่งของกลุ่มแล้ว เขาจะรู้สึกว่าเขาเป็นบุคคลไม่พึงปรารถนา และรู้สึกว่าตนนั้นไม่เป็น ที่ต้องการหรือไม่มีคุณค่าและเรื่องที่คลุมไปถึงความรู้สึกเป็นเจ้าของด้วย ขั้นที่ 4. ความต้องการที่จะได้รับการยกย่องและเป็นที่ยอมรับ ความต้องการที่จะได้รับการยกย่องและเป็นที่ ยอมรับ หมายถึง ความต้องการของบุคคลที่มีคุณค่าในสายตาของคนอื่น ดังนั้นจึงเป็นเรื่องที่เกี่ยวกับ ความสามารถ ที่แท้จริง ความสาเร็จ และความเคารพที่ได้รับจากคนอื่น ความต้องการเหล่านี้อาจแบ่งป็น 2 กลุ่มย่อยคือ 1. ความปรารถนาที่จะมีความแข็งแกร่ง มีความสาเร็จ มีความเพียงพอ มีความมั่นใจ เพื่อที่จะเผชิญโลก และ มีความเป็นอิสระและเสรีภาพ 2. ความปรารถนาที่จะมีชื่อเสียงและเกียรติภูมิ ซึ่งเป็นการได้รับการเคารพหรือความยกย่องที่ได้รับจาก บุคคลอื่น การได้รับ ความสนใจ ความสาคัญ หรือการเห็นคุณค่า ขั้นที่ 5. ความต้องการที่จะประสบความสาเร็จสูงสุดหรือความต้องการประจักษ์ตน มาสโลว์ ได้สรุป ความคิดเกี่ยวกับการที่บุคคลพยายามมุ่งตอบสนองความต้องการที่จะประสบความสาเร็จสูงสุดในชีวิตหรือ ความต้องการประจักษ์ตนนี้ว่า หมายถึงแนวโน้มของบุคคลที่จะเป็นอะไร หรืออยู่ในสถานภาพอะไรสัก อย่างหนึ่งที่เขาเองมีศักยภาพจะเป็นได้ แนวโน้มนี้อาจกล่าวได้ว่าเป็นความปรารถนาที่จะเป็นอย่างที่ตนเป็น มากขึ้น สูงขึ้น โดยเป็นทุกสิ่งทุกอย่างที่เขาสามารถจะเป็นได้
  • 5. จัดทาโดย นางสาวศิริรินทร์ น้อยผาง รหัสนักศึกษา 55191860307 นางสาวศิริลักษณ์ สิทธิสังข์ รหัสนักศึกษา 55191860308 นางสาวอมรรัตน์ ศรีเลิศ รหัสนักศึกษา 55191860338 นางสาวอรอุมา ศรีดาชาติ รหัสนักศึกษา 55191860341 นางสาวอัมรา สิมมา รหัสนักศึกษา 55191860346 โปรแกรมวิชาการศึกษาปฐมวัย หมู่3 ระดับ คบ. 5/2 ที่มา: http://courseware.rmutl.ac.th/courses/44/unit1405.htm#head4