SlideShare a Scribd company logo
กกาารดดููแแลลผผู้มู้มีปีปัญัญหหาา 
กกาารดดื่มื่มสสุุรราา 
ใในนรระะบบสสุขุขภภาาพ 
นพ..วจนนะะ เเขขมมะะววิชิชาา 
นนุุรรัตัตนน์์
สถถาานกกาารณณ์ป์ปัญัญหหาากกาาร 
ดดื่มื่มสสุรุราา
ปริมาณการดื่มสุราทั่วโลกเปรียบ 
เทียบเป็นแอลกอฮอล์บริสุทธิ์ต่อ 
ประชากรที่มีอายุ 15 ปีขึ้นไปต่อปี 
Per capita 
consumption 
(litres) 
< 2.5 
2.50- 
45..0909- 
7.49 
7.50- 
9.99 
10.00- 
>12.49 
12.50 
Data not 
available/applicable 
WHO Global Status Report on Alcohol and Health
ลักษณะการดื่ม (Pattern of 
Drinking Score) 
Drinking Patterns 
Mostly risky drinking 
pattern 
Least risky drinking pattern 
Data not 
available/applicable 
WHO Global Status Report on Alcohol and Health
จำานวนคนไทยที่ดื่มสุราใน 12 
รายงานการสเำาดรือวจนสุทขภี่ผา่าพนปรมะชาาชนไทยโดย 
การตรวจร่างกาย 
ครั้งที่ 4 พ.ศ.2551-2552
ความชุกของความผิดปกติพฤติกรรม 
ดื่มสุราในคนไทย 
การสำารวจระบาดวิทยาระดับชาติ; 2551. กรม 
สุขภาพจิต.
สถถาานกกาารณณ์ด์ด้า้านผลกรระะทบ 
ของกกาารดมื่สสุรุราา
กกาารดดื่มื่มเเคครรื่อื่องดดื่มื่มแแออลกอฮอลล์์ 
ปรริมิมาา 
ณ 
รรูปูปแแบบบ 
กกาารดดื่มื่ม 
คคุุณภภาาพของ 
เเคครรื่อื่องดดื่มื่ม 
โรค 
เรื้อรัง 
การบาด 
เจ็บและ 
อุบัติเหตุ 
ผลลัพธ์ต่อสุขภาพ 
เหตุของการเสียชีวิต
ผลกระทบต่อสุขภาพ 
กลุ่มโรคที่เกิดจากแอลกอฮอล์โดยตรง เช่น 
Alcoholic psychosis, Alcohol 
dependence,Alcoholic polyneuropathy, 
Alcoholic cardiomyopathy, Alcoholic 
gastritis, Alcoholic liver cirrhosis 
กลุ่มโรคที่ได้รับอิทธิพลจากแอลกอฮอล์ เช่น 
cancer, stroke, Hypertension, Cardiac 
arrhythmias, Heart failure, Fetal 
Alcohol Syndrome, Depression 
กลุ่มผลกระทบต่อสุขภาพแบบฉับพลัน เช่น 
Accidental injury, Poisoning, Suicide, 
Interpersonal violence and assaults
DALY: Disability-Adjusted Life Years 
หน่วยวัดทรี่วมปัญหาจากการตายก่อนวัยอันควร กับ 
birth 
การอยู่อย่างทุพลภาพ 
Death/Life 
expectancy 
0 yr 
80 yr 
ill 
death 
Years lost due 
to premature 
death (YLLs) 
Years lived 
with disability 
(YLDs) 
40 
yr 
20 
yr 
DALY =YLL +YLD
Causes of Disability Burden in YLDs by Sex, 
Thailand 2004 
Male Female 
Disease YLD 
('000) % % YLD 
('000) Disease 
YLD 
Rank 
1 Alcohol dependence/harmful use 314 17.9 11.9 191 Depression 
2 Depression 137 7.8 7.2 117 Osteoarthritis 
3 Schizophrenia 110 6.2 6.9 111 Cataracts 
4 Deafness 105 6.0 6.8 110 Deafness 
5 Anaemia 85 4.8 6.8 110 Anaemia 
6 Osteoarthritis 79 4.5 6.7 108 Schizophrenia 
7 Asthma 77 4.4 6.3 101 Anxiety disorders 
8 Diabetes 73 4.1 5.4 86 Diabetes 
9 Drug dependence/harmful use 71 4.0 4.9 79 Asthma 
10 Cataracts 61 3.5 4.4 71 Dementia
Causes of Disability Adjusted Life Year (DALYs) 
by Sex, Thailand 2004 
Male Female 
DALY 
Rank Disease DALY 
('000) % % DALY 
('000) Disease 
1 HIV/AIDS 6 45 11.3 7.4 3 13 Stroke 
2 Traffic accidents 5 84 10.2 6.9 2 91 HIV/AIDS 
3 Stroke 3 32 5.8 6.4 2 71 Diabetes 
4 Alcohol dependence/harmful use 3 32 5.8 4.6 1 91 Depression 
5 Liver and bile duct cancer 2 80 4.9 3.4 1 42 Ischaemic heart disease 
6 COPD 1 87 3.3 3.0 1 25 Traffic accidents 
7 Ischaemic heart disease 1 84 3.2 3.0 1 24 Liver and bile duct cancer 
8 Diabetes 1 75 3.1 2.8 1 18 Osteoarthritis 
9 Cirrhosis 1 44 2.5 2.7 1 15 COPD 
10 Depression 1 37 2.4 2.6 1 11 Cataracts
โรคที่มีเหตุเสียชีวิตจาก 
แอลกอฮอล์ 
16.6% ตับ 
แข็ง 
29.6% 
อุบัติเหตุ 
แบบไม่ 
ตั้งใจ 
0.1% คลอดก่อนกำาหนด 
และ 
นำ้าหนักแรกคลอดตำ่า 
กว่าเกณฑ์ 
14.0% โรค 
หลอดเลือดและ 
หัวใจ และเบา 
หวาน 
12.0% 
อุบัติเหตุ 
แบบตั้งใจ 
21.6% 
มะเร็ง 
6.0% กลุ่มโรคประสาท 
และจิตเวช 
Global Status Report on Alcohol and Health 2010
ภาระโรคและการบาดเจ็บที่ 
เกี่ยวกับแอลกอฮอล์ 
9.6% ตับ 
แข็ง 
26.3% 
อุบัติเหตุ 
แบบไม่ 
ตั้งใจ 0.2% คลอดก่อนกำาหนด 
38.8% กลุ่ม 
โรคประสาท 
และจิตเวช 
Global Status Report on Alcohol and Health 2010 
และ 
นำ้าหนักแรกคลอดตำ่า 
กว่าเกณฑ์ 
8.1% 
10.8% มะเร็ง 
อุบัติเหตุ 
แบบตั้งใจ 
6.2% โรค 
หลอดเลือด 
และหัวใจ 
และเบา 
หวาน
ปัญหาการดื่มสุราในสถาน 
บริการสุขภาพ 
Review prevalence of alcohol use disorders in 
general hospital 
OPD : 20% - DM, HT 
IPD : Male 30%; Female 8% 
ER : 29% alcohol related problems 
Trauma: > 50% alcohol intoxication 
ส่วนใหญ่ไม่ได้รับการประเมินหรือตรวจ 
วินิจฉัยในปัญหาการดื่มสุราและขาด 
การส่งต่อเพื่อรับการรักษาอย่างเหมาะ 
สม
สถานการณ์การปัญหาการดื่มสุรา 
และการเข้าถึงบริการ 
ข้อมูลระบาด 
วิทยาของกรม 
สุขภาพจิต ปี 
2551 
รายงานข้อมูล 
8 โรค ปี 2551 
1.2 ล้านคน DEPRESSION 1.5 แสนคน 
12.5 % 
9.0 แสนคน ANXIETY DISORDERS 3.4 แสนคน 
37.7 % 
5.3 ล้านคน 1.2 แสนคน 
ALCOHOL USE 
DISORDERS 2.3% 
(สารเสพติด)
สถานพยาบาลที่ให้บริการ
มาตรกา 
รคัด 
กรอง 
ปัญหา 
การดื่ม 
สุราและ 
การ 
บำาบัด 
แบบสั้น 
มาตรการ 
บำาบัด 
รักษา 
ภาวะ 
ถอนพิษ 
มสาุรตา รการ 
บำาบัด 
รักษาและ 
ฟื้นฟู 
สภาพ 
มาตรกา 
รดูแล 
ระยะ 
ยาวหลัง 
การ 
รักษา
1 2 3 4 
มาตรการที่ 1 
การจัดการ 
ระยะแรก 
มาตรการที่ 2 
การบำาบัดภาวะ 
ถอนพิษสุรา 
มาตรการที่ 4 
การดูแลระยะยาว 
หลังการรักษา 
มาตรการที่ 3 
การบำาบัดรักษาและ 
ฟื้นฟูสภาพ 
การคัดกรอง 
ปัญหาการดื่ม 
สุรา 
การให้คำา 
แนะนำาหรือ 
การบำาบัดแบบ 
สั้น 
การประเมิน 
ความเสี่ยงการ 
เกิดภาวะ 
ถอนพิษสุรา 
การเฝ้าระวัง 
ความเสี่ยงการ 
เกิดภาวะ 
ถอนพิษสุรา 
การรักษาภาวะ 
ถอนพิษสุรา 
การ 
ประเมิน/รักษา 
ภาวะโรค 
ร่วม/แทรกซ้อน 
การบทำาาบงักดาแยบ บสั้น 
หลังผ่านการ 
รักษาภาวะ 
ถอนพิษสุรา 
การประเมิน 
ปัญหาการดื่ม 
สุราอย่าง 
ครอบคลุม 
การรักษาด้วย 
จิตสังคมบำาบัด 
การรักษาด้วย 
ยา 
การช่วยเหลือ 
ด้านครอบครัว 
กลุ่มเพื่อนช่วย 
เหลือกันเองเพื่อ 
ป้องกันการกลับ 
ดื่มกซารำ้าบำาบัดสุรา 
โดยองค์กร 
ศาสนา (วิถีพุทธ) 
การแก้ไขปัญหา 
สุราโดยการมี 
ส่วนร่วมของ 
ชุมชน 
กลุ่มผู้ติดสุรา 
นิรนาม 
(Alcoholic 
Anonymous) 
การบำาบัดเชิงรุก 
ในชุมชน (PACT 
MODEL)
สถานพยาบาล 
เฉพาะทาง 
โรงพยาบาล 
ทั่วไป 
1 
1 
1 
1 
2 
2 
2 3 
3 
3 
4 
4 
2 3 
4 
4
มาตรการที่ 1 
มาตรการคัดกรองปัญหาการดื่มสุรา 
และบำาบัดแบบสนั้ 
(ALCOHOL SCREENING AND 
BRIEFมาIตNรกTา ERVENTION) 
รคัด 
กรอง 
ปัญหา 
การดื่ม 
สุราและ 
การ 
บำาบัด 
แบบสั้น 
มาตรการ 
บำาบัด 
รักษา 
ภาวะ 
ถอนพิษ 
สุรา 
มาตรกา 
รดูแล 
ระยะ 
ยาวหลัง 
การ 
รักษา 
มาตรการ 
บำาบัด 
รักษาและ 
ฟื้นฟู 
สภาพ
กลุ่มเป้าหมาย ผู้ให้บริการ และ 
กิจกรรมบริการ 
กลุ่มเป้าหมาย 
ผู้ทมีี่ความเสยี่งสูงต่อปัญหาการดมื่สุรา เช่น ผู้ป่วย 
อุบัติเหตุ ผู้ป่วยโรคทางกายทสีั่มพันธ์กับปัญหาการ 
ดื่มสุรา เช่น ผู้ป่วยตับแข็ง กระเพาะอักเสบ 
ผู้ป่วยจิตเวช/ยาเสพติด ผู้ป่วยโรคเรื้อรัง หญิงตั้ง 
ครรภ์หรือให้นมบุตร และผู้สูงอายุ 
ผู้ให้บริการ 
บุคลากรสุขภาพทุกระดับ 
อาสาสมัครสาธารณสุข แกนนำาชุมชน นักเรียน 
นักศึกษา ทผี่่านการอบรม 
กิจกรรม 
กิจกรรมที่ 1 การคัดกรองปัญหาการดื่มสุรา 
(Alcohol screening) 
กิจกรรมที่ 2 การให้คำาแนะนำา/ปรึกษาเบื้องต้น 
(Brief Intervention)
ลลักักษณณะะพฤตติกิกรรมกกาารดมื่
ของคนไไททย 
ที่มา: สถานภาพการบริโภคสุรา พ.ศ. 2550, คณะกรรมการบริหารเครือ 
ข่ายวิชาการสารเสพติด 
The Drinkers’ 
pyramid
ความหมายของดื่ม 
มาตรฐาน 
(STANDARD DRINK) 
1 drink= alcohol 
เหล้าแดง (35%) : ว1ิส0กี้ g r2a ฝmาใหญ่ (30cc) 
= แบ1 DRINK 
1 น = 350 
1 ขวด = 
cc 
700 cc 
¼ แบน: 3 
¼ ขวด: 6 
DRINKS 
DRINKS 
½ แบน: 6 
½ ขวด: 
DRINKS 
12DRINKS 
เหล้าขาว 
(40%) 1 
เป๊ก/ตอง/ก๊ 
ง: 50 cc 
=1.5 
DRINK
ความหมายของดื่ม 
มาตรฐาน 
(STANDARD DRINK) 
1 drink= alcohol 
10 gram 
เบียร์ (3.5 %) 1 กระป๋อง/ขวดเล็ก เช่น 
สิงห์ไลท์= 1 DRINK 
เบียร์ (5%) 3/4 กระป๋อง/ขวด 
เล็ก = 1 DRINK 
เช่น สิงห์ เฮเนเกน ลี 
เบียร์ 5% 1 ขวดใหญ่: 2.5 
DRINKS 
โอ เชียร์ ไทเกอร์ ช้างดราฟ 
เบียร์ (6.4%) เช่น ช้าง 1/2 กระป๋อง หรือ 
1/3 ขวดใหญ่= 1 DRINK
ความหมายของดื่ม 
มาตรฐาน 
(STANDARD DRINK) 
1 drink= alcohol 
10 gram 
ไวน์ธรรมดา (alcohol 12%) 1 แก้ว 
(100 cc) = 1 DRINK 
ไวน์คูเลอร์ (alcohol 4%) 1 ขวด 
(330 cc) = 1 DRINK
ความหมายของดื่ม 
มาตรฐาน 
(STANDARD DRINK) 
1 drink= alcohol 
10 gram 
นำ้าขาว อุ กระแช่ (alcohol 10%) 3 
เป๊ก/ตอง/ก๊ง (50 cc) = 1 DRINK 
สาโท สุราแช่ สุราพนื้เมือง (alcohol 6%) 4 
เป๊ก/ตอง/ก๊ง (50 cc) = 1 DRINK 
เหล้าปั่น (เหล้าผสมนำ้าหวานกลิ่นผล 
ไม้ใส่นำ้าแข็ง) มีสุรา (alcohol 
40%) 3 shot (45 cc) = 1.5 
DRINK
11.. กกาารดดื่มื่มแแบบบมมีคีคววาามเเสสยี่งตตำ่าำ่า:: LLooww 
RRiisskk DDrriinnkkiinngg 
ไม่ดื่มสุรามากกว่า 2 ดื่มมาตรฐาน ต่อวัน 
เหล้า 35%: 60 cc (4 ฝา) 
ไวน์ 12%: 2 แก้ว 
เบียร์ 5%: 1.5 กระป๋อง 
ไม่ดื่มมากกว่า 5 วันต่อสัปดาห์ หรือ ใน 1 
สัปดาห์ต้องมีวันที่ไม่ดื่มเลยอย่างน้อย 2 วัน 
แม้ว่าปริมาณสุราเพียงเล็กน้อยก็สามารถสร้าง 
ความเสี่ยงที่อาจเกิดขึ้นในบางสถานการณ์ได้
22.. กกาารดดื่มื่มแแบบบเเสสี่ยี่ยง:: 
HHaazzaarrddoouuss//RRiisskkyy DDrriinnkkiinngg 
ปริมาณต่อวัน: ชาย > 5 DRINKS; หญิง > 
4 DRINKS 
ไวน์ (12%) ¾ 
เหล้า (35%) 
ครึ่งแบน 
ขวด 
เบียร์ (5%) 4 กระป๋อง หรือ 4 ขวดเล็ก หรือ 
2 ขวดใหญ่
22.. กกาารดดื่มื่มแแบบบเเสสี่ยี่ยง:: 
HHaazzaarrddoouuss//RRiisskkyy DDrriinnkkiinngg 
เพิ่มความเสี่ยงที่จะเกิดผลเสีย 
ในด้านสุขภาพกาย สุขภาพจิต และ 
สังคม 
ทั้งต่อตัวเองหรือต่อผู้อื่น 
แม้ว่าตัวผดูื้่มจะยังไม่ป่วยด้วยโรคใด 
ๆ
3. การดื่มแบบอันตราย : 
Harmful Drinking 
หมายถึงการดื่มแอลกอฮอล์จนได้รับผลเสีย 
ตามมา 
◦ ผลเสียต่อสุขภาพทั้งสุขภาพกายและ 
สุขภาพจิต 
◦ ผลเสียทางสังคม : การทำางาน 
สัมพันธภาพกับคนอื่น 
ผู้ดื่มในกลุ่มนี้ 
เคยประสบปัญหาทางร่างกายและจิตใจ 
เนื่องจากการดื่มสุราเกินเกณฑ์มาตรฐาน 
เป็นประจำามาแล้ว และ/หรือ 
ได้รับบาดเจ็บ เกิดความรุนแรง มีปัญหา 
ทางกฎหมาย บกพร่องในสมรรถภาพการ
33.. HHaarrmmffuull DDrriinnkkiinngg//AAllccoohhooll 
AAbbuussee ((DDSSMM--IIVV)) 
ในช่วง 12 เดือนที่ผ่านมา ผู้ป่วยดื่มสุราซ้ำ้า ๆ จน 
ทำาให้เกิดปัญหาเหล่านี้หรือไม่ 
ความล้มเหลวในบทบาทหน้าที่ 
(ทบี่้าน ทำางาน โรงเรียน) 
Role Failure 
ความเสยี่งต่อการบาดเจ็บ 
อันตราย 
(เมาแล้วขับ ทำางานกับ 
เครื่องจักร) 
Risk of Body 
Harm 
มีปัญหาทางกฎหมาย (ถูกจับกุม 
ทำาผิดกฎหมาย) 
Run-in with the 
Law 
ถ้าตอบว่า ใช่ ตั้งแต่ 1 ข้อขึ้นไป ถือว่ามีปัญหา 
มีปัญหาสัมพันธภาพ (ครอบครัว 
เพื่อน) 
Relationship 
trouble 
ALCOHOL ABUSE
4. การติดสุรา : Alcohol 
Dependence 
ลักษณะทสี่ำาคัญอย่างน้อยสามในเจ็ดอย่างต่อไปนี้ 
1. TOLERANCE : ต้องเพิ่มปริมาณการดื่มมากขึ้นจึง 
จะได้ฤทธเิ์ท่าเดิม 
2. WITHDRAWAL: มีอาการทางร่างกายเมื่อไม่ได้ 
ดื่ม 
3. IMPAIRED CONTROL: ควบคุมการดื่มไม่ได้ 
4. CUT DOWN: มีความต้องการอยู่เสมอที่จะเลิกดื่ม 
หรือ 
พยายามหลายครั้งแล้ว แต่ไม่สำาเร็จ 
5. TIME SPENT DRINKING: หมกมุ่นกับกับการดื่ม 
หรือการหาสุรามาสำาหรับดื่ม 
6. NEGLECT OF ACTIVITY: มีความบกพร่องใน 
หน้าทที่างสังคม
ปัญหาจากการดื่มสุราที่พบบ่อย
ALCOHOL-RELATED 
DISORDERS 
ฤติกรรมการดื่ผิดปกติ 
พฤติกรรมการดื่มที่ผิดปกติ 
Alcohol Use Use Disorders 
ความผิดปกติทางพฤติกรรม/จิตใจที่เกิดจาก 
วามผิปกติทาฤติกรรม/จิตที่เกิดจาก 
สุรา 
สุรา 
Alcohol-Alcohol-Induced Induced Disorders 
Disorders 
โรคทางกายที่สัมพันธ์กับสุรา 
Alcohol related physical illness 
โรคทางกายที่สัมพันธ์กับสุรา 
Alcohol related physical illness
1. ALCOHOL USE DISORDERS 
F10.1 Alcohol Abuse/ Harmful use 
F10.2 Alcohol Dependence
2. ALCOHOL-INDUCED 
DISORDERS 
F10.0 Alcohol intoxication* 
F10.3 Alcohol withdrawal 
F10.4 Alcohol withdrawal delirium 
F10.5 Alcohol- induced psychotic disorder 
F10.6 Alcohol-induced persisting amnestic 
disorder 
F10.7 
3 
Alcohol-induced persisting dementia 
F10.8 Alcohol-induced mood disorder/anxiety 
disorder/ sexual dysfunction/sleep 
disorder
3. โรคทางกายที่สัมพันธ์กับการดื่ม 
สุรา E24.4 Alcohol-induced pseudo-Cushing's 
syndrome 
G31.2 Degeneration of nervous system due to 
alcohol 
G40.5 Epileptic seizures related to alcohol 
K29.2 Alcoholic gastritis 
K70.3 Alcoholic cirrhosis of liver 
K70.4 Alcoholic hepatic failure 
K85.2 Alcohol-induced acute pancreatitis 
K86.0 Alcohol-induced chronic pancreatitis 
Q86.0 Fetal alcohol syndrome 
T51 Toxic effect of alcohol
กลุ่มเป้าหมายที่ควรได้รับการคัดกรอง 
ปัญหาการดื่มสุรา 
ผู้ป่วยทุกคนที่อายุ 15 ปีขึ้นไปที่เข้ารับบริการ 
สุขภาพที่หน่วยบริการสุขภาพ 
โดยเฉพาะกลุ่มเสี่ยง ได้แก่ 
–ผู้ป่วยอุบัติเหตุ 
–ผู้ป่วยวัยรุ่นชาย 
–ผู้ป่วยโรคทางกายที่สัมพันธ์กับปัญหาการดื่ม 
สุรา 
–ผู้ป่วยจิตเวช/ยาเสพติด 
–ผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 
–หญิงตั้งครรภ์หรือให้นมบุตร 
–ผู้สูงอายุ
วิธีการคัดกรองปัญหาการดื่มสุรา 
o การคัดกรองโดยใช้แบบรายงานตนเอง (self-report 
techniques) หรือ 
แบบสอบถาม(Screening questionnaires) 
o เครื่องมือคัดกรองทางชีวภาพ (Biological 
screening tests) 
 การหาระดับแอลกอฮอล์ในเลือด (BAC) การ 
ตรวจระดับแอลกอฮอล์ในลมหายใจหรือ 
นำ้าลาย 
 การตรวจระดับ gammaglutamyl 
transferase (GGT) และ mean 
corpuscular volume (MCV)
เครื่องมือคัดกรองปัญหาการ 
ดื่มสุรา
เครื่องมือคัดกรองปัญหาการดื่มสุรา : 
แบบสอบถาม 
“ในช่วงนี้ (3 เดือนที่ผ่านมา) คณุดื่มเครื่อง 
ดื่มที่มีสว่นผสมของแอลกอฮอล์ (สรุา) หรือ 
ไม่” 
“ในช่วง 3 เดือนที่ผ่านมา คุณเคยมคีรั้ง 
หนึ่งครั้งใดที่ดื่มสุรามากกว่า 5 ดื่ม 
มาตรฐาน (เหล้าครึ่งแบน/เบยีร์ 4 กระปอ๋ง 
หรือ 2 ขวดใหญ่) หรือไม่” 
• ตัวอย่างแบบคัดกรองปัญหาการดื่มสุราที่ 
ใช้อย่างแพร่หลาย เช่น Quantity- 
Frequency Questions, CAGE, AUDIT, 
T-ACE, TWEAK
เครื่องมมือือคคัดัดกรองปปัญัญหหาากกาารดดื่มื่ม 
สสุรุราา :: 
Quantity-frequency questionnaire 
ความถี่: “โดยทั่วไป คุณดื่มสุรากี่วันต่อสัปดาห์” 
ปริมาณ : “ในแต่ละวันที่คุณดื่ม คุณดื่มมาก 
เท่าไร” 
คำาตอบ positive: ผชู้ายดื่ม > 14 drink ต่อ 
สัปดาห์ 
ผหู้ญิงดื่ม > 7 drinks ต่อ 
ปริมาณมากที่สุด : 
“ในเดือนที่แล้ว ในวันที่คุณดื่มมากที่สุด คุณดื่ม 
มากเท่าไร ” 
สัปดาห์ 
คำาตอบ positive: ” : ผชู้ายดื่ม > 4 drink ต่อ 
วัน 
ผหู้ญิงดื่ม > 3 drinks ต่อวัน
เครื่องมือคัดกรองปัญหาการดื่ม 
สุรา : CAGE 
C CUT DOWN คุณเคยคิดที่จะลดปริมาณการ 
ดื่มของคุณลง หรือไม่ 
A ANNOYED เคยมีใครทำาให้คุณรำาคาญโดย 
ตำาหนิคุณเรื่องการดื่ม 
สุราหรือไม่ 
G GUILTY คุณเคยรู้สึกไม่ดีหรือรู้สึกผิด 
เพราะว่า คุณดื่มสุราหรือไม่ 
E EYE-OPENER คุณเคยต้องดื่มสุราเป็นสิ่งแรก 
ในตอนเช้าทันทีที่คุณตื่นนอน เพื่อแก้อาการเมาค้าง 
หรือเพื่อให้สามารถทำาอะไรต่อไปได้หรือไม่
เครื่องมือคัดกรองปัญหาการดื่มสุรา : 
CAGE 
ใน 1 ปีที่ผ่านมา ถ้าตอบ 
“ใช่” ตั้งแต่ 2 ข้อขึ้นไป ผู้ป่วยอาจจะมี 
ภาวะติดสุรา 
(Alcohol 
dependence) 
“ไม่” ทุกข้อ ผู้ป่วยอาจจะยังมี ความเสี่ยง 
เพราะดื่มมาก 
Sensitivity 43-94% ; Specificity 85-95%
เเคครรื่อื่องมอืคคัดัดกรองปปัญัญหหาากกาารดดื่มื่ม 
สสุรุราา :: AAUUDDIITT 
• พัฒนาโดย WHO เพื่อเป็นเครื่องมือแบบง่าย ใช้ 
คัดกรองผู้ที่ดื่มมากเกินไปและสามารถให้การ 
ช่วยเหลือได้ 
• Cross-national standardization 
• สามารถใช้ได้ใน primary care setting 
• สามารถใช้แบบ self-rating หรือใช้โดยคน 
ทั่วไปได้ เน้นการดื่มในปัจจุบัน 
• สามารถแยกกลุ่มผู้ดื่มแบบมีความเสี่ยง ดื่มแบบมี 
ปัญหา และดื่มแบบติดได้ มีข้อแนะนำาถึง 
แนวทางการช่วยเหลือสำาหรับแต่ละกลุ่มผู้ดื่ม 
• ใช้ง่าย สั้น ยืดหยุ่นได้
เครื่องมือคัดกรองทางชีวภาพ 
• การตรวจระดับแอลกอฮอล์ในร่างกาย 
– การตรวจระดับของแอลกอฮอล์ในเลือด 
(Blood alcohol concentration, BAC) 
– การตรวจระดับแอลกอฮอล์ในลมหายใจ 
• การตรวจภาวะดื่มเกินระดับหรือการดื่มแบบ 
อันตราย 
–Gamma glutamyl tranferase (GGT) 
serum GGT 
–Mean corpuscular volume (MCV) 
• การตรวจทางชีวภาพที่บอกถึงโรคตับที่เกิดจาก 
การดื่มสุรา 
– serum GGT, AST, ALT
Risk 
Zon 
e 
AUDIT ระดับความรุนแรง 
(Risk Level) 
การให้ความช่วยเหลือ 
(Intervention) 
1 0 - 7 
ดื่มแบบเสี่ยงตำ่า / ไม่ 
ดื่ม 
(Low 
Risk/Abstinence) 
การให้ความรู้เรื่องการดื่ม 
สุรา 
(Alcohol education) 
2 8 - 15 
ดื่มแบบเสี่ยง 
(Hazardous 
Drinker) 
การให้คำาแนะนำาแบบสั้น 
(Brief Advice) 
3 16-19 ดื่มแบบอันตราย 
(Harmful Drinker) 
การให้คำาแนะนำาแบบสั้น 
(BA) และการให้คำาปรึกษา 
แบบสั้น (Brief Counseling) 
4 20-40 
สงสัยภาวะติดสุรา 
(Alcohol 
Dependence) 
ส่งไปพบแพทย์ 
เพื่อการวินิจฉัยและรักษา
มาตรการที่ 2 
มาตรการบำาบัดรักษาภาวะถอนพิษสุรา 
(ALCOHOL DETOXIFICATION) 
มาตรกา 
รคัด 
กรอง 
ปัญหา 
การดื่ม 
สุราและ 
การ 
บำาบัด 
แบบสั้น 
มาตรการ 
บำาบัด 
รักษา 
ภาวะ 
ถอนพิษ 
สุรา 
มาตรการ 
บำาบัด 
รักษาและ 
ฟื้นฟู 
สภาพ 
มาตรกา 
รดูแล 
ระยะ 
ยาวหลัง 
การ 
รักษา
กิจกรรมบริการ 
กิจกรรมที่ 2.1 การประเมินความเสี่ยงการเกิด 
ภาวะถอนพิษสุรา 
กิจกรรมที่ 2.2 การเฝ้าระวังความเสี่ยงการเกิด 
ภาวะถอนพิษสุรา 
กิจกรรมที่ 2.3 การรักษาภาวะถอนพิษสุรา 
หน่วยบริการเฉพาะทาง 
กิจกรรมที่ 2.4 การประเมินและรักษาภาวะโรคร่วม 
และภาวะแทรกซ้อนทางกาย 
หน่วยบริการสุขภาพทั่วไป 
กิจกรรมที่ 2.5 การให้คำาปรึกษาแบบสั้นเพื่อให้ผู้ 
ป่วยตระหนักถึงปัญหาการดื่มและจูงใจให้รับการ 
บำาบัดต่อเนื่อง
อาการและอาการแสดงภาวะถอนพิษ 
สุรา 
และแนวทางการรักษา
รระะยยะะเเววลลาาใในนกกาารเเกกดิออาากกาารขขาาดสสุรุราา 
John Saunders 
2003 
ความรุนแรงของ 
อาการ 
อาการ 
ขาดสุรา 
เล็กน้อย 
ถึงปาน 
กลาง 
อาการขาดสุรา 
รุนแรง 
มีภาวะ 
แทรกซ้อน 
จำานวนวันที่ 
อาการชัก 
0 1 2 3 4 5 6 7 8 9ห ย 1ุด0ดื่ม
ระดับความรุนแรงของอาการขาด 
สุรา 
ระยะที่ 1 : เล็กน้อย 
เวลาที่เกิดหลังดื่มครั้งสุดท้าย: 6-36 ชั่วโมง 
อาการ: 
– มือสั่น วิตกกังวลเล็กน้อย หงุดหงิด ปวดมึน 
ศีรษะ 
– เหงื่อออก ใจสั่น ความดันโลหิตสูงขึ้นเล็ก 
น้อย 
– เบื่ออาหาร คลื่นไส้ 
–ผะอืดผะอม อาเจียน 
–นอนไม่หลับ 
–ตรวจสภาพจิตปกติ
ระยะที่ 1 : เล็กน้อย 
รูปแบบการรักษา ยาสงบอาการขาด 
สุรา 
ดูแลแบบผู้ป่วยนอก 
เน้นการประเมินภาวะ 
โรคทางกายที่พบร่วม 
และให้การรักษาแบบ 
ประคับประคอง 
ให้ Brief intervention 
อาจไม่จำาเป็นต้องให้ยา 
หรืออาจให้รับประทาน 
เฉพาะเวลามีอาการ 
ได้แก่ 
 diazepam 5 mg 
หรือ 
 lorazepam 1 mg 
หรือ 
 
Chordiazepoxide10
ระยะที่ 2 : ปานกลางถึง 
รุนแรง 
เวลาที่เกิดหลังดื่มครั้งสุดท้าย: 24-72 ชั่วโมง 
อาการ: 
–กระวนกระวาย กระสับกระส่ายมากขึ้น ผุดลุก 
ผุดนั่ง 
– มือสั่น เหงื่อออกมาก ตัวสั่น 
– ไม่อยากอาหาร คลื่นไส้ อาเจียน ท้องเสีย 
–PR >120 ครั้ง/นาที BP สูงมาก 
–ตรวจสภาพจิต มีอาการสับสน หงุดหงิดง่าย 
วิตกกังวล
ระยะที่ 2 : ปานกลางถึง 
รูปแบบการรักษา ยาสงบอาการขาด 
สุรา 
ควรดูแลแบบผู้ป่วยใน 
เน้นการประเมินอาการขาด 
สุราและภาวะแทรกซ้อน 
ให้ยาสงบอาการขาดสุรา 
ได้ทั้งวิธี fixed dose หรือ 
symptom trigger 
ให้คำาแนะนำาปรึกษาเพื่อ 
จูงใจให้ผู้ป่วยปรับเปลี่ยน 
พฤติกรรมและนัดติดตาม 
ผล 
 diazepam 10 mg 
หรือ 
 lorazepam 2 mg 
หรือ 
 chordiazepoxide 
25 mg ทุก 6 ชั่วโมง 
ใน 2 วันแรกแล้วค่อย 
ลดลงในวันที่ 4-7 
แล้วหยุดใช้ 
รุนแรง
ระยะที่ 3 : รุนแรงเพ้อคลั่ง 
มีอาการเพ้อคลั่งสับสน (delirium tremens) เกิดหลัง 
ดื่มครั้งสุดท้าย: 48-96 ชั่วโมง 
อาการ: 
– กระสับกระส่าย, เหงื่อออกมาก 
– อยู่ไม่นิ่ง เดินไปมา ไม่มีสมาธิ 
– ไข้สูง ชีพจรเร็ว มือสั่น ตัวสั่นมาก 
– สับสน ไม่รู้วัน เวลา สถานที่ 
– เห็นภาพหลอน หูแว่ว 
– หลงผิดหวาดระแวงกลัว
ALCOHOL WITHDRAWAL 
DELIRIUM /DTs 
อาการมักเริ่มเกิดภายใน 2-3 วันหลังหยุดดื่มสุรา 
หรือดื่มน้อยลง 
อาการมักรุนแรงที่สุดในวันที่ 4-5 
ส่วนใหญ่อาการมักดีขึ้นภายใน 10 วัน 
ในบางรายอาจมีอาการนานถึง 4-5 สัปดาห์ 
ผู้ป่วย DTs มักจะดูแลยาก ไม่อยู่นิ่ง อาจต้องใช้ 
การผูกมัดและต้องดูแลใกล้ชิด 
จากภาวะ hyperactive ทำาให้เกิด dehydration, 
cardiac arrhythmia และภาวะแทรกซ้อนอื่นตาม 
มา 
อาจมีพฤติกรรมก้าวร้าว หรือพยายามฆ่าตัวตาย 
โดยไม่ได้คาดคิดมาก่อน หรืออาจทำาไปเพราะมี 
อาการประสาทหลอน หรือหลงผิด 
John Saunders 
2003
ระยะที่ 3 : รุนแรงเพ้อคลั่ง 
รูปแบบการรักษา ยาสงบอาการขาดสุรา 
ดูแลแบบผู้ป่วยใน 
เน้นการเฝ้าระวัง 
อันตรายที่อาจเกิดขึ้น 
จากการเพ้อคลั่ง 
ป้องกันภาวะ 
แทรกซ้อนทางกาย 
ภาวะโรคร่วมอื่นๆ 
ให้ยาสงบอาการด้วย 
ยาระดับสูง 
diazepam 10-20 
mg IV ทุก 15-20 
นาทีจนกว่าจะสงบ 
สามารถให้ยาได้ถึง 
500 mg หรือต้องคง 
ยาระดับสูงของ 
diazepam 2 gm ต่อ 
วัน ในระยะ 2-3 วัน 
แรก
อาการชักจากการขาดสุรา 
เวลาที่เกิดหลังดื่มครั้งสุดท้าย: 6-48 ชั่วโมง 
อาการ: 
– เกร็งกระตุกทั่วร่างกาย หมดสติ มักมี 
อาการชักครั้งเดียว 
– แต่สามารถเกิดเป็นชุดชัก 2-3 ครั้งห่างกัน 
5 นาที 
– อาการชักแบบต่อเนื่อง พบได้น้อยมาก 
หากพบควรต้องตรวจหาสาเหตุอื่นด้วย
ภาวะชักจากการถอนพิษสุรา 
ALCOHOL WITHDRAWAL SEIZURES หรือ 
RUM FITS 
พบได้ประมาณ 3-10% ของ alcohol 
withdrawal 
มีอาการชักแบบ tonic-clonic (grand mal) no 
focal features 
95% พบได้ภายใน 48 ชม. หลังหยุดดื่ม 
อาจชักซำ้าในเวลา 12-24ชม.หลังจากชักครั้ง 
แรก 
หาสาเหตุอื่น ๆ ของการชัก เช่น Head 
injuries, CNS infection, CNS neoplasm, 
other cerebrovascular diseases และ 
Metabolic disturbance เช่น hypoglycemia
อาการชักจากการขาดสุรา 
รูปแบบการรักษา ยาสงบอาการขาดสุรา 
เน้นการประเมินการชัก 
ว่ามีสาเหตุจากโรคอื่น 
หรือไม่ 
อาจไม่จำาเป็นต้องให้ยา 
กันชักหากคุมอาการ 
ขาดสุราได้ดี 
หากพิจารณาให้ยากัน 
ชักควรเลือกยาที่ 
สามารถสงบอาการขาด 
สุราและกันชักได้ 
หลังผ่านระยะถอนพิษ 
ไม่มีความจำาเป็นต้องให้ 
ให้ยากลุ่ม BZD ให้ 
เพียงพอ 
sodium valproate 
loading 20 mg/kg/d 
แบ่งเป็น 2 ครั้งห่างกัน 
6-8 ชั่วโมง หลังจาก 
นนั้ ให้วันละ 2 ครั้ง 
เป็นเวลา 4 วัน หรือ 
carbamazepine วัน 
แรกให้ 600-800 mg 
หลังจากนั้นลดลงจน 
เหลือ 200 mg ในวันที่
อาการประสาทหลอนจากการ 
ขาดสุรา 
เวลาที่เกิดหลังดื่มครั้งสุดท้าย: 12-48 ชั่วโมง 
อาการ: 
• ผู้ป่วยทราบว่าอาการประสาทหลอนนั้นเป็น 
ผลจากสุราและไม่ใช่ความจริง
อาการประสาทหลอนจากการ 
ขาดสุรา 
รูปแบบการรักษา ยาสงบอาการขาดสุรา 
เน้นการประเมินภาวะ 
โรคร่วมทางจิตเวช 
ให้ยาสงบอาการขาด 
สุรา 
หากจำาเป็น ให้ยารักษา 
โรคจิตเสริม 
ให้คำาแนะนำาปรึกษาเพื่อ 
จูงใจให้ผู้ป่วยปรับ 
เปลี่ยนพฤติกรรมและนัด 
ติดตามผล 
diazepam 
ในกรณีที่มีอาการ 
ประสานหลอน 
รุนแรง อาจให้ 
haloperidol 5-10 
mg ต่อวันในระยะ 
สั้น
กลุ่มเป้าหมาย 
ควรประเมินความเสี่ยงการเกิดอาการขาดสุราใน 
ผู้มีคะแนน AUDIT > 20 หรือ 
ผู้ป่วยอุบัติเหตุ มีภาวะฉุกเฉินทางกาย หรือผู้ 
ป่วยทั่วไปที่รับการรักษาแบบผู้ป่วยในและมี 
ประวัติการดื่มสุราในช่วง 3 เดือนที่ผ่านมา หรือ 
ผู้ติดสุรา
ปัจจัยเสี่ยงการเกิดอาการขาดสุรา 
รุนแรง 
ผู้ดื่มสุราที่ 
มีอายุมากกว่า 30 ปี 
ประวัติดื่มสุราต่อเนื่องปริมาณมากในแต่ละครั้ง 
(>150 กรัมต่อวัน) หรือ 
ดื่มมากกว่า 10 แก้วดื่มมาตรฐานต่อวัน 
คิดเป็นปริมาณเหล้าขาวมากกว่า ½ ขวดต่อวัน 
ดื่มมานานหลายปี (มากกว่า 5 ปี) 
เคยมีอาการขาดสุรารุนแรงแบบเพ้อคลั่งสับสน 
(Delirium Tremens) 
เคยมีอาการชักจากขาดสุรามาก่อน
ปัจจัยเสี่ยงการเกิดอาการขาดสุรา 
รุนแรง 
ผู้ดื่มสุราที่ 
มีอาการขาดสุรา ขณะที่ระดับแอลกอฮอล์ในเลือดยังสูง 
ดื่มครั้งสุดท้ายภายใน 3 วัน 
มีปัญหาโรคทางกายหรือได้รับบาดเจ็บร่วมด้วย 
ไม่มีภาวะเมาสุราทั้งที่มีระดับแอลกอฮอล์ในเลือดสูง 
มีการใช้ยาเสพติดอื่น ๆ รวมถึงยากล่อมประสาทหรือยา 
นอนหลับอย่างต่อเนื่อง 
ชีพจรสูงเกิน 100 ครั้งต่อนาที 
หากผู้ป่วยมีข้อใดข้อหนึ่งของปัจจัยเสี่ยง 
ให้เฝ้าระวัง
กกาารปรระะเเมมินินออาากกาารขขาาดสสุรุราา 
ประเมินระดับความรุนแรงของอาการโดยใช้ 
แบบประเมิน 
ตัวอย่างแบบประเมินความรุนแรงอาการขาด 
สุราที่ใช้บ่อย 
แบบประเมิน Alcohol Withdrawal Scale (AWS) 
แบบประเมิน Clinical Institute Withdrawal 
Assessment for Alcohol-Revised Version 
(CIWA-Ar) 
ควรจะประเมิน baseline และประเมินอย่างต่อ 
เนื่องโดยเฉพาะการรักษาแบบผู้ป่วยใน 
ผู้ป่วยควรได้รับการประเมินความเสี่ยงและความรุนแรงของอาการ 
ขาดสุราตั้งแต่แรกเริ่มมีอาการ และให้การรักษาอย่างเหมาะสมทัน 
ท่วงที จึงจะสามารถป้องกันการเกิดภาวะถอนพิษสุรารุนแรงได้” 
John Saunders 2003
AAWWSS vvss CCIIWWAA--AArr sscoorree 
ความ 
รุนแรง 
AWS 
SCOR 
E 
CIWA-Ar 
SCOR 
E 
การให้ยา 
Mild 1-4 1-7 อาจไม่จำาเป็นต้องใช้ยา 
Moderate 5-9 8-14 การรักษาด้วยยาช่วยลด 
โอกาสอาการถอนพิษที่ 
รุนแรง 
Severe 10-14 15-19 ต้องได้รับการรักษาด้วยยา 
และติดตามอาการอย่าง 
ใกล้ชิด 
Very 
≥15 ≥ 20 ต้องให้การรักษาด้วยยา
หลลักักกกาารรรักักษษาาภภาาววะะถอนพพิษิษสสุรุราา 
ภาวะถอนพิษสุราสามารถป้องกันไม่ให้เกิด หรือ 
ถ้าเริ่มมีอาการก็สามารถควบคุมอาการให้ดีขึ้นโดย 
เร็ว 
หลักการรักษาภาวะถอนพิษสุราประกอบด้วย 4S’ 
ได้แก่ 
1) SSeeddaattiioonn – การให้ยาเบนโซไดอะซีปีน (เช่น 
diazepam) เพื่อสงบ อาการขาดสุรา 
2) SSyymmppttoommaattiicc RReelliieeff – การรักษาตามอาการ 
3) SSuupppplleemmeenntt – การให้สารนำ้า อาหาร วิตามิน 
เสริม 
4) SSuuppppoorrttiivvee eennvviirroonnmmeenntt – การจัดสภาพ
ววิธิธกีกีาารใใหห้ย้ยาารกัษษาาภภาาววะะถอนพพิิษ 
สสุรุราา 
มี 4 รูปแบบ คือ 
1. Fix e d s che dule re g im e n (FS) เป็นการให้ยา 
ตามเวลาที่กำาหนดแม้ว่าจะไม่มีอาการขาดสุรา 
ก็ตาม และให้ยาเติมอีกได้เวลาจำาเป็นกรณีทีอาการ 
ขาดสุรารุนแรงมากขึ้น 
2. Lo a d ing d o s e re g im e n (LD) เป็นการให้ขนาด 
สูงมากพอที่จะลดอาการขาดสุราได้ทันที และ 
ป้องกันภาวะแทรกซ้อนจากอาการขาดสุรารุนแรง 
3. Sym p to m -trig g e re d re g im e n (ST) เป็นวิธีการ 
ให้ยาเฉพาะเมื่อมีอาการขาดสุราให้เห็นชัดเจน ใช้ 
เวลาสั้นและขนาดยาตำ่ากว่า 
4. Intra ve no us lo a d ing re g im e n เป็นการให้ยาเพื่อ 
ควบคุมภาวะถอนพิษสุราให้เร็วที่สุด
ยยาาออื่นื่นทที่ชี่ช่ว่วยใในนกกาารสงบออาากกาารขขาาด 
สสุรุราา 
Anticonvulsant 
drugs 
เหมาะสำาหรับรักษาอาการขาดสุราระดับเล็กน้อยถึง 
ปานกลาง หรือมีอาการชักร่วมด้วย ลดอาการเหงื่อ 
ออก ประสาทหลอน นอนไม่หลับ คลื่นไส้ อาเจียนได้ 
ดี 
วิธีการใหย้า 
1. sodium valproate loading dose ในวันแรก 20 
mg/kg/d แบ่งเป็น 2 ครั้งห่างกัน 6-8 ชั่วโมง ให้ต่อ 
เป็นเวลา 4 วัน 
2. Carbamazepine วันแรกให้ 600-800 mg หลัง 
จากนั้นลดลงจนเหลือ 
200 mg ในวันที่ 5
ยยาาออื่นื่นทที่ชี่ช่ว่วยใในนกกาารสงบออาากกาารขขาาด 
สสุรุราา 
Antiglutaminergic 
drugs 
สามารถรักษาอาการขาดสุราระดับปานกลางถึงรุนแรง 
ภายใน 3 วันเทียบเท่า DZP 30 mg/วัน 
วิธีการใหย้า 
1. topiramate 25 mg รับประทานทุก 6 ชั่วโมง หรือ 
100 mg ต่อวันใน 3 วันแรก 
2. lamotrigine 25 mg รับประทานทุก 6 ชั่วโมง 
หรือ 100 mg ต่อวันใน 3 วันแรก 
3. Mimantine รับประทาน10 mg ในวันแรก เพิ่ม 
เป็น 20 mg ในวันที่ 2 และ 30 mg ในวันที่ 3 แบ่งให้ 
3 เวลาหลังอาหาร
ยยาาออื่นื่นทที่ชี่ช่ว่วยใในนกกาารสงบออาากกาารขขาาด 
สสุรุราา 
มีหลักฐานสนับสนุนประสิทธิภาพไม่มาก มักใช้ 
เป็นยาช่วยเสริมยาหลัก ไม่เหมาะกับอาการ 
ขาดสุราระดับรุนแรง และยังต้องการข้อมูลวิจัย 
สนับสนุนอีกเป็นจำานวนมาก 
1. ß -Adrenergic receptor antagonists 
Propanolol 10 – 40 mg กินทุก 6 ชั่วโมง 
Atenolol 50 – 100 mg/day ให้วันละครั้ง 
2. ∞ 2– Adrenergic agonists 
clonidine 0.1 – 0.2 mg ทุก 8 ชั่วโมง
ยยาาออื่นื่นทที่ชี่ช่ว่วยใในนกกาารสงบออาากกาารขขาาด 
สสุรุราา 
Antipsychotic drugs 
ใช้เฉพาะในผู้ป่วยที่มีอาการขาดสุราและมีอาการ 
โรคจิตรุนแรง เช่น ระแวง ประสาทหลอนอย่างมาก 
วิธีการให้ยา 
• haloperidol 2.5-5mg IM 
• ให้ซ้ำ้าได้ ทุก 6 ชม. (as required) 
• แล้วจึงปรับเป็น 2.5-5mg ทุก 6 ชม. 
หลังจากผู้ป่วยดีขึ้น (48 ชม.) ให้ทบทวนความ 
จำาเป็นที่ต้องใช้ยารักษาโรคจิต
ข้อพิจารณาการรักษาแบบ 
ผู้ป่วยนอก 
มีอาการถอนพิษสุราที่มีความรุนแรงน้อยถึงปาน 
กลาง 
CIWA-Ar < 14 คะแนน หรือ AWS < 9 คะแนน 
สามารถรับประทานยาได้ 
มีญาติสนิทหรือคนในครอบครัวช่วยดูแลอย่าง 
ใกล้ชิดระหว่างถอนพิษสุรา (ประมาณ 3-5 วัน) 
และสามารถติดตามอาการถอนพิษสุราได้ 
สามารถมาพบแพทย์ตามนัดได้ 
ไม่มีภาวะโรJR. คทาV. งAmbulatory จิตเวชและalcohol UpToDate โรคdetoxification. 
2008. 
ทางกายที่ 
อาการยังไม่คงที่
ข้อพิจารณาการรักษาแบบ 
ผู้ป่วยนอก 
ไม่มีปัญหาใช้สารเสพติดชนิดอื่นร่วมด้วยจน 
อาจมีอาการถอนพิษสารเสพติดนั้น เช่น 
อาการถอนพิษยานอนหลับ 
ไม่มีประวัติอาการ DTs หรือชัก (rum fits) มา 
ก่อน 
อายุน้อยกว่า 60 ปี 
ไม่มีหลักฐานแสดงถึงอวัยวะภายในถูก 
ทำาลายจากพิษสุรา เช่น elevated MCV, 
renal insufficiency, ascites, cirrhosis
ข้อพิจารณาการรักษาแบบ 
ผู้ป่วยใน 
เริ่มมีอาการหรือคาดว่าจะมีอาการถอนพิษสุรา 
ระดับปานกลางถึงรุนแรง จากอาการ อาการ 
แสดง ความรุนแรงในการติด ประวัติอาการ 
ถอนพิษรุนแรงหรือชัก หรือ CIWA-Ar > 15 
คะแนน หรือ AWS > 10 คะแนน 
มีโรคจิตเวชหรือโรคทางกายอื่นๆ ซึ้่งต้องการ 
การเฝ้าดูแลอย่างใกล้ชิด เช่น การชัก หรือ 
ประวัติของการชัก กำาลังตั้งครรภ์หรือให้นมบุตร 
โรคหัวใจ โรคตับ สงสัยว่ามีการบาดเจ็บที่ศีรษะ 
ความดันโลหิตสูงที่ควบคุมไม่ได้ 
มีการติดยาหรือสารเสพติดอื่นร่วมด้วยและมี 
อาการถอนพิษจาก
ข้อพิจารณาการรักษาแบบ 
ผู้ป่วยใน 
มีพฤติกรรมก้าวร้าวรุนแรงหรือควบคุมไม่ได้ 
มีความเสี่ยงในการฆ่าตัวตาย 
ผู้ป่วยไม่สามารถดูแลหรือช่วยเหลือตนเองได้ 
เคยรักษาแบบผู้ป่วยนอกแล้วไม่ได้ผล 
ไม่มีญาติหรือสิ่งแวดล้อมที่ปลอดภัยเพียงพอ 
สำาหรับการรักษาแบบผู้ป่วยนอก
มาตรการที่ 3 
มาตรการบำาบัดรักษาและฟนื้ฟูสภาพ 
(ALCOHOL TREATMENT AND 
REHมาAตรBกาILITATION) 
รคัด 
กรอง 
ปัญหา 
การดื่ม 
สุราและ 
การ 
บำาบัด 
แบบสั้น 
มาตรการ 
บำาบัด 
รักษา 
ภาวะ 
ถอนพิษ 
สุรา 
มาตรการ 
บำาบัด 
รักษาและ 
ฟื้นฟู 
สภาพ 
มาตรกา 
รดูแล 
ระยะ 
ยาวหลัง 
การ 
รักษา
กิจกรรมบริการ 
กิจกรรมที่ 3.1 : การประเมินปัญหาการ 
ดื่มสุราอย่างครอบคลุมและ 
โรคจิตเวชร่วม 
กิจกรรมที่ 3.2 : การรักษาด้วยจิตสังคม 
บำาบัด 
(Psychosocial treatment) 
กิจกรรมที่ 3.3 : การรักษาด้วยยา 
(Pharmacological treatment) 
กิจกรรมที่ 3.4 : การช่วยเหลือด้าน 
ครอบครัว
การประเมินโรคจิตเวชร่วม 
 โดยเฉพาะผู้ที่มีประวัติกลับดื่มซ้ำ้าบ่อย ๆ 
 วิธีการ 
การสัมภาษณ์ประวัติและตรวจสภาพจิต หรือ 
การใช้เครื่องมือ Mini-International 
Neuropsychiatric Interview (M.I.N.I.) โดย 
อาจเลือกเฉพาะโรคจิตเวชร่วมที่พบบ่อย 
 ควรประเมินหลังอาการถอนพิษสุราสงบอย่าง 
น้อย 1 เดือน เพื่อให้แน่ใจว่าอาการที่ตรวจพบ 
ไม่ได้เกิดจากสุราโดยตรง
Comorbidity ooff AAllccoohhooll aanndd 
PPssyycchhiiaattrriicc PPrroobblleemmss 
Definition: 
• ภาวะหรือโรคทางจิตเวชที่ 
พบร่วมในผู้ที่มีปัญหาจาก 
การดื่มสุรา (Psychiatric 
Comorbidity) 
• “Comorbidity/Co-existing/ 
Dual-diagnosis” 
NIAAA 2004
รระะบบาาดววิทิทยยาาของภภาาววะะโโรรครร่ว่วม:: EECCAA 
SSTTUUDDYY 
Reiger,1990 
Alcohol disorder 
Another mental disorder 37% 
Anxiety Disorders 19% 
Antisocial PD 14% 
Mood Disorders 13% 
Schizophrenia 4% 
Antisocial PD 
Substance abuse 84% 
Alcohol Disorders 74% 
Another drug disorder 42% 
Schizophrenia 
Alcohol disorder 
34% 
Mood disorder 22% 
Anxiety disorder 18%
สาเหตุที่มีความชุกของ Alcohol Use 
Disorders 
พบมากขึ้นในผู้ที่ป่วยทางจิตเวช 
• ใช้รักษาอาการที่ป่วย (self-medication) 
• อยู่ในสิ่งแวดล้อมที่มีการใช้สุรา/สารเสพติดมาก 
• ใช้เพื่อกระตุ้นการเข้าสังคม เข้าร่วมเป็นส่วน 
หนึ่งของกลุ่ม เพื่อให้เกิดการยอมรับได้มากกว่า 
การเป็นผู้ป่วย 
• ใช้เป็นกลไกทางจิตต่อสู้กับการเจ็บป่วย 
• Alcohol abuse อาจจะเป็นตัวกระตุ้น หรือเป็น 
สาเหตุที่ ก่อให้เกิดการเจ็บป่วย 
ทางจิตเวชอื่น 
Smith and Hucker, 1994
กกาารบบำาำาบบัดัดททาางจติสสังังคมใในนผผู้มู้มีปีปัญัญหหาา 
กกาารดดื่มื่มสสุรุราา 
จิตสังคมบำาบัดสำาหรับผู้ติดสุราที่มีประสิทธิภาพ 
ได้แก่ 
 การบำาบัดเพื่อปรับเปลี่ยนความคิดและพฤติกรรม 
(CBT) 
 การสัมภาษณ์และการบำาบัดเพื่อเสริมสร้างแรงจูงใจ 
(MI/MET) 
 Community Reinforcement and Family Training 
(CRAFT) 
 การดูแลรายกรณี (Case management) 
 กลุ่มช่วยเหลือตนเอง (Self-help group) 
เช่น กลุ่มผู้ติดสุรานิรนาม (Alcoholics Anonymous
ยยาารรักักษษาาภภาาววะะตติดิดสสุรุราา 
ยาที่รับรองโดย US FDA ในการรักษาโรคติดสุรา 
มี 3 ชนิด 4 ขนาน 
1. Disulfuram 
2. Naltrexone ชนิดรับประทาน 
3. Naltrexone ฉีดเข้ากล้าม (extended-release 
injectable naltrexone) 
4. Acamprosate
DDIISSUULLFFIIRRAAMM หรรืือ AANNTTAABBUUSSEEÒ 
กลไกการออกฤทธิ์ 
• เป็น irreversible inhibitors ของ aldehyde 
dehydrogenase 
• เอนไซ้ม์ aldehyde dehydrogenase ถูก 
ยับยั้งทำาให้เกิดภาวะ acetaldehyde คั่งจน 
เกิAlcohoallcohol 
ดพิษในร่างกาย (acetaldehyde 
toxicity) 
dehydrogenase 
CO2 + H 2 
O 
acetaldehyde 
(สารพิษ) 
aldehyde 
dehydrogena 
se 
acetic acid
DISULFIRAM 
• ข้อบ่งชี้ 
ขนาดที่ 
ใช้รักษา 
250 
mg/d 
ผู้ติดสุราที่มีเป้าหมายในการหยุดดื่มโดยเด็ด 
ขาด 
จำาเป็นต้องได้รับการควบคุมจากภายนอก 
(need for external aid to abstinence) 
• ควรแน่ใจว่าผู้ป่วยไม่ได้ดื่มแอลกอฮอล์เป็นเวลา 
อย่างน้อย 12 – 24 ชั่วโมงก่อนเริ่มใช้ยา 
• ผลข้างเคียงที่พบบ่อย เช่น ง่วงนอน มึนศีรษะ ซึ้ม 
lethargy, peripheral neuropathy, 
hypertension, seizure, hepatotoxicity 
• ควรระวังในผู้ป่วยที่ได้รับ warfarin หรือ
มาตรการที่ 4 
มาตรการดูแลระยะยาวหลังการ 
รักษา 
(AFTER CARE) 
มาตรกา 
รคัด 
กรอง 
ปัญหา 
การดื่ม 
สุราและ 
การ 
บำาบัด 
แบบสั้น 
มาตรการ 
บำาบัด 
รักษา 
ภาวะ 
ถอนพิษ 
สุรา 
มาตรการ 
บำาบัด 
รักษาและ 
ฟื้นฟู 
สภาพ 
มาตรกา 
รดูแล 
ระยะ 
ยาวหลัง 
การ 
รักษา
หน่วยบริการสุขภาพและกลุ่มเป้า 
หน่วยบริการ 
หน่วยบริการสาธารณสุขในรูปแบบเชิงรุก ทั้ง 
สถานพยาบาลปฐมภูมิ ฝ่ายสุขภาพจิต/ยาเสพติด 
และเวชศาสตร์ป้องกันในโรงพยาบาลชุมชน โรง 
พยาบาลทั่วไป ฝ่ายชุมชนของโรงพยาบาลจิตเวช 
และศูนย์บำาบัดรักษายาเสพติด 
หน่วยบริการในชุมชน โดยชุมชน เช่น วัด เครือ 
ข่ายชุมชน สมาชิกผู้ติดสุราและ/หรือครอบครัว กลุ่มเป้าหมาย ผู้ติดสุราที่ผ่านการบำาบัด 
ผู้ดื่มแบบอันตรายที่ไม่สามารถ 
ควบคุมการดื่ม 
หมาย
กิจกรรมบริการ 
กิจกรรมที่ 4.1: การติดตามเชิงรุกในชุมชน 
และให้การดูแลรายกรณี 
กิจกรรมที่ 4.2: กลุ่มช่วยเหลือกันเอง 
(self help group) 
กิจกรรมที่ 4.3: การบำาบัดฟื้นฟูในชุมชนโดย 
ชุมชน 
(community action)
กกิิจกรรมททีี่่ 44..11 กกาารตติดิดตตาามเเชชิงิงรรุกุกใในนชชุมุมชน 
แแลละะ 
ใใหห้ก้กาารดดูแูแลลรราายกรณณีี ((PPAACCTT)) 
ครั้งที่ 1 เป็นการสร้างสัมพันธภาพที่ดีระหว่างบุคลากร 
สุขภาพผู้เยี่ยมและผู้ป่วยติดสุราให้ความรู้การดำาเนินชีวิต 
ประจำาวัน การจัดการที่อยู่อาศัย และให้คำาปรึกษา 
ครั้งที่ 2 ให้ความรู้ ฝึกทักษะการจัดการกับสถานการณ์ 
(ภาวะวิกฤติ) การจัดการเอกสารในการเข้าถึงบริการ 
สุขภาพให้แก่ผู้ป่วยติดสุราและญาติ และให้คำาปรึกษา 
ครั้งที่ 3 ให้ความรู้การรับประทานยา การส่งเสริมสุขภาพ 
การจัดการการเงิน 
และให้คำาปรึกษา 
ครั้งที่ 4 ให้ความรู้ คำาแนะนำา และแนวการสร้างโอกาสใน 
การทำางาน การจัดการการเงิน และให้คำาปรึกษา 
ครั้งที่ 5 เยี่ยมติดตามกิจกรรมโดยภาพรวม เสริมสร้าง
กกิิจกรรมททีี่่ 44..22 กลลุ่มุ่มชช่ว่วยเเหหลลือือกกัันเเออง ((SSeellff 
hheellpp ggrroouupp)) 
• เป็นการรวมกลุ่มกันของบุคคลที่มีปัญหาคล้ายกันมา 
รวมตัวกันโดยความสมัครใจ 
• ใช้ประสบการณ์ของปัญหาหรือประสบการณ์แก้ไข 
ปัญหาที่ผ่านมามาแบ่งปันและช่วยกันแก้ไขปัญหาซึ้่งกัน 
และกัน 
• กำาหนดกิจกรรมในการช่วยเหลือสนับสนุนร่วมกัน โดย 
สมาชิกกลุ่ม เพื่อประโยชน์ร่วมกันระหว่างสมาชิก 
แนวคิดพื้นฐานของกลุ่มช่วยเหลือกันเองเชื่อว่า บุคคลจะ 
ได้รับความช่วยเหลือเป็น อย่างดีจากบุคคลที่เคยมี 
ประสบการณ์มาก่อน สมาชิกกลุ่มจะร่วมแลกเปลี่ยนความ 
รู้สึก การให้ข้อมูลข่าวสารจากประสบการณ์ตรงและจาก 
ที่กได้ลุ่มรัช่บ ว(ยแสเหวลืงอหากัน) เอนำางแบมาช่บวปยระเหคัลืบอปสระมาคชิอกง ใน(Supportive 
การปรับตัว 
self help group) 
ต่อปัญหาและแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้น 
กลุ่มผู้ติดสุรานิรานาม (Alcoholics Anonymous)
กกิิจกรรมททีี่่ 44..33 กกาารบบำาำาบบัดัดฟฟื้นื้นฟฟูใูในนชชุมุมชนโโดดย 
ชชุมุมชน 
((ccoommmmuunniittyy aaccttiioonn)) 
ขั้นตอนหลักประกอบด้วย 
1.การศึกษาเรียนรู้ชุมชน ศึกษาข้อมูลพื้นฐานของชุมชน 
ลักษณะและความรุนแรงของปัญหาในชุมชน กิจกรรมใน 
ชุมชนเดิมที่มีอยู่ และดำาเนินการการสำารวจชุมชน 
2. การพัฒนาศักยภาพแกนนำาชุมชน โดยค้นหาและคัดเลือก 
แกนนำาทั้งจากโครงสร้างองค์กรชุมชนที่มีอยู่แล้วและกลุ่ม 
ประชาชนทั่วไป จุดประกายความคิดในการดำาเนินงานให้กับ 
กลุ่มแกนนำาและส่งเสริมการเรียนรู้ 
3. การขับเคลื่อนชุมชน เพื่อให้คนในชุมชนมีความตระหนัก 
รับผิดชอบและสามารถพัฒนาตนและชุมชนของตนเอง ให้ 
ชุมชนเกิดกระบวนการเรียนรู้ ร่วมกันวิเคราะห์ปัญหา หา 
มาตรการแก้ไขปัญหา ร่วมตัดสินใจ ร่วมดำาเนินงาน ร่วมรับ
การดูแลผู้ที่มีปัญหาสุราในระบบสุขภาพ

More Related Content

What's hot

คู่มือโรคหลอดเลือดสมอง สำหรับประชาชน (อัมพาต อัมพฤกษ์)
คู่มือโรคหลอดเลือดสมอง สำหรับประชาชน (อัมพาต อัมพฤกษ์)คู่มือโรคหลอดเลือดสมอง สำหรับประชาชน (อัมพาต อัมพฤกษ์)
คู่มือโรคหลอดเลือดสมอง สำหรับประชาชน (อัมพาต อัมพฤกษ์)
Utai Sukviwatsirikul
 
Ppt. stroke1
Ppt. stroke1Ppt. stroke1
Ppt. stroke1
Prachaya Sriswang
 
คู่มือดำเนินงานดูแลผู้ป่วยจิตเวชเรื้อรังในชุมชน
คู่มือดำเนินงานดูแลผู้ป่วยจิตเวชเรื้อรังในชุมชนคู่มือดำเนินงานดูแลผู้ป่วยจิตเวชเรื้อรังในชุมชน
คู่มือดำเนินงานดูแลผู้ป่วยจิตเวชเรื้อรังในชุมชน
Utai Sukviwatsirikul
 
ความรู้ทางกฎหมายและจรรยาบรรณที่เกี่ยวข้อง โดย ภก.ปรุฬห์ รุจนธำรงค์
ความรู้ทางกฎหมายและจรรยาบรรณที่เกี่ยวข้อง โดย ภก.ปรุฬห์ รุจนธำรงค์ความรู้ทางกฎหมายและจรรยาบรรณที่เกี่ยวข้อง โดย ภก.ปรุฬห์ รุจนธำรงค์
ความรู้ทางกฎหมายและจรรยาบรรณที่เกี่ยวข้อง โดย ภก.ปรุฬห์ รุจนธำรงค์
Utai Sukviwatsirikul
 
การตรวจสารเคมีตกค้างในเลือดเกษตรกร
การตรวจสารเคมีตกค้างในเลือดเกษตรกรการตรวจสารเคมีตกค้างในเลือดเกษตรกร
การตรวจสารเคมีตกค้างในเลือดเกษตรกร
Nakhonratchasima Provincial of public health office
 
ปัญหาท้องก่อนวัยอันควร
ปัญหาท้องก่อนวัยอันควรปัญหาท้องก่อนวัยอันควร
ปัญหาท้องก่อนวัยอันควรSasithon Charoenchai
 
Ppt. med error.2
Ppt. med error.2Ppt. med error.2
Ppt. med error.2
Prachaya Sriswang
 
คู่มือปฏิบัติงาน CKD 2559
คู่มือปฏิบัติงาน CKD 2559คู่มือปฏิบัติงาน CKD 2559
คู่มือปฏิบัติงาน CKD 2559
Kamol Khositrangsikun
 
แนวทางเวชปฏิบัติภาวะสมองเสื่อม 2557
แนวทางเวชปฏิบัติภาวะสมองเสื่อม 2557แนวทางเวชปฏิบัติภาวะสมองเสื่อม 2557
แนวทางเวชปฏิบัติภาวะสมองเสื่อม 2557
Utai Sukviwatsirikul
 
โครงการโทษของแอลกอฮอล์และบุหรี่
โครงการโทษของแอลกอฮอล์และบุหรี่โครงการโทษของแอลกอฮอล์และบุหรี่
โครงการโทษของแอลกอฮอล์และบุหรี่พัน พัน
 
แนวทางเวชปฏิบัติการดูแลโภชนบำบัดในโรคเบาหวาน
แนวทางเวชปฏิบัติการดูแลโภชนบำบัดในโรคเบาหวานแนวทางเวชปฏิบัติการดูแลโภชนบำบัดในโรคเบาหวาน
แนวทางเวชปฏิบัติการดูแลโภชนบำบัดในโรคเบาหวาน
Utai Sukviwatsirikul
 
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหาเกี่ยวกับกระดูก (Orthopedics nursing problem)
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหาเกี่ยวกับกระดูก (Orthopedics nursing problem)การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหาเกี่ยวกับกระดูก (Orthopedics nursing problem)
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหาเกี่ยวกับกระดูก (Orthopedics nursing problem)
Aphisit Aunbusdumberdor
 
Ppt. คุณแม่วัยใส
Ppt. คุณแม่วัยใสPpt. คุณแม่วัยใส
Ppt. คุณแม่วัยใส
Prachaya Sriswang
 
01 ความรู้เกี่ยวกับสารเสพติดเพื่อการบำบัดรักษา
01 ความรู้เกี่ยวกับสารเสพติดเพื่อการบำบัดรักษา01 ความรู้เกี่ยวกับสารเสพติดเพื่อการบำบัดรักษา
01 ความรู้เกี่ยวกับสารเสพติดเพื่อการบำบัดรักษาSambushi Kritsada
 
พฤติกรรมเสี่ยงเกี่ยวกับเพศศึกษา
พฤติกรรมเสี่ยงเกี่ยวกับเพศศึกษาพฤติกรรมเสี่ยงเกี่ยวกับเพศศึกษา
พฤติกรรมเสี่ยงเกี่ยวกับเพศศึกษา
sportrnm
 
IESAC
IESACIESAC
Ppt.stroke
Ppt.strokePpt.stroke
Ppt.stroke
Prachaya Sriswang
 
การพยาบาลผู้ป่วยโรคไตเเละระบบทางเดินปัสสาวะที่มีปัญหาซับซ้อนในระยะเฉียบพลันแล...
การพยาบาลผู้ป่วยโรคไตเเละระบบทางเดินปัสสาวะที่มีปัญหาซับซ้อนในระยะเฉียบพลันแล...การพยาบาลผู้ป่วยโรคไตเเละระบบทางเดินปัสสาวะที่มีปัญหาซับซ้อนในระยะเฉียบพลันแล...
การพยาบาลผู้ป่วยโรคไตเเละระบบทางเดินปัสสาวะที่มีปัญหาซับซ้อนในระยะเฉียบพลันแล...
Chutchavarn Wongsaree
 
การวินิจฉัยโรคไตเรื้อรังและแนวทางการคัดกรอง
การวินิจฉัยโรคไตเรื้อรังและแนวทางการคัดกรองการวินิจฉัยโรคไตเรื้อรังและแนวทางการคัดกรอง
การวินิจฉัยโรคไตเรื้อรังและแนวทางการคัดกรอง
CAPD AngThong
 

What's hot (20)

คู่มือโรคหลอดเลือดสมอง สำหรับประชาชน (อัมพาต อัมพฤกษ์)
คู่มือโรคหลอดเลือดสมอง สำหรับประชาชน (อัมพาต อัมพฤกษ์)คู่มือโรคหลอดเลือดสมอง สำหรับประชาชน (อัมพาต อัมพฤกษ์)
คู่มือโรคหลอดเลือดสมอง สำหรับประชาชน (อัมพาต อัมพฤกษ์)
 
Ppt. stroke1
Ppt. stroke1Ppt. stroke1
Ppt. stroke1
 
คู่มือดำเนินงานดูแลผู้ป่วยจิตเวชเรื้อรังในชุมชน
คู่มือดำเนินงานดูแลผู้ป่วยจิตเวชเรื้อรังในชุมชนคู่มือดำเนินงานดูแลผู้ป่วยจิตเวชเรื้อรังในชุมชน
คู่มือดำเนินงานดูแลผู้ป่วยจิตเวชเรื้อรังในชุมชน
 
ความรู้ทางกฎหมายและจรรยาบรรณที่เกี่ยวข้อง โดย ภก.ปรุฬห์ รุจนธำรงค์
ความรู้ทางกฎหมายและจรรยาบรรณที่เกี่ยวข้อง โดย ภก.ปรุฬห์ รุจนธำรงค์ความรู้ทางกฎหมายและจรรยาบรรณที่เกี่ยวข้อง โดย ภก.ปรุฬห์ รุจนธำรงค์
ความรู้ทางกฎหมายและจรรยาบรรณที่เกี่ยวข้อง โดย ภก.ปรุฬห์ รุจนธำรงค์
 
การตรวจสารเคมีตกค้างในเลือดเกษตรกร
การตรวจสารเคมีตกค้างในเลือดเกษตรกรการตรวจสารเคมีตกค้างในเลือดเกษตรกร
การตรวจสารเคมีตกค้างในเลือดเกษตรกร
 
ปัญหาท้องก่อนวัยอันควร
ปัญหาท้องก่อนวัยอันควรปัญหาท้องก่อนวัยอันควร
ปัญหาท้องก่อนวัยอันควร
 
Ppt. med error.2
Ppt. med error.2Ppt. med error.2
Ppt. med error.2
 
คู่มือปฏิบัติงาน CKD 2559
คู่มือปฏิบัติงาน CKD 2559คู่มือปฏิบัติงาน CKD 2559
คู่มือปฏิบัติงาน CKD 2559
 
แนวทางเวชปฏิบัติภาวะสมองเสื่อม 2557
แนวทางเวชปฏิบัติภาวะสมองเสื่อม 2557แนวทางเวชปฏิบัติภาวะสมองเสื่อม 2557
แนวทางเวชปฏิบัติภาวะสมองเสื่อม 2557
 
โครงการโทษของแอลกอฮอล์และบุหรี่
โครงการโทษของแอลกอฮอล์และบุหรี่โครงการโทษของแอลกอฮอล์และบุหรี่
โครงการโทษของแอลกอฮอล์และบุหรี่
 
Stroke
StrokeStroke
Stroke
 
แนวทางเวชปฏิบัติการดูแลโภชนบำบัดในโรคเบาหวาน
แนวทางเวชปฏิบัติการดูแลโภชนบำบัดในโรคเบาหวานแนวทางเวชปฏิบัติการดูแลโภชนบำบัดในโรคเบาหวาน
แนวทางเวชปฏิบัติการดูแลโภชนบำบัดในโรคเบาหวาน
 
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหาเกี่ยวกับกระดูก (Orthopedics nursing problem)
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหาเกี่ยวกับกระดูก (Orthopedics nursing problem)การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหาเกี่ยวกับกระดูก (Orthopedics nursing problem)
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหาเกี่ยวกับกระดูก (Orthopedics nursing problem)
 
Ppt. คุณแม่วัยใส
Ppt. คุณแม่วัยใสPpt. คุณแม่วัยใส
Ppt. คุณแม่วัยใส
 
01 ความรู้เกี่ยวกับสารเสพติดเพื่อการบำบัดรักษา
01 ความรู้เกี่ยวกับสารเสพติดเพื่อการบำบัดรักษา01 ความรู้เกี่ยวกับสารเสพติดเพื่อการบำบัดรักษา
01 ความรู้เกี่ยวกับสารเสพติดเพื่อการบำบัดรักษา
 
พฤติกรรมเสี่ยงเกี่ยวกับเพศศึกษา
พฤติกรรมเสี่ยงเกี่ยวกับเพศศึกษาพฤติกรรมเสี่ยงเกี่ยวกับเพศศึกษา
พฤติกรรมเสี่ยงเกี่ยวกับเพศศึกษา
 
IESAC
IESACIESAC
IESAC
 
Ppt.stroke
Ppt.strokePpt.stroke
Ppt.stroke
 
การพยาบาลผู้ป่วยโรคไตเเละระบบทางเดินปัสสาวะที่มีปัญหาซับซ้อนในระยะเฉียบพลันแล...
การพยาบาลผู้ป่วยโรคไตเเละระบบทางเดินปัสสาวะที่มีปัญหาซับซ้อนในระยะเฉียบพลันแล...การพยาบาลผู้ป่วยโรคไตเเละระบบทางเดินปัสสาวะที่มีปัญหาซับซ้อนในระยะเฉียบพลันแล...
การพยาบาลผู้ป่วยโรคไตเเละระบบทางเดินปัสสาวะที่มีปัญหาซับซ้อนในระยะเฉียบพลันแล...
 
การวินิจฉัยโรคไตเรื้อรังและแนวทางการคัดกรอง
การวินิจฉัยโรคไตเรื้อรังและแนวทางการคัดกรองการวินิจฉัยโรคไตเรื้อรังและแนวทางการคัดกรอง
การวินิจฉัยโรคไตเรื้อรังและแนวทางการคัดกรอง
 

Viewers also liked

การพยาบาลDhf
การพยาบาลDhfการพยาบาลDhf
การพยาบาลDhfMaytinee Beudam
 
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีอารมณ์ผิดปกติ โดย อ.วิไลวรรณ บุญเรือง
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีอารมณ์ผิดปกติ โดย อ.วิไลวรรณ  บุญเรืองการพยาบาลผู้ป่วยที่มีอารมณ์ผิดปกติ โดย อ.วิไลวรรณ  บุญเรือง
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีอารมณ์ผิดปกติ โดย อ.วิไลวรรณ บุญเรือง
Utai Sukviwatsirikul
 
พฤติกรรมการดื่มสุรา
พฤติกรรมการดื่มสุราพฤติกรรมการดื่มสุรา
พฤติกรรมการดื่มสุราChatmongkon C-Za
 
โทษของแอลกอฮอล์และบุหรี่
โทษของแอลกอฮอล์และบุหรี่โทษของแอลกอฮอล์และบุหรี่
โทษของแอลกอฮอล์และบุหรี่พัน พัน
 
092โทษของสุรา เผด็จ
092โทษของสุรา เผด็จ092โทษของสุรา เผด็จ
092โทษของสุรา เผด็จ
niralai
 
Alcohol and seizures
Alcohol and seizuresAlcohol and seizures
Alcohol and seizures
Pratyush Chaudhuri
 
Depression and suicide
Depression and suicide Depression and suicide
Depression and suicide
Wajana Khemawichanurat
 
129+heap4+dltv54+550301+a+สไลด์ โทษของบุหรี่และสุรา (1 หน้า)
129+heap4+dltv54+550301+a+สไลด์ โทษของบุหรี่และสุรา (1 หน้า)129+heap4+dltv54+550301+a+สไลด์ โทษของบุหรี่และสุรา (1 หน้า)
129+heap4+dltv54+550301+a+สไลด์ โทษของบุหรี่และสุรา (1 หน้า)
Prachoom Rangkasikorn
 
คู่มือดูแลผู้มีปัญหาสุขภาพจิตและจิตเวช
คู่มือดูแลผู้มีปัญหาสุขภาพจิตและจิตเวชคู่มือดูแลผู้มีปัญหาสุขภาพจิตและจิตเวช
คู่มือดูแลผู้มีปัญหาสุขภาพจิตและจิตเวช
Utai Sukviwatsirikul
 
กระบวนการบำบัดรักษาผู้ป่วยยาและสารเสพติดแนวใหม่
กระบวนการบำบัดรักษาผู้ป่วยยาและสารเสพติดแนวใหม่กระบวนการบำบัดรักษาผู้ป่วยยาและสารเสพติดแนวใหม่
กระบวนการบำบัดรักษาผู้ป่วยยาและสารเสพติดแนวใหม่
Isara Chiawiriyabunya
 
Alcohol pharmacology
Alcohol pharmacologyAlcohol pharmacology
Alcohol pharmacology
mj hemilton
 
Pharmacology of Alcohol
Pharmacology of Alcohol Pharmacology of Alcohol
Pharmacology of Alcohol
http://neigrihms.gov.in/
 
PATHOPHYSIOLOGY OF URINARY SYSTEM FOR STUDENT NURSES
PATHOPHYSIOLOGY OF URINARY SYSTEM FOR STUDENT NURSESPATHOPHYSIOLOGY OF URINARY SYSTEM FOR STUDENT NURSES
PATHOPHYSIOLOGY OF URINARY SYSTEM FOR STUDENT NURSES
Aphisit Aunbusdumberdor
 
Alcohol & drinking presentation
Alcohol & drinking presentationAlcohol & drinking presentation
Alcohol & drinking presentationCTecson
 

Viewers also liked (20)

การพยาบาลDhf
การพยาบาลDhfการพยาบาลDhf
การพยาบาลDhf
 
Cpg and care map alcohol
Cpg and care map alcoholCpg and care map alcohol
Cpg and care map alcohol
 
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีอารมณ์ผิดปกติ โดย อ.วิไลวรรณ บุญเรือง
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีอารมณ์ผิดปกติ โดย อ.วิไลวรรณ  บุญเรืองการพยาบาลผู้ป่วยที่มีอารมณ์ผิดปกติ โดย อ.วิไลวรรณ  บุญเรือง
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีอารมณ์ผิดปกติ โดย อ.วิไลวรรณ บุญเรือง
 
พฤติกรรมการดื่มสุรา
พฤติกรรมการดื่มสุราพฤติกรรมการดื่มสุรา
พฤติกรรมการดื่มสุรา
 
โทษของแอลกอฮอล์และบุหรี่
โทษของแอลกอฮอล์และบุหรี่โทษของแอลกอฮอล์และบุหรี่
โทษของแอลกอฮอล์และบุหรี่
 
092โทษของสุรา เผด็จ
092โทษของสุรา เผด็จ092โทษของสุรา เผด็จ
092โทษของสุรา เผด็จ
 
Alcohol and seizures
Alcohol and seizuresAlcohol and seizures
Alcohol and seizures
 
Depression and suicide
Depression and suicide Depression and suicide
Depression and suicide
 
5415261035
54152610355415261035
5415261035
 
129+heap4+dltv54+550301+a+สไลด์ โทษของบุหรี่และสุรา (1 หน้า)
129+heap4+dltv54+550301+a+สไลด์ โทษของบุหรี่และสุรา (1 หน้า)129+heap4+dltv54+550301+a+สไลด์ โทษของบุหรี่และสุรา (1 หน้า)
129+heap4+dltv54+550301+a+สไลด์ โทษของบุหรี่และสุรา (1 หน้า)
 
คู่มือดูแลผู้มีปัญหาสุขภาพจิตและจิตเวช
คู่มือดูแลผู้มีปัญหาสุขภาพจิตและจิตเวชคู่มือดูแลผู้มีปัญหาสุขภาพจิตและจิตเวช
คู่มือดูแลผู้มีปัญหาสุขภาพจิตและจิตเวช
 
กระบวนการบำบัดรักษาผู้ป่วยยาและสารเสพติดแนวใหม่
กระบวนการบำบัดรักษาผู้ป่วยยาและสารเสพติดแนวใหม่กระบวนการบำบัดรักษาผู้ป่วยยาและสารเสพติดแนวใหม่
กระบวนการบำบัดรักษาผู้ป่วยยาและสารเสพติดแนวใหม่
 
Alcohol pharmacology
Alcohol pharmacologyAlcohol pharmacology
Alcohol pharmacology
 
07
0707
07
 
Is3
Is3Is3
Is3
 
Alcohol intoxication
Alcohol intoxicationAlcohol intoxication
Alcohol intoxication
 
Pharmacology of Alcohol
Pharmacology of Alcohol Pharmacology of Alcohol
Pharmacology of Alcohol
 
PATHOPHYSIOLOGY OF URINARY SYSTEM FOR STUDENT NURSES
PATHOPHYSIOLOGY OF URINARY SYSTEM FOR STUDENT NURSESPATHOPHYSIOLOGY OF URINARY SYSTEM FOR STUDENT NURSES
PATHOPHYSIOLOGY OF URINARY SYSTEM FOR STUDENT NURSES
 
Alcoholism
AlcoholismAlcoholism
Alcoholism
 
Alcohol & drinking presentation
Alcohol & drinking presentationAlcohol & drinking presentation
Alcohol & drinking presentation
 

Similar to การดูแลผู้ที่มีปัญหาสุราในระบบสุขภาพ

การประเมินควบคุมความเสี่ยงโรคหัวใจและหลอดเลือดในสตรีวัยหมดระดู
การประเมินควบคุมความเสี่ยงโรคหัวใจและหลอดเลือดในสตรีวัยหมดระดูการประเมินควบคุมความเสี่ยงโรคหัวใจและหลอดเลือดในสตรีวัยหมดระดู
การประเมินควบคุมความเสี่ยงโรคหัวใจและหลอดเลือดในสตรีวัยหมดระดู
Utai Sukviwatsirikul
 
Metabolic syndrome หนังสือคู่มืออ้วนลงพุง
Metabolic syndrome หนังสือคู่มืออ้วนลงพุงMetabolic syndrome หนังสือคู่มืออ้วนลงพุง
Metabolic syndrome หนังสือคู่มืออ้วนลงพุง
Utai Sukviwatsirikul
 
Rama Nurse Public Policy
Rama Nurse Public PolicyRama Nurse Public Policy
Rama Nurse Public Policy
Chuchai Sornchumni
 
Smoking cessation1
Smoking cessation1Smoking cessation1
Smoking cessation1
Utai Sukviwatsirikul
 
โครงการคัดกรองโรคทางหลอดเลือดและสุขภาพจิต ปี ๒๕๕๘
โครงการคัดกรองโรคทางหลอดเลือดและสุขภาพจิต ปี ๒๕๕๘โครงการคัดกรองโรคทางหลอดเลือดและสุขภาพจิต ปี ๒๕๕๘
โครงการคัดกรองโรคทางหลอดเลือดและสุขภาพจิต ปี ๒๕๕๘Fah Chimchaiyaphum
 
Cpg เบาหวาน 2560
Cpg เบาหวาน 2560Cpg เบาหวาน 2560
Cpg เบาหวาน 2560
Utai Sukviwatsirikul
 
อบรมเชิงปฏิบัติการแกนนำนิสิตนักศึกษาทันตแพทย์ต่อต้านยาสูบ
อบรมเชิงปฏิบัติการแกนนำนิสิตนักศึกษาทันตแพทย์ต่อต้านยาสูบอบรมเชิงปฏิบัติการแกนนำนิสิตนักศึกษาทันตแพทย์ต่อต้านยาสูบ
อบรมเชิงปฏิบัติการแกนนำนิสิตนักศึกษาทันตแพทย์ต่อต้านยาสูบ
Nathawut Kaewsutha
 
3.แผนสุขศึกษาแอลกอฮอล์กับอุบัติเหตุม.3
3.แผนสุขศึกษาแอลกอฮอล์กับอุบัติเหตุม.33.แผนสุขศึกษาแอลกอฮอล์กับอุบัติเหตุม.3
3.แผนสุขศึกษาแอลกอฮอล์กับอุบัติเหตุม.3Kruthai Kidsdee
 
JsMar2019-pharm hdbma-slideshare
JsMar2019-pharm hdbma-slideshareJsMar2019-pharm hdbma-slideshare
JsMar2019-pharm hdbma-slideshare
Sukanya Jongsiri
 
21813 article text-46893-1-10-20140923
21813 article text-46893-1-10-2014092321813 article text-46893-1-10-20140923
21813 article text-46893-1-10-20140923
MEMImi
 
พฤติกรรมการดื่มสุรา
พฤติกรรมการดื่มสุราพฤติกรรมการดื่มสุรา
พฤติกรรมการดื่มสุราChatmongkon C-Za
 
พฤติกรรมการดื่มสุรา
พฤติกรรมการดื่มสุราพฤติกรรมการดื่มสุรา
พฤติกรรมการดื่มสุราChatmongkon C-Za
 
โรคเบาหวาน
โรคเบาหวานโรคเบาหวาน
โรคเบาหวานweerawatkatsiri
 
แนวทางการรักษาโรคความดันโลหิตสูง 2558
แนวทางการรักษาโรคความดันโลหิตสูง 2558แนวทางการรักษาโรคความดันโลหิตสูง 2558
แนวทางการรักษาโรคความดันโลหิตสูง 2558
Utai Sukviwatsirikul
 
แนวทางการรักษาโรคความดันโลหิตสูงของไทย ปี 2558
แนวทางการรักษาโรคความดันโลหิตสูงของไทย ปี 2558แนวทางการรักษาโรคความดันโลหิตสูงของไทย ปี 2558
แนวทางการรักษาโรคความดันโลหิตสูงของไทย ปี 2558
Utai Sukviwatsirikul
 
Thai guidelines on the treatment of hypertension 2015
Thai guidelines on the treatment of hypertension 2015Thai guidelines on the treatment of hypertension 2015
Thai guidelines on the treatment of hypertension 2015
Utai Sukviwatsirikul
 
Thai guideline on the hypertension 2015
Thai  guideline on the hypertension 2015Thai  guideline on the hypertension 2015
Thai guideline on the hypertension 2015
Utai Sukviwatsirikul
 

Similar to การดูแลผู้ที่มีปัญหาสุราในระบบสุขภาพ (20)

การประเมินควบคุมความเสี่ยงโรคหัวใจและหลอดเลือดในสตรีวัยหมดระดู
การประเมินควบคุมความเสี่ยงโรคหัวใจและหลอดเลือดในสตรีวัยหมดระดูการประเมินควบคุมความเสี่ยงโรคหัวใจและหลอดเลือดในสตรีวัยหมดระดู
การประเมินควบคุมความเสี่ยงโรคหัวใจและหลอดเลือดในสตรีวัยหมดระดู
 
Epidemiology of NCD
Epidemiology of NCDEpidemiology of NCD
Epidemiology of NCD
 
Metabolic syndrome หนังสือคู่มืออ้วนลงพุง
Metabolic syndrome หนังสือคู่มืออ้วนลงพุงMetabolic syndrome หนังสือคู่มืออ้วนลงพุง
Metabolic syndrome หนังสือคู่มืออ้วนลงพุง
 
Rama Nurse Public Policy
Rama Nurse Public PolicyRama Nurse Public Policy
Rama Nurse Public Policy
 
Smoking cessation1
Smoking cessation1Smoking cessation1
Smoking cessation1
 
โครงการคัดกรองโรคทางหลอดเลือดและสุขภาพจิต ปี ๒๕๕๘
โครงการคัดกรองโรคทางหลอดเลือดและสุขภาพจิต ปี ๒๕๕๘โครงการคัดกรองโรคทางหลอดเลือดและสุขภาพจิต ปี ๒๕๕๘
โครงการคัดกรองโรคทางหลอดเลือดและสุขภาพจิต ปี ๒๕๕๘
 
Cpg เบาหวาน 2560
Cpg เบาหวาน 2560Cpg เบาหวาน 2560
Cpg เบาหวาน 2560
 
Ncd forum2016แผนการดำเนินงาน ปี 2560
Ncd forum2016แผนการดำเนินงาน ปี 2560Ncd forum2016แผนการดำเนินงาน ปี 2560
Ncd forum2016แผนการดำเนินงาน ปี 2560
 
การจัดการโรคDm&htใน อปท.
การจัดการโรคDm&htใน อปท.การจัดการโรคDm&htใน อปท.
การจัดการโรคDm&htใน อปท.
 
อบรมเชิงปฏิบัติการแกนนำนิสิตนักศึกษาทันตแพทย์ต่อต้านยาสูบ
อบรมเชิงปฏิบัติการแกนนำนิสิตนักศึกษาทันตแพทย์ต่อต้านยาสูบอบรมเชิงปฏิบัติการแกนนำนิสิตนักศึกษาทันตแพทย์ต่อต้านยาสูบ
อบรมเชิงปฏิบัติการแกนนำนิสิตนักศึกษาทันตแพทย์ต่อต้านยาสูบ
 
3.แผนสุขศึกษาแอลกอฮอล์กับอุบัติเหตุม.3
3.แผนสุขศึกษาแอลกอฮอล์กับอุบัติเหตุม.33.แผนสุขศึกษาแอลกอฮอล์กับอุบัติเหตุม.3
3.แผนสุขศึกษาแอลกอฮอล์กับอุบัติเหตุม.3
 
JsMar2019-pharm hdbma-slideshare
JsMar2019-pharm hdbma-slideshareJsMar2019-pharm hdbma-slideshare
JsMar2019-pharm hdbma-slideshare
 
21813 article text-46893-1-10-20140923
21813 article text-46893-1-10-2014092321813 article text-46893-1-10-20140923
21813 article text-46893-1-10-20140923
 
พฤติกรรมการดื่มสุรา
พฤติกรรมการดื่มสุราพฤติกรรมการดื่มสุรา
พฤติกรรมการดื่มสุรา
 
พฤติกรรมการดื่มสุรา
พฤติกรรมการดื่มสุราพฤติกรรมการดื่มสุรา
พฤติกรรมการดื่มสุรา
 
โรคเบาหวาน
โรคเบาหวานโรคเบาหวาน
โรคเบาหวาน
 
แนวทางการรักษาโรคความดันโลหิตสูง 2558
แนวทางการรักษาโรคความดันโลหิตสูง 2558แนวทางการรักษาโรคความดันโลหิตสูง 2558
แนวทางการรักษาโรคความดันโลหิตสูง 2558
 
แนวทางการรักษาโรคความดันโลหิตสูงของไทย ปี 2558
แนวทางการรักษาโรคความดันโลหิตสูงของไทย ปี 2558แนวทางการรักษาโรคความดันโลหิตสูงของไทย ปี 2558
แนวทางการรักษาโรคความดันโลหิตสูงของไทย ปี 2558
 
Thai guidelines on the treatment of hypertension 2015
Thai guidelines on the treatment of hypertension 2015Thai guidelines on the treatment of hypertension 2015
Thai guidelines on the treatment of hypertension 2015
 
Thai guideline on the hypertension 2015
Thai  guideline on the hypertension 2015Thai  guideline on the hypertension 2015
Thai guideline on the hypertension 2015
 

การดูแลผู้ที่มีปัญหาสุราในระบบสุขภาพ

  • 3. ปริมาณการดื่มสุราทั่วโลกเปรียบ เทียบเป็นแอลกอฮอล์บริสุทธิ์ต่อ ประชากรที่มีอายุ 15 ปีขึ้นไปต่อปี Per capita consumption (litres) < 2.5 2.50- 45..0909- 7.49 7.50- 9.99 10.00- >12.49 12.50 Data not available/applicable WHO Global Status Report on Alcohol and Health
  • 4. ลักษณะการดื่ม (Pattern of Drinking Score) Drinking Patterns Mostly risky drinking pattern Least risky drinking pattern Data not available/applicable WHO Global Status Report on Alcohol and Health
  • 8. กกาารดดื่มื่มเเคครรื่อื่องดดื่มื่มแแออลกอฮอลล์์ ปรริมิมาา ณ รรูปูปแแบบบ กกาารดดื่มื่ม คคุุณภภาาพของ เเคครรื่อื่องดดื่มื่ม โรค เรื้อรัง การบาด เจ็บและ อุบัติเหตุ ผลลัพธ์ต่อสุขภาพ เหตุของการเสียชีวิต
  • 9. ผลกระทบต่อสุขภาพ กลุ่มโรคที่เกิดจากแอลกอฮอล์โดยตรง เช่น Alcoholic psychosis, Alcohol dependence,Alcoholic polyneuropathy, Alcoholic cardiomyopathy, Alcoholic gastritis, Alcoholic liver cirrhosis กลุ่มโรคที่ได้รับอิทธิพลจากแอลกอฮอล์ เช่น cancer, stroke, Hypertension, Cardiac arrhythmias, Heart failure, Fetal Alcohol Syndrome, Depression กลุ่มผลกระทบต่อสุขภาพแบบฉับพลัน เช่น Accidental injury, Poisoning, Suicide, Interpersonal violence and assaults
  • 10. DALY: Disability-Adjusted Life Years หน่วยวัดทรี่วมปัญหาจากการตายก่อนวัยอันควร กับ birth การอยู่อย่างทุพลภาพ Death/Life expectancy 0 yr 80 yr ill death Years lost due to premature death (YLLs) Years lived with disability (YLDs) 40 yr 20 yr DALY =YLL +YLD
  • 11. Causes of Disability Burden in YLDs by Sex, Thailand 2004 Male Female Disease YLD ('000) % % YLD ('000) Disease YLD Rank 1 Alcohol dependence/harmful use 314 17.9 11.9 191 Depression 2 Depression 137 7.8 7.2 117 Osteoarthritis 3 Schizophrenia 110 6.2 6.9 111 Cataracts 4 Deafness 105 6.0 6.8 110 Deafness 5 Anaemia 85 4.8 6.8 110 Anaemia 6 Osteoarthritis 79 4.5 6.7 108 Schizophrenia 7 Asthma 77 4.4 6.3 101 Anxiety disorders 8 Diabetes 73 4.1 5.4 86 Diabetes 9 Drug dependence/harmful use 71 4.0 4.9 79 Asthma 10 Cataracts 61 3.5 4.4 71 Dementia
  • 12. Causes of Disability Adjusted Life Year (DALYs) by Sex, Thailand 2004 Male Female DALY Rank Disease DALY ('000) % % DALY ('000) Disease 1 HIV/AIDS 6 45 11.3 7.4 3 13 Stroke 2 Traffic accidents 5 84 10.2 6.9 2 91 HIV/AIDS 3 Stroke 3 32 5.8 6.4 2 71 Diabetes 4 Alcohol dependence/harmful use 3 32 5.8 4.6 1 91 Depression 5 Liver and bile duct cancer 2 80 4.9 3.4 1 42 Ischaemic heart disease 6 COPD 1 87 3.3 3.0 1 25 Traffic accidents 7 Ischaemic heart disease 1 84 3.2 3.0 1 24 Liver and bile duct cancer 8 Diabetes 1 75 3.1 2.8 1 18 Osteoarthritis 9 Cirrhosis 1 44 2.5 2.7 1 15 COPD 10 Depression 1 37 2.4 2.6 1 11 Cataracts
  • 13. โรคที่มีเหตุเสียชีวิตจาก แอลกอฮอล์ 16.6% ตับ แข็ง 29.6% อุบัติเหตุ แบบไม่ ตั้งใจ 0.1% คลอดก่อนกำาหนด และ นำ้าหนักแรกคลอดตำ่า กว่าเกณฑ์ 14.0% โรค หลอดเลือดและ หัวใจ และเบา หวาน 12.0% อุบัติเหตุ แบบตั้งใจ 21.6% มะเร็ง 6.0% กลุ่มโรคประสาท และจิตเวช Global Status Report on Alcohol and Health 2010
  • 14. ภาระโรคและการบาดเจ็บที่ เกี่ยวกับแอลกอฮอล์ 9.6% ตับ แข็ง 26.3% อุบัติเหตุ แบบไม่ ตั้งใจ 0.2% คลอดก่อนกำาหนด 38.8% กลุ่ม โรคประสาท และจิตเวช Global Status Report on Alcohol and Health 2010 และ นำ้าหนักแรกคลอดตำ่า กว่าเกณฑ์ 8.1% 10.8% มะเร็ง อุบัติเหตุ แบบตั้งใจ 6.2% โรค หลอดเลือด และหัวใจ และเบา หวาน
  • 15. ปัญหาการดื่มสุราในสถาน บริการสุขภาพ Review prevalence of alcohol use disorders in general hospital OPD : 20% - DM, HT IPD : Male 30%; Female 8% ER : 29% alcohol related problems Trauma: > 50% alcohol intoxication ส่วนใหญ่ไม่ได้รับการประเมินหรือตรวจ วินิจฉัยในปัญหาการดื่มสุราและขาด การส่งต่อเพื่อรับการรักษาอย่างเหมาะ สม
  • 16. สถานการณ์การปัญหาการดื่มสุรา และการเข้าถึงบริการ ข้อมูลระบาด วิทยาของกรม สุขภาพจิต ปี 2551 รายงานข้อมูล 8 โรค ปี 2551 1.2 ล้านคน DEPRESSION 1.5 แสนคน 12.5 % 9.0 แสนคน ANXIETY DISORDERS 3.4 แสนคน 37.7 % 5.3 ล้านคน 1.2 แสนคน ALCOHOL USE DISORDERS 2.3% (สารเสพติด)
  • 18. มาตรกา รคัด กรอง ปัญหา การดื่ม สุราและ การ บำาบัด แบบสั้น มาตรการ บำาบัด รักษา ภาวะ ถอนพิษ มสาุรตา รการ บำาบัด รักษาและ ฟื้นฟู สภาพ มาตรกา รดูแล ระยะ ยาวหลัง การ รักษา
  • 19. 1 2 3 4 มาตรการที่ 1 การจัดการ ระยะแรก มาตรการที่ 2 การบำาบัดภาวะ ถอนพิษสุรา มาตรการที่ 4 การดูแลระยะยาว หลังการรักษา มาตรการที่ 3 การบำาบัดรักษาและ ฟื้นฟูสภาพ การคัดกรอง ปัญหาการดื่ม สุรา การให้คำา แนะนำาหรือ การบำาบัดแบบ สั้น การประเมิน ความเสี่ยงการ เกิดภาวะ ถอนพิษสุรา การเฝ้าระวัง ความเสี่ยงการ เกิดภาวะ ถอนพิษสุรา การรักษาภาวะ ถอนพิษสุรา การ ประเมิน/รักษา ภาวะโรค ร่วม/แทรกซ้อน การบทำาาบงักดาแยบ บสั้น หลังผ่านการ รักษาภาวะ ถอนพิษสุรา การประเมิน ปัญหาการดื่ม สุราอย่าง ครอบคลุม การรักษาด้วย จิตสังคมบำาบัด การรักษาด้วย ยา การช่วยเหลือ ด้านครอบครัว กลุ่มเพื่อนช่วย เหลือกันเองเพื่อ ป้องกันการกลับ ดื่มกซารำ้าบำาบัดสุรา โดยองค์กร ศาสนา (วิถีพุทธ) การแก้ไขปัญหา สุราโดยการมี ส่วนร่วมของ ชุมชน กลุ่มผู้ติดสุรา นิรนาม (Alcoholic Anonymous) การบำาบัดเชิงรุก ในชุมชน (PACT MODEL)
  • 21. มาตรการที่ 1 มาตรการคัดกรองปัญหาการดื่มสุรา และบำาบัดแบบสนั้ (ALCOHOL SCREENING AND BRIEFมาIตNรกTา ERVENTION) รคัด กรอง ปัญหา การดื่ม สุราและ การ บำาบัด แบบสั้น มาตรการ บำาบัด รักษา ภาวะ ถอนพิษ สุรา มาตรกา รดูแล ระยะ ยาวหลัง การ รักษา มาตรการ บำาบัด รักษาและ ฟื้นฟู สภาพ
  • 22. กลุ่มเป้าหมาย ผู้ให้บริการ และ กิจกรรมบริการ กลุ่มเป้าหมาย ผู้ทมีี่ความเสยี่งสูงต่อปัญหาการดมื่สุรา เช่น ผู้ป่วย อุบัติเหตุ ผู้ป่วยโรคทางกายทสีั่มพันธ์กับปัญหาการ ดื่มสุรา เช่น ผู้ป่วยตับแข็ง กระเพาะอักเสบ ผู้ป่วยจิตเวช/ยาเสพติด ผู้ป่วยโรคเรื้อรัง หญิงตั้ง ครรภ์หรือให้นมบุตร และผู้สูงอายุ ผู้ให้บริการ บุคลากรสุขภาพทุกระดับ อาสาสมัครสาธารณสุข แกนนำาชุมชน นักเรียน นักศึกษา ทผี่่านการอบรม กิจกรรม กิจกรรมที่ 1 การคัดกรองปัญหาการดื่มสุรา (Alcohol screening) กิจกรรมที่ 2 การให้คำาแนะนำา/ปรึกษาเบื้องต้น (Brief Intervention)
  • 23. ลลักักษณณะะพฤตติกิกรรมกกาารดมื่ ของคนไไททย ที่มา: สถานภาพการบริโภคสุรา พ.ศ. 2550, คณะกรรมการบริหารเครือ ข่ายวิชาการสารเสพติด The Drinkers’ pyramid
  • 24. ความหมายของดื่ม มาตรฐาน (STANDARD DRINK) 1 drink= alcohol เหล้าแดง (35%) : ว1ิส0กี้ g r2a ฝmาใหญ่ (30cc) = แบ1 DRINK 1 น = 350 1 ขวด = cc 700 cc ¼ แบน: 3 ¼ ขวด: 6 DRINKS DRINKS ½ แบน: 6 ½ ขวด: DRINKS 12DRINKS เหล้าขาว (40%) 1 เป๊ก/ตอง/ก๊ ง: 50 cc =1.5 DRINK
  • 25. ความหมายของดื่ม มาตรฐาน (STANDARD DRINK) 1 drink= alcohol 10 gram เบียร์ (3.5 %) 1 กระป๋อง/ขวดเล็ก เช่น สิงห์ไลท์= 1 DRINK เบียร์ (5%) 3/4 กระป๋อง/ขวด เล็ก = 1 DRINK เช่น สิงห์ เฮเนเกน ลี เบียร์ 5% 1 ขวดใหญ่: 2.5 DRINKS โอ เชียร์ ไทเกอร์ ช้างดราฟ เบียร์ (6.4%) เช่น ช้าง 1/2 กระป๋อง หรือ 1/3 ขวดใหญ่= 1 DRINK
  • 26. ความหมายของดื่ม มาตรฐาน (STANDARD DRINK) 1 drink= alcohol 10 gram ไวน์ธรรมดา (alcohol 12%) 1 แก้ว (100 cc) = 1 DRINK ไวน์คูเลอร์ (alcohol 4%) 1 ขวด (330 cc) = 1 DRINK
  • 27. ความหมายของดื่ม มาตรฐาน (STANDARD DRINK) 1 drink= alcohol 10 gram นำ้าขาว อุ กระแช่ (alcohol 10%) 3 เป๊ก/ตอง/ก๊ง (50 cc) = 1 DRINK สาโท สุราแช่ สุราพนื้เมือง (alcohol 6%) 4 เป๊ก/ตอง/ก๊ง (50 cc) = 1 DRINK เหล้าปั่น (เหล้าผสมนำ้าหวานกลิ่นผล ไม้ใส่นำ้าแข็ง) มีสุรา (alcohol 40%) 3 shot (45 cc) = 1.5 DRINK
  • 28. 11.. กกาารดดื่มื่มแแบบบมมีคีคววาามเเสสยี่งตตำ่าำ่า:: LLooww RRiisskk DDrriinnkkiinngg ไม่ดื่มสุรามากกว่า 2 ดื่มมาตรฐาน ต่อวัน เหล้า 35%: 60 cc (4 ฝา) ไวน์ 12%: 2 แก้ว เบียร์ 5%: 1.5 กระป๋อง ไม่ดื่มมากกว่า 5 วันต่อสัปดาห์ หรือ ใน 1 สัปดาห์ต้องมีวันที่ไม่ดื่มเลยอย่างน้อย 2 วัน แม้ว่าปริมาณสุราเพียงเล็กน้อยก็สามารถสร้าง ความเสี่ยงที่อาจเกิดขึ้นในบางสถานการณ์ได้
  • 29. 22.. กกาารดดื่มื่มแแบบบเเสสี่ยี่ยง:: HHaazzaarrddoouuss//RRiisskkyy DDrriinnkkiinngg ปริมาณต่อวัน: ชาย > 5 DRINKS; หญิง > 4 DRINKS ไวน์ (12%) ¾ เหล้า (35%) ครึ่งแบน ขวด เบียร์ (5%) 4 กระป๋อง หรือ 4 ขวดเล็ก หรือ 2 ขวดใหญ่
  • 30. 22.. กกาารดดื่มื่มแแบบบเเสสี่ยี่ยง:: HHaazzaarrddoouuss//RRiisskkyy DDrriinnkkiinngg เพิ่มความเสี่ยงที่จะเกิดผลเสีย ในด้านสุขภาพกาย สุขภาพจิต และ สังคม ทั้งต่อตัวเองหรือต่อผู้อื่น แม้ว่าตัวผดูื้่มจะยังไม่ป่วยด้วยโรคใด ๆ
  • 31. 3. การดื่มแบบอันตราย : Harmful Drinking หมายถึงการดื่มแอลกอฮอล์จนได้รับผลเสีย ตามมา ◦ ผลเสียต่อสุขภาพทั้งสุขภาพกายและ สุขภาพจิต ◦ ผลเสียทางสังคม : การทำางาน สัมพันธภาพกับคนอื่น ผู้ดื่มในกลุ่มนี้ เคยประสบปัญหาทางร่างกายและจิตใจ เนื่องจากการดื่มสุราเกินเกณฑ์มาตรฐาน เป็นประจำามาแล้ว และ/หรือ ได้รับบาดเจ็บ เกิดความรุนแรง มีปัญหา ทางกฎหมาย บกพร่องในสมรรถภาพการ
  • 32. 33.. HHaarrmmffuull DDrriinnkkiinngg//AAllccoohhooll AAbbuussee ((DDSSMM--IIVV)) ในช่วง 12 เดือนที่ผ่านมา ผู้ป่วยดื่มสุราซ้ำ้า ๆ จน ทำาให้เกิดปัญหาเหล่านี้หรือไม่ ความล้มเหลวในบทบาทหน้าที่ (ทบี่้าน ทำางาน โรงเรียน) Role Failure ความเสยี่งต่อการบาดเจ็บ อันตราย (เมาแล้วขับ ทำางานกับ เครื่องจักร) Risk of Body Harm มีปัญหาทางกฎหมาย (ถูกจับกุม ทำาผิดกฎหมาย) Run-in with the Law ถ้าตอบว่า ใช่ ตั้งแต่ 1 ข้อขึ้นไป ถือว่ามีปัญหา มีปัญหาสัมพันธภาพ (ครอบครัว เพื่อน) Relationship trouble ALCOHOL ABUSE
  • 33. 4. การติดสุรา : Alcohol Dependence ลักษณะทสี่ำาคัญอย่างน้อยสามในเจ็ดอย่างต่อไปนี้ 1. TOLERANCE : ต้องเพิ่มปริมาณการดื่มมากขึ้นจึง จะได้ฤทธเิ์ท่าเดิม 2. WITHDRAWAL: มีอาการทางร่างกายเมื่อไม่ได้ ดื่ม 3. IMPAIRED CONTROL: ควบคุมการดื่มไม่ได้ 4. CUT DOWN: มีความต้องการอยู่เสมอที่จะเลิกดื่ม หรือ พยายามหลายครั้งแล้ว แต่ไม่สำาเร็จ 5. TIME SPENT DRINKING: หมกมุ่นกับกับการดื่ม หรือการหาสุรามาสำาหรับดื่ม 6. NEGLECT OF ACTIVITY: มีความบกพร่องใน หน้าทที่างสังคม
  • 35. ALCOHOL-RELATED DISORDERS ฤติกรรมการดื่ผิดปกติ พฤติกรรมการดื่มที่ผิดปกติ Alcohol Use Use Disorders ความผิดปกติทางพฤติกรรม/จิตใจที่เกิดจาก วามผิปกติทาฤติกรรม/จิตที่เกิดจาก สุรา สุรา Alcohol-Alcohol-Induced Induced Disorders Disorders โรคทางกายที่สัมพันธ์กับสุรา Alcohol related physical illness โรคทางกายที่สัมพันธ์กับสุรา Alcohol related physical illness
  • 36. 1. ALCOHOL USE DISORDERS F10.1 Alcohol Abuse/ Harmful use F10.2 Alcohol Dependence
  • 37. 2. ALCOHOL-INDUCED DISORDERS F10.0 Alcohol intoxication* F10.3 Alcohol withdrawal F10.4 Alcohol withdrawal delirium F10.5 Alcohol- induced psychotic disorder F10.6 Alcohol-induced persisting amnestic disorder F10.7 3 Alcohol-induced persisting dementia F10.8 Alcohol-induced mood disorder/anxiety disorder/ sexual dysfunction/sleep disorder
  • 38. 3. โรคทางกายที่สัมพันธ์กับการดื่ม สุรา E24.4 Alcohol-induced pseudo-Cushing's syndrome G31.2 Degeneration of nervous system due to alcohol G40.5 Epileptic seizures related to alcohol K29.2 Alcoholic gastritis K70.3 Alcoholic cirrhosis of liver K70.4 Alcoholic hepatic failure K85.2 Alcohol-induced acute pancreatitis K86.0 Alcohol-induced chronic pancreatitis Q86.0 Fetal alcohol syndrome T51 Toxic effect of alcohol
  • 39. กลุ่มเป้าหมายที่ควรได้รับการคัดกรอง ปัญหาการดื่มสุรา ผู้ป่วยทุกคนที่อายุ 15 ปีขึ้นไปที่เข้ารับบริการ สุขภาพที่หน่วยบริการสุขภาพ โดยเฉพาะกลุ่มเสี่ยง ได้แก่ –ผู้ป่วยอุบัติเหตุ –ผู้ป่วยวัยรุ่นชาย –ผู้ป่วยโรคทางกายที่สัมพันธ์กับปัญหาการดื่ม สุรา –ผู้ป่วยจิตเวช/ยาเสพติด –ผู้ป่วยโรคเรื้อรัง –หญิงตั้งครรภ์หรือให้นมบุตร –ผู้สูงอายุ
  • 40. วิธีการคัดกรองปัญหาการดื่มสุรา o การคัดกรองโดยใช้แบบรายงานตนเอง (self-report techniques) หรือ แบบสอบถาม(Screening questionnaires) o เครื่องมือคัดกรองทางชีวภาพ (Biological screening tests)  การหาระดับแอลกอฮอล์ในเลือด (BAC) การ ตรวจระดับแอลกอฮอล์ในลมหายใจหรือ นำ้าลาย  การตรวจระดับ gammaglutamyl transferase (GGT) และ mean corpuscular volume (MCV)
  • 42. เครื่องมือคัดกรองปัญหาการดื่มสุรา : แบบสอบถาม “ในช่วงนี้ (3 เดือนที่ผ่านมา) คณุดื่มเครื่อง ดื่มที่มีสว่นผสมของแอลกอฮอล์ (สรุา) หรือ ไม่” “ในช่วง 3 เดือนที่ผ่านมา คุณเคยมคีรั้ง หนึ่งครั้งใดที่ดื่มสุรามากกว่า 5 ดื่ม มาตรฐาน (เหล้าครึ่งแบน/เบยีร์ 4 กระปอ๋ง หรือ 2 ขวดใหญ่) หรือไม่” • ตัวอย่างแบบคัดกรองปัญหาการดื่มสุราที่ ใช้อย่างแพร่หลาย เช่น Quantity- Frequency Questions, CAGE, AUDIT, T-ACE, TWEAK
  • 43. เครื่องมมือือคคัดัดกรองปปัญัญหหาากกาารดดื่มื่ม สสุรุราา :: Quantity-frequency questionnaire ความถี่: “โดยทั่วไป คุณดื่มสุรากี่วันต่อสัปดาห์” ปริมาณ : “ในแต่ละวันที่คุณดื่ม คุณดื่มมาก เท่าไร” คำาตอบ positive: ผชู้ายดื่ม > 14 drink ต่อ สัปดาห์ ผหู้ญิงดื่ม > 7 drinks ต่อ ปริมาณมากที่สุด : “ในเดือนที่แล้ว ในวันที่คุณดื่มมากที่สุด คุณดื่ม มากเท่าไร ” สัปดาห์ คำาตอบ positive: ” : ผชู้ายดื่ม > 4 drink ต่อ วัน ผหู้ญิงดื่ม > 3 drinks ต่อวัน
  • 44. เครื่องมือคัดกรองปัญหาการดื่ม สุรา : CAGE C CUT DOWN คุณเคยคิดที่จะลดปริมาณการ ดื่มของคุณลง หรือไม่ A ANNOYED เคยมีใครทำาให้คุณรำาคาญโดย ตำาหนิคุณเรื่องการดื่ม สุราหรือไม่ G GUILTY คุณเคยรู้สึกไม่ดีหรือรู้สึกผิด เพราะว่า คุณดื่มสุราหรือไม่ E EYE-OPENER คุณเคยต้องดื่มสุราเป็นสิ่งแรก ในตอนเช้าทันทีที่คุณตื่นนอน เพื่อแก้อาการเมาค้าง หรือเพื่อให้สามารถทำาอะไรต่อไปได้หรือไม่
  • 45. เครื่องมือคัดกรองปัญหาการดื่มสุรา : CAGE ใน 1 ปีที่ผ่านมา ถ้าตอบ “ใช่” ตั้งแต่ 2 ข้อขึ้นไป ผู้ป่วยอาจจะมี ภาวะติดสุรา (Alcohol dependence) “ไม่” ทุกข้อ ผู้ป่วยอาจจะยังมี ความเสี่ยง เพราะดื่มมาก Sensitivity 43-94% ; Specificity 85-95%
  • 46. เเคครรื่อื่องมอืคคัดัดกรองปปัญัญหหาากกาารดดื่มื่ม สสุรุราา :: AAUUDDIITT • พัฒนาโดย WHO เพื่อเป็นเครื่องมือแบบง่าย ใช้ คัดกรองผู้ที่ดื่มมากเกินไปและสามารถให้การ ช่วยเหลือได้ • Cross-national standardization • สามารถใช้ได้ใน primary care setting • สามารถใช้แบบ self-rating หรือใช้โดยคน ทั่วไปได้ เน้นการดื่มในปัจจุบัน • สามารถแยกกลุ่มผู้ดื่มแบบมีความเสี่ยง ดื่มแบบมี ปัญหา และดื่มแบบติดได้ มีข้อแนะนำาถึง แนวทางการช่วยเหลือสำาหรับแต่ละกลุ่มผู้ดื่ม • ใช้ง่าย สั้น ยืดหยุ่นได้
  • 47.
  • 48. เครื่องมือคัดกรองทางชีวภาพ • การตรวจระดับแอลกอฮอล์ในร่างกาย – การตรวจระดับของแอลกอฮอล์ในเลือด (Blood alcohol concentration, BAC) – การตรวจระดับแอลกอฮอล์ในลมหายใจ • การตรวจภาวะดื่มเกินระดับหรือการดื่มแบบ อันตราย –Gamma glutamyl tranferase (GGT) serum GGT –Mean corpuscular volume (MCV) • การตรวจทางชีวภาพที่บอกถึงโรคตับที่เกิดจาก การดื่มสุรา – serum GGT, AST, ALT
  • 49. Risk Zon e AUDIT ระดับความรุนแรง (Risk Level) การให้ความช่วยเหลือ (Intervention) 1 0 - 7 ดื่มแบบเสี่ยงตำ่า / ไม่ ดื่ม (Low Risk/Abstinence) การให้ความรู้เรื่องการดื่ม สุรา (Alcohol education) 2 8 - 15 ดื่มแบบเสี่ยง (Hazardous Drinker) การให้คำาแนะนำาแบบสั้น (Brief Advice) 3 16-19 ดื่มแบบอันตราย (Harmful Drinker) การให้คำาแนะนำาแบบสั้น (BA) และการให้คำาปรึกษา แบบสั้น (Brief Counseling) 4 20-40 สงสัยภาวะติดสุรา (Alcohol Dependence) ส่งไปพบแพทย์ เพื่อการวินิจฉัยและรักษา
  • 50. มาตรการที่ 2 มาตรการบำาบัดรักษาภาวะถอนพิษสุรา (ALCOHOL DETOXIFICATION) มาตรกา รคัด กรอง ปัญหา การดื่ม สุราและ การ บำาบัด แบบสั้น มาตรการ บำาบัด รักษา ภาวะ ถอนพิษ สุรา มาตรการ บำาบัด รักษาและ ฟื้นฟู สภาพ มาตรกา รดูแล ระยะ ยาวหลัง การ รักษา
  • 51. กิจกรรมบริการ กิจกรรมที่ 2.1 การประเมินความเสี่ยงการเกิด ภาวะถอนพิษสุรา กิจกรรมที่ 2.2 การเฝ้าระวังความเสี่ยงการเกิด ภาวะถอนพิษสุรา กิจกรรมที่ 2.3 การรักษาภาวะถอนพิษสุรา หน่วยบริการเฉพาะทาง กิจกรรมที่ 2.4 การประเมินและรักษาภาวะโรคร่วม และภาวะแทรกซ้อนทางกาย หน่วยบริการสุขภาพทั่วไป กิจกรรมที่ 2.5 การให้คำาปรึกษาแบบสั้นเพื่อให้ผู้ ป่วยตระหนักถึงปัญหาการดื่มและจูงใจให้รับการ บำาบัดต่อเนื่อง
  • 53. รระะยยะะเเววลลาาใในนกกาารเเกกดิออาากกาารขขาาดสสุรุราา John Saunders 2003 ความรุนแรงของ อาการ อาการ ขาดสุรา เล็กน้อย ถึงปาน กลาง อาการขาดสุรา รุนแรง มีภาวะ แทรกซ้อน จำานวนวันที่ อาการชัก 0 1 2 3 4 5 6 7 8 9ห ย 1ุด0ดื่ม
  • 54. ระดับความรุนแรงของอาการขาด สุรา ระยะที่ 1 : เล็กน้อย เวลาที่เกิดหลังดื่มครั้งสุดท้าย: 6-36 ชั่วโมง อาการ: – มือสั่น วิตกกังวลเล็กน้อย หงุดหงิด ปวดมึน ศีรษะ – เหงื่อออก ใจสั่น ความดันโลหิตสูงขึ้นเล็ก น้อย – เบื่ออาหาร คลื่นไส้ –ผะอืดผะอม อาเจียน –นอนไม่หลับ –ตรวจสภาพจิตปกติ
  • 55. ระยะที่ 1 : เล็กน้อย รูปแบบการรักษา ยาสงบอาการขาด สุรา ดูแลแบบผู้ป่วยนอก เน้นการประเมินภาวะ โรคทางกายที่พบร่วม และให้การรักษาแบบ ประคับประคอง ให้ Brief intervention อาจไม่จำาเป็นต้องให้ยา หรืออาจให้รับประทาน เฉพาะเวลามีอาการ ได้แก่  diazepam 5 mg หรือ  lorazepam 1 mg หรือ  Chordiazepoxide10
  • 56. ระยะที่ 2 : ปานกลางถึง รุนแรง เวลาที่เกิดหลังดื่มครั้งสุดท้าย: 24-72 ชั่วโมง อาการ: –กระวนกระวาย กระสับกระส่ายมากขึ้น ผุดลุก ผุดนั่ง – มือสั่น เหงื่อออกมาก ตัวสั่น – ไม่อยากอาหาร คลื่นไส้ อาเจียน ท้องเสีย –PR >120 ครั้ง/นาที BP สูงมาก –ตรวจสภาพจิต มีอาการสับสน หงุดหงิดง่าย วิตกกังวล
  • 57. ระยะที่ 2 : ปานกลางถึง รูปแบบการรักษา ยาสงบอาการขาด สุรา ควรดูแลแบบผู้ป่วยใน เน้นการประเมินอาการขาด สุราและภาวะแทรกซ้อน ให้ยาสงบอาการขาดสุรา ได้ทั้งวิธี fixed dose หรือ symptom trigger ให้คำาแนะนำาปรึกษาเพื่อ จูงใจให้ผู้ป่วยปรับเปลี่ยน พฤติกรรมและนัดติดตาม ผล  diazepam 10 mg หรือ  lorazepam 2 mg หรือ  chordiazepoxide 25 mg ทุก 6 ชั่วโมง ใน 2 วันแรกแล้วค่อย ลดลงในวันที่ 4-7 แล้วหยุดใช้ รุนแรง
  • 58. ระยะที่ 3 : รุนแรงเพ้อคลั่ง มีอาการเพ้อคลั่งสับสน (delirium tremens) เกิดหลัง ดื่มครั้งสุดท้าย: 48-96 ชั่วโมง อาการ: – กระสับกระส่าย, เหงื่อออกมาก – อยู่ไม่นิ่ง เดินไปมา ไม่มีสมาธิ – ไข้สูง ชีพจรเร็ว มือสั่น ตัวสั่นมาก – สับสน ไม่รู้วัน เวลา สถานที่ – เห็นภาพหลอน หูแว่ว – หลงผิดหวาดระแวงกลัว
  • 59. ALCOHOL WITHDRAWAL DELIRIUM /DTs อาการมักเริ่มเกิดภายใน 2-3 วันหลังหยุดดื่มสุรา หรือดื่มน้อยลง อาการมักรุนแรงที่สุดในวันที่ 4-5 ส่วนใหญ่อาการมักดีขึ้นภายใน 10 วัน ในบางรายอาจมีอาการนานถึง 4-5 สัปดาห์ ผู้ป่วย DTs มักจะดูแลยาก ไม่อยู่นิ่ง อาจต้องใช้ การผูกมัดและต้องดูแลใกล้ชิด จากภาวะ hyperactive ทำาให้เกิด dehydration, cardiac arrhythmia และภาวะแทรกซ้อนอื่นตาม มา อาจมีพฤติกรรมก้าวร้าว หรือพยายามฆ่าตัวตาย โดยไม่ได้คาดคิดมาก่อน หรืออาจทำาไปเพราะมี อาการประสาทหลอน หรือหลงผิด John Saunders 2003
  • 60. ระยะที่ 3 : รุนแรงเพ้อคลั่ง รูปแบบการรักษา ยาสงบอาการขาดสุรา ดูแลแบบผู้ป่วยใน เน้นการเฝ้าระวัง อันตรายที่อาจเกิดขึ้น จากการเพ้อคลั่ง ป้องกันภาวะ แทรกซ้อนทางกาย ภาวะโรคร่วมอื่นๆ ให้ยาสงบอาการด้วย ยาระดับสูง diazepam 10-20 mg IV ทุก 15-20 นาทีจนกว่าจะสงบ สามารถให้ยาได้ถึง 500 mg หรือต้องคง ยาระดับสูงของ diazepam 2 gm ต่อ วัน ในระยะ 2-3 วัน แรก
  • 61. อาการชักจากการขาดสุรา เวลาที่เกิดหลังดื่มครั้งสุดท้าย: 6-48 ชั่วโมง อาการ: – เกร็งกระตุกทั่วร่างกาย หมดสติ มักมี อาการชักครั้งเดียว – แต่สามารถเกิดเป็นชุดชัก 2-3 ครั้งห่างกัน 5 นาที – อาการชักแบบต่อเนื่อง พบได้น้อยมาก หากพบควรต้องตรวจหาสาเหตุอื่นด้วย
  • 62. ภาวะชักจากการถอนพิษสุรา ALCOHOL WITHDRAWAL SEIZURES หรือ RUM FITS พบได้ประมาณ 3-10% ของ alcohol withdrawal มีอาการชักแบบ tonic-clonic (grand mal) no focal features 95% พบได้ภายใน 48 ชม. หลังหยุดดื่ม อาจชักซำ้าในเวลา 12-24ชม.หลังจากชักครั้ง แรก หาสาเหตุอื่น ๆ ของการชัก เช่น Head injuries, CNS infection, CNS neoplasm, other cerebrovascular diseases และ Metabolic disturbance เช่น hypoglycemia
  • 63. อาการชักจากการขาดสุรา รูปแบบการรักษา ยาสงบอาการขาดสุรา เน้นการประเมินการชัก ว่ามีสาเหตุจากโรคอื่น หรือไม่ อาจไม่จำาเป็นต้องให้ยา กันชักหากคุมอาการ ขาดสุราได้ดี หากพิจารณาให้ยากัน ชักควรเลือกยาที่ สามารถสงบอาการขาด สุราและกันชักได้ หลังผ่านระยะถอนพิษ ไม่มีความจำาเป็นต้องให้ ให้ยากลุ่ม BZD ให้ เพียงพอ sodium valproate loading 20 mg/kg/d แบ่งเป็น 2 ครั้งห่างกัน 6-8 ชั่วโมง หลังจาก นนั้ ให้วันละ 2 ครั้ง เป็นเวลา 4 วัน หรือ carbamazepine วัน แรกให้ 600-800 mg หลังจากนั้นลดลงจน เหลือ 200 mg ในวันที่
  • 64. อาการประสาทหลอนจากการ ขาดสุรา เวลาที่เกิดหลังดื่มครั้งสุดท้าย: 12-48 ชั่วโมง อาการ: • ผู้ป่วยทราบว่าอาการประสาทหลอนนั้นเป็น ผลจากสุราและไม่ใช่ความจริง
  • 65. อาการประสาทหลอนจากการ ขาดสุรา รูปแบบการรักษา ยาสงบอาการขาดสุรา เน้นการประเมินภาวะ โรคร่วมทางจิตเวช ให้ยาสงบอาการขาด สุรา หากจำาเป็น ให้ยารักษา โรคจิตเสริม ให้คำาแนะนำาปรึกษาเพื่อ จูงใจให้ผู้ป่วยปรับ เปลี่ยนพฤติกรรมและนัด ติดตามผล diazepam ในกรณีที่มีอาการ ประสานหลอน รุนแรง อาจให้ haloperidol 5-10 mg ต่อวันในระยะ สั้น
  • 66.
  • 67. กลุ่มเป้าหมาย ควรประเมินความเสี่ยงการเกิดอาการขาดสุราใน ผู้มีคะแนน AUDIT > 20 หรือ ผู้ป่วยอุบัติเหตุ มีภาวะฉุกเฉินทางกาย หรือผู้ ป่วยทั่วไปที่รับการรักษาแบบผู้ป่วยในและมี ประวัติการดื่มสุราในช่วง 3 เดือนที่ผ่านมา หรือ ผู้ติดสุรา
  • 68. ปัจจัยเสี่ยงการเกิดอาการขาดสุรา รุนแรง ผู้ดื่มสุราที่ มีอายุมากกว่า 30 ปี ประวัติดื่มสุราต่อเนื่องปริมาณมากในแต่ละครั้ง (>150 กรัมต่อวัน) หรือ ดื่มมากกว่า 10 แก้วดื่มมาตรฐานต่อวัน คิดเป็นปริมาณเหล้าขาวมากกว่า ½ ขวดต่อวัน ดื่มมานานหลายปี (มากกว่า 5 ปี) เคยมีอาการขาดสุรารุนแรงแบบเพ้อคลั่งสับสน (Delirium Tremens) เคยมีอาการชักจากขาดสุรามาก่อน
  • 69. ปัจจัยเสี่ยงการเกิดอาการขาดสุรา รุนแรง ผู้ดื่มสุราที่ มีอาการขาดสุรา ขณะที่ระดับแอลกอฮอล์ในเลือดยังสูง ดื่มครั้งสุดท้ายภายใน 3 วัน มีปัญหาโรคทางกายหรือได้รับบาดเจ็บร่วมด้วย ไม่มีภาวะเมาสุราทั้งที่มีระดับแอลกอฮอล์ในเลือดสูง มีการใช้ยาเสพติดอื่น ๆ รวมถึงยากล่อมประสาทหรือยา นอนหลับอย่างต่อเนื่อง ชีพจรสูงเกิน 100 ครั้งต่อนาที หากผู้ป่วยมีข้อใดข้อหนึ่งของปัจจัยเสี่ยง ให้เฝ้าระวัง
  • 70. กกาารปรระะเเมมินินออาากกาารขขาาดสสุรุราา ประเมินระดับความรุนแรงของอาการโดยใช้ แบบประเมิน ตัวอย่างแบบประเมินความรุนแรงอาการขาด สุราที่ใช้บ่อย แบบประเมิน Alcohol Withdrawal Scale (AWS) แบบประเมิน Clinical Institute Withdrawal Assessment for Alcohol-Revised Version (CIWA-Ar) ควรจะประเมิน baseline และประเมินอย่างต่อ เนื่องโดยเฉพาะการรักษาแบบผู้ป่วยใน ผู้ป่วยควรได้รับการประเมินความเสี่ยงและความรุนแรงของอาการ ขาดสุราตั้งแต่แรกเริ่มมีอาการ และให้การรักษาอย่างเหมาะสมทัน ท่วงที จึงจะสามารถป้องกันการเกิดภาวะถอนพิษสุรารุนแรงได้” John Saunders 2003
  • 71. AAWWSS vvss CCIIWWAA--AArr sscoorree ความ รุนแรง AWS SCOR E CIWA-Ar SCOR E การให้ยา Mild 1-4 1-7 อาจไม่จำาเป็นต้องใช้ยา Moderate 5-9 8-14 การรักษาด้วยยาช่วยลด โอกาสอาการถอนพิษที่ รุนแรง Severe 10-14 15-19 ต้องได้รับการรักษาด้วยยา และติดตามอาการอย่าง ใกล้ชิด Very ≥15 ≥ 20 ต้องให้การรักษาด้วยยา
  • 72. หลลักักกกาารรรักักษษาาภภาาววะะถอนพพิษิษสสุรุราา ภาวะถอนพิษสุราสามารถป้องกันไม่ให้เกิด หรือ ถ้าเริ่มมีอาการก็สามารถควบคุมอาการให้ดีขึ้นโดย เร็ว หลักการรักษาภาวะถอนพิษสุราประกอบด้วย 4S’ ได้แก่ 1) SSeeddaattiioonn – การให้ยาเบนโซไดอะซีปีน (เช่น diazepam) เพื่อสงบ อาการขาดสุรา 2) SSyymmppttoommaattiicc RReelliieeff – การรักษาตามอาการ 3) SSuupppplleemmeenntt – การให้สารนำ้า อาหาร วิตามิน เสริม 4) SSuuppppoorrttiivvee eennvviirroonnmmeenntt – การจัดสภาพ
  • 73. ววิธิธกีกีาารใใหห้ย้ยาารกัษษาาภภาาววะะถอนพพิิษ สสุรุราา มี 4 รูปแบบ คือ 1. Fix e d s che dule re g im e n (FS) เป็นการให้ยา ตามเวลาที่กำาหนดแม้ว่าจะไม่มีอาการขาดสุรา ก็ตาม และให้ยาเติมอีกได้เวลาจำาเป็นกรณีทีอาการ ขาดสุรารุนแรงมากขึ้น 2. Lo a d ing d o s e re g im e n (LD) เป็นการให้ขนาด สูงมากพอที่จะลดอาการขาดสุราได้ทันที และ ป้องกันภาวะแทรกซ้อนจากอาการขาดสุรารุนแรง 3. Sym p to m -trig g e re d re g im e n (ST) เป็นวิธีการ ให้ยาเฉพาะเมื่อมีอาการขาดสุราให้เห็นชัดเจน ใช้ เวลาสั้นและขนาดยาตำ่ากว่า 4. Intra ve no us lo a d ing re g im e n เป็นการให้ยาเพื่อ ควบคุมภาวะถอนพิษสุราให้เร็วที่สุด
  • 74. ยยาาออื่นื่นทที่ชี่ช่ว่วยใในนกกาารสงบออาากกาารขขาาด สสุรุราา Anticonvulsant drugs เหมาะสำาหรับรักษาอาการขาดสุราระดับเล็กน้อยถึง ปานกลาง หรือมีอาการชักร่วมด้วย ลดอาการเหงื่อ ออก ประสาทหลอน นอนไม่หลับ คลื่นไส้ อาเจียนได้ ดี วิธีการใหย้า 1. sodium valproate loading dose ในวันแรก 20 mg/kg/d แบ่งเป็น 2 ครั้งห่างกัน 6-8 ชั่วโมง ให้ต่อ เป็นเวลา 4 วัน 2. Carbamazepine วันแรกให้ 600-800 mg หลัง จากนั้นลดลงจนเหลือ 200 mg ในวันที่ 5
  • 75. ยยาาออื่นื่นทที่ชี่ช่ว่วยใในนกกาารสงบออาากกาารขขาาด สสุรุราา Antiglutaminergic drugs สามารถรักษาอาการขาดสุราระดับปานกลางถึงรุนแรง ภายใน 3 วันเทียบเท่า DZP 30 mg/วัน วิธีการใหย้า 1. topiramate 25 mg รับประทานทุก 6 ชั่วโมง หรือ 100 mg ต่อวันใน 3 วันแรก 2. lamotrigine 25 mg รับประทานทุก 6 ชั่วโมง หรือ 100 mg ต่อวันใน 3 วันแรก 3. Mimantine รับประทาน10 mg ในวันแรก เพิ่ม เป็น 20 mg ในวันที่ 2 และ 30 mg ในวันที่ 3 แบ่งให้ 3 เวลาหลังอาหาร
  • 76. ยยาาออื่นื่นทที่ชี่ช่ว่วยใในนกกาารสงบออาากกาารขขาาด สสุรุราา มีหลักฐานสนับสนุนประสิทธิภาพไม่มาก มักใช้ เป็นยาช่วยเสริมยาหลัก ไม่เหมาะกับอาการ ขาดสุราระดับรุนแรง และยังต้องการข้อมูลวิจัย สนับสนุนอีกเป็นจำานวนมาก 1. ß -Adrenergic receptor antagonists Propanolol 10 – 40 mg กินทุก 6 ชั่วโมง Atenolol 50 – 100 mg/day ให้วันละครั้ง 2. ∞ 2– Adrenergic agonists clonidine 0.1 – 0.2 mg ทุก 8 ชั่วโมง
  • 77. ยยาาออื่นื่นทที่ชี่ช่ว่วยใในนกกาารสงบออาากกาารขขาาด สสุรุราา Antipsychotic drugs ใช้เฉพาะในผู้ป่วยที่มีอาการขาดสุราและมีอาการ โรคจิตรุนแรง เช่น ระแวง ประสาทหลอนอย่างมาก วิธีการให้ยา • haloperidol 2.5-5mg IM • ให้ซ้ำ้าได้ ทุก 6 ชม. (as required) • แล้วจึงปรับเป็น 2.5-5mg ทุก 6 ชม. หลังจากผู้ป่วยดีขึ้น (48 ชม.) ให้ทบทวนความ จำาเป็นที่ต้องใช้ยารักษาโรคจิต
  • 78. ข้อพิจารณาการรักษาแบบ ผู้ป่วยนอก มีอาการถอนพิษสุราที่มีความรุนแรงน้อยถึงปาน กลาง CIWA-Ar < 14 คะแนน หรือ AWS < 9 คะแนน สามารถรับประทานยาได้ มีญาติสนิทหรือคนในครอบครัวช่วยดูแลอย่าง ใกล้ชิดระหว่างถอนพิษสุรา (ประมาณ 3-5 วัน) และสามารถติดตามอาการถอนพิษสุราได้ สามารถมาพบแพทย์ตามนัดได้ ไม่มีภาวะโรJR. คทาV. งAmbulatory จิตเวชและalcohol UpToDate โรคdetoxification. 2008. ทางกายที่ อาการยังไม่คงที่
  • 79. ข้อพิจารณาการรักษาแบบ ผู้ป่วยนอก ไม่มีปัญหาใช้สารเสพติดชนิดอื่นร่วมด้วยจน อาจมีอาการถอนพิษสารเสพติดนั้น เช่น อาการถอนพิษยานอนหลับ ไม่มีประวัติอาการ DTs หรือชัก (rum fits) มา ก่อน อายุน้อยกว่า 60 ปี ไม่มีหลักฐานแสดงถึงอวัยวะภายในถูก ทำาลายจากพิษสุรา เช่น elevated MCV, renal insufficiency, ascites, cirrhosis
  • 80. ข้อพิจารณาการรักษาแบบ ผู้ป่วยใน เริ่มมีอาการหรือคาดว่าจะมีอาการถอนพิษสุรา ระดับปานกลางถึงรุนแรง จากอาการ อาการ แสดง ความรุนแรงในการติด ประวัติอาการ ถอนพิษรุนแรงหรือชัก หรือ CIWA-Ar > 15 คะแนน หรือ AWS > 10 คะแนน มีโรคจิตเวชหรือโรคทางกายอื่นๆ ซึ้่งต้องการ การเฝ้าดูแลอย่างใกล้ชิด เช่น การชัก หรือ ประวัติของการชัก กำาลังตั้งครรภ์หรือให้นมบุตร โรคหัวใจ โรคตับ สงสัยว่ามีการบาดเจ็บที่ศีรษะ ความดันโลหิตสูงที่ควบคุมไม่ได้ มีการติดยาหรือสารเสพติดอื่นร่วมด้วยและมี อาการถอนพิษจาก
  • 81. ข้อพิจารณาการรักษาแบบ ผู้ป่วยใน มีพฤติกรรมก้าวร้าวรุนแรงหรือควบคุมไม่ได้ มีความเสี่ยงในการฆ่าตัวตาย ผู้ป่วยไม่สามารถดูแลหรือช่วยเหลือตนเองได้ เคยรักษาแบบผู้ป่วยนอกแล้วไม่ได้ผล ไม่มีญาติหรือสิ่งแวดล้อมที่ปลอดภัยเพียงพอ สำาหรับการรักษาแบบผู้ป่วยนอก
  • 82. มาตรการที่ 3 มาตรการบำาบัดรักษาและฟนื้ฟูสภาพ (ALCOHOL TREATMENT AND REHมาAตรBกาILITATION) รคัด กรอง ปัญหา การดื่ม สุราและ การ บำาบัด แบบสั้น มาตรการ บำาบัด รักษา ภาวะ ถอนพิษ สุรา มาตรการ บำาบัด รักษาและ ฟื้นฟู สภาพ มาตรกา รดูแล ระยะ ยาวหลัง การ รักษา
  • 83. กิจกรรมบริการ กิจกรรมที่ 3.1 : การประเมินปัญหาการ ดื่มสุราอย่างครอบคลุมและ โรคจิตเวชร่วม กิจกรรมที่ 3.2 : การรักษาด้วยจิตสังคม บำาบัด (Psychosocial treatment) กิจกรรมที่ 3.3 : การรักษาด้วยยา (Pharmacological treatment) กิจกรรมที่ 3.4 : การช่วยเหลือด้าน ครอบครัว
  • 84. การประเมินโรคจิตเวชร่วม  โดยเฉพาะผู้ที่มีประวัติกลับดื่มซ้ำ้าบ่อย ๆ  วิธีการ การสัมภาษณ์ประวัติและตรวจสภาพจิต หรือ การใช้เครื่องมือ Mini-International Neuropsychiatric Interview (M.I.N.I.) โดย อาจเลือกเฉพาะโรคจิตเวชร่วมที่พบบ่อย  ควรประเมินหลังอาการถอนพิษสุราสงบอย่าง น้อย 1 เดือน เพื่อให้แน่ใจว่าอาการที่ตรวจพบ ไม่ได้เกิดจากสุราโดยตรง
  • 85. Comorbidity ooff AAllccoohhooll aanndd PPssyycchhiiaattrriicc PPrroobblleemmss Definition: • ภาวะหรือโรคทางจิตเวชที่ พบร่วมในผู้ที่มีปัญหาจาก การดื่มสุรา (Psychiatric Comorbidity) • “Comorbidity/Co-existing/ Dual-diagnosis” NIAAA 2004
  • 86. รระะบบาาดววิทิทยยาาของภภาาววะะโโรรครร่ว่วม:: EECCAA SSTTUUDDYY Reiger,1990 Alcohol disorder Another mental disorder 37% Anxiety Disorders 19% Antisocial PD 14% Mood Disorders 13% Schizophrenia 4% Antisocial PD Substance abuse 84% Alcohol Disorders 74% Another drug disorder 42% Schizophrenia Alcohol disorder 34% Mood disorder 22% Anxiety disorder 18%
  • 87. สาเหตุที่มีความชุกของ Alcohol Use Disorders พบมากขึ้นในผู้ที่ป่วยทางจิตเวช • ใช้รักษาอาการที่ป่วย (self-medication) • อยู่ในสิ่งแวดล้อมที่มีการใช้สุรา/สารเสพติดมาก • ใช้เพื่อกระตุ้นการเข้าสังคม เข้าร่วมเป็นส่วน หนึ่งของกลุ่ม เพื่อให้เกิดการยอมรับได้มากกว่า การเป็นผู้ป่วย • ใช้เป็นกลไกทางจิตต่อสู้กับการเจ็บป่วย • Alcohol abuse อาจจะเป็นตัวกระตุ้น หรือเป็น สาเหตุที่ ก่อให้เกิดการเจ็บป่วย ทางจิตเวชอื่น Smith and Hucker, 1994
  • 88. กกาารบบำาำาบบัดัดททาางจติสสังังคมใในนผผู้มู้มีปีปัญัญหหาา กกาารดดื่มื่มสสุรุราา จิตสังคมบำาบัดสำาหรับผู้ติดสุราที่มีประสิทธิภาพ ได้แก่  การบำาบัดเพื่อปรับเปลี่ยนความคิดและพฤติกรรม (CBT)  การสัมภาษณ์และการบำาบัดเพื่อเสริมสร้างแรงจูงใจ (MI/MET)  Community Reinforcement and Family Training (CRAFT)  การดูแลรายกรณี (Case management)  กลุ่มช่วยเหลือตนเอง (Self-help group) เช่น กลุ่มผู้ติดสุรานิรนาม (Alcoholics Anonymous
  • 89. ยยาารรักักษษาาภภาาววะะตติดิดสสุรุราา ยาที่รับรองโดย US FDA ในการรักษาโรคติดสุรา มี 3 ชนิด 4 ขนาน 1. Disulfuram 2. Naltrexone ชนิดรับประทาน 3. Naltrexone ฉีดเข้ากล้าม (extended-release injectable naltrexone) 4. Acamprosate
  • 90. DDIISSUULLFFIIRRAAMM หรรืือ AANNTTAABBUUSSEEÒ กลไกการออกฤทธิ์ • เป็น irreversible inhibitors ของ aldehyde dehydrogenase • เอนไซ้ม์ aldehyde dehydrogenase ถูก ยับยั้งทำาให้เกิดภาวะ acetaldehyde คั่งจน เกิAlcohoallcohol ดพิษในร่างกาย (acetaldehyde toxicity) dehydrogenase CO2 + H 2 O acetaldehyde (สารพิษ) aldehyde dehydrogena se acetic acid
  • 91. DISULFIRAM • ข้อบ่งชี้ ขนาดที่ ใช้รักษา 250 mg/d ผู้ติดสุราที่มีเป้าหมายในการหยุดดื่มโดยเด็ด ขาด จำาเป็นต้องได้รับการควบคุมจากภายนอก (need for external aid to abstinence) • ควรแน่ใจว่าผู้ป่วยไม่ได้ดื่มแอลกอฮอล์เป็นเวลา อย่างน้อย 12 – 24 ชั่วโมงก่อนเริ่มใช้ยา • ผลข้างเคียงที่พบบ่อย เช่น ง่วงนอน มึนศีรษะ ซึ้ม lethargy, peripheral neuropathy, hypertension, seizure, hepatotoxicity • ควรระวังในผู้ป่วยที่ได้รับ warfarin หรือ
  • 92. มาตรการที่ 4 มาตรการดูแลระยะยาวหลังการ รักษา (AFTER CARE) มาตรกา รคัด กรอง ปัญหา การดื่ม สุราและ การ บำาบัด แบบสั้น มาตรการ บำาบัด รักษา ภาวะ ถอนพิษ สุรา มาตรการ บำาบัด รักษาและ ฟื้นฟู สภาพ มาตรกา รดูแล ระยะ ยาวหลัง การ รักษา
  • 93. หน่วยบริการสุขภาพและกลุ่มเป้า หน่วยบริการ หน่วยบริการสาธารณสุขในรูปแบบเชิงรุก ทั้ง สถานพยาบาลปฐมภูมิ ฝ่ายสุขภาพจิต/ยาเสพติด และเวชศาสตร์ป้องกันในโรงพยาบาลชุมชน โรง พยาบาลทั่วไป ฝ่ายชุมชนของโรงพยาบาลจิตเวช และศูนย์บำาบัดรักษายาเสพติด หน่วยบริการในชุมชน โดยชุมชน เช่น วัด เครือ ข่ายชุมชน สมาชิกผู้ติดสุราและ/หรือครอบครัว กลุ่มเป้าหมาย ผู้ติดสุราที่ผ่านการบำาบัด ผู้ดื่มแบบอันตรายที่ไม่สามารถ ควบคุมการดื่ม หมาย
  • 94. กิจกรรมบริการ กิจกรรมที่ 4.1: การติดตามเชิงรุกในชุมชน และให้การดูแลรายกรณี กิจกรรมที่ 4.2: กลุ่มช่วยเหลือกันเอง (self help group) กิจกรรมที่ 4.3: การบำาบัดฟื้นฟูในชุมชนโดย ชุมชน (community action)
  • 95. กกิิจกรรมททีี่่ 44..11 กกาารตติดิดตตาามเเชชิงิงรรุกุกใในนชชุมุมชน แแลละะ ใใหห้ก้กาารดดูแูแลลรราายกรณณีี ((PPAACCTT)) ครั้งที่ 1 เป็นการสร้างสัมพันธภาพที่ดีระหว่างบุคลากร สุขภาพผู้เยี่ยมและผู้ป่วยติดสุราให้ความรู้การดำาเนินชีวิต ประจำาวัน การจัดการที่อยู่อาศัย และให้คำาปรึกษา ครั้งที่ 2 ให้ความรู้ ฝึกทักษะการจัดการกับสถานการณ์ (ภาวะวิกฤติ) การจัดการเอกสารในการเข้าถึงบริการ สุขภาพให้แก่ผู้ป่วยติดสุราและญาติ และให้คำาปรึกษา ครั้งที่ 3 ให้ความรู้การรับประทานยา การส่งเสริมสุขภาพ การจัดการการเงิน และให้คำาปรึกษา ครั้งที่ 4 ให้ความรู้ คำาแนะนำา และแนวการสร้างโอกาสใน การทำางาน การจัดการการเงิน และให้คำาปรึกษา ครั้งที่ 5 เยี่ยมติดตามกิจกรรมโดยภาพรวม เสริมสร้าง
  • 96. กกิิจกรรมททีี่่ 44..22 กลลุ่มุ่มชช่ว่วยเเหหลลือือกกัันเเออง ((SSeellff hheellpp ggrroouupp)) • เป็นการรวมกลุ่มกันของบุคคลที่มีปัญหาคล้ายกันมา รวมตัวกันโดยความสมัครใจ • ใช้ประสบการณ์ของปัญหาหรือประสบการณ์แก้ไข ปัญหาที่ผ่านมามาแบ่งปันและช่วยกันแก้ไขปัญหาซึ้่งกัน และกัน • กำาหนดกิจกรรมในการช่วยเหลือสนับสนุนร่วมกัน โดย สมาชิกกลุ่ม เพื่อประโยชน์ร่วมกันระหว่างสมาชิก แนวคิดพื้นฐานของกลุ่มช่วยเหลือกันเองเชื่อว่า บุคคลจะ ได้รับความช่วยเหลือเป็น อย่างดีจากบุคคลที่เคยมี ประสบการณ์มาก่อน สมาชิกกลุ่มจะร่วมแลกเปลี่ยนความ รู้สึก การให้ข้อมูลข่าวสารจากประสบการณ์ตรงและจาก ที่กได้ลุ่มรัช่บ ว(ยแสเหวลืงอหากัน) เอนำางแบมาช่บวปยระเหคัลืบอปสระมาคชิอกง ใน(Supportive การปรับตัว self help group) ต่อปัญหาและแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้น กลุ่มผู้ติดสุรานิรานาม (Alcoholics Anonymous)
  • 97. กกิิจกรรมททีี่่ 44..33 กกาารบบำาำาบบัดัดฟฟื้นื้นฟฟูใูในนชชุมุมชนโโดดย ชชุมุมชน ((ccoommmmuunniittyy aaccttiioonn)) ขั้นตอนหลักประกอบด้วย 1.การศึกษาเรียนรู้ชุมชน ศึกษาข้อมูลพื้นฐานของชุมชน ลักษณะและความรุนแรงของปัญหาในชุมชน กิจกรรมใน ชุมชนเดิมที่มีอยู่ และดำาเนินการการสำารวจชุมชน 2. การพัฒนาศักยภาพแกนนำาชุมชน โดยค้นหาและคัดเลือก แกนนำาทั้งจากโครงสร้างองค์กรชุมชนที่มีอยู่แล้วและกลุ่ม ประชาชนทั่วไป จุดประกายความคิดในการดำาเนินงานให้กับ กลุ่มแกนนำาและส่งเสริมการเรียนรู้ 3. การขับเคลื่อนชุมชน เพื่อให้คนในชุมชนมีความตระหนัก รับผิดชอบและสามารถพัฒนาตนและชุมชนของตนเอง ให้ ชุมชนเกิดกระบวนการเรียนรู้ ร่วมกันวิเคราะห์ปัญหา หา มาตรการแก้ไขปัญหา ร่วมตัดสินใจ ร่วมดำาเนินงาน ร่วมรับ

Editor's Notes

  1. คำถามคัดกรองปริมาณและความถี่ในการดื่มQuantity-frequency questionnaire ผู้ที่ดื่มในระยะนี้ ความถี่: “โดยทั่วไป คุณดื่มสุรากี่วันต่อสัปดาห์” ปริมาณ : “ในแต่ละวันที่คุณดื่ม คุณดื่มมากเท่าไร ” ปริมาณมากที่สุด : “ในเดือนที่แล้ว ในวันที่คุณดื่มมากที่สุด คุณดื่มมากเท่าไร”
  2. CAGE CCUT DOWN คุณเคยคิดที่จะลดปริมาณการดื่ม ของคุณลง หรือไม่ AANNOYED เคยมีใครทำให้คุณรำคาญโดยตำหนิ คุณเรื่องการดื่มสุราหรือไม่ GGUILTY คุณเคยรู้สึกไม่ดีหรือรู้สึกผิดเพราะว่า คุณดื่มสุราหรือไม่ EEYE-OPENER คุณเคยต้องดื่มสุราเป็นสิ่งแรกในตอน เช้าทันทีที่คุณตื่นนอนเพื่อแก้อาการเมาค้าง หรือเพื่อให้สามารถทำอะไรต่อไปได้หรือไม่
  3. ใน 1 ปีที่ผ่านมา ถ้าตอบ “ใช่” 3-4 ข้อ ผู้ป่วยอาจจะเป็น alcohol dependent “ใช่” 1-2 ข้อ ผู้ป่วยอาจจะมี alcohol-related problems “ไม่” ทุกข้อ ผู้ป่วยอาจจะยังมี ความเสี่ยง เพราะดื่มมาก Sensitivity 43-94% ; Specificity 85-95% for detecting alcohol abuse and alcohol dependence
  4. อาการชักจากการขาดสุรา เวลาที่เกิดหลังดื่มครั้งสุดท้าย: 24-72 ชั่วโมง ระดับความรุนแรง : ถือว่าเป็น complicated withdrawal พบร้อยละ 10 ของผู้ที่มีอาการขาดสุรา พบมากในผู้ที่ดื่มมานานหลายปี อาการ: เกร็งกระตุกทั่วร่างกาย หมดสติ มักมีอาการชักครั้งเดียว แต่สามารถเกิดเป็นชุดชัก 2-3 ครั้งห่างกัน 5 นาที อาการชักแบบต่อเนื่อง พบได้น้อยมาก หากพบควรต้องตรวจหาสาเหตุอื่นด้วย
  5. ประเมินความเสี่ยงในการเกิดอาการขาดสุรารุนแรง ประเมินระดับความรุนแรงของอาการโดยใช้แบบประเมินความรุนแรงของอาการถอนพิษเพื่อช่วยในการวางแผนและติดตามการรักษา การประเมินสามารถทำได้โดยแพทย์หรือพยาบาล ควรจะประเมิน baseline และประเมินอย่างต่อเนื่องโดยเฉพาะการรักษาแบบผู้ป่วยใน “ผู้ป่วยควรได้รับการประเมินความเสี่ยงและความรุนแรงของอาการขาดสุราตั้งแต่แรกเริ่มมีอาการ และให้การรักษาอย่างเหมาะสมทันท่วงที จึงจะสามารถป้องกันการเกิดภาวะถอนพิษสุรารุนแรงได้”
  6. เพิ่ม depakine
  7. เพิ่ม depakine
  8. เพิ่ม depakine
  9. Antipsychotic drugs ใช้เฉพาะในผู้ป่วยที่มีอาการถอนพิษรุนแรง เช่น มีอาการ severe hallucination อาจพิจารณาให้ Antipsychotic drugs ในขนาดยาต่ำและเฝ้าระวังผลข้างเคียงของยา haloperidol 2.5-5mg IM ให้ซ้ำได้ ทุก 6 ชม. (as required) แล้วจึงปรับเป็น 2.5-5mg ทุก 6 ชม. หลังจากผู้ป่วยดีขึ้น (48 ชม) ให้ทบทวนความจำเป็นที่ต้องใช้ยารักษาโรคจิต