SlideShare a Scribd company logo
หลักสูตรดินน้ำลมไฟ โรงเรียนเทศบาลคุ้มหนองคู อำเภอเมือง จังหวัดขอนแก่น
โรงเรียนเทศบาลคุ้มหนองคู ตั้งเมื่อปี พ.ศ.2513 เริ่มสอนตั้งแต่ระดับชั้นอนุบาลจนถึงระดับชั้น
ประถมศึกษาปีที่ 4 จนต่อมาปี พ.ศ.2524 จึงได้ขยายการสอนจนถึงระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 โดยตั้งอยู่ที่
ถนนรอบเมือง ตาบลในเมือง อาเภอเมือง จังหวัดขอนแก่น โดยเปิดสอนตั้งแต่ระดับชั้นก่อนประถมศึกษา
(ปฐมวัย) ถึงระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 จัดอยู่ในประเภทโรงเรียนขนาดกลาง นักเรียนในโรงเรียนมาจาก
ชุมชนต่าง ๆ ในเขตเทศบาลและนอกเขตเทศบาล เช่น ชุมชนคุ้มหนองคู ชุมชนศรีจันทร์ ชุมชนซอยธารทิพย์
ชุมชนชัยณรงค์ ชุมชนบ้านดอนหญ้านาง ค่ายศรีหราชเดโชชัย(ร.8) เป็นต้น และยังมีเด็กที่อยู่นอกเขตชุมชน แต่
อยู่ในเขตเทศบาลเข้ามาเรียนด้วย
โรงเรียนเทศบาลคุ้มหนองคูนั้นเผชิญสถานการณ์ปัญหาไม่ต่างจากโรงเรียนอื่นๆ ทั้งปัญหาบุคลากรครู
ไม่เพียงพอต่อการดูแลเด็กให้ทั่วถึง ทาให้ครูต้องสลับสับเปลี่ยนกันทางาน รวมทั้งสถานการณ์ปัญหาที่เด็ก
นักเรียนอ่านไม่ออกและเขียนไม่ได้ จากสถานการณ์ปัญหาที่เกิดขึ้นจึงนามาสู่กระบวนการในการปรึกษาหารือ
กันของครูอาจารย์ทั้งโรงเรียน จนพบแนวทางในการแก้ไขปัญหา
“ตอนนั้นช่วง ปี พ.ศ.2549 เราพบว่า เด็กนักเรียนกว่า 20% ของโรงเรียนอ่านไม่ออกเขียนไม่ได้ ซึ่งเรา
ก็มามองว่า ที่เด็กอ่านไม่ออกเขียนไม่ได้เป็นปัญหาจากหลักสูตร ทาไมถึงเป็นปัญหาที่หลักสูตร ก็เพราะว่า
หลักสูตรที่จัดการเรียนการสอนนั้นไม่ได้ตอบโจทย์ให้เด็ก เพราะ 1.เด็กเขามีความสามารถ มีความสนใจที่
ต่างกัน แต่เพราะเขาเรียนในระบบ ดังนั้นเขาจึงต้องเรียนในเรื่องเดียวกัน 2.เมื่อเขามีความสนใจไม่เหมือนกัน
บางคนยังรับสิ่งที่เรียนรู้ในวิชาแรกยังไม่ซึมซับทั้งหมด เขาก็ต้องเปลี่ยนคาบเรียนไปเรียนอย่างอื่นแล้ว ดังนั้น
ความไม่เข้าใจมันก็จะทับถมไปเรื่อยๆ จนเกิดเป็นปัญหาอย่างที่เกิดขึ้น เด็กอ่านไม่ออก เขียนไม่ได้ ไม่มี
ความสุขในการเรียน
จากสถานการณ์ทาให้ครูอาจารย์เองก็มาตั้งวงคุยกันหาวิธีการจัดการด้วยตัวเอง โดยในตอนนั้นเอง
ทางเทศบาลคุ้มหนองคู(นายกเทศมนตรีคนเก่า นายพีระพล พัฒนพีระเดช) มีนโยบายเรื่องการจัดการเรียนรู้
หลักสูตรมอนเตสซอรี่ในระดับชั้นอนุบาล เทศบาลจึงจัดพาครูอาจารย์ชั้นอนุบาลไปดูงานการจัดการเรียนการ
สอนระบบมอนเตสซอรี่ที่โรงเรียนวิสาสน์นุสรณ์ จ.เชียงราย ที่ตอนนั้นคุณครูก็ไม่รู้หรอกว่า มอนเตสซอรี่คือ
อะไร”
“มอนเตสซอรี่” กับแปลงทดลองชั้นอนุบำล
“มอนเตสซอรี่” คืออะไร
มอนเตสซอรี่ เป็นการสอนรูปแบบหนึ่งที่เหมาะกับเด็ก ทั้งเด็กพิเศษและเด็กปกติ ดร.มาเรีย มอนเตส
ซอรี่ เป็นผู้ริเริ่มคิดวิธีการจัดการเรียนการสอนแบบนี้ขึ้นมาสาหรับเด็กที่มีความบกพร่องทางสติปัญญา และได้
ใช้วิธีการที่คิดขึ้นมาเองนี้จนประสบผลสาเร็จ ต่อมาได้พัฒนาการสอนจนสมบูรณ์แบบ เพื่อใช้เป็นวิธีการสอน
สาหรับเด็กโดยทั่วๆ ไป
ดังนั้น การสอนแบบมอนเตสซอรี่จึงคานึงถึงการยอมรับนับถือในตัวเด็ก โดยจัดการเรียนการสอนให้
เด็กแต่ละบุคคล และให้เด็กได้ทางานไปตามลาดับความยาก-ง่าย และเป็นไปตามความสามารถของเด็ก
ห้องเรียนของมอนเตสซอรี่จะไม่มีรูปแบบของการจัดโต๊ะ เก้าอี้ของห้องเรียนโดยทั่วไป แต่จะมีโต๊ะ เก้าอี้
สามารถปรับเปลี่ยนมุมได้ตามลักษณะของกิจกรรม เพื่อให้เด็กได้ทางานคนเดียวหรือทางานในกลุ่มเล็กๆ เด็ก
จะมีอิสระภายในสิ่งแวดล้อมที่ได้ตระเตรียมเอาไว้ให้
“ทาไมต้องเป็นมอนเตสซอรี่ ต้องบอกว่า หลังจากที่ครูอาจารย์ได้ไปเรียนรู้การจัดการเรียนการสอน
หลักสูตรมอนเตสซอรี่กลับมา เขาพบว่า มอนเตสซอรี่เป็นรูปแบบการจัดการเรียนการสอนที่มีความน่าสนใจ
และมีประโยชน์ต่อการพัฒนาเด็ก
มอนเตสซอรี่เป็นระบบที่สามารถตอบโจทย์ในสถานการณ์เด็กที่เราเผชิญอยู่ได้ เพราะมอนเตสซอรี่นั้น
เน้นการจัดการเรียนการสอนที่มีหัวใจสาคัญอยู่ที่คาว่า อิสระที่มีขอบเขต ครูไม่บังคับในการเรียนรู้ เด็กมีอิสระ
อย่างมีขอบเขตในการเรียนรู้ มีอิสระตามศักยภาพของตนเอง
“หลังจากเราจัดการเรียนการสอนหลักสูตรมอนเตสซอรี่ในระดับชั้นอนุบาลประมาณ 1 ปี เราเริ่มเห็น
ผลการเปลี่ยนแปลงเกิดขึ้นกับเด็กๆ เราเห็นความงามของเด็กเกิดขึ้น เราพบว่า เด็กมีวินัยเพิ่มขึ้น มีคุณธรรม มี
ความมุ่งมั่นในการทางาน การเรียนรู้ มีความใฝ่เรียนและใฝ่รู้ มีสังคมของการช่วยเหลือกัน เอื้ออาทรกัน
ผลลัพท์เช่นนี้กลับไปตอบโจทย์ปัญหาที่เรามีมาก่อนนี้”
ห้องเรียนมีชีวิต : ห้องเรียน “สิ่งแวดล้อม” (ต้นทุนโรงเรียนเทศบำลคุ้มหนองคู)
การสร้างการเรียนรู้โดยระบบมอนเตสซอรี่กลายเป็นจุดเด่นของการจัดการเรียนรู้ของโรงเรียนเทศบาล
คุ้มหนองคู ขณะเดียวกัน นอกจากการสร้างการเรียนรู้ด้วยระบบการเรียนรู้ดังกล่าวแล้ว การดาเนินการก่อน
หน้านี้ของโรงเรียนเทศบาลคุ้มหนองคูก็มีการออกแบบการเรียนรู้ หลักสูตรกิจกรรมที่เน้นการลงมือปฏิบัติใน
รูปแบบต่างๆ ที่มีหัวใจของการเรียนรู้ในประเด็นเรื่องสิ่งแวดล้อม
“ต้องบอกว่า ก่อนทาเรื่องมอนเตสซอรี่ เรามีกิจกรรมการเรียนรู้อื่นๆ หลากหลาย ตั้งแต่ปี พ.ศ.2542
เราเริ่มต้นทาเรื่องสิ่งแวดล้อม โดยเริ่มต้นมาจากสถานการณ์ปัญหาเรื่องขยะในโรงเรียน เพราะตอนนั้นขยะมี
จานวนมากและไม่มีการนาไปใช้ประโยชน์ จึงเกิดการเริ่มต้นทาเรื่อง ขยะ 4 ส่วน ที่ครูอาจารย์เริ่มทากันเอง
โดยก่อนเริ่มทานั้น เราได้ไปดูการจัดการขยะของโรงเรียนรุ่งอรุณ จ.กรุงเทพฯ จากการดูงาน เราเห็นวิธีการใน
การจัดการหลายรูปแบบ ไม่ใช่เพียงเอาขยะมาทาดอกไม้ แต่ยังสามารถเอาไปดัดแปลงเป็นผลงานได้หลาย
อย่าง เราเห็นกระบวนการในการจัดการขยะที่เห็นรูปธรรมของจานวนที่ลดลง และวิธีการในการอธิบายให้เด็ก
ฟังว่าทาทาไม และทาอย่างไร
หลังจากกลับมาแล้วก็เกิดการจัดการขยะ 4 ส่วนที่บูรณาการเข้ากับการเรียนการสอนของโรงเรียน
เริ่มต้นทาเรื่องการจัดแยกขยะ แยกกระดาษ แยกแก้ว แยกถุงพลาสติก พอเราเริ่มทาได้เป็นรูปเป็นร่างเกิดการ
คัดแยกอย่างเป็นระบบ ก็เริ่มมีการสานต่อขยายความร่วมมือ จนกิจกรรมของเราได้รับรางวัลชนะเลิศด้านการ
จัดการสิ่งแวดล้อมจากโครงการสร้างสรรค์สิ่งแวดล้อมดีเด่นเฉลิมพระเกียรติทาให้มีคนเข้ามาดูงานจานวนมาก
จนเกิดการเชื่อมโยงกับหน่วยงาน องค์กรภายนอก โดยมีเทศบาลคอยหนุนเสริมให้การสนับสนุน เช่น เกิด
ความร่วมมือกับ โครงการธงสีเขียวเพื่อรักษาสิ่งแวดล้อมร่วมกับกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สมาคม
เทคโนโลยีที่เหมาะสม ฯลฯ ประกอบกับมีความต้องการที่จะหาเครื่องมือในการจัดการแก้ปัญหาเรื่องตัวชี้วัด
และการเรียนรู้ 8 สาระวิชา เราจึงเริ่มต้นทาเรื่องหลักสูตรพลังงานทดแทน ตั้งแต่ระดับอนุบาลจนระดับชั้น ป.6
โดยเป็นหลักสูตรที่ทางอาจารย์ร่วมคิดกันเอง มี โครงการธงสีเขียวเพื่อรักษาสิ่งแวดล้อม มาหนุนเสริม เพราะ
เรามองว่าจากขยะมันก็เชื่อมโยงไปสู่เรื่องพลังงาน จนเกิดการเรียนรู้เรื่องพลังงานทดแทนอย่างเป็นระบบ เรา
เกิดเป็นกิจกรรมการมีส่วนร่วมหลายๆ อย่างในโรงเรียน เช่น ธนาคารขยะ การทาปุ๋ยน้าหมักชีวภาพ ปุ๋ ยหมัก
อินทรีย์(โบคาฉิ) ไบโอดีเซล เกษตรผสมผสาน
จากต้นทุนการทางานเรื่องสิ่งแวดล้อมมาโดยตลอดของโรงเรียน เมื่อเราเอาระบบมอนเตสซอรี่มาปรับ
ใช้เราจึงบูรณาการต้นทุนที่เรามีกับการสร้างกระบวนการเรียนรู้ให้นักเรียน ในการเรียนรู้จึงมีเรื่องสิ่งแวดล้อม
เป็นฐานในการปฏิบัติการของเรา เกิดห้องเรียนที่มีชีวิต ที่เด็กนักเรียนได้ลงมือปฏิบัติ ลงมือทาในการเรียนรู้”
บูรณำกำรหลักสูตร
บนต้นทุนเรื่องสิ่งแวดล้อม บนฐานการเรียนรู้ตามอัธยาศัย กระบวนการเช่นนี้ขับเคลื่อนไปอย่าง
ต่อเนื่อง แม้จะเกิดผลลัพท์ที่สวยงามกับเด็กนักเรียน หากแต่ประเด็นเรื่องตัวชี้วัดกลับเป็นปัญหาสาคัญที่
เกิดขึ้นตามมา
“เราจัดกระบวนการเรียนรู้ที่เด็กเป็นศูนย์กลางการเรียนรู้ เขามีอิสระ มีความสุขในการเรียนรู้ และมัน
เกิดสิ่งที่เราเรียกว่า ความงามของเด็ก หากแต่ผลการสอบ ตัวชี้วัดก็เป็นประเด็นที่เป็นปัญหาสาคัญของเรา
เพราะกระบวนการเรียนรู้ของเราเป็นนอกระบบ ขณะที่ตัวชี้วัดยังต้องใช้ตัวชี้วัดในระบบที่มี 5 ตัวชี้วัด ปัญหา
คือ ฐานคิดของหลักสูตรมอนเตสซอรี่นั้น มุ่งสร้างกระบวนการเรียนรู้อย่างอิสระ ให้ผู้เรียนมีอิสระตามความ
สนใจ ตามศักยภาพ และใช้กระบวนการกลุ่มในการสร้างการเรียนรู้ ทั้งกระบวนการและวิธีการในการจัดการ
เรียนการสอนตามหลักสูตรนี้จึงมีความแตกต่างจากหลักสูตรในระบบของสถานศึกษาอื่นๆ ที่ยึดแกนกลาง 8
สาระความรู้เป็นแก่นในการออกแบบหลักสูตรการเรียนการสอน”
ออกแบบกำรเรียนรู้ : 1 แก่นแกน บูรณำกำรทุกสำระแกนกลำง
การออกแบบกระบวนการเรียนรู้ที่เชื่อมโยง 8 สาระแกนกลางกับเรื่องสิ่งแวดล้อมผ่านหลักสูตรดินน้า
ลมไฟจึงเกิดขึ้น โดย 4 ฐานคิดแก่นแกนของสิ่งแวดล้อมถูกออกแบบอย่างผสมผสานกับไปวิชาหลักตามเกณฑ์
กระทรวงศึกษาธิการ วิชาวิทยาศาสตร์ ภาษาไทย ภาษาอังกฤษ สังคมศึกษา สุขศึกษา คณิตศาสตร์ และศิลปะ
การงานพื้นฐานอาชีพ จากทฤษฎีนาไปสู่ปฏิบัติการ และจากปฏิบัติการนาไปสู่การสัมผัสเรียนรู้ในของจริง
“เราเริ่มต้นการทากิจกรรมจากในห้องเรียน ในวันเดียวกันจะมีทั้งวิชาวิทยาศาสตร์ ศิลปะ สุขศึกษา
การงานพื้นฐานอาชีพ โดยหลักสูตรดินน้าลมไฟนี้ เรียนวันละ 1 ชั่วโมง ตั้งแต่เวลา 13.00 น. เรียน 3 วันต่อ
หนึ่งสัปดาห์ โดยครูต้องทาการบ้านอย่างมาก ครูแต่ละท่านต้องทาการบ้านส่วนตัว ทาการบ้านกลุ่ม โดยที่ครู
จะทาการค้นคว้าหาข้อมูลต่างๆ ที่เกี่ยวข้องว่าในแต่ละวิชานั้นจะเชื่อมโยงอย่างไร เช่น เรียนสังคมกับเรื่องน้า
อย่างไร จะสื่อสารเรื่องไหน ตัวชี้วัดคืออะไร จากนั้นครูแต่ละคนก็จะไปคิดมา แล้วเอาความคิด เอาข้อมูลที่แต่
ละคนทานั้นมาระดมกัน อย่างวิชาสังคม เราก็เน้นเรื่องแหล่งเรียนรู้ วิชาการงานพื้นฐานอาชีพเราก็เน้นการลง
มือปฏิบัติ วิชาศิลปะเน้นเรื่องความสุนทรีย์ และวิชาสุขศึกษาเน้นการไม่เป็นโรค การป้ องกันโรคต่างๆ
เช่น “น้า” นักเรียนจะได้เรียนรู้ธรรมชาติของน้า เรียนรู้ว่าน้ามาจากไหน เส้นทางที่น้ามามาอย่างไร
โดยครูจะเป็นผู้ค้นคว้าข้อมูลจากตารา จากอินเตอร์เน็ต จากนั้นจึงนาข้อมูลต่างๆ มาออกแบบจนนาไปสู่การ
ปฏิบัติโดยมีการพาเด็กไปเรียนรู้จากของจริง จากพื้นที่จริงๆ
คาบเรียนเรื่องน้า จึงเริ่มต้นจากการเรียนรู้ทางวิทยาศาสตร์ เรียนรู้ทฤษฎีน้าว่าเป็นอย่างไร เพื่อเป็น
การปูทางความรู้ให้แก่เด็กนักเรียน จากนั้นเราจึงพาเด็กๆ ลงไปเรียนรู้ทางสังคม โดยพาไปเรียนรู้ในสถานที่จริง
พื้นที่จริง เราพาไปดูเส้นทางน้า พาไปดูแหล่งน้า พาไปดูแหล่งน้าเสีย เด็กจะเรียนรู้ถึงที่มาที่ไป ทาความเข้าใจ
เรื่องน้าและสาเหตุที่น้าเสีย และเชื่อมโยงเรื่องน้าสู่สถานการณ์ว่า หากเขาจะต้องอยู่กับน้า จะอยู่อย่างไร ตั้ง
คาถามร่วมกันระดมความคิด จากนั้นเราจึงจะสอนวิธีการเอาตัวรอดจากน้าท่วม เช่น การป้ องกันโรคจากน้า
ท่วม ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของวิชาสุขศึกษา การทาแพ การทาวัสดุอุปกรณ์ต่างๆ ที่เป็นส่วนหนึ่งของวิชาการงาน
พื้นฐานอาชีพ เป็นต้น
จากนั้น เมื่อเข้าใจที่มาที่ไป เข้าใจในสภาวะน้าท่วมที่เกิดขึ้นแล้ว ก็ควรจะนาไปสู่การปรับทัศนะเพื่อ
การอยู่อย่างมีความสุข เชื่อมโยงวิชาศิลปะกับน้า ที่เราจะสอนให้เห็นถึงความเชื่อมโยง ความรื่นรมย์ที่เกิดขึ้น
โดยจะให้เด็กมองสภาวะน้าท่วมอย่างเป็นเรื่องธรรมชาติ มองน้าในเชิงสุนทรียแล้วถ่ายทอดออกมาเป็นงาน
ศิลปะ”
ห้องเรียน ดิน น้ำ ลม ไฟ
ห้องเรียนของหลักสูตรดินน้าลมไฟนั้น เป็นห้องเรียนกว้างขวางที่ครูต้องทางานอย่างหนักและเข้มข้น
มาก ก่อนคาบเรียน ครูจะต้องเตรียมใบงานโดยการค้นหาข้อมูลต่างๆ ทั้งจากหนังสือ อินเตอร์เน็ต ใช้ทุกยุทธวิธี
ที่จะหาข้อมูลได้ ระหว่างคาบเรียน ต้องเฝ้ าสังเกตการณ์และสร้างให้เกิดกระบวนการเรียนรู้อย่างทั่วถึง ให้เด็ก
นักเรียนได้ลองลงมือทา ลองปฏิบัติ คิดและสรุปองค์ความรู้ด้วยตัวของเขาเอง และหลังจบคาบเรียน ก็ต้อง
วิเคราะห์ประมวลและสรุปบทเรียนการจัดการเรียนการสอนที่เกิดขึ้น
“กลุ่มเป้ าหมายหลักของการเรียนการสอนหลักสูตรดินน้าลมไฟนั้น คือ ชั้นเรียนระดับประถม
1 – 3 เนื่องจากเป็นชั้นเรียนที่มีการจัดรูปแบบการเรียนรู้ด้วยรูปแบบมอนเตสซอรี่ ซึ่งถือว่าเป็นเป้ าหมายที่เรา
สามารถดูแลอย่างใกล้ชิดได้ ส่วนเด็กในระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 – 6 นั้น เขาจะเรียนอยู่ในกลุ่มสาระวิชา
หลักอยู่แล้ว ขณะเดียวกันก็สามารถเรียนหลักสูตรดินน้าลมไฟนอกเวลาเรียนได้อีกด้วย
ประกอบกับ ตอนที่เราเริ่มต้นทาหลักสูตรดินน้าลมไฟนี้ เราจะมีเด็กจากชั้นประถมปีที่ 3 ที่ผ่านการ
เรียนรู้รูปแบบมอนเตสซอรี่มาแล้วขึ้นชั้นประถมปีที่ 4 เป็นรุ่นแรก ดังนั้นเด็กในระดับชั้นประถมปีที่ 4 เขาก็จะ
เคยผ่านการเรียนแบบมอนเตสซอรี่ ที่มีประสบการณ์ในการเรียนรู้ ในการทากิจกรรมมาอย่างต่อเนื่อง ดังนั้น
การจัดการเรียนการสอนจึงเชื่อมร้อยทั้งครูในระบบกับครูในระบบมอนเตสซอรี่”
“จำกห้องเรียนสิ่งแวดล้อม สู่ชีวิตรักษ์ธรรมชำติ”
กล่าวได้ว่า กระบวนการเรียนรู้ภายใต้กิจกรรมของหลักสูตรดินน้าลมไฟที่เกิดขึ้นนั้น ทาให้เรื่อง
สิ่งแวดล้อมกลายเป็นเรื่องใกล้ตัวมากขึ้น ทั้งสาหรับตัวเด็กนักเรียนเอง รวมทั้งเหล่าคุณครูที่เป็นกาลังหลัก
สาคัญของหลักสูตรนี้ด้วย
“พอมาทากิจกรรมหลักสูตรดินน้าลมไฟ ทาให้เห็นได้ว่าแต่ละส่วนนั้นสัมพันธ์กันบนฐานที่ว่า คุณ
อนันต์ โทษมหันต์ โดยหัวใจของหลักสูตรดินน้าลมไฟนั้นคือเรื่องสิ่งแวดล้อม
หลังกระบวนการเรียนรู้ สิ่งที่เราพบจากเด็กนักเรียน คือ การที่เราเห็นความเปลี่ยนแปลงของเขา เช่น
เรื่องสิ่งแวดล้อมนั้น เราพบว่า เด็กเขาอาจจะยังไม่เกิดความตระหนักเต็มร้อยในการรักษาสิ่งแวดล้อม แต่เขาก็
เกิดความรู้ว่าอะไรที่ควรทา ไม่ควรทา ตัวอย่างที่เห็นได้ชัด คือ เรื่องขยะ เขาให้ความร่วมมือกันอย่างจริงจัง
เรื่องฟืนไฟ เขาก็รู้ถึงภัยอันตราย จะเกี่ยวข้องกับฟืนไฟ เขาก็มีความระมัดระวังมากขึ้น เข้าห้องออกจากห้องก็
ปิดไฟเสมอ เจอขยะก็เก็บขยะทิ้งอย่างถูกที่ถูกทาง
ครูผู้สอน ต้องบอกว่า ก่อนที่จะทาเรื่องหลักสูตรดินน้าลมไฟ เรามองเรื่องสิ่งแวดล้อม หรือเราสอนก็
เพื่อให้เขาเกิดความรู้ทั่วๆ ไป เป็นการสอนเพื่อให้สอบผ่านตามหลักสูตร แต่พอเราได้มาทาเรื่องนี้ ปรากฏว่า
เราพบว่ามันกลายเป็นส่วนหนึ่งของชีวิต เราเห็นความสาคัญ มันฝังซึมซับเข้าไปเรื่อยๆ ยิ่งเราลงไปบ่อยๆ
เรียนรู้บ่อยๆ เราก็ซึม อย่างแต่ก่อนเราปลูกต้นไม้ เราก็ทาไปไม่ได้ลงลึกอะไร ไม่ได้เลี้ยงดู ดูแล แต่พอเข้ามาทา
หลักสูตรดินน้าลมไฟ ก็เกิดการซึมซับ จนตอนนี้เราอยากปลูกต้นไม้ อยากรักษาดูแลต้นไม้ เพราะเรารู้ว่ามันมี
คุณค่า มันมีผลต่อสังคม ต่อโลก และต่อเราอย่างไร รวมทั้งเรื่องสุขศึกษาด้วย เมื่อเราได้ไปศึกษาค้นข้อมูล
เพิ่มเติม ทาให้เราเกิดความเข้าใจว่าเวลามีน้า ก็จะมีโรคที่เกิดมากับน้าได้ จากเราไม่เคยรู้ ไม่เคยกลัว พอค้น
ข้อมูลเราก็เริ่มเข้าใจ”
สาระสาคัญ หัวใจหลักของหลักสูตรนี้คือการทาความเข้าใจกับสิ่งแวดล้อมทั้งระบบอย่างเชื่อมโยง ทั้ง
เชื่อมโยงในเชิงองค์ความรู้เรื่องธรรมชาติ สิ่งแวดล้อมที่ดินน้าลมไฟต่างเป็นส่วนหนึ่งของกันและกัน เชื่อมโยงใน
กระบวนการจัดการเรียนรู้ จากห้องเรียนสู่พื้นที่จริง จากทฤษฎีสู่ปฏิบัติการ เชื่อมโยงบูรณาการกับ 8 สาระ
แกนกลาง เชื่อมโยงต้นทุนทุกอย่างของโรงเรียน ใช้จุดเด่นของโรงเรียนที่มีอัตลักษณ์เข้มข้นด้านสิ่งแวดล้อมเป็น
แกนหลักในการเคลื่อนไหวสร้างการเรียนรู้ รวมทั้งเชื่อมโยงชีวิตโรงเรียนสู่ชีวิตครอบครัว ทาให้ความรู้จาก
ห้องเรียนที่เด็กๆ เรียนรู้ ได้ส่งต่อไปยังพ่อแม่ ผู้ปกครองอีกด้วย

More Related Content

Similar to หลักสูตรดินน้ำลมไฟ โรงเรียนเทศบาลคุ้มหนองคู จ.ขอนแก่น

โรงเรียนและชุมชน
โรงเรียนและชุมชนโรงเรียนและชุมชน
โรงเรียนและชุมชน
Twatchai Tangutairuang
 
หลักสูตรสถานศึกษา23
หลักสูตรสถานศึกษา23หลักสูตรสถานศึกษา23
หลักสูตรสถานศึกษา23mariamsamadeng
 
หลักสูตรสถานศึกษา23
หลักสูตรสถานศึกษา23หลักสูตรสถานศึกษา23
หลักสูตรสถานศึกษา23mariamsamadeng
 
วารสาร
วารสารวารสาร
วารสาร
Nichatcha Aryowong
 
2554 ผลงานค่ายคืนปัญญาสู่มาตุภูมิ ชมรมอีสาน พระนครเหนือ (เต็ม)
2554 ผลงานค่ายคืนปัญญาสู่มาตุภูมิ ชมรมอีสาน พระนครเหนือ (เต็ม)2554 ผลงานค่ายคืนปัญญาสู่มาตุภูมิ ชมรมอีสาน พระนครเหนือ (เต็ม)
2554 ผลงานค่ายคืนปัญญาสู่มาตุภูมิ ชมรมอีสาน พระนครเหนือ (เต็ม)
mahaoath พระมหาโอ๊ท
 
วารสารโรงเรียนทุ่งยาวผดุงศิษย์ ปี 2555
วารสารโรงเรียนทุ่งยาวผดุงศิษย์ ปี 2555วารสารโรงเรียนทุ่งยาวผดุงศิษย์ ปี 2555
วารสารโรงเรียนทุ่งยาวผดุงศิษย์ ปี 2555waranyuati
 
นำเสนองานโรงเรียนดี
นำเสนองานโรงเรียนดี นำเสนองานโรงเรียนดี
นำเสนองานโรงเรียนดี
นายไพโรจน์ พันธุศิลป์
 
รายงานโครงการเพาะพันธุ์ปัญญา ญสส. ปี 2559
รายงานโครงการเพาะพันธุ์ปัญญา ญสส. ปี 2559รายงานโครงการเพาะพันธุ์ปัญญา ญสส. ปี 2559
รายงานโครงการเพาะพันธุ์ปัญญา ญสส. ปี 2559
dnavaroj
 
2554 ค่ายอาสาพัฒนาจุฬา - ชนบท ครั้งที่ ๒๒
2554 ค่ายอาสาพัฒนาจุฬา - ชนบท ครั้งที่ ๒๒2554 ค่ายอาสาพัฒนาจุฬา - ชนบท ครั้งที่ ๒๒
2554 ค่ายอาสาพัฒนาจุฬา - ชนบท ครั้งที่ ๒๒
mahaoath พระมหาโอ๊ท
 
นำเสนอแนะนำร.ร.บ้านตุ่น
นำเสนอแนะนำร.ร.บ้านตุ่นนำเสนอแนะนำร.ร.บ้านตุ่น
นำเสนอแนะนำร.ร.บ้านตุ่นkruklai98
 
นำเสนอแนะนำร.ร.บ้านตุ่น
นำเสนอแนะนำร.ร.บ้านตุ่นนำเสนอแนะนำร.ร.บ้านตุ่น
นำเสนอแนะนำร.ร.บ้านตุ่นkruklai98
 
แผนปฏิบัติการโรงเรียนบ้านเนินพยอม2559
แผนปฏิบัติการโรงเรียนบ้านเนินพยอม2559แผนปฏิบัติการโรงเรียนบ้านเนินพยอม2559
แผนปฏิบัติการโรงเรียนบ้านเนินพยอม2559
Sriwijit Kerdwan
 
เอกสารการสังเคราะห์ผลการดำเนินงานของโรงเรียนด้านสิ่งแวดล้อม
เอกสารการสังเคราะห์ผลการดำเนินงานของโรงเรียนด้านสิ่งแวดล้อมเอกสารการสังเคราะห์ผลการดำเนินงานของโรงเรียนด้านสิ่งแวดล้อม
เอกสารการสังเคราะห์ผลการดำเนินงานของโรงเรียนด้านสิ่งแวดล้อมrbsupervision
 
การพัฒนารูปแบบการส่งเสริมความร่วมมือในการจัดการศึกษาภาคปฏิบัติในชุมชน
การพัฒนารูปแบบการส่งเสริมความร่วมมือในการจัดการศึกษาภาคปฏิบัติในชุมชนการพัฒนารูปแบบการส่งเสริมความร่วมมือในการจัดการศึกษาภาคปฏิบัติในชุมชน
การพัฒนารูปแบบการส่งเสริมความร่วมมือในการจัดการศึกษาภาคปฏิบัติในชุมชน
Yumisnow Manoratch
 
ชีวิตและงานเพื่อสังคมของ อ.นิรันดร์-ฉบับร่าง101.docx
ชีวิตและงานเพื่อสังคมของ อ.นิรันดร์-ฉบับร่าง101.docxชีวิตและงานเพื่อสังคมของ อ.นิรันดร์-ฉบับร่าง101.docx
ชีวิตและงานเพื่อสังคมของ อ.นิรันดร์-ฉบับร่าง101.docx
Niran Kultanan
 
ประวัติโรงเรียนเสลภูมิพิทยาคม
ประวัติโรงเรียนเสลภูมิพิทยาคมประวัติโรงเรียนเสลภูมิพิทยาคม
ประวัติโรงเรียนเสลภูมิพิทยาคม
KiiKz Krittiya
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
kanwan0429
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
kanwan0429
 

Similar to หลักสูตรดินน้ำลมไฟ โรงเรียนเทศบาลคุ้มหนองคู จ.ขอนแก่น (20)

โรงเรียนและชุมชน
โรงเรียนและชุมชนโรงเรียนและชุมชน
โรงเรียนและชุมชน
 
หลักสูตรสถานศึกษา23
หลักสูตรสถานศึกษา23หลักสูตรสถานศึกษา23
หลักสูตรสถานศึกษา23
 
หลักสูตรสถานศึกษา23
หลักสูตรสถานศึกษา23หลักสูตรสถานศึกษา23
หลักสูตรสถานศึกษา23
 
วารสาร
วารสารวารสาร
วารสาร
 
2554 ผลงานค่ายคืนปัญญาสู่มาตุภูมิ ชมรมอีสาน พระนครเหนือ (เต็ม)
2554 ผลงานค่ายคืนปัญญาสู่มาตุภูมิ ชมรมอีสาน พระนครเหนือ (เต็ม)2554 ผลงานค่ายคืนปัญญาสู่มาตุภูมิ ชมรมอีสาน พระนครเหนือ (เต็ม)
2554 ผลงานค่ายคืนปัญญาสู่มาตุภูมิ ชมรมอีสาน พระนครเหนือ (เต็ม)
 
วารสารโรงเรียนทุ่งยาวผดุงศิษย์ ปี 2555
วารสารโรงเรียนทุ่งยาวผดุงศิษย์ ปี 2555วารสารโรงเรียนทุ่งยาวผดุงศิษย์ ปี 2555
วารสารโรงเรียนทุ่งยาวผดุงศิษย์ ปี 2555
 
นำเสนองานโรงเรียนดี
นำเสนองานโรงเรียนดี นำเสนองานโรงเรียนดี
นำเสนองานโรงเรียนดี
 
รายงานโครงการเพาะพันธุ์ปัญญา ญสส. ปี 2559
รายงานโครงการเพาะพันธุ์ปัญญา ญสส. ปี 2559รายงานโครงการเพาะพันธุ์ปัญญา ญสส. ปี 2559
รายงานโครงการเพาะพันธุ์ปัญญา ญสส. ปี 2559
 
2554 ค่ายอาสาพัฒนาจุฬา - ชนบท ครั้งที่ ๒๒
2554 ค่ายอาสาพัฒนาจุฬา - ชนบท ครั้งที่ ๒๒2554 ค่ายอาสาพัฒนาจุฬา - ชนบท ครั้งที่ ๒๒
2554 ค่ายอาสาพัฒนาจุฬา - ชนบท ครั้งที่ ๒๒
 
นำเสนอแนะนำร.ร.บ้านตุ่น
นำเสนอแนะนำร.ร.บ้านตุ่นนำเสนอแนะนำร.ร.บ้านตุ่น
นำเสนอแนะนำร.ร.บ้านตุ่น
 
นำเสนอแนะนำร.ร.บ้านตุ่น
นำเสนอแนะนำร.ร.บ้านตุ่นนำเสนอแนะนำร.ร.บ้านตุ่น
นำเสนอแนะนำร.ร.บ้านตุ่น
 
Focus2
Focus2Focus2
Focus2
 
แผนปฏิบัติการโรงเรียนบ้านเนินพยอม2559
แผนปฏิบัติการโรงเรียนบ้านเนินพยอม2559แผนปฏิบัติการโรงเรียนบ้านเนินพยอม2559
แผนปฏิบัติการโรงเรียนบ้านเนินพยอม2559
 
เอกสารการสังเคราะห์ผลการดำเนินงานของโรงเรียนด้านสิ่งแวดล้อม
เอกสารการสังเคราะห์ผลการดำเนินงานของโรงเรียนด้านสิ่งแวดล้อมเอกสารการสังเคราะห์ผลการดำเนินงานของโรงเรียนด้านสิ่งแวดล้อม
เอกสารการสังเคราะห์ผลการดำเนินงานของโรงเรียนด้านสิ่งแวดล้อม
 
6.ตอนที่ 4
6.ตอนที่ 46.ตอนที่ 4
6.ตอนที่ 4
 
การพัฒนารูปแบบการส่งเสริมความร่วมมือในการจัดการศึกษาภาคปฏิบัติในชุมชน
การพัฒนารูปแบบการส่งเสริมความร่วมมือในการจัดการศึกษาภาคปฏิบัติในชุมชนการพัฒนารูปแบบการส่งเสริมความร่วมมือในการจัดการศึกษาภาคปฏิบัติในชุมชน
การพัฒนารูปแบบการส่งเสริมความร่วมมือในการจัดการศึกษาภาคปฏิบัติในชุมชน
 
ชีวิตและงานเพื่อสังคมของ อ.นิรันดร์-ฉบับร่าง101.docx
ชีวิตและงานเพื่อสังคมของ อ.นิรันดร์-ฉบับร่าง101.docxชีวิตและงานเพื่อสังคมของ อ.นิรันดร์-ฉบับร่าง101.docx
ชีวิตและงานเพื่อสังคมของ อ.นิรันดร์-ฉบับร่าง101.docx
 
ประวัติโรงเรียนเสลภูมิพิทยาคม
ประวัติโรงเรียนเสลภูมิพิทยาคมประวัติโรงเรียนเสลภูมิพิทยาคม
ประวัติโรงเรียนเสลภูมิพิทยาคม
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
 

More from Tum Meng

IM : คือ – อยู่ – เป็น
IM : คือ – อยู่ – เป็น IM : คือ – อยู่ – เป็น
IM : คือ – อยู่ – เป็น
Tum Meng
 
หนังสือ “อำเภอบุญประเพณีปลอดเหล้า” ขบวนการขับเคลื่อนสังคมแห่งความสุข
หนังสือ “อำเภอบุญประเพณีปลอดเหล้า” ขบวนการขับเคลื่อนสังคมแห่งความสุขหนังสือ “อำเภอบุญประเพณีปลอดเหล้า” ขบวนการขับเคลื่อนสังคมแห่งความสุข
หนังสือ “อำเภอบุญประเพณีปลอดเหล้า” ขบวนการขับเคลื่อนสังคมแห่งความสุข
Tum Meng
 
ชีวิต (ฅน) ป้อมมหากาฬ - Mahakan Life
ชีวิต (ฅน) ป้อมมหากาฬ - Mahakan Lifeชีวิต (ฅน) ป้อมมหากาฬ - Mahakan Life
ชีวิต (ฅน) ป้อมมหากาฬ - Mahakan Life
Tum Meng
 
ReLearn ห้องเรียนเดินได้
ReLearn ห้องเรียนเดินได้ReLearn ห้องเรียนเดินได้
ReLearn ห้องเรียนเดินได้
Tum Meng
 
เหตุการณ์สำคัญของ(การศึกษา)ไทย
เหตุการณ์สำคัญของ(การศึกษา)ไทยเหตุการณ์สำคัญของ(การศึกษา)ไทย
เหตุการณ์สำคัญของ(การศึกษา)ไทย
Tum Meng
 
การศึกษาเพื่อความเป็นไท
การศึกษาเพื่อความเป็นไทการศึกษาเพื่อความเป็นไท
การศึกษาเพื่อความเป็นไท
Tum Meng
 
ชุมชนบ้านไม้โบราณ ป้อมมหากาฬ (บทความ)
ชุมชนบ้านไม้โบราณ ป้อมมหากาฬ (บทความ)ชุมชนบ้านไม้โบราณ ป้อมมหากาฬ (บทความ)
ชุมชนบ้านไม้โบราณ ป้อมมหากาฬ (บทความ)
Tum Meng
 
ชุมชนป้อมมหากาฬ (ป้อมมีชีวิต ชีวิตหลังป้อม)
ชุมชนป้อมมหากาฬ (ป้อมมีชีวิต ชีวิตหลังป้อม)ชุมชนป้อมมหากาฬ (ป้อมมีชีวิต ชีวิตหลังป้อม)
ชุมชนป้อมมหากาฬ (ป้อมมีชีวิต ชีวิตหลังป้อม)
Tum Meng
 
สรุปประมวล เวทีสนทนา คืนการศึกษาให้สังคม : ร่วมกัน-สร้าง-พลเมือง
สรุปประมวล เวทีสนทนา คืนการศึกษาให้สังคม : ร่วมกัน-สร้าง-พลเมืองสรุปประมวล เวทีสนทนา คืนการศึกษาให้สังคม : ร่วมกัน-สร้าง-พลเมือง
สรุปประมวล เวทีสนทนา คืนการศึกษาให้สังคม : ร่วมกัน-สร้าง-พลเมือง
Tum Meng
 
EduTalk : การศึกษาเอกชนบนเส้นทางการปฏิรูปเรียนรู้สู่การเป็นพลเมืองและพลโลก
EduTalk : การศึกษาเอกชนบนเส้นทางการปฏิรูปเรียนรู้สู่การเป็นพลเมืองและพลโลกEduTalk : การศึกษาเอกชนบนเส้นทางการปฏิรูปเรียนรู้สู่การเป็นพลเมืองและพลโลก
EduTalk : การศึกษาเอกชนบนเส้นทางการปฏิรูปเรียนรู้สู่การเป็นพลเมืองและพลโลก
Tum Meng
 
EduTalk : การศึกษาที่เลือกได้
EduTalk : การศึกษาที่เลือกได้EduTalk : การศึกษาที่เลือกได้
EduTalk : การศึกษาที่เลือกได้
Tum Meng
 
EduTalk : การศึกษาไทยต้องปฏิรูปอย่างจริงจังและเร่งด่วน
EduTalk : การศึกษาไทยต้องปฏิรูปอย่างจริงจังและเร่งด่วนEduTalk : การศึกษาไทยต้องปฏิรูปอย่างจริงจังและเร่งด่วน
EduTalk : การศึกษาไทยต้องปฏิรูปอย่างจริงจังและเร่งด่วน
Tum Meng
 
ฐานการพัฒนาท้องถิ่นอยู่ที่โรงเรียน : กรณี โรงเรียนเทศบาลวัดป่าเรไร อ.เมือง จ....
ฐานการพัฒนาท้องถิ่นอยู่ที่โรงเรียน : กรณี โรงเรียนเทศบาลวัดป่าเรไร อ.เมือง จ....ฐานการพัฒนาท้องถิ่นอยู่ที่โรงเรียน : กรณี โรงเรียนเทศบาลวัดป่าเรไร อ.เมือง จ....
ฐานการพัฒนาท้องถิ่นอยู่ที่โรงเรียน : กรณี โรงเรียนเทศบาลวัดป่าเรไร อ.เมือง จ....
Tum Meng
 
โรงเรียนของชุมชน โรงเรียนของเรา
โรงเรียนของชุมชน โรงเรียนของเราโรงเรียนของชุมชน โรงเรียนของเรา
โรงเรียนของชุมชน โรงเรียนของเรา
Tum Meng
 
ประกาศฯ เรื่อง แต่งตั้งคณะปฏิรูปการศึกษาจังหวัดเชียงใหม่
ประกาศฯ เรื่อง แต่งตั้งคณะปฏิรูปการศึกษาจังหวัดเชียงใหม่ประกาศฯ เรื่อง แต่งตั้งคณะปฏิรูปการศึกษาจังหวัดเชียงใหม่
ประกาศฯ เรื่อง แต่งตั้งคณะปฏิรูปการศึกษาจังหวัดเชียงใหม่
Tum Meng
 
คืนการศึกษาให้สังคม (เอกสารประกอบเวทีคืนการศึกษาให้สังคม)
คืนการศึกษาให้สังคม (เอกสารประกอบเวทีคืนการศึกษาให้สังคม)คืนการศึกษาให้สังคม (เอกสารประกอบเวทีคืนการศึกษาให้สังคม)
คืนการศึกษาให้สังคม (เอกสารประกอบเวทีคืนการศึกษาให้สังคม)
Tum Meng
 
Happy New Year : Calendar 2015
Happy New Year : Calendar 2015 Happy New Year : Calendar 2015
Happy New Year : Calendar 2015
Tum Meng
 
สรุปข้อมูล เวทีเสียงประชาชนฯ อีสานเหนือ(ขอนแก่น)
สรุปข้อมูล เวทีเสียงประชาชนฯ อีสานเหนือ(ขอนแก่น)สรุปข้อมูล เวทีเสียงประชาชนฯ อีสานเหนือ(ขอนแก่น)
สรุปข้อมูล เวทีเสียงประชาชนฯ อีสานเหนือ(ขอนแก่น)
Tum Meng
 
สรุปข้อมูล เวทีเสียงประชาชนฯ อีสานใต้(อุบล)
สรุปข้อมูล เวทีเสียงประชาชนฯ   อีสานใต้(อุบล)สรุปข้อมูล เวทีเสียงประชาชนฯ   อีสานใต้(อุบล)
สรุปข้อมูล เวทีเสียงประชาชนฯ อีสานใต้(อุบล)
Tum Meng
 
ชุมชน ฅน สู้เหล้า
ชุมชน ฅน สู้เหล้าชุมชน ฅน สู้เหล้า
ชุมชน ฅน สู้เหล้า
Tum Meng
 

More from Tum Meng (20)

IM : คือ – อยู่ – เป็น
IM : คือ – อยู่ – เป็น IM : คือ – อยู่ – เป็น
IM : คือ – อยู่ – เป็น
 
หนังสือ “อำเภอบุญประเพณีปลอดเหล้า” ขบวนการขับเคลื่อนสังคมแห่งความสุข
หนังสือ “อำเภอบุญประเพณีปลอดเหล้า” ขบวนการขับเคลื่อนสังคมแห่งความสุขหนังสือ “อำเภอบุญประเพณีปลอดเหล้า” ขบวนการขับเคลื่อนสังคมแห่งความสุข
หนังสือ “อำเภอบุญประเพณีปลอดเหล้า” ขบวนการขับเคลื่อนสังคมแห่งความสุข
 
ชีวิต (ฅน) ป้อมมหากาฬ - Mahakan Life
ชีวิต (ฅน) ป้อมมหากาฬ - Mahakan Lifeชีวิต (ฅน) ป้อมมหากาฬ - Mahakan Life
ชีวิต (ฅน) ป้อมมหากาฬ - Mahakan Life
 
ReLearn ห้องเรียนเดินได้
ReLearn ห้องเรียนเดินได้ReLearn ห้องเรียนเดินได้
ReLearn ห้องเรียนเดินได้
 
เหตุการณ์สำคัญของ(การศึกษา)ไทย
เหตุการณ์สำคัญของ(การศึกษา)ไทยเหตุการณ์สำคัญของ(การศึกษา)ไทย
เหตุการณ์สำคัญของ(การศึกษา)ไทย
 
การศึกษาเพื่อความเป็นไท
การศึกษาเพื่อความเป็นไทการศึกษาเพื่อความเป็นไท
การศึกษาเพื่อความเป็นไท
 
ชุมชนบ้านไม้โบราณ ป้อมมหากาฬ (บทความ)
ชุมชนบ้านไม้โบราณ ป้อมมหากาฬ (บทความ)ชุมชนบ้านไม้โบราณ ป้อมมหากาฬ (บทความ)
ชุมชนบ้านไม้โบราณ ป้อมมหากาฬ (บทความ)
 
ชุมชนป้อมมหากาฬ (ป้อมมีชีวิต ชีวิตหลังป้อม)
ชุมชนป้อมมหากาฬ (ป้อมมีชีวิต ชีวิตหลังป้อม)ชุมชนป้อมมหากาฬ (ป้อมมีชีวิต ชีวิตหลังป้อม)
ชุมชนป้อมมหากาฬ (ป้อมมีชีวิต ชีวิตหลังป้อม)
 
สรุปประมวล เวทีสนทนา คืนการศึกษาให้สังคม : ร่วมกัน-สร้าง-พลเมือง
สรุปประมวล เวทีสนทนา คืนการศึกษาให้สังคม : ร่วมกัน-สร้าง-พลเมืองสรุปประมวล เวทีสนทนา คืนการศึกษาให้สังคม : ร่วมกัน-สร้าง-พลเมือง
สรุปประมวล เวทีสนทนา คืนการศึกษาให้สังคม : ร่วมกัน-สร้าง-พลเมือง
 
EduTalk : การศึกษาเอกชนบนเส้นทางการปฏิรูปเรียนรู้สู่การเป็นพลเมืองและพลโลก
EduTalk : การศึกษาเอกชนบนเส้นทางการปฏิรูปเรียนรู้สู่การเป็นพลเมืองและพลโลกEduTalk : การศึกษาเอกชนบนเส้นทางการปฏิรูปเรียนรู้สู่การเป็นพลเมืองและพลโลก
EduTalk : การศึกษาเอกชนบนเส้นทางการปฏิรูปเรียนรู้สู่การเป็นพลเมืองและพลโลก
 
EduTalk : การศึกษาที่เลือกได้
EduTalk : การศึกษาที่เลือกได้EduTalk : การศึกษาที่เลือกได้
EduTalk : การศึกษาที่เลือกได้
 
EduTalk : การศึกษาไทยต้องปฏิรูปอย่างจริงจังและเร่งด่วน
EduTalk : การศึกษาไทยต้องปฏิรูปอย่างจริงจังและเร่งด่วนEduTalk : การศึกษาไทยต้องปฏิรูปอย่างจริงจังและเร่งด่วน
EduTalk : การศึกษาไทยต้องปฏิรูปอย่างจริงจังและเร่งด่วน
 
ฐานการพัฒนาท้องถิ่นอยู่ที่โรงเรียน : กรณี โรงเรียนเทศบาลวัดป่าเรไร อ.เมือง จ....
ฐานการพัฒนาท้องถิ่นอยู่ที่โรงเรียน : กรณี โรงเรียนเทศบาลวัดป่าเรไร อ.เมือง จ....ฐานการพัฒนาท้องถิ่นอยู่ที่โรงเรียน : กรณี โรงเรียนเทศบาลวัดป่าเรไร อ.เมือง จ....
ฐานการพัฒนาท้องถิ่นอยู่ที่โรงเรียน : กรณี โรงเรียนเทศบาลวัดป่าเรไร อ.เมือง จ....
 
โรงเรียนของชุมชน โรงเรียนของเรา
โรงเรียนของชุมชน โรงเรียนของเราโรงเรียนของชุมชน โรงเรียนของเรา
โรงเรียนของชุมชน โรงเรียนของเรา
 
ประกาศฯ เรื่อง แต่งตั้งคณะปฏิรูปการศึกษาจังหวัดเชียงใหม่
ประกาศฯ เรื่อง แต่งตั้งคณะปฏิรูปการศึกษาจังหวัดเชียงใหม่ประกาศฯ เรื่อง แต่งตั้งคณะปฏิรูปการศึกษาจังหวัดเชียงใหม่
ประกาศฯ เรื่อง แต่งตั้งคณะปฏิรูปการศึกษาจังหวัดเชียงใหม่
 
คืนการศึกษาให้สังคม (เอกสารประกอบเวทีคืนการศึกษาให้สังคม)
คืนการศึกษาให้สังคม (เอกสารประกอบเวทีคืนการศึกษาให้สังคม)คืนการศึกษาให้สังคม (เอกสารประกอบเวทีคืนการศึกษาให้สังคม)
คืนการศึกษาให้สังคม (เอกสารประกอบเวทีคืนการศึกษาให้สังคม)
 
Happy New Year : Calendar 2015
Happy New Year : Calendar 2015 Happy New Year : Calendar 2015
Happy New Year : Calendar 2015
 
สรุปข้อมูล เวทีเสียงประชาชนฯ อีสานเหนือ(ขอนแก่น)
สรุปข้อมูล เวทีเสียงประชาชนฯ อีสานเหนือ(ขอนแก่น)สรุปข้อมูล เวทีเสียงประชาชนฯ อีสานเหนือ(ขอนแก่น)
สรุปข้อมูล เวทีเสียงประชาชนฯ อีสานเหนือ(ขอนแก่น)
 
สรุปข้อมูล เวทีเสียงประชาชนฯ อีสานใต้(อุบล)
สรุปข้อมูล เวทีเสียงประชาชนฯ   อีสานใต้(อุบล)สรุปข้อมูล เวทีเสียงประชาชนฯ   อีสานใต้(อุบล)
สรุปข้อมูล เวทีเสียงประชาชนฯ อีสานใต้(อุบล)
 
ชุมชน ฅน สู้เหล้า
ชุมชน ฅน สู้เหล้าชุมชน ฅน สู้เหล้า
ชุมชน ฅน สู้เหล้า
 

หลักสูตรดินน้ำลมไฟ โรงเรียนเทศบาลคุ้มหนองคู จ.ขอนแก่น

  • 1. หลักสูตรดินน้ำลมไฟ โรงเรียนเทศบาลคุ้มหนองคู อำเภอเมือง จังหวัดขอนแก่น โรงเรียนเทศบาลคุ้มหนองคู ตั้งเมื่อปี พ.ศ.2513 เริ่มสอนตั้งแต่ระดับชั้นอนุบาลจนถึงระดับชั้น ประถมศึกษาปีที่ 4 จนต่อมาปี พ.ศ.2524 จึงได้ขยายการสอนจนถึงระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 โดยตั้งอยู่ที่ ถนนรอบเมือง ตาบลในเมือง อาเภอเมือง จังหวัดขอนแก่น โดยเปิดสอนตั้งแต่ระดับชั้นก่อนประถมศึกษา (ปฐมวัย) ถึงระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 จัดอยู่ในประเภทโรงเรียนขนาดกลาง นักเรียนในโรงเรียนมาจาก ชุมชนต่าง ๆ ในเขตเทศบาลและนอกเขตเทศบาล เช่น ชุมชนคุ้มหนองคู ชุมชนศรีจันทร์ ชุมชนซอยธารทิพย์ ชุมชนชัยณรงค์ ชุมชนบ้านดอนหญ้านาง ค่ายศรีหราชเดโชชัย(ร.8) เป็นต้น และยังมีเด็กที่อยู่นอกเขตชุมชน แต่ อยู่ในเขตเทศบาลเข้ามาเรียนด้วย โรงเรียนเทศบาลคุ้มหนองคูนั้นเผชิญสถานการณ์ปัญหาไม่ต่างจากโรงเรียนอื่นๆ ทั้งปัญหาบุคลากรครู ไม่เพียงพอต่อการดูแลเด็กให้ทั่วถึง ทาให้ครูต้องสลับสับเปลี่ยนกันทางาน รวมทั้งสถานการณ์ปัญหาที่เด็ก นักเรียนอ่านไม่ออกและเขียนไม่ได้ จากสถานการณ์ปัญหาที่เกิดขึ้นจึงนามาสู่กระบวนการในการปรึกษาหารือ กันของครูอาจารย์ทั้งโรงเรียน จนพบแนวทางในการแก้ไขปัญหา “ตอนนั้นช่วง ปี พ.ศ.2549 เราพบว่า เด็กนักเรียนกว่า 20% ของโรงเรียนอ่านไม่ออกเขียนไม่ได้ ซึ่งเรา ก็มามองว่า ที่เด็กอ่านไม่ออกเขียนไม่ได้เป็นปัญหาจากหลักสูตร ทาไมถึงเป็นปัญหาที่หลักสูตร ก็เพราะว่า หลักสูตรที่จัดการเรียนการสอนนั้นไม่ได้ตอบโจทย์ให้เด็ก เพราะ 1.เด็กเขามีความสามารถ มีความสนใจที่ ต่างกัน แต่เพราะเขาเรียนในระบบ ดังนั้นเขาจึงต้องเรียนในเรื่องเดียวกัน 2.เมื่อเขามีความสนใจไม่เหมือนกัน บางคนยังรับสิ่งที่เรียนรู้ในวิชาแรกยังไม่ซึมซับทั้งหมด เขาก็ต้องเปลี่ยนคาบเรียนไปเรียนอย่างอื่นแล้ว ดังนั้น ความไม่เข้าใจมันก็จะทับถมไปเรื่อยๆ จนเกิดเป็นปัญหาอย่างที่เกิดขึ้น เด็กอ่านไม่ออก เขียนไม่ได้ ไม่มี ความสุขในการเรียน จากสถานการณ์ทาให้ครูอาจารย์เองก็มาตั้งวงคุยกันหาวิธีการจัดการด้วยตัวเอง โดยในตอนนั้นเอง ทางเทศบาลคุ้มหนองคู(นายกเทศมนตรีคนเก่า นายพีระพล พัฒนพีระเดช) มีนโยบายเรื่องการจัดการเรียนรู้ หลักสูตรมอนเตสซอรี่ในระดับชั้นอนุบาล เทศบาลจึงจัดพาครูอาจารย์ชั้นอนุบาลไปดูงานการจัดการเรียนการ สอนระบบมอนเตสซอรี่ที่โรงเรียนวิสาสน์นุสรณ์ จ.เชียงราย ที่ตอนนั้นคุณครูก็ไม่รู้หรอกว่า มอนเตสซอรี่คือ อะไร” “มอนเตสซอรี่” กับแปลงทดลองชั้นอนุบำล “มอนเตสซอรี่” คืออะไร มอนเตสซอรี่ เป็นการสอนรูปแบบหนึ่งที่เหมาะกับเด็ก ทั้งเด็กพิเศษและเด็กปกติ ดร.มาเรีย มอนเตส ซอรี่ เป็นผู้ริเริ่มคิดวิธีการจัดการเรียนการสอนแบบนี้ขึ้นมาสาหรับเด็กที่มีความบกพร่องทางสติปัญญา และได้ ใช้วิธีการที่คิดขึ้นมาเองนี้จนประสบผลสาเร็จ ต่อมาได้พัฒนาการสอนจนสมบูรณ์แบบ เพื่อใช้เป็นวิธีการสอน
  • 2. สาหรับเด็กโดยทั่วๆ ไป ดังนั้น การสอนแบบมอนเตสซอรี่จึงคานึงถึงการยอมรับนับถือในตัวเด็ก โดยจัดการเรียนการสอนให้ เด็กแต่ละบุคคล และให้เด็กได้ทางานไปตามลาดับความยาก-ง่าย และเป็นไปตามความสามารถของเด็ก ห้องเรียนของมอนเตสซอรี่จะไม่มีรูปแบบของการจัดโต๊ะ เก้าอี้ของห้องเรียนโดยทั่วไป แต่จะมีโต๊ะ เก้าอี้ สามารถปรับเปลี่ยนมุมได้ตามลักษณะของกิจกรรม เพื่อให้เด็กได้ทางานคนเดียวหรือทางานในกลุ่มเล็กๆ เด็ก จะมีอิสระภายในสิ่งแวดล้อมที่ได้ตระเตรียมเอาไว้ให้ “ทาไมต้องเป็นมอนเตสซอรี่ ต้องบอกว่า หลังจากที่ครูอาจารย์ได้ไปเรียนรู้การจัดการเรียนการสอน หลักสูตรมอนเตสซอรี่กลับมา เขาพบว่า มอนเตสซอรี่เป็นรูปแบบการจัดการเรียนการสอนที่มีความน่าสนใจ และมีประโยชน์ต่อการพัฒนาเด็ก มอนเตสซอรี่เป็นระบบที่สามารถตอบโจทย์ในสถานการณ์เด็กที่เราเผชิญอยู่ได้ เพราะมอนเตสซอรี่นั้น เน้นการจัดการเรียนการสอนที่มีหัวใจสาคัญอยู่ที่คาว่า อิสระที่มีขอบเขต ครูไม่บังคับในการเรียนรู้ เด็กมีอิสระ อย่างมีขอบเขตในการเรียนรู้ มีอิสระตามศักยภาพของตนเอง “หลังจากเราจัดการเรียนการสอนหลักสูตรมอนเตสซอรี่ในระดับชั้นอนุบาลประมาณ 1 ปี เราเริ่มเห็น ผลการเปลี่ยนแปลงเกิดขึ้นกับเด็กๆ เราเห็นความงามของเด็กเกิดขึ้น เราพบว่า เด็กมีวินัยเพิ่มขึ้น มีคุณธรรม มี ความมุ่งมั่นในการทางาน การเรียนรู้ มีความใฝ่เรียนและใฝ่รู้ มีสังคมของการช่วยเหลือกัน เอื้ออาทรกัน ผลลัพท์เช่นนี้กลับไปตอบโจทย์ปัญหาที่เรามีมาก่อนนี้” ห้องเรียนมีชีวิต : ห้องเรียน “สิ่งแวดล้อม” (ต้นทุนโรงเรียนเทศบำลคุ้มหนองคู) การสร้างการเรียนรู้โดยระบบมอนเตสซอรี่กลายเป็นจุดเด่นของการจัดการเรียนรู้ของโรงเรียนเทศบาล คุ้มหนองคู ขณะเดียวกัน นอกจากการสร้างการเรียนรู้ด้วยระบบการเรียนรู้ดังกล่าวแล้ว การดาเนินการก่อน หน้านี้ของโรงเรียนเทศบาลคุ้มหนองคูก็มีการออกแบบการเรียนรู้ หลักสูตรกิจกรรมที่เน้นการลงมือปฏิบัติใน รูปแบบต่างๆ ที่มีหัวใจของการเรียนรู้ในประเด็นเรื่องสิ่งแวดล้อม “ต้องบอกว่า ก่อนทาเรื่องมอนเตสซอรี่ เรามีกิจกรรมการเรียนรู้อื่นๆ หลากหลาย ตั้งแต่ปี พ.ศ.2542 เราเริ่มต้นทาเรื่องสิ่งแวดล้อม โดยเริ่มต้นมาจากสถานการณ์ปัญหาเรื่องขยะในโรงเรียน เพราะตอนนั้นขยะมี จานวนมากและไม่มีการนาไปใช้ประโยชน์ จึงเกิดการเริ่มต้นทาเรื่อง ขยะ 4 ส่วน ที่ครูอาจารย์เริ่มทากันเอง โดยก่อนเริ่มทานั้น เราได้ไปดูการจัดการขยะของโรงเรียนรุ่งอรุณ จ.กรุงเทพฯ จากการดูงาน เราเห็นวิธีการใน การจัดการหลายรูปแบบ ไม่ใช่เพียงเอาขยะมาทาดอกไม้ แต่ยังสามารถเอาไปดัดแปลงเป็นผลงานได้หลาย อย่าง เราเห็นกระบวนการในการจัดการขยะที่เห็นรูปธรรมของจานวนที่ลดลง และวิธีการในการอธิบายให้เด็ก ฟังว่าทาทาไม และทาอย่างไร หลังจากกลับมาแล้วก็เกิดการจัดการขยะ 4 ส่วนที่บูรณาการเข้ากับการเรียนการสอนของโรงเรียน เริ่มต้นทาเรื่องการจัดแยกขยะ แยกกระดาษ แยกแก้ว แยกถุงพลาสติก พอเราเริ่มทาได้เป็นรูปเป็นร่างเกิดการ
  • 3. คัดแยกอย่างเป็นระบบ ก็เริ่มมีการสานต่อขยายความร่วมมือ จนกิจกรรมของเราได้รับรางวัลชนะเลิศด้านการ จัดการสิ่งแวดล้อมจากโครงการสร้างสรรค์สิ่งแวดล้อมดีเด่นเฉลิมพระเกียรติทาให้มีคนเข้ามาดูงานจานวนมาก จนเกิดการเชื่อมโยงกับหน่วยงาน องค์กรภายนอก โดยมีเทศบาลคอยหนุนเสริมให้การสนับสนุน เช่น เกิด ความร่วมมือกับ โครงการธงสีเขียวเพื่อรักษาสิ่งแวดล้อมร่วมกับกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สมาคม เทคโนโลยีที่เหมาะสม ฯลฯ ประกอบกับมีความต้องการที่จะหาเครื่องมือในการจัดการแก้ปัญหาเรื่องตัวชี้วัด และการเรียนรู้ 8 สาระวิชา เราจึงเริ่มต้นทาเรื่องหลักสูตรพลังงานทดแทน ตั้งแต่ระดับอนุบาลจนระดับชั้น ป.6 โดยเป็นหลักสูตรที่ทางอาจารย์ร่วมคิดกันเอง มี โครงการธงสีเขียวเพื่อรักษาสิ่งแวดล้อม มาหนุนเสริม เพราะ เรามองว่าจากขยะมันก็เชื่อมโยงไปสู่เรื่องพลังงาน จนเกิดการเรียนรู้เรื่องพลังงานทดแทนอย่างเป็นระบบ เรา เกิดเป็นกิจกรรมการมีส่วนร่วมหลายๆ อย่างในโรงเรียน เช่น ธนาคารขยะ การทาปุ๋ยน้าหมักชีวภาพ ปุ๋ ยหมัก อินทรีย์(โบคาฉิ) ไบโอดีเซล เกษตรผสมผสาน จากต้นทุนการทางานเรื่องสิ่งแวดล้อมมาโดยตลอดของโรงเรียน เมื่อเราเอาระบบมอนเตสซอรี่มาปรับ ใช้เราจึงบูรณาการต้นทุนที่เรามีกับการสร้างกระบวนการเรียนรู้ให้นักเรียน ในการเรียนรู้จึงมีเรื่องสิ่งแวดล้อม เป็นฐานในการปฏิบัติการของเรา เกิดห้องเรียนที่มีชีวิต ที่เด็กนักเรียนได้ลงมือปฏิบัติ ลงมือทาในการเรียนรู้” บูรณำกำรหลักสูตร บนต้นทุนเรื่องสิ่งแวดล้อม บนฐานการเรียนรู้ตามอัธยาศัย กระบวนการเช่นนี้ขับเคลื่อนไปอย่าง ต่อเนื่อง แม้จะเกิดผลลัพท์ที่สวยงามกับเด็กนักเรียน หากแต่ประเด็นเรื่องตัวชี้วัดกลับเป็นปัญหาสาคัญที่ เกิดขึ้นตามมา “เราจัดกระบวนการเรียนรู้ที่เด็กเป็นศูนย์กลางการเรียนรู้ เขามีอิสระ มีความสุขในการเรียนรู้ และมัน เกิดสิ่งที่เราเรียกว่า ความงามของเด็ก หากแต่ผลการสอบ ตัวชี้วัดก็เป็นประเด็นที่เป็นปัญหาสาคัญของเรา เพราะกระบวนการเรียนรู้ของเราเป็นนอกระบบ ขณะที่ตัวชี้วัดยังต้องใช้ตัวชี้วัดในระบบที่มี 5 ตัวชี้วัด ปัญหา คือ ฐานคิดของหลักสูตรมอนเตสซอรี่นั้น มุ่งสร้างกระบวนการเรียนรู้อย่างอิสระ ให้ผู้เรียนมีอิสระตามความ สนใจ ตามศักยภาพ และใช้กระบวนการกลุ่มในการสร้างการเรียนรู้ ทั้งกระบวนการและวิธีการในการจัดการ เรียนการสอนตามหลักสูตรนี้จึงมีความแตกต่างจากหลักสูตรในระบบของสถานศึกษาอื่นๆ ที่ยึดแกนกลาง 8 สาระความรู้เป็นแก่นในการออกแบบหลักสูตรการเรียนการสอน” ออกแบบกำรเรียนรู้ : 1 แก่นแกน บูรณำกำรทุกสำระแกนกลำง การออกแบบกระบวนการเรียนรู้ที่เชื่อมโยง 8 สาระแกนกลางกับเรื่องสิ่งแวดล้อมผ่านหลักสูตรดินน้า ลมไฟจึงเกิดขึ้น โดย 4 ฐานคิดแก่นแกนของสิ่งแวดล้อมถูกออกแบบอย่างผสมผสานกับไปวิชาหลักตามเกณฑ์ กระทรวงศึกษาธิการ วิชาวิทยาศาสตร์ ภาษาไทย ภาษาอังกฤษ สังคมศึกษา สุขศึกษา คณิตศาสตร์ และศิลปะ การงานพื้นฐานอาชีพ จากทฤษฎีนาไปสู่ปฏิบัติการ และจากปฏิบัติการนาไปสู่การสัมผัสเรียนรู้ในของจริง “เราเริ่มต้นการทากิจกรรมจากในห้องเรียน ในวันเดียวกันจะมีทั้งวิชาวิทยาศาสตร์ ศิลปะ สุขศึกษา
  • 4. การงานพื้นฐานอาชีพ โดยหลักสูตรดินน้าลมไฟนี้ เรียนวันละ 1 ชั่วโมง ตั้งแต่เวลา 13.00 น. เรียน 3 วันต่อ หนึ่งสัปดาห์ โดยครูต้องทาการบ้านอย่างมาก ครูแต่ละท่านต้องทาการบ้านส่วนตัว ทาการบ้านกลุ่ม โดยที่ครู จะทาการค้นคว้าหาข้อมูลต่างๆ ที่เกี่ยวข้องว่าในแต่ละวิชานั้นจะเชื่อมโยงอย่างไร เช่น เรียนสังคมกับเรื่องน้า อย่างไร จะสื่อสารเรื่องไหน ตัวชี้วัดคืออะไร จากนั้นครูแต่ละคนก็จะไปคิดมา แล้วเอาความคิด เอาข้อมูลที่แต่ ละคนทานั้นมาระดมกัน อย่างวิชาสังคม เราก็เน้นเรื่องแหล่งเรียนรู้ วิชาการงานพื้นฐานอาชีพเราก็เน้นการลง มือปฏิบัติ วิชาศิลปะเน้นเรื่องความสุนทรีย์ และวิชาสุขศึกษาเน้นการไม่เป็นโรค การป้ องกันโรคต่างๆ เช่น “น้า” นักเรียนจะได้เรียนรู้ธรรมชาติของน้า เรียนรู้ว่าน้ามาจากไหน เส้นทางที่น้ามามาอย่างไร โดยครูจะเป็นผู้ค้นคว้าข้อมูลจากตารา จากอินเตอร์เน็ต จากนั้นจึงนาข้อมูลต่างๆ มาออกแบบจนนาไปสู่การ ปฏิบัติโดยมีการพาเด็กไปเรียนรู้จากของจริง จากพื้นที่จริงๆ คาบเรียนเรื่องน้า จึงเริ่มต้นจากการเรียนรู้ทางวิทยาศาสตร์ เรียนรู้ทฤษฎีน้าว่าเป็นอย่างไร เพื่อเป็น การปูทางความรู้ให้แก่เด็กนักเรียน จากนั้นเราจึงพาเด็กๆ ลงไปเรียนรู้ทางสังคม โดยพาไปเรียนรู้ในสถานที่จริง พื้นที่จริง เราพาไปดูเส้นทางน้า พาไปดูแหล่งน้า พาไปดูแหล่งน้าเสีย เด็กจะเรียนรู้ถึงที่มาที่ไป ทาความเข้าใจ เรื่องน้าและสาเหตุที่น้าเสีย และเชื่อมโยงเรื่องน้าสู่สถานการณ์ว่า หากเขาจะต้องอยู่กับน้า จะอยู่อย่างไร ตั้ง คาถามร่วมกันระดมความคิด จากนั้นเราจึงจะสอนวิธีการเอาตัวรอดจากน้าท่วม เช่น การป้ องกันโรคจากน้า ท่วม ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของวิชาสุขศึกษา การทาแพ การทาวัสดุอุปกรณ์ต่างๆ ที่เป็นส่วนหนึ่งของวิชาการงาน พื้นฐานอาชีพ เป็นต้น จากนั้น เมื่อเข้าใจที่มาที่ไป เข้าใจในสภาวะน้าท่วมที่เกิดขึ้นแล้ว ก็ควรจะนาไปสู่การปรับทัศนะเพื่อ การอยู่อย่างมีความสุข เชื่อมโยงวิชาศิลปะกับน้า ที่เราจะสอนให้เห็นถึงความเชื่อมโยง ความรื่นรมย์ที่เกิดขึ้น โดยจะให้เด็กมองสภาวะน้าท่วมอย่างเป็นเรื่องธรรมชาติ มองน้าในเชิงสุนทรียแล้วถ่ายทอดออกมาเป็นงาน ศิลปะ” ห้องเรียน ดิน น้ำ ลม ไฟ ห้องเรียนของหลักสูตรดินน้าลมไฟนั้น เป็นห้องเรียนกว้างขวางที่ครูต้องทางานอย่างหนักและเข้มข้น มาก ก่อนคาบเรียน ครูจะต้องเตรียมใบงานโดยการค้นหาข้อมูลต่างๆ ทั้งจากหนังสือ อินเตอร์เน็ต ใช้ทุกยุทธวิธี ที่จะหาข้อมูลได้ ระหว่างคาบเรียน ต้องเฝ้ าสังเกตการณ์และสร้างให้เกิดกระบวนการเรียนรู้อย่างทั่วถึง ให้เด็ก นักเรียนได้ลองลงมือทา ลองปฏิบัติ คิดและสรุปองค์ความรู้ด้วยตัวของเขาเอง และหลังจบคาบเรียน ก็ต้อง วิเคราะห์ประมวลและสรุปบทเรียนการจัดการเรียนการสอนที่เกิดขึ้น “กลุ่มเป้ าหมายหลักของการเรียนการสอนหลักสูตรดินน้าลมไฟนั้น คือ ชั้นเรียนระดับประถม 1 – 3 เนื่องจากเป็นชั้นเรียนที่มีการจัดรูปแบบการเรียนรู้ด้วยรูปแบบมอนเตสซอรี่ ซึ่งถือว่าเป็นเป้ าหมายที่เรา สามารถดูแลอย่างใกล้ชิดได้ ส่วนเด็กในระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 – 6 นั้น เขาจะเรียนอยู่ในกลุ่มสาระวิชา หลักอยู่แล้ว ขณะเดียวกันก็สามารถเรียนหลักสูตรดินน้าลมไฟนอกเวลาเรียนได้อีกด้วย
  • 5. ประกอบกับ ตอนที่เราเริ่มต้นทาหลักสูตรดินน้าลมไฟนี้ เราจะมีเด็กจากชั้นประถมปีที่ 3 ที่ผ่านการ เรียนรู้รูปแบบมอนเตสซอรี่มาแล้วขึ้นชั้นประถมปีที่ 4 เป็นรุ่นแรก ดังนั้นเด็กในระดับชั้นประถมปีที่ 4 เขาก็จะ เคยผ่านการเรียนแบบมอนเตสซอรี่ ที่มีประสบการณ์ในการเรียนรู้ ในการทากิจกรรมมาอย่างต่อเนื่อง ดังนั้น การจัดการเรียนการสอนจึงเชื่อมร้อยทั้งครูในระบบกับครูในระบบมอนเตสซอรี่” “จำกห้องเรียนสิ่งแวดล้อม สู่ชีวิตรักษ์ธรรมชำติ” กล่าวได้ว่า กระบวนการเรียนรู้ภายใต้กิจกรรมของหลักสูตรดินน้าลมไฟที่เกิดขึ้นนั้น ทาให้เรื่อง สิ่งแวดล้อมกลายเป็นเรื่องใกล้ตัวมากขึ้น ทั้งสาหรับตัวเด็กนักเรียนเอง รวมทั้งเหล่าคุณครูที่เป็นกาลังหลัก สาคัญของหลักสูตรนี้ด้วย “พอมาทากิจกรรมหลักสูตรดินน้าลมไฟ ทาให้เห็นได้ว่าแต่ละส่วนนั้นสัมพันธ์กันบนฐานที่ว่า คุณ อนันต์ โทษมหันต์ โดยหัวใจของหลักสูตรดินน้าลมไฟนั้นคือเรื่องสิ่งแวดล้อม หลังกระบวนการเรียนรู้ สิ่งที่เราพบจากเด็กนักเรียน คือ การที่เราเห็นความเปลี่ยนแปลงของเขา เช่น เรื่องสิ่งแวดล้อมนั้น เราพบว่า เด็กเขาอาจจะยังไม่เกิดความตระหนักเต็มร้อยในการรักษาสิ่งแวดล้อม แต่เขาก็ เกิดความรู้ว่าอะไรที่ควรทา ไม่ควรทา ตัวอย่างที่เห็นได้ชัด คือ เรื่องขยะ เขาให้ความร่วมมือกันอย่างจริงจัง เรื่องฟืนไฟ เขาก็รู้ถึงภัยอันตราย จะเกี่ยวข้องกับฟืนไฟ เขาก็มีความระมัดระวังมากขึ้น เข้าห้องออกจากห้องก็ ปิดไฟเสมอ เจอขยะก็เก็บขยะทิ้งอย่างถูกที่ถูกทาง ครูผู้สอน ต้องบอกว่า ก่อนที่จะทาเรื่องหลักสูตรดินน้าลมไฟ เรามองเรื่องสิ่งแวดล้อม หรือเราสอนก็ เพื่อให้เขาเกิดความรู้ทั่วๆ ไป เป็นการสอนเพื่อให้สอบผ่านตามหลักสูตร แต่พอเราได้มาทาเรื่องนี้ ปรากฏว่า เราพบว่ามันกลายเป็นส่วนหนึ่งของชีวิต เราเห็นความสาคัญ มันฝังซึมซับเข้าไปเรื่อยๆ ยิ่งเราลงไปบ่อยๆ เรียนรู้บ่อยๆ เราก็ซึม อย่างแต่ก่อนเราปลูกต้นไม้ เราก็ทาไปไม่ได้ลงลึกอะไร ไม่ได้เลี้ยงดู ดูแล แต่พอเข้ามาทา หลักสูตรดินน้าลมไฟ ก็เกิดการซึมซับ จนตอนนี้เราอยากปลูกต้นไม้ อยากรักษาดูแลต้นไม้ เพราะเรารู้ว่ามันมี คุณค่า มันมีผลต่อสังคม ต่อโลก และต่อเราอย่างไร รวมทั้งเรื่องสุขศึกษาด้วย เมื่อเราได้ไปศึกษาค้นข้อมูล เพิ่มเติม ทาให้เราเกิดความเข้าใจว่าเวลามีน้า ก็จะมีโรคที่เกิดมากับน้าได้ จากเราไม่เคยรู้ ไม่เคยกลัว พอค้น ข้อมูลเราก็เริ่มเข้าใจ” สาระสาคัญ หัวใจหลักของหลักสูตรนี้คือการทาความเข้าใจกับสิ่งแวดล้อมทั้งระบบอย่างเชื่อมโยง ทั้ง เชื่อมโยงในเชิงองค์ความรู้เรื่องธรรมชาติ สิ่งแวดล้อมที่ดินน้าลมไฟต่างเป็นส่วนหนึ่งของกันและกัน เชื่อมโยงใน กระบวนการจัดการเรียนรู้ จากห้องเรียนสู่พื้นที่จริง จากทฤษฎีสู่ปฏิบัติการ เชื่อมโยงบูรณาการกับ 8 สาระ แกนกลาง เชื่อมโยงต้นทุนทุกอย่างของโรงเรียน ใช้จุดเด่นของโรงเรียนที่มีอัตลักษณ์เข้มข้นด้านสิ่งแวดล้อมเป็น แกนหลักในการเคลื่อนไหวสร้างการเรียนรู้ รวมทั้งเชื่อมโยงชีวิตโรงเรียนสู่ชีวิตครอบครัว ทาให้ความรู้จาก ห้องเรียนที่เด็กๆ เรียนรู้ ได้ส่งต่อไปยังพ่อแม่ ผู้ปกครองอีกด้วย