SlideShare a Scribd company logo
อบรมเชิงปฏิบัติการแกนนานิสิตนักศึกษา
ทันตแพทย์ต่อต้านยาสูบ
วันที่ 21 – 22 เมษายน 2557
ณ โรงแรมเอเชีย ถนนพญาไท ราชเทวี กรุงเทพมหานคร
อ. ทพ ณัฐวุธ แก้วสุทธา
You know what we want?
We want “Youth”
สถานการณ์โลก
 ผู้สูบบุหรี่ทั่วโลก 1.1 พันล้านคน
 แต่ละวันมีเด็กติดบุหรี่ใหม่ 82,000 - 99,000 คนทั่วโลก
 เยาวชนโลก 250 ล้านคนที่มีชีวิตอยู่จะเสียชีวิตจากการ
สูบบุหรี่ตามแนวโน้มในปัจจุบัน
8
สถานการณ์ในประเทศไทย
 “ปัจจุบันการสูบบุหรี่ในกลุ่มเด็กและเยาวชน
พบว่ามีอัตราเพิ่มสูงขึ้นอย่างต่อเนื่องและเริ่มสูบ
บุหรี่ในอายุที่น้อยลงเรื่อย ๆ ซึ่งข้อมูลในปัจจุบันชี้
ชัดว่าลงไปถึงในกลุ่มวัยประถมศึกษา”
ปีที่สารวจ พื้นที่ กลุ่มเป้ าหมาย ช่วงอายุ
เริ่มสูบ
บุหรี่ %
การศึกษาของ
2547 ทั่วประเทศ ประชาชนทั่วไป ก่อนอายุ 10 ปี
10 - 14 ปี
0.3
7.8
ประกิต วาทีสาธกกิจ, 2547
2549-50 ทั่วประเทศ เด็กและเยาวชนกลุ่มอายุ 13-
19 ปี
อายุเฉลี่ย ชาย13.8 ปี และ หญิง
14.9 ปี
บุปผา ศิริรัศมีและคณะ 2549 และ บุปผา
ศิริรัศมีและคณะ 2550
2548 ทั่วประเทศ เด็กและเยาวชน อายุเฉลี่ย 13.8 ปี ต่าสุด 5 ปี
สูงสุด 19 ปี
ผ่องศรี ศรีมรกต และ รุ้งนภา ผาณิตรัตน์
2556 กทม. นร.ประถมศืกษา ประถมศึกษาปีที่ 5-6 9.46 กองทันตสาธารณสุข กทม
2548-2549 ทั่วประเทศ นร.ประถมศืกษา ระดับประถมศึกษา 17.71 โครงการติดตามสภาวะการณ์เด็กและ
เยาวชนรายจังหวัด
2553 ทั่วประเทศ ประถม + มัธยม ประถม ชาย
หญิง
3.2% รายงานการใช้สารเสพติดในสถานศึกษาใน
เขตพื้นที่การศึกษาขั้นพื้นฐาน (สพฐ)
2555 นนทบุรี นศ.วิทยาลัยราชพฤกษ์ เริ่มสูบบุหรี่ที่อายุน้อยกว่า 11 ปี 4.2% นนทรี สัจจาธรรม,
2540 13-14 ปี 19% ชูชัย ศุภวงศ์ และคณะ,
2555 เชียงราย นักเรียนในสถานศึกษา ต่ากว่า 10 ปี,
10-12 ปี
2.5% กลุ่มงานสุขศึกษา รพ.เชียงรายประชานุ
เคราะห์,
2556 อายุ 11ปี หรือช่วง11-13 ปี สุนทร เสรศาสตร ,
2549 ต่ากว่า 13 ปี พรนภา หอมสินธุ์
2551 สงขลา 11-14 ปี นพมาศ ร่มเกตุ,
2551 พิษณุโลก 12 หรือ 13 ปี เยาวเรศ วิสูตรโยธิน,
สถานการณ์ในประเทศไทย
 ข้อมูลในกลุ่มเด็กประถมศึกษาปีที่ 5-6 สังกัดกรุงเทพมหานคร
จานวน 3,690 คน
 เด็กเคยลองสูบบุหรี่ถึง 9.46%
 เคยถูกไปใช้ให้ซื้อบุหรี่สูงถึง 49.54%
 ที่บ้านมีคนสูบบุหรี่ 64.23%
กองทันตสาธารณสุข กรุงเทพมหานครในปี 2556
จากปากคาของบริษัทบุหรี่
“บริษัทที่ประสบความสาเร็จ
ในช่วงทศวรรษที่ผ่านมา เป็น
บริษัทที่มีความเชี่ยวชาญในการ
หากลุ่มลูกค้าที่เป็นเยาวชน”
อิมพีเรียลโทแบคโค, 2531
งานสาคัญของบริษัทบุหรี่
 ขัดขวางการขึ้นภาษี
 ขัดขวางภาพคาเตือนบนซองบุหรี่
 ขัดขวางการห้ามโฆษณาบุหรี่ ณ จุดขาย
 ขัดขวางกฎหมายควบคุมผลิตภัณฑ์ยาสูบ
 เพื่อให้ได้เป็นส่วนร่วมในการควบคุมยาสูบ
 การโฆษณาและการส่งเสริมการขาย ADVERTISING and
PROMOTION
 การโฆษณาและกิจกรรม ณ จุดขาย POINT-OF-SALE (POS)
 การมีผลิตภัณฑ์รูปแบบใหม่ๆ หรือ ซองรูปแบบใหม่
 การโฆษณาแฝงกับกิจกรรมสาธารณะประโยชน์
 การแทรกแซงองค์กรของรัฐ หรือ กระทรวงที่ทางานเกี่ยวข้อง
กับการควบคุมการบริโภคยาสูบ
กลยุทธ์การตลาดของบริษัทบุหรี่
คนในชุมชนเห็นโรงงานยาสูบ
ห่วงใยสังคม หวังดีกับสังคม
เห็นเด็กไทย
จงรักภักดีต่อ
โรงงานยาสูบ
CSR ของโรงงานยาสูบ
ช่องทางของข่าว 3
CSR ของโรงงานยาสูบ
ช่วยผู้ประสบภัยที่อาเภอบางบัวทอง จ.นนทบุรี
สถาบันการศึกษา
ยินดีต่อการรับทุน
โดยไม่คิดว่า
พ่อค้าบุหรี่มีเป้ าหมาย
อย่างไรต่อเยาวชน
ไทย
เด็กไทยเติบโตขึ้น
ด้วยความประทับใจ
กับความสุข
ที่โรงงานยาสูบ
มอบให้....เgfเด็
คาพูดของบริษัทบุหรี่
(บริติช อเมริกัน โทแบคโค พ.ศ. 2523)
ถ้าจะให้ธุรกิจในประเทศกาลังพัฒนาเติบโตได้เต็มที่ในระยะยาว เราต้อง
พยายามทาให้กระแสกดดันของกลุ่มต่อต้านการสูบบุหรี่มีความเป็นกลาง
โดยทาให้ประชาชนมองบริษัทเราว่า
1. ดาเนินธุรกิจด้วยความรับผิดชอบ ท่ามกลางกระแสความคิดเห็นที่ชี้
ถึงผลเสียของบุหรี่ต่อสุขภาพ
2. มีกิจกรรมทางการตลาดที่แสดงให้ประชาชนเห็นความรับผิดชอบ
ดังกล่าว
คาพูดของ จอร์ช นอช
เจ้าหน้าที่ระดับสูงของบริษัทฟิ ลิป มอร์ริส
“เราไม่เคยใช้คาว่า “ทาบุญ” ที่
หมายถึงว่า เราทาไปโดยไม่หวัง
ผลตอบแทน ไม่มีการบริจาค
เงินใดๆ ทาไปโดยไม่หวังผล
บุหรี่เถื่อน บุหรี่ชูรส บุหรี่ผลไม้
บุหรี่ไร้ควัน/บุหรี่ไฟฟ้ า
“เราไม่สูบบุหรี่หรอกครับ เราแค่ขายบุหรี่ เรา
สงวนสิทธิ์การสูบบุหรี่สาหรับ เด็กและเยาวชน
คนยากคนจน คนผิวดา และคนที่โง่เขลา
เท่านั้น” นี่คือคาพูดของผู้บริหารบริษัทบุหรี่ อาร์
เจ เรย์โนลด์ ที่ตอบคาถามของ เดฟ โกเอิร์ธซ์ ว่า
“ทาไมพวกเขาไม่สูบบุหรี่” ไม่มีผู้บริหารบริษัท
บุหรี่คนไหนสูบบุหรี่ พวกเขาตระหนักว่าสินค้าของ
พวกเขานาไปสู่ความตาย ในการใช้ตามที่บริษัท
บุหรี่แนะนา ในความเป็นจริง ผู้บริหารบริษัทบุหรี่
ทุกคนก็ไม่อนุญาตให้สูบบุหรี่ในสานักงานตนเอง ดู
เหมือนว่าพวกเขาคุ้นเคยเป็นอย่างดีกับข้อมูลที่ชัด
แจ้งในเรื่องอันตรายควันบุหรี่มือสอง
จาก บทความเรื่อง Tobacco Travesty ของ Dr. Anthony
DiSiena ในปี ค.ศ. 1994
http://www.doctoryourself.com/tobacco.html
คนโง่ของบริษัทบุหรี่
บทสรุปสถานการณ์
 สถานการณ์การสูบบุหรี่ในเด็กประถมศึกษาไทยกาลังน่าเป็นห่วง
 กลุ่มเยาวชนมีแนวโน้มการสูบบุหรี่สูงขึ้น
 มีแนวโน้มการเริ่มสูบบุหรี่ที่อายุน้อยลง
 อายุที่เด็กเริ่มลองสูบบุหรี่ครั้งแรก ส่วนใหญ่อยู่ระหว่าง 12-13 ปี
 ปัจจัยที่ส่งผลให้เด็กประถมศึกษาหันมาสูบบุหรี่มากขึ้นเป็นสาเหตุมาจาก
ครอบครัว และปัจจัยแวดล้อมรอบๆตัว เช่น การที่สมาชิกในบ้านและ
ครอบครัวสูบบุหรี่ ถูกใช้ให้ไปซื้อบุหรี่ และการเข้าถึงสื่อโฆษณาบุหรี่ใน
รูปแบบต่างๆที่ง่ายดายขึ้นในปัจจุบัน
แล้วเราจะทาอย่างไร ?
33
กุมภการ สมมิตร,อรุณรักษ์ คูเปอร์ มีใย,ประภาพรรณ เอี่ยมอนันต์,ศิริวรรณ พิทยรังสฤษฏ์.(2556).สถานการณ์การบริโภคยาสูบของเยาวชนไทยระหว่าง พ.ศ. 2547 ถึง พ.ศ. 2552.วารสารสาธารณสุขและการพัฒนา ปีที่ 11 ฉบับที่ 2
พฤษภาคม - สิงหาคม 2556.หน้า 17-28.
กองทันตสาธารณสุข กรุงเทพมหานคร. (2556). สรุปผลการประเมินโครงการโนโน่เข้าโรงเรียน กทม 2556. (เอกสารอัดสาเนา)
กลุ่มงานสุขศึกษา โรงพยาบาลเชียงรายประชานุเคราะห์. 2555. ข้อมูลเฝ้ าระวังพฤติกรรมการสูบบุหรี่ของนักเรียนในสถานศึกษา. จังหวัดเชียงราย.
จริยา โกสินทร์.(2553).พฤติกรรมการเปิดรับสารความรู้และทัศนคติเกี่ยวกับการสูบบุหรี่ของนักเรียนชั้นประถมปลายสี่โรงเรียนในเขตกรุงเทพมหานคร.ปริญญานิพนธ์ นิเทศศาสตร์มหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยธุรกิตบัณฑิต.กรุงเทพมหานคร.
จีรพร สร้อยสุวรรณ. (2539). การศึกษาปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับพฤติกรรมการสูบบุหรี่ของนักศึกษาชายในสถาบันราชภัฏในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ.
ฉันทนา แรงสิงห์. (2556). การดูแลวัยรุ่นที่สูบบุหรี่: บทบาทที่ท้าทายของพยาบาล.วารสารพยาบาลทหารบก.ปีที่ 14 ฉบับที่ 2 (พ.ค. - ส.ค.) 2556.17-24.
ชูชัย ศุภวงศ์และคณะ. (2540). รายงานการศึกษาวิจัยเรื่องการสารวจภาพรวมทั่วประเทศ:ผลของฉลากคาเตือนต่อพฤติกรรมการสูบบุหรี่ของเยาวขนไทย. นนทบุรี .สถาบันควบคุมการบริโภคบุหรี่. ม.ป.ท.
ณัฏฐินี จันทร์ก้อน. ( 2544). ปัจจัยที่มีผลต่อพฤติกรรมการป้ องกันการสูบบุหรี่ของนักเรียนมัธยมศึกษาปีที่ 3 สังกัดส านักการศึกษากรุงเทพมหานคร.
ธานินทร์ สุธีประเสริฐ. (2543). ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับการสูบบุหรี่ของนักศึกษา วิทยาลัย เทคนิคจังหวัดสุพรรณบุรี.
นนทรี สัจจาธรรม.(2555).ทัศนคติ และความตั้งใจในการเลิกสูบบุหรี่ของนักศึกษา วิทยาลัยราชพฤกษ์.รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์.วิทยาลัยราชพฤกษ์.กรุงเทพมหานคร.
นพมาศ ร่มเกตุ,ประชา ฤๅชุตกุล และวิรัตน์ ธรรมาภรณ์. (2551).การรับรู้ถึงผลกระทบของการสูบบุหรี่ต่อสุขภาพและพฤติกรรมการสูบบุหรี่ของนักเรียนระดับมัธยมศึกษาจังหวัดสงขลา. วารสารศึกษาศาสตร์
มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี 19, 2(2551).
บุษยา ณ ป้ อมเพชร. (2539). การศึกษาปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับพฤติกรรมการสูบบุหรี่ของนักเรียนชาย ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ สังกัดกรมอาชีวศึกษา กรุงเทพมหานคร.
บุปผา ศิริรัศมี, ฟิลิป เกสต์, วรางคณา ผลประเสริฐ , ทวิมา ศิริรัศมี, อรพินทร์ พิทักษ์มหาเกตุ และปริยา เกนโรจน์. (2550). ผลกระทบจากนโยบายควบคุมการบริโภคยาสูบในประเทศไทย การส ารวจกลุ่มผู้สูบบุหรี่ระดับประเทศ รอบที่
2 (พ.ศ. 2549). สถาบันวิจัยประชากรและ สังคม มหาวิทยาลัยมหิดล.
บุปผา ศิริรัศมี, ฟิลิป เกสต์, ทวิมา ศิริรัศมี, วรางคณา ผลประเสริฐ, อรพินทร์ พิทักษ์มหาเกตุ และปริยา เกนโรจน์. (2550). ผลกระทบจากนโยบายควบคุมการบริโภคยาสูบในประเทศไทย การส ารวจกลุ่มวัยรุ่นระดับประเทศ รอบที่ 2
(พ.ศ. 2549). สถาบันวิจัยประชากรและสังคม มหาวิทยาลัยมหิดล.
ประกิต วาทีสาธกกิจ .(2547).การสารวจพฤติกรรมการสูบบุหรี่ของประชากร พ.ศ. 2547. สานักงานสถิติแห่งชาติวิเคราะห์และข้อเสนอแนะแนวทางการแก้.
ปิยะรัตน์ นิ่มพิทักษ์พงศ์ ,ธีรพล ทิพย์พยอม. (2555).บุหรี่เมนทอลกับนโยบายด้านการควบคุมยาสูบ.วารสารสาธารณสุขและการพัฒนา ปีที่ : 10 ฉบับที่ : 2 เลขหน้า : 72-85. ปัญหา.
ผ่องศรี ศรีมรกต และรุ้งนภา ผาณิตรัตน์ . (2548). โครงการพัฒนารูปแบบและกลวิธีการเสริมสร้างความตระหนักในพิษภัยบุหรี่สาหรับเยาวชนไทยปีที่ 1 ระยะที่ 1 ผลการสารวจความรู้ ความคิดเห็น ประสบการณ์ พฤติกรรมการบริโภค
ยาสูบ และปัจจัยที่เกี่ยวข้องเพื่อการพัฒนารูปแบบและกลวิธีการเสริมสร้างความตระหนักในพิษภัยบุหรี่ในเยาวชนไทย . ศูนย์วิจัยทางการพยาบาล คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล.
พรนภา หอมสินธุ์. (2549). การพัฒนาแบบวัดทัศนคติต่อการสูบบุหรี่ในวัยรุ่นไทย.วารสารทางการพยาบาล, 10(2), 113-119.
พรนภา หอมสินธุ์. (2549). ปัจจัยทานายการเริ่มต้นสูบบุหรี่ของเด็กวัยรุ่นไทย:ระยะแรกของลาดับขั้นตอนของการสูบบุหรี่. วิทยานิพนธ์พยาบาลศาสตร์ดุษฏีบัณฑิต มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
เยาวเรศ วิสูตรโยธิน.(2551).ศึกษาพฤติกรรมการบริโภคยาสูบของเยาวชนในพื้นที่รับผิดชอบของสานักงานป้ องกันควบคุมโรคที่ 9 จังหวัดพิษณุโลก.พิษณุโลก.
มูลนิธิรณรงค์เพื่อการไม่สูบบุหรี่ . (2551). สถิติสาคัญเกี่ยวกับการสูบบุหรี่ของคนไทย วิเคราะห์และข้อเสนอแนะแนวทางการแก้ไขปัญหา. ข้อมูลการสารวจพฤติกรรมการสูบบุหรี่ของประชากรไทย พ.ศ. 2549 ส านักงานสถิติแห่งชาติ.
ศิริวรรณ พิทยรังสฤษฏ์ และคณะ. (2555). Current Manufactured Cigarette smoking and Roll-your-own Smoking Cigarette in Thailand :Finding from 2009 global
adult tobacco survey. BMC Public Health. Mar 27; 13(1): 277.
ศูนย์วิจัยและจัดการความรู้เพื่อการควบคุมยาสูบ. (2552). สรุปสถานการณ์ควบคุมการบริโภคยาสูบ ประเทศไทยพ.ศ.2552. จาก http://www.trc.or.th
อารี จาปากลาย บุปผา ศิริรัศมี ทวิมา ศิริรัศมี ปริยา เกนโรจน์ สุรัตนา พรวิวัฒนชัย ธีรนุช ก้อนแก้ว.(2553).ผลกระทบจากนโยบายควบคุมการบริโภคยาสูบในประเทศไทย การส ารวจกลุ่มผู้สูบบุหรี่ ระดับประเทศ รอบที่ 3 (พ.ศ.2551).- - พิมพ์ครั้งที่ 1.
นครปฐม : สถาบันวิจัยประชากรและสังคม มหาวิทยาลัยมหิดล.
อุไร สุมาริธรรม. (2546). ความสัมพันธ์ระหว่าง ปัจจัยทางสังคมและจิตวิทยา กับการสูบบุหรี่ ของนักเรียนชายชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ในกรุงเทพมหานคร.
Asta Garmienė*†, Nida Žemaitienė† and Apolinaras Zaborskis. (2006).Family time, parental behaviour model and the initiation of smoking and alcohol use by ten-
year-old children: an epidemiological study in Kaunas, Lithuania.BMC Public Health 2006, 6:287)
Acting on Smoking Health (ASH). (2014).ASH Fact Sheet: Young people and smoking. : January 2014. United Kingdom.
http://www.ash.org.uk/files/documents/ASH_108.pdf.
Bryant JA, Cody MJ, Murphy ST. (2002).Online sales: profit without question.Tobacco Control 2002;11:226–227.
Centers for Disease Control and Prevention. (2003). The National Health Interview Survey (NHIS).National Center for Health Statistics. USA.
Centers for Disease Control and Prevention.(2012).CDC Fact Sheet:Smoking in the Movies.
Centers for Disease Control and Prevention (CDC). (1994). Tobacco Information and Prevention source. The health consequence of smoking a report of the
surgeon general.
Cheng Huang mail, Jeffrey Koplan,Shaohua Yu, Changwei Li,Chaoran Guo,Jing Liu,Hui Li,Michelle Kegler,Pam Redmon,Michael Eriksen.(2013).Smoking
Experimentation among Elementary School Students in China: Influences from Peers, Families, and the School Environment.Plosone:August 2013;8(8).p1-
8.
Halmiton, G., O’Connell, M. & Cross, D. (2004). Adolescent Smoking Cessation:Development of a School Nurses Intervention. JOSN, 20(3), 169-74.
Hammond R. (2000). Tobacco Advertising & Promotion: The Need for a Coordinated Global Response. The WHO International Conference on Global Tobacco
Control Law : Towards a WHO Framework Convention on Tobacco Control, 7-9 January 2000, New Delhi, India.
Hrubá D1, Zaloudíková, (2008). Where do our children learn to smoke?. Cent Eur J Public Health. 2008 Dec;16(4):178-81.
Jean Peters, Anthony Johnson Hedley, Tai-Hing Lam, Carol Lane Betson,Chit-Ming Wong.(1997).A comprehensive study of smoking in primary school children in
Hong Kong: implications for prevention.Journal of Epidemiology and Community Health.51:239-245.
Jonh, S.D. & Jonh, F.T. (2010). Human Development:Across the lifespan. (5th ed.). NY:The McGraw Hill.
Luis G. Escobedo, Stephen E. Marcus, Deborah Holtzman, Gary A. Giovino. (1993).Sports Participation, Age at Smoking Initiation, and the Risk of Smoking
Among US High School Students. JAMA. 1993;269(11):1391-1395.
Paula M Lantz, Peter D Jacobson, Kenneth E Warner, JeVrey Wasserman, Harold A Pollack, Julie Berson, Alexis Ahlstrom. (2000). Investing in youth tobacco
control: a review of smoking prevention and control strategies.Tobacco Control.9:47–63.
Piperakis M Stylianos, Fotini Garagouni-Areou,Anastasia Triga,Alexander S. Piperakis,Efthimia Argyracouli, Aggeliki Thanou, Vasiliki Papadimitriou,Konstantinos
Gourgoulianis,Maria Zafiropoulou. (2007).A Survey of Greek Elementary School Students’ smoking habits and attitudes.International Electronic Journal of
Health Education, 2007; 10:150-159.
Petcharoen N, Sensatien S, Manosuntorn S and Autsawarat N. Global Adult Tobacco Survey (GATS): Thailand Country Report. Bureau of Tobacco Control,
Department of Disease Control, Ministry of Public Health. Nonthabur; 2011.
Pollay R W., Siddarth S., Siegel M., Haddix A., Merritt R K., Giovino G A., and Eriksen M P. (1996). The last straw? Cigarette advertising and realized market
shares among youth and young adults, Journal of Marketing. 60 (2).
Wen XZ, Huang JH, Chen WQ, Liang CH, Han K, Ling WH.(2007).Possibility and predictors of successful cigarette purchase attempts by 201 primary school
students in Guangzhou, China.Zhonghua Liu Xing Bing Xue Za Zhi. 2007 Jan;28(1):24-7.

More Related Content

Similar to อบรมเชิงปฏิบัติการแกนนำนิสิตนักศึกษาทันตแพทย์ต่อต้านยาสูบ

บทบาทกุมารแพทย์และราชวิทยาลัยกุมารฯต่อปัญหาสิ่งแวดล้อมที่มีผลต่อสุขภาพเด็ก
บทบาทกุมารแพทย์และราชวิทยาลัยกุมารฯต่อปัญหาสิ่งแวดล้อมที่มีผลต่อสุขภาพเด็กบทบาทกุมารแพทย์และราชวิทยาลัยกุมารฯต่อปัญหาสิ่งแวดล้อมที่มีผลต่อสุขภาพเด็ก
บทบาทกุมารแพทย์และราชวิทยาลัยกุมารฯต่อปัญหาสิ่งแวดล้อมที่มีผลต่อสุขภาพเด็ก
csip.org > slide ความปลอดภัยในเด็ก
 
แผนการสอนสุขศึกษา ม.5
แผนการสอนสุขศึกษา ม.5แผนการสอนสุขศึกษา ม.5
แผนการสอนสุขศึกษา ม.5Kruthai Kidsdee
 
51-012-พฤติกรรมการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ของวัยรุ่นที่ส่งผลกระทบต่อสุขภาพและ...
51-012-พฤติกรรมการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ของวัยรุ่นที่ส่งผลกระทบต่อสุขภาพและ...51-012-พฤติกรรมการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ของวัยรุ่นที่ส่งผลกระทบต่อสุขภาพและ...
51-012-พฤติกรรมการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ของวัยรุ่นที่ส่งผลกระทบต่อสุขภาพและ...
ssusera5d7ef
 
กิจกรรมที่ 1 โครงร่างโครงงาน
กิจกรรมที่ 1 โครงร่างโครงงานกิจกรรมที่ 1 โครงร่างโครงงาน
กิจกรรมที่ 1 โครงร่างโครงงาน
waew jittranut
 
จุดเน้นที่ 4
จุดเน้นที่ 4จุดเน้นที่ 4
จุดเน้นที่ 4Suwakhon Phus
 
บทที่1
บทที่1บทที่1
บทที่1
Pornsitaintharak
 
การดูแลผู้ที่มีปัญหาสุราในระบบสุขภาพ
การดูแลผู้ที่มีปัญหาสุราในระบบสุขภาพการดูแลผู้ที่มีปัญหาสุราในระบบสุขภาพ
การดูแลผู้ที่มีปัญหาสุราในระบบสุขภาพ
Wajana Khemawichanurat
 
บทที่1
บทที่1บทที่1
บทที่1
Pornsitaintharak
 
Smoking cessation1
Smoking cessation1Smoking cessation1
Smoking cessation1
Utai Sukviwatsirikul
 
ระบบสุขภาพชุมชน รพ.ขอนแก่น
ระบบสุขภาพชุมชน รพ.ขอนแก่นระบบสุขภาพชุมชน รพ.ขอนแก่น
ระบบสุขภาพชุมชน รพ.ขอนแก่น
Komsan Iemthaisong
 
งานวิจัยเครือข่ายต่างประเทศ
งานวิจัยเครือข่ายต่างประเทศงานวิจัยเครือข่ายต่างประเทศ
งานวิจัยเครือข่ายต่างประเทศDusadee Charoensuk
 
ยาเสพติด บทที่1
ยาเสพติด บทที่1ยาเสพติด บทที่1
ยาเสพติด บทที่1
Pear Pimnipa
 
344สถานการณ์เด็กและเยาวชน ดร.อมรวิศ
344สถานการณ์เด็กและเยาวชน ดร.อมรวิศ344สถานการณ์เด็กและเยาวชน ดร.อมรวิศ
344สถานการณ์เด็กและเยาวชน ดร.อมรวิศ
niralai
 
Progress report NoNo Project2013
Progress report NoNo Project2013Progress report NoNo Project2013
Progress report NoNo Project2013
Nathawut Kaewsutha
 
โครงการพ ฒนาผ _เร_ยน
โครงการพ ฒนาผ _เร_ยนโครงการพ ฒนาผ _เร_ยน
โครงการพ ฒนาผ _เร_ยน
ไชยา แก้วผาไล
 

Similar to อบรมเชิงปฏิบัติการแกนนำนิสิตนักศึกษาทันตแพทย์ต่อต้านยาสูบ (20)

บทบาทกุมารแพทย์และราชวิทยาลัยกุมารฯต่อปัญหาสิ่งแวดล้อมที่มีผลต่อสุขภาพเด็ก
บทบาทกุมารแพทย์และราชวิทยาลัยกุมารฯต่อปัญหาสิ่งแวดล้อมที่มีผลต่อสุขภาพเด็กบทบาทกุมารแพทย์และราชวิทยาลัยกุมารฯต่อปัญหาสิ่งแวดล้อมที่มีผลต่อสุขภาพเด็ก
บทบาทกุมารแพทย์และราชวิทยาลัยกุมารฯต่อปัญหาสิ่งแวดล้อมที่มีผลต่อสุขภาพเด็ก
 
แผนการสอนสุขศึกษา ม.5
แผนการสอนสุขศึกษา ม.5แผนการสอนสุขศึกษา ม.5
แผนการสอนสุขศึกษา ม.5
 
สุขศึกษาและพลศึกษา
สุขศึกษาและพลศึกษาสุขศึกษาและพลศึกษา
สุขศึกษาและพลศึกษา
 
51-012-พฤติกรรมการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ของวัยรุ่นที่ส่งผลกระทบต่อสุขภาพและ...
51-012-พฤติกรรมการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ของวัยรุ่นที่ส่งผลกระทบต่อสุขภาพและ...51-012-พฤติกรรมการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ของวัยรุ่นที่ส่งผลกระทบต่อสุขภาพและ...
51-012-พฤติกรรมการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ของวัยรุ่นที่ส่งผลกระทบต่อสุขภาพและ...
 
กิจกรรมที่ 1 โครงร่างโครงงาน
กิจกรรมที่ 1 โครงร่างโครงงานกิจกรรมที่ 1 โครงร่างโครงงาน
กิจกรรมที่ 1 โครงร่างโครงงาน
 
จุดเน้นที่ 4
จุดเน้นที่ 4จุดเน้นที่ 4
จุดเน้นที่ 4
 
บทที่1
บทที่1บทที่1
บทที่1
 
การดูแลผู้ที่มีปัญหาสุราในระบบสุขภาพ
การดูแลผู้ที่มีปัญหาสุราในระบบสุขภาพการดูแลผู้ที่มีปัญหาสุราในระบบสุขภาพ
การดูแลผู้ที่มีปัญหาสุราในระบบสุขภาพ
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
สุขศึกษาและพลศึกษา ต้น
สุขศึกษาและพลศึกษา ต้นสุขศึกษาและพลศึกษา ต้น
สุขศึกษาและพลศึกษา ต้น
 
บทที่1
บทที่1บทที่1
บทที่1
 
Smoking cessation1
Smoking cessation1Smoking cessation1
Smoking cessation1
 
ระบบสุขภาพชุมชน รพ.ขอนแก่น
ระบบสุขภาพชุมชน รพ.ขอนแก่นระบบสุขภาพชุมชน รพ.ขอนแก่น
ระบบสุขภาพชุมชน รพ.ขอนแก่น
 
งานวิจัยเครือข่ายต่างประเทศ
งานวิจัยเครือข่ายต่างประเทศงานวิจัยเครือข่ายต่างประเทศ
งานวิจัยเครือข่ายต่างประเทศ
 
001007082009
001007082009001007082009
001007082009
 
ยาเสพติด บทที่1
ยาเสพติด บทที่1ยาเสพติด บทที่1
ยาเสพติด บทที่1
 
สมศักดิ์
สมศักดิ์สมศักดิ์
สมศักดิ์
 
344สถานการณ์เด็กและเยาวชน ดร.อมรวิศ
344สถานการณ์เด็กและเยาวชน ดร.อมรวิศ344สถานการณ์เด็กและเยาวชน ดร.อมรวิศ
344สถานการณ์เด็กและเยาวชน ดร.อมรวิศ
 
Progress report NoNo Project2013
Progress report NoNo Project2013Progress report NoNo Project2013
Progress report NoNo Project2013
 
โครงการพ ฒนาผ _เร_ยน
โครงการพ ฒนาผ _เร_ยนโครงการพ ฒนาผ _เร_ยน
โครงการพ ฒนาผ _เร_ยน
 

อบรมเชิงปฏิบัติการแกนนำนิสิตนักศึกษาทันตแพทย์ต่อต้านยาสูบ

  • 1. อบรมเชิงปฏิบัติการแกนนานิสิตนักศึกษา ทันตแพทย์ต่อต้านยาสูบ วันที่ 21 – 22 เมษายน 2557 ณ โรงแรมเอเชีย ถนนพญาไท ราชเทวี กรุงเทพมหานคร อ. ทพ ณัฐวุธ แก้วสุทธา
  • 2. You know what we want? We want “Youth”
  • 3.
  • 4.
  • 5.
  • 6. สถานการณ์โลก  ผู้สูบบุหรี่ทั่วโลก 1.1 พันล้านคน  แต่ละวันมีเด็กติดบุหรี่ใหม่ 82,000 - 99,000 คนทั่วโลก  เยาวชนโลก 250 ล้านคนที่มีชีวิตอยู่จะเสียชีวิตจากการ สูบบุหรี่ตามแนวโน้มในปัจจุบัน
  • 7.
  • 8. 8
  • 10. ปีที่สารวจ พื้นที่ กลุ่มเป้ าหมาย ช่วงอายุ เริ่มสูบ บุหรี่ % การศึกษาของ 2547 ทั่วประเทศ ประชาชนทั่วไป ก่อนอายุ 10 ปี 10 - 14 ปี 0.3 7.8 ประกิต วาทีสาธกกิจ, 2547 2549-50 ทั่วประเทศ เด็กและเยาวชนกลุ่มอายุ 13- 19 ปี อายุเฉลี่ย ชาย13.8 ปี และ หญิง 14.9 ปี บุปผา ศิริรัศมีและคณะ 2549 และ บุปผา ศิริรัศมีและคณะ 2550 2548 ทั่วประเทศ เด็กและเยาวชน อายุเฉลี่ย 13.8 ปี ต่าสุด 5 ปี สูงสุด 19 ปี ผ่องศรี ศรีมรกต และ รุ้งนภา ผาณิตรัตน์ 2556 กทม. นร.ประถมศืกษา ประถมศึกษาปีที่ 5-6 9.46 กองทันตสาธารณสุข กทม 2548-2549 ทั่วประเทศ นร.ประถมศืกษา ระดับประถมศึกษา 17.71 โครงการติดตามสภาวะการณ์เด็กและ เยาวชนรายจังหวัด 2553 ทั่วประเทศ ประถม + มัธยม ประถม ชาย หญิง 3.2% รายงานการใช้สารเสพติดในสถานศึกษาใน เขตพื้นที่การศึกษาขั้นพื้นฐาน (สพฐ) 2555 นนทบุรี นศ.วิทยาลัยราชพฤกษ์ เริ่มสูบบุหรี่ที่อายุน้อยกว่า 11 ปี 4.2% นนทรี สัจจาธรรม, 2540 13-14 ปี 19% ชูชัย ศุภวงศ์ และคณะ, 2555 เชียงราย นักเรียนในสถานศึกษา ต่ากว่า 10 ปี, 10-12 ปี 2.5% กลุ่มงานสุขศึกษา รพ.เชียงรายประชานุ เคราะห์, 2556 อายุ 11ปี หรือช่วง11-13 ปี สุนทร เสรศาสตร , 2549 ต่ากว่า 13 ปี พรนภา หอมสินธุ์ 2551 สงขลา 11-14 ปี นพมาศ ร่มเกตุ, 2551 พิษณุโลก 12 หรือ 13 ปี เยาวเรศ วิสูตรโยธิน,
  • 11. สถานการณ์ในประเทศไทย  ข้อมูลในกลุ่มเด็กประถมศึกษาปีที่ 5-6 สังกัดกรุงเทพมหานคร จานวน 3,690 คน  เด็กเคยลองสูบบุหรี่ถึง 9.46%  เคยถูกไปใช้ให้ซื้อบุหรี่สูงถึง 49.54%  ที่บ้านมีคนสูบบุหรี่ 64.23% กองทันตสาธารณสุข กรุงเทพมหานครในปี 2556
  • 13. งานสาคัญของบริษัทบุหรี่  ขัดขวางการขึ้นภาษี  ขัดขวางภาพคาเตือนบนซองบุหรี่  ขัดขวางการห้ามโฆษณาบุหรี่ ณ จุดขาย  ขัดขวางกฎหมายควบคุมผลิตภัณฑ์ยาสูบ  เพื่อให้ได้เป็นส่วนร่วมในการควบคุมยาสูบ
  • 14.  การโฆษณาและการส่งเสริมการขาย ADVERTISING and PROMOTION  การโฆษณาและกิจกรรม ณ จุดขาย POINT-OF-SALE (POS)  การมีผลิตภัณฑ์รูปแบบใหม่ๆ หรือ ซองรูปแบบใหม่  การโฆษณาแฝงกับกิจกรรมสาธารณะประโยชน์  การแทรกแซงองค์กรของรัฐ หรือ กระทรวงที่ทางานเกี่ยวข้อง กับการควบคุมการบริโภคยาสูบ กลยุทธ์การตลาดของบริษัทบุหรี่
  • 21. คาพูดของบริษัทบุหรี่ (บริติช อเมริกัน โทแบคโค พ.ศ. 2523) ถ้าจะให้ธุรกิจในประเทศกาลังพัฒนาเติบโตได้เต็มที่ในระยะยาว เราต้อง พยายามทาให้กระแสกดดันของกลุ่มต่อต้านการสูบบุหรี่มีความเป็นกลาง โดยทาให้ประชาชนมองบริษัทเราว่า 1. ดาเนินธุรกิจด้วยความรับผิดชอบ ท่ามกลางกระแสความคิดเห็นที่ชี้ ถึงผลเสียของบุหรี่ต่อสุขภาพ 2. มีกิจกรรมทางการตลาดที่แสดงให้ประชาชนเห็นความรับผิดชอบ ดังกล่าว
  • 22. คาพูดของ จอร์ช นอช เจ้าหน้าที่ระดับสูงของบริษัทฟิ ลิป มอร์ริส “เราไม่เคยใช้คาว่า “ทาบุญ” ที่ หมายถึงว่า เราทาไปโดยไม่หวัง ผลตอบแทน ไม่มีการบริจาค เงินใดๆ ทาไปโดยไม่หวังผล
  • 23.
  • 24.
  • 25.
  • 26.
  • 29.
  • 30. “เราไม่สูบบุหรี่หรอกครับ เราแค่ขายบุหรี่ เรา สงวนสิทธิ์การสูบบุหรี่สาหรับ เด็กและเยาวชน คนยากคนจน คนผิวดา และคนที่โง่เขลา เท่านั้น” นี่คือคาพูดของผู้บริหารบริษัทบุหรี่ อาร์ เจ เรย์โนลด์ ที่ตอบคาถามของ เดฟ โกเอิร์ธซ์ ว่า “ทาไมพวกเขาไม่สูบบุหรี่” ไม่มีผู้บริหารบริษัท บุหรี่คนไหนสูบบุหรี่ พวกเขาตระหนักว่าสินค้าของ พวกเขานาไปสู่ความตาย ในการใช้ตามที่บริษัท บุหรี่แนะนา ในความเป็นจริง ผู้บริหารบริษัทบุหรี่ ทุกคนก็ไม่อนุญาตให้สูบบุหรี่ในสานักงานตนเอง ดู เหมือนว่าพวกเขาคุ้นเคยเป็นอย่างดีกับข้อมูลที่ชัด แจ้งในเรื่องอันตรายควันบุหรี่มือสอง จาก บทความเรื่อง Tobacco Travesty ของ Dr. Anthony DiSiena ในปี ค.ศ. 1994 http://www.doctoryourself.com/tobacco.html คนโง่ของบริษัทบุหรี่
  • 31. บทสรุปสถานการณ์  สถานการณ์การสูบบุหรี่ในเด็กประถมศึกษาไทยกาลังน่าเป็นห่วง  กลุ่มเยาวชนมีแนวโน้มการสูบบุหรี่สูงขึ้น  มีแนวโน้มการเริ่มสูบบุหรี่ที่อายุน้อยลง  อายุที่เด็กเริ่มลองสูบบุหรี่ครั้งแรก ส่วนใหญ่อยู่ระหว่าง 12-13 ปี  ปัจจัยที่ส่งผลให้เด็กประถมศึกษาหันมาสูบบุหรี่มากขึ้นเป็นสาเหตุมาจาก ครอบครัว และปัจจัยแวดล้อมรอบๆตัว เช่น การที่สมาชิกในบ้านและ ครอบครัวสูบบุหรี่ ถูกใช้ให้ไปซื้อบุหรี่ และการเข้าถึงสื่อโฆษณาบุหรี่ใน รูปแบบต่างๆที่ง่ายดายขึ้นในปัจจุบัน
  • 33. 33
  • 34. กุมภการ สมมิตร,อรุณรักษ์ คูเปอร์ มีใย,ประภาพรรณ เอี่ยมอนันต์,ศิริวรรณ พิทยรังสฤษฏ์.(2556).สถานการณ์การบริโภคยาสูบของเยาวชนไทยระหว่าง พ.ศ. 2547 ถึง พ.ศ. 2552.วารสารสาธารณสุขและการพัฒนา ปีที่ 11 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม - สิงหาคม 2556.หน้า 17-28. กองทันตสาธารณสุข กรุงเทพมหานคร. (2556). สรุปผลการประเมินโครงการโนโน่เข้าโรงเรียน กทม 2556. (เอกสารอัดสาเนา) กลุ่มงานสุขศึกษา โรงพยาบาลเชียงรายประชานุเคราะห์. 2555. ข้อมูลเฝ้ าระวังพฤติกรรมการสูบบุหรี่ของนักเรียนในสถานศึกษา. จังหวัดเชียงราย. จริยา โกสินทร์.(2553).พฤติกรรมการเปิดรับสารความรู้และทัศนคติเกี่ยวกับการสูบบุหรี่ของนักเรียนชั้นประถมปลายสี่โรงเรียนในเขตกรุงเทพมหานคร.ปริญญานิพนธ์ นิเทศศาสตร์มหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยธุรกิตบัณฑิต.กรุงเทพมหานคร. จีรพร สร้อยสุวรรณ. (2539). การศึกษาปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับพฤติกรรมการสูบบุหรี่ของนักศึกษาชายในสถาบันราชภัฏในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ. ฉันทนา แรงสิงห์. (2556). การดูแลวัยรุ่นที่สูบบุหรี่: บทบาทที่ท้าทายของพยาบาล.วารสารพยาบาลทหารบก.ปีที่ 14 ฉบับที่ 2 (พ.ค. - ส.ค.) 2556.17-24. ชูชัย ศุภวงศ์และคณะ. (2540). รายงานการศึกษาวิจัยเรื่องการสารวจภาพรวมทั่วประเทศ:ผลของฉลากคาเตือนต่อพฤติกรรมการสูบบุหรี่ของเยาวขนไทย. นนทบุรี .สถาบันควบคุมการบริโภคบุหรี่. ม.ป.ท. ณัฏฐินี จันทร์ก้อน. ( 2544). ปัจจัยที่มีผลต่อพฤติกรรมการป้ องกันการสูบบุหรี่ของนักเรียนมัธยมศึกษาปีที่ 3 สังกัดส านักการศึกษากรุงเทพมหานคร. ธานินทร์ สุธีประเสริฐ. (2543). ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับการสูบบุหรี่ของนักศึกษา วิทยาลัย เทคนิคจังหวัดสุพรรณบุรี. นนทรี สัจจาธรรม.(2555).ทัศนคติ และความตั้งใจในการเลิกสูบบุหรี่ของนักศึกษา วิทยาลัยราชพฤกษ์.รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์.วิทยาลัยราชพฤกษ์.กรุงเทพมหานคร. นพมาศ ร่มเกตุ,ประชา ฤๅชุตกุล และวิรัตน์ ธรรมาภรณ์. (2551).การรับรู้ถึงผลกระทบของการสูบบุหรี่ต่อสุขภาพและพฤติกรรมการสูบบุหรี่ของนักเรียนระดับมัธยมศึกษาจังหวัดสงขลา. วารสารศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี 19, 2(2551). บุษยา ณ ป้ อมเพชร. (2539). การศึกษาปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับพฤติกรรมการสูบบุหรี่ของนักเรียนชาย ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ สังกัดกรมอาชีวศึกษา กรุงเทพมหานคร. บุปผา ศิริรัศมี, ฟิลิป เกสต์, วรางคณา ผลประเสริฐ , ทวิมา ศิริรัศมี, อรพินทร์ พิทักษ์มหาเกตุ และปริยา เกนโรจน์. (2550). ผลกระทบจากนโยบายควบคุมการบริโภคยาสูบในประเทศไทย การส ารวจกลุ่มผู้สูบบุหรี่ระดับประเทศ รอบที่ 2 (พ.ศ. 2549). สถาบันวิจัยประชากรและ สังคม มหาวิทยาลัยมหิดล. บุปผา ศิริรัศมี, ฟิลิป เกสต์, ทวิมา ศิริรัศมี, วรางคณา ผลประเสริฐ, อรพินทร์ พิทักษ์มหาเกตุ และปริยา เกนโรจน์. (2550). ผลกระทบจากนโยบายควบคุมการบริโภคยาสูบในประเทศไทย การส ารวจกลุ่มวัยรุ่นระดับประเทศ รอบที่ 2 (พ.ศ. 2549). สถาบันวิจัยประชากรและสังคม มหาวิทยาลัยมหิดล. ประกิต วาทีสาธกกิจ .(2547).การสารวจพฤติกรรมการสูบบุหรี่ของประชากร พ.ศ. 2547. สานักงานสถิติแห่งชาติวิเคราะห์และข้อเสนอแนะแนวทางการแก้. ปิยะรัตน์ นิ่มพิทักษ์พงศ์ ,ธีรพล ทิพย์พยอม. (2555).บุหรี่เมนทอลกับนโยบายด้านการควบคุมยาสูบ.วารสารสาธารณสุขและการพัฒนา ปีที่ : 10 ฉบับที่ : 2 เลขหน้า : 72-85. ปัญหา. ผ่องศรี ศรีมรกต และรุ้งนภา ผาณิตรัตน์ . (2548). โครงการพัฒนารูปแบบและกลวิธีการเสริมสร้างความตระหนักในพิษภัยบุหรี่สาหรับเยาวชนไทยปีที่ 1 ระยะที่ 1 ผลการสารวจความรู้ ความคิดเห็น ประสบการณ์ พฤติกรรมการบริโภค ยาสูบ และปัจจัยที่เกี่ยวข้องเพื่อการพัฒนารูปแบบและกลวิธีการเสริมสร้างความตระหนักในพิษภัยบุหรี่ในเยาวชนไทย . ศูนย์วิจัยทางการพยาบาล คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล. พรนภา หอมสินธุ์. (2549). การพัฒนาแบบวัดทัศนคติต่อการสูบบุหรี่ในวัยรุ่นไทย.วารสารทางการพยาบาล, 10(2), 113-119. พรนภา หอมสินธุ์. (2549). ปัจจัยทานายการเริ่มต้นสูบบุหรี่ของเด็กวัยรุ่นไทย:ระยะแรกของลาดับขั้นตอนของการสูบบุหรี่. วิทยานิพนธ์พยาบาลศาสตร์ดุษฏีบัณฑิต มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. เยาวเรศ วิสูตรโยธิน.(2551).ศึกษาพฤติกรรมการบริโภคยาสูบของเยาวชนในพื้นที่รับผิดชอบของสานักงานป้ องกันควบคุมโรคที่ 9 จังหวัดพิษณุโลก.พิษณุโลก. มูลนิธิรณรงค์เพื่อการไม่สูบบุหรี่ . (2551). สถิติสาคัญเกี่ยวกับการสูบบุหรี่ของคนไทย วิเคราะห์และข้อเสนอแนะแนวทางการแก้ไขปัญหา. ข้อมูลการสารวจพฤติกรรมการสูบบุหรี่ของประชากรไทย พ.ศ. 2549 ส านักงานสถิติแห่งชาติ. ศิริวรรณ พิทยรังสฤษฏ์ และคณะ. (2555). Current Manufactured Cigarette smoking and Roll-your-own Smoking Cigarette in Thailand :Finding from 2009 global adult tobacco survey. BMC Public Health. Mar 27; 13(1): 277. ศูนย์วิจัยและจัดการความรู้เพื่อการควบคุมยาสูบ. (2552). สรุปสถานการณ์ควบคุมการบริโภคยาสูบ ประเทศไทยพ.ศ.2552. จาก http://www.trc.or.th
  • 35. อารี จาปากลาย บุปผา ศิริรัศมี ทวิมา ศิริรัศมี ปริยา เกนโรจน์ สุรัตนา พรวิวัฒนชัย ธีรนุช ก้อนแก้ว.(2553).ผลกระทบจากนโยบายควบคุมการบริโภคยาสูบในประเทศไทย การส ารวจกลุ่มผู้สูบบุหรี่ ระดับประเทศ รอบที่ 3 (พ.ศ.2551).- - พิมพ์ครั้งที่ 1. นครปฐม : สถาบันวิจัยประชากรและสังคม มหาวิทยาลัยมหิดล. อุไร สุมาริธรรม. (2546). ความสัมพันธ์ระหว่าง ปัจจัยทางสังคมและจิตวิทยา กับการสูบบุหรี่ ของนักเรียนชายชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ในกรุงเทพมหานคร. Asta Garmienė*†, Nida Žemaitienė† and Apolinaras Zaborskis. (2006).Family time, parental behaviour model and the initiation of smoking and alcohol use by ten- year-old children: an epidemiological study in Kaunas, Lithuania.BMC Public Health 2006, 6:287) Acting on Smoking Health (ASH). (2014).ASH Fact Sheet: Young people and smoking. : January 2014. United Kingdom. http://www.ash.org.uk/files/documents/ASH_108.pdf. Bryant JA, Cody MJ, Murphy ST. (2002).Online sales: profit without question.Tobacco Control 2002;11:226–227. Centers for Disease Control and Prevention. (2003). The National Health Interview Survey (NHIS).National Center for Health Statistics. USA. Centers for Disease Control and Prevention.(2012).CDC Fact Sheet:Smoking in the Movies. Centers for Disease Control and Prevention (CDC). (1994). Tobacco Information and Prevention source. The health consequence of smoking a report of the surgeon general. Cheng Huang mail, Jeffrey Koplan,Shaohua Yu, Changwei Li,Chaoran Guo,Jing Liu,Hui Li,Michelle Kegler,Pam Redmon,Michael Eriksen.(2013).Smoking Experimentation among Elementary School Students in China: Influences from Peers, Families, and the School Environment.Plosone:August 2013;8(8).p1- 8. Halmiton, G., O’Connell, M. & Cross, D. (2004). Adolescent Smoking Cessation:Development of a School Nurses Intervention. JOSN, 20(3), 169-74. Hammond R. (2000). Tobacco Advertising & Promotion: The Need for a Coordinated Global Response. The WHO International Conference on Global Tobacco Control Law : Towards a WHO Framework Convention on Tobacco Control, 7-9 January 2000, New Delhi, India. Hrubá D1, Zaloudíková, (2008). Where do our children learn to smoke?. Cent Eur J Public Health. 2008 Dec;16(4):178-81. Jean Peters, Anthony Johnson Hedley, Tai-Hing Lam, Carol Lane Betson,Chit-Ming Wong.(1997).A comprehensive study of smoking in primary school children in Hong Kong: implications for prevention.Journal of Epidemiology and Community Health.51:239-245. Jonh, S.D. & Jonh, F.T. (2010). Human Development:Across the lifespan. (5th ed.). NY:The McGraw Hill. Luis G. Escobedo, Stephen E. Marcus, Deborah Holtzman, Gary A. Giovino. (1993).Sports Participation, Age at Smoking Initiation, and the Risk of Smoking Among US High School Students. JAMA. 1993;269(11):1391-1395. Paula M Lantz, Peter D Jacobson, Kenneth E Warner, JeVrey Wasserman, Harold A Pollack, Julie Berson, Alexis Ahlstrom. (2000). Investing in youth tobacco control: a review of smoking prevention and control strategies.Tobacco Control.9:47–63. Piperakis M Stylianos, Fotini Garagouni-Areou,Anastasia Triga,Alexander S. Piperakis,Efthimia Argyracouli, Aggeliki Thanou, Vasiliki Papadimitriou,Konstantinos Gourgoulianis,Maria Zafiropoulou. (2007).A Survey of Greek Elementary School Students’ smoking habits and attitudes.International Electronic Journal of Health Education, 2007; 10:150-159. Petcharoen N, Sensatien S, Manosuntorn S and Autsawarat N. Global Adult Tobacco Survey (GATS): Thailand Country Report. Bureau of Tobacco Control, Department of Disease Control, Ministry of Public Health. Nonthabur; 2011. Pollay R W., Siddarth S., Siegel M., Haddix A., Merritt R K., Giovino G A., and Eriksen M P. (1996). The last straw? Cigarette advertising and realized market shares among youth and young adults, Journal of Marketing. 60 (2). Wen XZ, Huang JH, Chen WQ, Liang CH, Han K, Ling WH.(2007).Possibility and predictors of successful cigarette purchase attempts by 201 primary school students in Guangzhou, China.Zhonghua Liu Xing Bing Xue Za Zhi. 2007 Jan;28(1):24-7.