SlideShare a Scribd company logo
1 of 81
Download to read offline
¡Ã³Õ âçàÃÕ¹ºŒÒ¹Âҧ͌Í µ.àÇÕ§µÒÅ Í.ˌҧ©ÑµÃ ¨.ÅÓ»Ò§
áÅÐ âçàÃÕ¹ºŒÒ¹Êº»‡Ò¡ µ.áÁ‹à¡Ôë§ Í.ÇѧªÔé¹ ¨.á¾Ã‹¡Ã³Õ âçàÃÕ¹ºŒÒ¹Âҧ͌Í µ.àÇÕ§µÒÅ Í.ˌҧ©ÑµÃ ¨.ÅÓ»Ò§
áÅÐ âçàÃÕ¹ºŒÒ¹Êº»‡Ò¡ µ.áÁ‹à¡Ôë§ Í.ÇѧªÔé¹ ¨.á¾Ã‹
สมัชชาเครือขาย
ปฏิรูปการศึกษา
พิมพ์ครั้งแรก
กันยายน 2558
จำ�นวนพิมพ์
1,000 เล่ม
ผู้เขียน
สลิลทิพย์ เชียงทอง
ภาพประกอบ
อภิรัฐ วิทยสมบูรณ์
ออกแบบรูปเล่ม
อินทิรา วิทยสมบูรณ์
ผู้สนับสนุนการจัดพิมพ์
สำ�นักงานประสานการพัฒนาสังคมสุขภาวะ (สปพส.)
126/146 ชั้น 4 อาคาร 10 ชั้น สถาบันบำ�ราศนราดูร
ซอยติวานนท์ 14 ต.ตลาดขวัญ อ.เมือง จ.นนทบุรี 11000
โทร 0-2965-9531-3 โทรสาร 0-2965-9534
ดำ�เนินการผลิต
Media for All, mediaforall.project@gmail.com
โรงเรียนของชุมชน โรงเรียนของเรา
กรณี โรงเรียนบ้านยางอ้อย ต.เวียงตาล อ.ห้างฉัตร จ.ล�ำปาง
และ โรงเรียนบ้านสบป้าก ต.แม่เกิ๋ง อ.วังชิ้น จ.แพร่
โรงเรียนของชุมชน โรงเรียนของเรา
กรณี โรงเรียนบ้านยางอ้อย ต.เวียงตาล อ.ห้างฉัตร จ.ล�ำปาง
และ โรงเรียนบ้านสบป้าก ต.แม่เกิ๋ง อ.วังชิ้น จ.แพร่
จากวิกฤติของนโยบายการยุบควบโรงเรียนขนาดเล็กเมื่อปี พ.ศ.2554
ท�ำให้เกิดกระแสตื่นตัวของสังคม นักวิชาการ นักเรียนและผู้ปกครองซึ่งเป็น
ผู้ได้รับผลกระทบต่างตื่นตัวรวมตัวกันปรึกษาหารือค้นหาข้อมูลจากข่าวสารจาก
เพื่อนต่างต�ำบลที่โรงเรียนถูกยุบไปแล้ว ถึงผลได้เสียของการยุบโรงเรียนที่ลูก
หลานเรียนอยู่ ขณะเดียวกันโรงเรียนก็ได้ท�ำหน้าที่เข้าหาชุมชนและผู้ปกครอง
เพื่อจัดเวทีรับฟังความคิดเห็นของผู้ที่ได้รับผลกระทบ ซึ่งต่างก็ไม่เห็นด้วยกับ
การยุบควบรวมโรงเรียนขนาดเล็ก
	 การพัฒนาคุณภาพการเรียนการสอนด้วยการปฏิรูปการจัดการ
ศึกษาแนวใหม่โดยให้ชุมชนเข้ามามีส่วนร่วมในการจัดการศึกษาเชื่อมโยงผู้รู้
ครูภูมิปัญญาท้องถิ่น เข้ามามีส่วนร่วมในการจัดการเรียนรู้ โดยมีเป้าหมายเพื่อ
พัฒนาให้เป็นโรงเรียนของชุมชน จากการถอดบทเรียนการพัฒนาคุณภาพการ
ศึกษาของโรงเรียนบ้านยางอ้อย อ.ห้างฉัตร จ.ล�ำปาง และโรงเรียนบ้านสบป้าก
อ.วังชิ้น จ.แพร่ พบว่าเกิดการเปลี่ยนแปลงของคนในชุมชนที่เข้ามามีส่วนร่วม
ในการจัดการศึกษาและการเข้าร่วมกิจกรรมของโรงเรียนด้วยจิตที่ตระหนักถึง
การเป็นเจ้าของโรงเรียนที่ผู้เฒ่าผู้แก่ได้ลงมือสร้าง แม้นว่ารูปธรรมของโรงเรียน
ทั้งสองแห่งเพิ่งจะเริ่มแต่ก็เห็นหน่อของการเติบโตพร้อมที่จะแข็งแรงต่อไป
	 ในฐานะผู้ถอดบทเรียนและเรียบเรียงถ่ายทอดเรื่องราวที่เกิดขึ้น
หวังเป็นอย่างยิ่งว่าหนังสือ“โรงเรียนของชุมชน โรงเรียนของเรา:กรณีโรงเรียน
บ้านยางอ้อยอ.ห้างฉัตรจ.ล�ำปาง และโรงเรียนบ้านสบป้าก อ.วังชิ้น จ.แพร่”
นี้จะสร้างแรงบันดาลใจในการริเริ่มจัดการศึกษาเพื่อพัฒนาไปสู่โรงเรียนของ
ชุมชนต่อไป
	 	 	 	 	 	       เชื่อมั่นและศรัทธา
	 	 	 	 	                สลิลทิพย์ เชียงทอง
	 	 	 	 	 	          กันยายน 2558
คำ�นำ�คำ�นำ�
สถานการณ์โรงเรียนขนาดเล็กในช่วงปี 2554
พลิกวิกฤติเป็นโอกาสของการปรับตัวของโรงเรียนขนาดเล็ก
กระบวนการพัฒนาหลักสูตรท้องถิ่น วิถีไทย วิถีพอเพียง
การเปลี่ยนแปลง
ทิศทางของการพัฒนาโรงเรียนขนาดเล็ก
รายชื่อครูภูมิปัญญา
ตัวอย่างหลักสูตรท้องถิ่น
รายชื่อผู้ให้ข้อมูล
อ้างอิง
สารบัญสารบัญ
77
2121
3939
6161
6969
7474
6464
7676
7878
สถานการณ์โรงเรียนขนาดเล็ก
ในช่วงปี 2554
สถานการณ์โรงเรียนขนาดเล็ก
ในช่วงปี 2554
โรงเรียนขนาดเล็กหมายถึงโรงเรียนประถมศึกษาสังกัดส�ำนักงาน
การศึกษาขั้นพื้นฐาน (สพฐ.) มีจ�ำนวนนักเรียนต�่ำกว่า 120 คน โรงเรียนเปิด
สอนตั้งแต่อนุบาล 1-2 และระดับประถม 1-6 รวม 8 ห้องเรียน แต่พบว่า
มีครูผู้สอนและผู้บริหารโรงเรียนรวมกัน3-5คน เนื่องจากนโยบายของสพฐ.
ใช้จ�ำนวนเด็กเป็นเกณฑ์ของการก�ำหนดงบประมาณจึงส่งผลให้เกิดปัญหา
ตามมาหลายประการ กล่าวคือ การจัดสรรงบประมาณตามรายหัว เมื่อ
นักเรียนน้อย งบประมาณจึงลดน้อยลงไปด้วย การจัดสรรอัตราครูจึงขึ้นอยู่
กับจ�ำนวนนักเรียน ถ้านักเรียนต�่ำกว่า 20 คน จะมีครูผู้สอน 1 คน นักเรียน
21-40 คน มีครูผู้สอน 2 คน นักเรียน 41-60 คน มีครูผู้สอน 3 คน นักเรียน
61-80 คน มีครูผู้สอน 4 คน นักเรียน 81-100 คน มีครูผู้สอน 5 คน และ
นักเรียน 101-120 คน มีครูผู้สอน 6 คน เกิดปัญหาครูไม่ครบชั้น ขาดแคลน
ครุภัณฑ์ อุปกรณ์การเรียนการสอน จ�ำนวนครูไม่ครบชั้นและไม่ครบสาระ
วิชาตามหลักสูตร จากนโยบายที่ใช้จ�ำนวนนักเรียนเป็นตัวก�ำหนดอัตราส่วน
ของครูต่อนักเรียน โดยไม่ได้ค�ำนึงถึงชั้นเรียนที่โรงเรียนจะต้องรับผิดชอบถึง
8 ห้องเรียน ท�ำให้ครูต้องรับผิดชอบในการสอนครบชั้นและสอนในสาระวิชา
ที่ไม่ถนัด ไม่เชี่ยวชาญ จึงส่งผลให้ประสิทธิภาพ ประสิทธิผลของนักเรียน
ประถมศึกษาไม่เป็นไปตามที่ควรจะเป็น อีกทั้งยังขาดแคลนเทคโนโลยีเพื่อ
เป็นสื่อการเรียนการสอน การประเมินต่างๆ ของส�ำนักงานรับรองมาตรฐาน
และประเมินคุณภาพการศึกษา (สมศ.) มีมากเกินความจ�ำเป็น ท�ำให้ครู มี
ภาระงานซ�้ำซ้อน ต้องท�ำงานเอกสารมาก ท�ำให้เวลาในการดูแลเด็กลดน้อย
ลงไป ผู้บริหารโรงเรียนโยกย้ายบ่อยหรือบางครั้งขาดผู้บริหารเป็นระยะเวลา
นาน ท�ำให้เกิดช่องว่างของการท�ำงานในกลุ่มครูที่ไม่สามารถตัดสินใจหรือสั่ง
การกันเองได้ ด้วยสาเหตุหลายประการจึงท�ำให้ผู้ปกครองขาดความมั่นใจ
และย้ายเด็กไปเรียนโรงเรียนอื่นโดยเฉพาะผู้ปกครองที่มีรายได้ปานกลางขึ้น
ไป ส่วนผู้ปกครองที่มีรายได้น้อย ยากจน ก็ยังคงให้ลูกหลานเรียนในโรงเรียน
ต่อไป ปัญหาของโรงเรียนขนาดเล็กพบว่ามีจ�ำนวนเด็กลดน้อยลงทุกปี ดังมี
ข้อมูลของจ�ำนวนโรงเรียนขนาดเล็กดังนี้
8 โรงเรียนของชุมชน โรงเรียนของเรา
(ที่มา เว็บไซด์ สพฐ.)
10 โรงเรียนของชุมชน โรงเรียนของเรา
	 นโยบายของกระทรวงศึกษาธิการในการบริหารจัดการโรงเรียน
ขนาดเล็กซึ่งสังกัดเดิม คือ ส�ำนักงานคณะกรรมการประถมศึกษา ปัจจุบัน
คือ ส�ำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ตั้งแต่ปี พ.ศ.2536
เป็นต้นมา ได้พยายามด�ำเนินการบริหารจัดการสถานศึกษาขนาดเล็กใน
หลายๆ รูปแบบ ได้แก่ การยุบรวมและเลิกล้มโรงเรียนขนาดเล็กนั้นๆ จน
กระทั่งปี พ.ศ.2554 กระทรวงศึกษาธิการได้ประกาศนโยบายการยุบเลิก
โรงเรียนขนาดเล็กอีกครั้งโดยให้ส�ำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาเร่งรัดปฏิบัติ
การยุบควบรวมโรงเรียนขนาดเล็กให้เหลือร้อยละ50ภายในปีพ.ศ.2561
ดังมีเป้าหมายการยุบโรงเรียนขนาดเล็ก แบ่งเป็น 3 ระยะ กล่าวคือ ระยะ
ที่ 1 ปีการศึกษา 2554-2556 จ�ำนวน 5,627 โรงเรียน ระยะที่ 2 ปีการ
ศึกษา 2557-2559 จ�ำนวน 6,395 โรงเรียน ระยะที่ 3 ปีการศึกษา 2560-
2561 จ�ำนวน 2,372 โรงเรียน ซึ่งจะมีเด็กนับ 500,000 คนที่ห่างไกล
ยากจนได้รับผลกระทบต่อนโยบาย
	 ส�ำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ได้ให้หลักการและ
เหตุผลส�ำคัญ 2 ประการ ต่อการยุบโรงเรียนขนาดเล็ก คือ
	 1. นักเรียนจากสถานศึกษาขนาดเล็กมีคุณภาพค่อนข้างต�่ำ เมื่อ
เปรียบเทียบกับสถานศึกษาขนาดอื่นๆ อาจเป็นเพราะโรงเรียนขาดความ
พร้อมทางด้านปัจจัย เช่น มีครูไม่ครบชั้นเรียน ขาดแคลนสื่อการเรียน
การสอนและวัสดุอุปกรณ์ โดยเฉพาะสื่อและเทคโนโลยีที่มีราคาแพง ทั้งนี้
เนื่องจากเกณฑ์การจัดสรรงบประมาณใช้จ�ำนวนนักเรียนเป็นเกณฑ์ในการ
จัดสรร
	 2. สถานศึกษาขนาดเล็กส่วนใหญ่ขาดประสิทธิภาพในการบริหาร
จัดการ กล่าวคือ มีการลงทุนค่อนข้างสูง เมื่อเปรียบเทียบกับสถานศึกษา
ขนาดใหญ่กว่า เช่น อัตราส่วนครู : นักเรียน ซึ่งตามมาตรฐานต้อง 1 : 25
แต่ส�ำหรับสถานศึกษาขนาดเล็ก อัตราส่วนครู : นักเรียนเท่ากับ 1 : 8 - 11
11กรณี โรงเรียนบ้านยางอ้อย อ.ห้างฉัตร จ.ล�ำปาง
และ โรงเรียนบ้านสบป้าก อ.วังชิ้น จ.แพร่
การประกาศนโยบายยุบ/ควบรวมโรงเรียนขนาดเล็ก ในปี พ.ศ.2554 เกิด
วิกฤตต่อสังคมขนาดใหญ่ กระแสความตื่นตัวเรื่องการบริหารการศึกษา
ส�ำหรับโรงเรียนขนาดเล็กเป็นประเด็นใหญ่ที่สังคมให้ความสนใจทั้ง
นักวิชาการ สื่อมวลชน ประชาชนทั่วไป โดยเฉพาะผู้ปกครองไม่ได้มีความ
พร้อมที่จะให้ลูกหลานเดินทางเข้าไปเรียนโรงเรียนขนาดใหญ่ที่อยู่ห่างไกล
นอกชุมชน
กระแสสังคมตื่นตัว เกิดข้อเสนอจากภาคสังคม
	 นโยบายการยุบโรงเรียนขนาดเล็กสวนทางกับพระราชบัญญัติ
การศึกษาแห่งชาติปี พ.ศ.2542 ที่ให้ความส�ำคัญการกระจายอ�ำนาจใน
การจัดการศึกษาแก่ท้องถิ่น นโยบายการยุบเลิกหรือยุบรวมโรงเรียนขนาด
เล็กแสดงให้เห็นถึงความพยายามผูกขาดอ�ำนาจในการบริหารจัดการการ
ศึกษาของฝ่ายบริหารและหน่วยราชการที่ไม่เปิดโอกาสให้ภาคสังคม โดย
เฉพาะอย่างยิ่งชาวบ้าน พ่อแม่ผู้ปกครอง และเด็กนักเรียนที่จะได้รับผล
กระทบ ได้มีส่วนร่วมในการตัดสินใจแต่อย่างใด
	 ปัญหาขาดคุณภาพในด้านการเรียนการสอนของโรงเรียนขนาด
เล็กจนน�ำมาสู่ข้ออ้างของการยุบเลิกหรือยุบรวมโรงเรียนก็ดูจะเป็นความ
ผิดพลาดของการบริหารจัดการการศึกษาที่ผ่านมาของกระทรวงศึกษา
ที่ไม่สามารถสนับสนุนการจัดการศึกษาที่มีคุณภาพแก่โรงเรียนที่อยู่ห่าง
ไกลทั้งในแง่อุปกรณ์ เทคโนโลยี และในแง่การกระจายบุคลากร นโยบาย
การยุบโรงเรียนขนาดเล็กท�ำให้คุณภาพการเรียนการสอนยิ่งรุนแรง
มากขึ้น การลดอัตราจ้างครู ลดงบประมาณ การก�ำหนดนโยบายการ
ศึกษาจากส่วนกลาง การใช้หลักสูตร การก�ำหนดตัวชี้วัด การประเมินผล
การจัดระบบสนับสนุน ฯลฯ ส่งผลให้โรงเรียนขนาดเล็กที่อยู่ชนบทห่าง
ไกลมีปัญหาด้านคุณภาพการเรียนการสอนค่อนข้างมาก
12 โรงเรียนของชุมชน โรงเรียนของเรา
	 กระแสการคัดค้านการยุบโรงเรียนขนาดเล็กเกิดขึ้นอย่างกว้าง
ขวาง นักวิชาการหลายท่านเขียนบทความแสดงความคิดเห็นคัดค้านการยุบ
โรงเรียนขนาดเล็ก รวมทั้งมีการเปิดเวทีรับฟังความคิดเห็นจากหลายองค์กร
และสมาคมสภาการศึกษาทางเลือกซึ่งเป็นองค์กรที่เกิดจากการรวมตัวของ
โรงเรียน สถาบัน องค์กร และกลุ่มที่จัดการศึกษานอกระบบ รวมเรียกว่า
กลุ่มการศึกษาทางเลือก ได้ท�ำหน้าที่เชื่อมโยงกลุ่มภาคีและสมาชิกกลุ่มการ
ศึกษาทางเลือก 146 องค์กร
	 สมาคมสภาการศึกษาทางเลือก ได้เปิดเวทีรับฟังความคิดเห็นทั้ง
4 ภาค ได้แก่ ภาคกลาง ภาคเหนือ ภาคอีสาน และภาคใต้ มีองค์กรเข้า
ร่วม เช่น ส�ำนักงานกองทุนการวิจัย ฝ่ายวิจัยท้องถิ่น มูลนิธิอาสาสมัคร
เพื่อสังคม เครือข่ายเยาวชนสืบสานภูมิปัญญา ภาคีของสภาการศึกษา
ทางเลือก และผู้ได้รับผลกระทบและความเดือดร้อนจากการยุบ ควบ รวม
โรงเรียนขนาดเล็ก ได้แก่ นักเรียน ผู้ปกครอง ผู้บริหารโรงเรียน ครู และ
คนในชุมชน ซึ่งการระดมความเห็นต่อการยุบโรงเรียนขนาดเล็ก สรุปได้
คือ
	 1.เกิดสภาวะของการขาดโอกาสเข้าถึงทางการศึกษาที่ส่งผล
กระทบโดยตรงต่อผู้ที่มีฐานะยากจน เพราะผู้ที่มีฐานะยากจนไม่มีศักยภาพ
เพียงพอที่จะน�ำลูกไปเรียนในเมือง และการด�ำเนินการดังกล่าวเป็นการขัด
กับรัฐธรรมนูญที่ระบุว่า “เด็กทุกคนต้องได้รับการศึกษาขั้นพื้นฐานอย่าง
ทั่วถึง มีคุณภาพเท่าเทียม และฟรี”
	 2.เพิ่มความเสี่ยงต่อการเกิดอันตรายจากการเดินทางของเด็ก
ผู้ปกครอง และ ครู ที่ต้องเดินทางไกลขึ้น หรือเดินทางข้ามชุมชนไปยัง
โรงเรียนใหม่ รวมทั้งยังท�ำให้เกิดภาระค่าใช้จ่าย และการสูญเสียเวลาของ
ผู้ปกครองในการประกอบอาชีพ รวมทั้งกระทบต่อสุขภาพจิตของผู้ปกครอง
13กรณี โรงเรียนบ้านยางอ้อย อ.ห้างฉัตร จ.ล�ำปาง
และ โรงเรียนบ้านสบป้าก อ.วังชิ้น จ.แพร่
	 3.เป็นการท�ำลายความเข้มแข็งของชุมชน เพราะการยุบ ควบ รวม
โรงเรียนของชุมชนเป็นการท�ำลายสถาบันหลักส�ำคัญของชุมชน ซึ่งประกอบ
ด้วย บ้าน วัด และโรงเรียน และเป็นเสมือนการดึงสถาบันที่เป็นเสาหลักของ
การเรียนรู้ชุมชนออกจากชุมชน เนื่องจากหลายชุมชนตระหนักว่า ครู และ
โรงเรียนถือว่าเป็นหัวใจของการท�ำงานพัฒนาชุมชน
	 4.เป็นการละเมิดสิทธิและศักดิ์ศรีของชุมชน เพราะโรงเรียนขนาด
เล็กทุกแห่งชุมชนเป็นผู้ร่วมสร้าง สละทรัพย์ แรงงาน และที่ดิน เพื่อให้ลูก
หลานได้เรียนในชุมชนท้องถิ่นของตนเอง ดังนั้นการยุบ ควบ รวม โรงเรียน
จึงเป็นการกระท�ำที่แสดงให้เห็นถึงการไม่เคารพในสิทธิความเป็นเจ้าของ
โรงเรียนของคนในชุมชนที่ได้ร่วมกันสร้างของ สพฐ.
	 5.การยุบ ควบ รวม โรงเรียนขนาดเล็กเป็นการท�ำลายรากฐาน
การเรียนรู้วิถีชีวิตวัฒนธรรมที่เป็นเอกลักษณ์ที่ดีงามของชุมชนท้องถิ่น ถือ
เป็นการท�ำลายโอกาสการเรียนรู้ของเด็ก ตัดขาดเด็กออกจากรากฐานวิถี
ชีวิตวัฒนธรรมชุมชนท้องถิ่น ซึ่งจะต้องเป็นผู้สืบทอดมรดกทางอารยธรรม
ของชาติต่อไป ท�ำให้เด็กเติบโตโดยขาดเอกลักษณ์ และความภาคภูมิใจใน
ชุมชนท้องถิ่น รากเหง้าของตนเอง
อะไรคือทางออกของโรงเรียนขนาดเล็ก
	 ตามพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2542 และแก้ไขเพิ่ม
เติม พ.ศ.2545 ก�ำหนดให้มีการปฏิรูปการศึกษาและการกระจายอ�ำนาจ
การศึกษาไปยังสถานศึกษา ตามหลักการดังนี้ 1) หลักการกระจายอ�ำนาจ
(Decentralization) เป็นการกระจายอ�ำนาจการจัดการศึกษาจากกระทรวง
และส่วนกลางไปยังสถานศึกษา 2) หลักการมีส่วนร่วม (Participation) เปิด
โอกาสให้ผู้เกี่ยวข้องและผู้มีส่วนได้เสีย ได้มีส่วนร่วมในการบริหารจัดการ
ศึกษา 3) หลักการคืนอ�ำนาจจัดการศึกษาไปให้ประชาชน (Return Power
14 โรงเรียนของชุมชน โรงเรียนของเรา
to People) กระทรวงศึกษาธิการก�ำหนดให้บุคคลที่เกี่ยวข้องกับการศึกษา
หรือผู้มีส่วนได้เสียมีส่วนร่วมในการพัฒนาการศึกษาในรูปแบบต่างๆ เช่น มี
ส่วนร่วมในการเป็นคณะกรรมการสถานศึกษา เป็นต้น 4) หลักการบริหาร
ตนเอง (Self Management) ส่วนกลางมีหน้าที่เพียงก�ำหนดนโยบายและ
เป้าหมาย ส่วนโรงเรียนสามารถก�ำหนดวิธีการท�ำงานเพื่อให้บรรลุเป้าหมาย
ได้ด้วยตนเอง โดยมีอ�ำนาจหน้าที่และความรับผิดชอบในการด�ำเนินงานและ
5) หลักการตรวจสอบและถ่วงดุล (Check and Balance) ส่วนกลางมีหน้าที่
ก�ำหนดนโยบายและควบคุมมาตรฐาน มีองค์กรอิสระท�ำหน้าที่ตรวจสอบ
คุณภาพการบริหารและการจัดการศึกษา เพื่อให้มีคุณภาพและมาตรฐาน
เป็นไปตามก�ำหนดและเป็นไปตามนโยบายของชาติแต่กระทรวงศึกษาธิการ
กลับไม่ท�ำตามกฎหมาย มีอ�ำนาจผูกขาดการจัดการศึกษา โรงเรียนขนาด
เล็กในชนบทถูกละเลยจนไม่มีคุณภาพ
	 จากการจัดเวทีรับฟังความคิดเห็นของผู้ที่ได้รับผลกระทบ
ลงความเห็นว่าไม่เห็นด้วยกับการยุบควบรวมโรงเรียนขนาดเล็กและ
สภาการศึกษาทางเลือก จึงขอสรุปใจความส�ำคัญของข้อเสนอต่อเลขานุการ
ส�ำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน คือ ให้ยุติค�ำสั่ง และการ
ด�ำเนินการต่างๆ ของ สพฐ. ในการยุบ ควบ รวม โรงเรียนขนาดเล็ก และ
จัดให้มีกระบวนการแก้ปัญหาโรงเรียนขนาดเล็กอย่างมีส่วนร่วม
โดยเคารพและปฏิบัติตามพระพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติพ.ศ.2542
แก้ไขเพิ่มเติมถึง พ.ศ. 2545 มาตรา 29 ให้สมกับเจตนารมณ์การปฏิรูปการ
ศึกษา ปฏิรูปการเรียนรู้ ว่าด้วยการสร้างการมีส่วนร่วมของครอบครัว ชุมชน
การศึกษาบนหลักการกระจายอ�ำนาจการศึกษาที่ให้ความส�ำคัญกับท้องถิ่น
การศึกษาที่เสมอภาคเท่าเทียมส�ำหรับผู้เรียนทุกกลุ่ม การศึกษาที่เคารพ
ความแตกต่างของผู้เรียนแต่ละคนให้สามารถพัฒนาตามธรรมชาติและเต็ม
ศักยภาพจนถึงสูงสุดคือการศึกษาเพื่อพัฒนาความเป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์
15กรณี โรงเรียนบ้านยางอ้อย อ.ห้างฉัตร จ.ล�ำปาง
และ โรงเรียนบ้านสบป้าก อ.วังชิ้น จ.แพร่
	 ทั้งนี้ใช้วิกฤติเป็นโอกาสในการพัฒนาโรงเรียนขนาดเล็กให้เป็น
โรงเรียนของชุมชน อีกทั้งพัฒนาระบบการจัดการให้โรงเรียนมีประสิทธิภาพ
และคุณภาพ
	 จากวิกฤติการยุบโรงเรียนขนาดเล็ก ท�ำให้โรงเรียนขนาดเล็กหลาย
แห่งได้รวมตัวกันเพื่อพัฒนาคุณภาพการเรียนการสอนด้วยการปฏิรูปการ
จัดการศึกษาแนวใหม่ให้ชุมชนเข้ามามีส่วนร่วมในการจัดการศึกษาเชื่อมโยง
ผู้รู้ ครูภูมิปัญญาของท้องถิ่น ให้เข้ามามีส่วนร่วมในการจัดการเรียนรู้ การ
เรียนรู้ประวัติศาสตร์ท้องถิ่น วัฒนธรรมประเพณี วิถีชีวิต การศึกษาเรียนรู้
ที่สามารถสร้างงาน สร้างอาชีพได้ด้วยตนเอง อีกทั้งยังมีความรู้ที่กว้างขวาง
เชื่อมโยงกับสังคมและเท่าทันสังคมโลกที่เปลี่ยนไป
	 ในช่วงปี พ.ศ.2557 เกิดการรวมตัวขององค์กรภาคีเครือข่ายเพื่อ
ปฏิรูปการศึกษาจ�ำนวน 9 เครือข่ายได้เครือข่ายการศึกษาทางเลือก เครือ
ข่ายโรงเรียนขนาดเล็ก สังกัด สพฐ. เครือข่ายโรงเรียนเอกชน เครือข่าย
โรงเรียนสังกัดองค์การปกครองส่วนท้องถิ่น (อปท.) เครือข่ายกลุ่มธุรกิจ
เอกชน เครือข่ายการศึกษาชนเผ่าพื้นเมือง เครือข่ายเด็กและเยาวชนคน
รุ่นใหม่ เครือข่ายพ่อแม่ผู้ปกครอง และเครือข่ายการศึกษาบนฐานชุมชน
รวมตัวและเชื่อมร้อยในนาม “สมัชชาเครือข่ายปฏิรูปการศึกษา” เกิด
การจัดประชุมภาคีเครือข่ายและเวทีสาธารณะเพื่อระดมและรับฟังความ
คิดเห็นของสมาชิกเครือข่ายในการร่วมกันขับเคลื่อนปฏิรูปการศึกษา เกิด
ข้อเสนอ 7 ปฏิรูป 7 ขับเคลื่อน ดังนี้
16 โรงเรียนของชุมชน โรงเรียนของเรา
	 7 ปฏิรูป
		 1. ปฎิรูปเป้าหมายทางการศึกษา กระบวนทัศน์
		 2. ปฏิรูปการกระจายอ�ำนาจ โครงสร้าง
		 3. ปฏิรูปนโยบาย กฎหมายการศึกษา
		 4. ปฏิรูปกลไกการจัดการศึกษา
		 5. ปฏิรูปการบริหารจัดการ (หลักสูตร ตัวชี้วัด
		 การประเมินผล และการจัดสรรงบประมาณ)
		 6. ปฏิรูประบบการผลิตและบุคลากรทางการศึกษา
		 7. ปฏิรูปการสื่อสารเพื่อการศึกษา
	 7 ขับเคลื่อน
	 ปฏิบัติการท�ำทันที
		 1.เดินหน้าร่วมกันทันทีอย่างต่อเนื่องเพื่อให้เกิดการ
พัฒนาคุณภาพการศึกษาอย่างจริงจังของแต่ละกลุ่มและเกิดรูปธรรมผล
ส�ำเร็จในทุกระดับครอบครัว สถานศึกษา ชุมชนท้องถิ่น จังหวัด
		 2.สร้างภาคีเครือข่ายเพื่อปฏิรูปและพัฒนาคุณภาพโดยจัด
ตั้งชมรม องค์กรเพื่อสร้างความเข้มแข็งให้เครือข่าย จัดให้มีการแลกเปลี่ยน
เรียนรู้ซึ่งกันและกันและขยายเครือข่ายความร่วมมือให้หลากหลายและ
กว้างขวางยิ่งขึ้น
	 สื่อสารกับสาธารณะ
		 3.สกัดความรู้ ถอดบทเรียน จัดท�ำฐานข้อมูล สร้างพื้นที่
ต้นแบบเพื่อการสื่อสารกับสังคม
		 4.สร้างความร่วมมือกับสื่อเพื่อการปฏิรูปการศึกษา ด้วย
การเผยแพร่ความรู้ที่ท�ำให้สังคมตื่นตัวและมองเห็นปัญหาของการศึกษา
จุดประกายให้ทุกภาคส่วนเข้ามามีส่วนร่วมในการขับเคลื่อนปฏิรูปการ
17กรณี โรงเรียนบ้านยางอ้อย อ.ห้างฉัตร จ.ล�ำปาง
และ โรงเรียนบ้านสบป้าก อ.วังชิ้น จ.แพร่
ศึกษา พัฒนาคน/พลเมืองที่มีคุณภาพร่วมกัน และคนในสังคมมีทางเลือก
ทางการศึกษามากขึ้น
	 ขับเคลื่อนเชิงนโยบาย
		 5.ทุกเครือข่ายร่วมกันผลักดันการศึกษาเป็นวาระแห่งชาติ
		 6. ยื่นข้อเสนอปฏิรูปการศึกษาแก่รัฐบาลชุดใหม่ เพื่อให้
เกิดการปฏิรูปการศึกษาที่ภาคีทุกภาคส่วนในสังคมเข้ามามีส่วนร่วมอย่าง
แท้จริง ไม่ใช่การปฏิรูปการศึกษาดังที่ผ่านมาที่กระทรวงศึกษาธิการเป็นผู้
ด�ำเนินการฝ่ายเดียว
		 7.จัดตั้งสภาปฏิรูปการศึกษาในทุกระดับ(ชุมชน/ท้องถิ่น
/ จังหวัด/ ชาติ) ที่ทุกภาคส่วนเข้ามามีส่วนร่วม มีบทบาทในการขับเคลื่อน
การปฏิรูปการศึกษาภาคประชาชนให้เกิดขึ้นและเป็นจริงในอนาคต
	 และข้อตกลงร่วมของ 9 ภาคีเครือข่ายปฏิรูปการศึกษา คือลงมือ
ท�ำทันที ในกิจกรรมที่สามารถปฏิบัติการได้เพื่อขับเคลื่อนการศึกษา เครือ
ข่ายโรงเรียนขนาดเล็กมีข้อเสนอเพื่อปฏิบัติการเปลี่ยนแปลงการศึกษา คือ
	 1.ขับเคลื่อนเป็นเครือข่ายเพื่อสร้างพลังในการต่อรองอย่าง
เป็นรูปธรรมมากขึ้น
	 แนวปฏิบัติ
	 - สร้างเครือข่ายจากการมีส่วนร่วมของภาคส่วนต่างๆไม่ว่าองค์กร
ปกครองท้องถิ่น ผู้ปกครอง ชุมชน เพื่อการด�ำรงอยู่ของโรงเรียนขนาดเล็ก
ในชุมชน ให้เป็นโรงเรียนของชุมชน โดยชุมชน เพื่อชุมชน อย่างแท้จริง
	 - มุ่งเน้นการจัดการตนเองเพื่อให้เกิดการเป็นนิติบุคคลโดยสมบูรณ์
แบบ
18 โรงเรียนของชุมชน โรงเรียนของเรา
	 2.มุ่งพัฒนาคุณภาพการศึกษาให้เป็นที่ยอมรับของชุมชน
	 - ออกแบบหลักสูตรที่ยืดหยุ่น มีกระบวนการเรียนการสอนที่
เหมาะกับผู้เรียน และเน้นทักษะชีวิตและอาชีพ
	 - สร้างจิตส�ำนึกสาธารณะทั้งน�ำโรงเรียน เข้าสู่ชุมชน อาทิ การ
เข้าร่วมกิจกรรมทางสังคม
	 เครือข่ายโรงเรียนขนาดเล็กได้สร้างการมีส่วนร่วมจากภาคส่วน
ต่างๆ องค์กรปกครองท้องถิ่น ผู้ปกครอง ชุมชน รวมทั้งองค์กรสนับสนุน
ภายนอก เช่น ส�ำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.) Actionaid เพื่อ
สร้างพลังชุมชนในการพัฒนาคุณภาพการศึกษาและการพัฒนาให้โรงเรียน
ขนาดเล็กในชุมชน ให้เป็นโรงเรียนของชุมชน โดยชุมชน เพื่อชุมชน โดย
ใช้หลักการมีส่วนร่วม เปิดโอกาสให้ผู้เกี่ยวข้องและผู้มีส่วนได้เสียได้มีส่วน
ร่วมในการบริหารจัดการการศึกษา ซึ่งสอดคล้องกับพระราชบัญญัติการ
ศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2542 ซึ่งจะขอน�ำเสนอรูปธรรมของโรงเรียนขนาด
เล็กที่พัฒนาตนเองเป็นโรงเรียนชุมชนด้วยการสร้างการมีส่วนร่วม นั่นคือ
โรงเรียนบ้านยางอ้อย ต�ำบลเวียงตาล อ�ำเภอห้างฉัตร จังหวัดล�ำปาง
และโรงเรียนบ้านสบป้าก ต�ำบลแม่เกิ๋ง อ�ำเภอวังชิ้น จังหวัดแพร่
พลิกวิกฤติเป็นโอกาสของการปรับตัว
ของโรงเรียนขนาดเล็กพลิกวิกฤติเป็นโอกาสของการปรับตัว
ของโรงเรียนขนาดเล็ก
22 โรงเรียนของชุมชน โรงเรียนของเรา
	
	 โรงเรียนขนาดเล็กเป็นโรงเรียนที่ห่างไกล ถูกสร้างโดยความร่วมมือ
ของทุกคนในชุมชนที่ต้องการให้ลูกหลานได้รับการศึกษา อ่านออกเขียนได้
มีสติปัญญา สามารถใช้ชีวิตอย่างมีคุณภาพในชุมชนที่ตนอยู่ จึงร่วมกัน
บริจาคที่ดินหรือใช้ที่ดินวัด ทุกคนช่วยกันลงแรงในการก่อสร้างอาคาร หาไม้
วัสดุในท้องถิ่น จัดหาครูในชุมชน หรือครูพระ ที่มีความรู้มาสอนเด็กๆ ดังนั้น
โรงเรียนขนาดเล็กบางแห่งอายุเกือบ 100 ปี และโดยส่วนใหญ่จะมีอายุมาก
กว่า 50 ปีขึ้นไป เช่น โรงเรียนบ้านยางอ้อย โรงเรียนบ้านสบป้าก โรงเรียน
บ้านไทรงาม โรงเรียนบ้านท่าสะท้อน โรงเรียนบ้านเกาะแรต เป็นต้น
	 ในอดีตโรงเรียนขนาดเล็กจึงเป็นโรงเรียนของชุมชนโดยแท้จริง
นอกจากที่จะให้ลูกหลานได้เรียนหนังสือเท่าทันเด็กคนอื่นๆ แล้ว เขายัง
อยากให้ลูกหลานได้เรียนรู้ชีวิต เรียนรู้วัฒนธรรมประเพณี เรียนรู้การท�ำมา
หากินการท�ำเกษตรเลี้ยงสัตว์การท�ำอาหารการปลูกเรือนผ่านกิจกรรมของ
ชุมชน และครอบครัว จนเมื่อกาลเวลาเปลี่ยนไป โรงเรียนของชุมชนเปลี่ยน
ไปเป็นโรงเรียนของรัฐมีอาคารที่มั่นคงมีครูที่จบการศึกษาด้านครูโดยตรง มี
งบประมาณแต่ความรู้สึกเป็นเจ้าของโรงเรียนค่อยๆ ห่างออกไปเรื่อยๆ การ
เรียนรู้แคบลง เรียนเฉพาะในห้องเรียน การจัดการศึกษาตอบสนองต่อระบบ
ทุนนิยม แข่งขันความเป็นเลิศด้านอุตสาหกรรม เทคโนโลยี เด็กๆ ห่างจาก
วิถีชีวิตวัฒนธรรม ความรู้ทางศีลธรรม จริยธรรม ความรับผิดชอบต่อชุมชน
สังคม ลดน้อยลง
23กรณี โรงเรียนบ้านยางอ้อย อ.ห้างฉัตร จ.ล�ำปาง
และ โรงเรียนบ้านสบป้าก อ.วังชิ้น จ.แพร่
	 ขณะที่โรงเรียนบางแห่งได้ปรับการเรียนเปลี่ยนการสอนโดยพัฒนา
ให้เป็นโรงเรียนของชุมชน จัดการเรียนรู้เพื่อการอยู่รอด การมีอาชีพ การ
ด�ำรงอยู่ในชุมชน เกิดการเรียนรู้ประวัติศาสตร์ชุมชน วัฒนธรรมประเพณี
ภูมิปัญญาของชุมชน ด้วยการจัดกระบวนการเรียนรู้ที่มีเด็กเป็นศูนย์กลาง
	 โรงเรียนบ้านยางอ้อย ต�ำบลเวียงตาล อ�ำเภอห้างฉัตร จังหวัด
ล�ำปาง และโรงเรียนบ้านสบป้าก ต�ำบลแม่เกิ๋ง อ�ำเภอวังชิ้น จังหวัด
แพร่ เป็นหนึ่งในหลายพันแห่งของโรงเรียนขนาดเล็กที่มีเด็กต�่ำกว่า 60
คน ที่มีบทเรียน ความรู้ของการพลิกฟื้นพลังของชุมชนร่วมกันพัฒนา
โรงเรียนเพื่อให้ลูกหลานได้ศึกษาเรียนรู้อยู่ในชุมชน
บริบทของพื้นที่ :
บ้านยางอ้อย ต�ำบลเวียงตาล
อ�ำเภอห้างฉัตร จังหวัดล�ำปาง
	 จากค�ำบอกเล่าของผู้ปกครองว่า ชุมชนบ้านยางอ้อยมีผู้มาตั้งถิ่น
ฐานอาศัยเดิมมาจากกลุ่มชาติพันธุ์ที่มาอาศัยปลูกอ้อย ชาวไทยพื้นราบ
เรียกคนกลุ่มนี้ว่า “ยาง” ต่อมาได้ย้ายไปอยู่ที่อื่นหมดแล้ว ชาวบ้านจึงเข้า
มาอาศัยตั้งชุมชนเรียกบ้านยางอ้อยเมื่อประเมินอายุของชุมชนก็ประมาณ
ร้อยปีกว่าปีพอๆกับการสร้างวัดและสร้างโรงเรียนชาวบ้านมีอาชีพท�ำนา
ท�ำไร่ ท�ำสวน ต่อมาเมื่อมีการพัฒนาเศรษฐกิจ จึงมีผู้คนจากต่างชุมชนย้าย
เข้ามาอาศัยเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ จากชนบทที่ห่างไกล มีการขยายของโรงงาน
อุตสาหกรรม เช่น โรงงานเซรามิก โรงไม้ อุตสาหกรรมอาหาร เข้ามาใน
เขตอ�ำเภอห้างฉัตร และตัวเมืองล�ำปาง ไม่ไกลจากชุมชนบ้านยางอ้อย
จากอาชีพเกษตรกรรม มีที่นา ชาวบ้านต่างทยอยขายที่นาให้แก่นายทุน
เพื่อสร้างโรงงานอุตสาหกรรม ในที่สุดคนบ้านยางอ้อยก็เปลี่ยนจากอาชีพ
เกษตร จากเจ้าของที่นา ก็กลายเป็นลูกจ้างในโรงงานอุตสาหกรรม ต้อง
24 โรงเรียนของชุมชน โรงเรียนของเรา
เข้างานและเลิกงานเป็นเวลา หรือบางครั้งก็ต้องท�ำงานล่วงเวลา จาก
วิถีชีวิตเรียบง่าย การกินการอยู่ปรับตัวตามวิถีธรรมชาติ กลายเป็นผู้ที่
มีเวลาเป็นตัวก�ำหนดความรีบเร่งของชีวิต แม้แต่ลูกหลานในครอบครัวก็
ต้องปรับตัวตาม จากที่เคยให้ลูกหลานได้เข้าเรียนโรงเรียนในชุมชน ก็ต้อง
ตื่นแต่เช้าตามพ่อแม่ออกไปท�ำงานพร้อมกัน เมื่อเลิกเรียนแล้วก็ต้องรอ
กลับบ้านพร้อมพ่อแม่ ขณะที่คนที่ไม่มีความรู้เมื่อไม่มีรายได้จากเกษตรก็
ต้องออกไปรับจ้าง ใช้แรงงาน รายได้น้อย ยากจน
บ้านสบป้าก ต�ำบลแม่เกิ๋ง อ�ำเภอวังชิ้น จังหวัดแพร่
	 บ้านสบป้ากมีลักษณะเป็นที่สูงและบางส่วนเป็นที่ราบลุ่มอยู่ติด
กับล�ำห้วยแม่ป้ากซึ่งไหลไปจบกับล�ำน�้ำยม จุดที่สบกันจึงเรียกสบป้ากจึง
ที่ตั้งของบ้านสบป้าก พบหลักฐานบ้านสบป้ากมีการสร้างวัด สร้างบ้าน
ประมาณ 70-80 ปีมาแล้ว ชาวบ้านมีอาชีพเกษตรกรรม ท�ำนา ท�ำไร่
ปลูกผัก ปลูกถั่วลิสง ข้าวโพด ท�ำสวนส้ม และหาปลาจากล�ำน�้ำยม ชาว
บ้านจึงช่วยกันรักษาและอนุรักษ์ปลาในล�ำน�้ำยมซึ่งเป็นสายน�้ำหลักที่ใช้ใน
การเกษตรกรรม ปัจจุบันวิถีบ้านสบป้ากยังไม่เปลี่ยนไปจากเดิมมาก ชาว
บ้านยังท�ำอาชีพเกษตรกรรมเป็นส่วนใหญ่ ยังด�ำรงวิถีชีวิตชนบทที่พึ่งพา
ซึ่งกันและกัน
25กรณี โรงเรียนบ้านยางอ้อย อ.ห้างฉัตร จ.ล�ำปาง
และ โรงเรียนบ้านสบป้าก อ.วังชิ้น จ.แพร่
โรงเรียนของชุมชน โรงเรียนของเราทุกคน :
	 โรงเรียนบ้านยางอ้อย เดิมชื่อว่า “โรงเรียนประชาบาลต�ำบล
ปันง้าว 2” (วัดบ้านเหล่า) ก่อตั้งเมื่อ พ.ศ.2466 โดยนายอ�ำเภอเป็นผู้
จัดตั้งขึ้น รับเด็กนักเรียนจาก 3 หมู่บ้าน คือ หมู่บ้านสันทราย บ้านเหล่า
และบ้านยางอ้อย เรียนรวมกันโดยใช้ศาลาวัดบ้านเหล่าเป็นสถานที่เรียน
เปิดท�ำการสอนอย่างเป็นทางการเมื่อวันที่ 1 พฤศจิกายน 2466 นักเรียน
ทั้งหมด 58 คน มีพระหม่อง อินทจักร เป็นครูใหญ่ และมีพระครูท่านอื่นๆ
และชาวบ้านที่มีความรู้ เป็นครูผู้สอน ต่อมาปี พ.ศ. 2480 ชาวบ้านขอย้าย
โรงเรียนจากวัดบ้านเหล่ามาอยู่ที่ติดกับวัดยางอ้อยด้านทิศเหนือ และชาว
บ้านจากบ้านยางอ้อย บ้านเหล่า และบ้านใหม่ ได้ร่วมกันปลูกสร้างอาคาร
เรียนถาวร ขนาด 4 ห้องเรียน เปิดเรียนเมื่อวันที่ 6 สิงหาคม 2481 ใช้
ชื่อว่า “โรงเรียนประชาบาลห้างฉัตร 6” (ยางอ้อยวิทยาคาร) ต่อมามีเด็ก
นักเรียนเพิ่มขึ้น ชาวบ้านยางอ้อยจึงได้ย้ายจากบริเวณวัดมาสร้างใหม่ใน
ที่ดินปัจจุบัน บนเนื้อที่ 13 ไร่ 2 งาน 20 ตารางวา และได้ย้ายเด็กมาเรียน
รวมกันเมื่อวันที่ 3 พฤษภาคม 2516 มีนักเรียน 111 คน
	 หลังจากนั้นมีการพัฒนาปรับปรุงโรงเรียนมาโดยตลอด ด้วยความ
ร่วมมือ ลงแรงของชาวบ้านทุกคน รวมทั้งผู้มีจิตศรัทธา เช่น การสร้าง
ถนนคอนกรีตในโรงเรียนการสร้างรั้วคอนกรีตล้อมรอบบริเวณโรงเรียนทั้ง
4 ด้าน โรงเรียนยังจัดท�ำบุญสืบชะตาโรงเรียน ครบรอบ 87 ปี เพื่อระดม
ทรัพยากรในการจัดการศึกษา และศิษย์เก่ายังได้ระดมทุนจัดตั้งกองทุน
เพื่อการศึกษา นอกจากนั้น โรงเรียนยังได้รับการสนับสนุนจากผู้มีจิตศรัทธา
ภายนอก สถาบันการศึกษา ภาคธุรกิจเอกชน เช่น การติดตั้งสัญญาณ
อินเทอร์เน็ตความเร็วสูง การรับมอบเครื่องคอมพิวเตอร์ แท็ปเล็ต การรับ
เครื่องกรองน�้ำดื่มพร้อมถังแสตนเลส การรับการสนับสนุนปรับปรุงห้อง
สมุดและคอมพิวเตอร์
26 โรงเรียนของชุมชน โรงเรียนของเรา
	 ปัจจุบัน โรงเรียนบ้านยางอ้อย เปิดสอนระดับชั้นอนุบาล 1 – ชั้น
ประถมปีที่ 6 มีนักเรียน 43 คน (กุมภาพันธ์ พ.ศ.2558) มีเขตบริการทางการ
ศึกษา คือ บ้านยางอ้อยเหนือ หมู่ 4 และบ้านยางอ้อยใต้ หมู่ 11 รวม 2
หมู่บ้านมี 540 ครัวเรือน ประชากร 1,700 คน มีประชากรในวัยเรียนระดับ
ประถมศึกษาประมาณ 160 คน
	 ส่วน โรงเรียนบ้านสบป้าก นั้นเมื่อมีการสร้างชุมชน ชาวบ้านและ
ผู้น�ำชุมชนจึงร่วมกันก่อสร้างโรงเรียนเมื่อปีพ.ศ.2482 มีเด็กจาก4หมู่บ้าน
มาเรียนที่โรงเรียนบ้านสบป้าก คือ บ้านหาดอ้อน บ้านสบป้าก บ้านนาฮ่าง
บ้านแช่ฟ้า ทั้งนี้เพื่อให้ลูกหลานได้เล่าเรียน มีความรู้ อ่านออกเขียนได้
การจัดการศึกษาจะมีวัดสัมฤทธิบุญเป็นศูนย์กลาง มีพระท�ำหน้าที่เป็นครู
สอนหนังสือ สอนธรรมะ สอนศิลปกรรม การวาดลวดลายไทย สอนการ
ปรุงยาสมุนไพร หรือแม้แต่ศิลปะการด�ำเนินชีวิต เป็นการสอนแบบผสม
ผสานศึกษาเรียนรู้เพื่อการด�ำรงชีวิตได้โรงเรียนบ้านสบป้ากมีความร่วมมือ
ร่วมกัน 3 ฝ่าย “บวร” บ้าน วัด โรงเรียน มาตั้งแต่อดีต เนื่องจากเป็น
ชุมชนชนบทขนาดเล็ก ผู้คนมีความใกล้ชิด สนิทสนมกัน มีความสัมพันธ์
กันเมื่อมีกิจกรรมในหมู่บ้าน นักเรียนก็เข้าร่วมในขบวนฟ้อน การแสดง
ศิลปวัฒนธรรมท้องถิ่น เช่น งานก๋วยสลาก งานเข้าพรรษา งานออกพรรษา
มาฆะบูชา วันสงกรานต์ ฯลฯ ครูก็จะพานักเรียนเข้าร่วมกิจกรรม ต่อมา
โรงเรียนลดกิจกรรมกับชุมชนลง ให้ความส�ำคัญกับการเรียนในห้องเรียน
มากขึ้นความกลมเกลียวใกล้ชิดรักท้องถิ่นก็ลดน้อยลงความผูกพันก็ค่อยๆ
ลดทอนหายไป ผู้น�ำชุมชนได้กล่าวว่า “กิจกรรมท้องถิ่นจะท�ำให้เด็ก ครู
ชุมชน ได้ใกล้ชิดกัน เกิดความรักความผูกพันกับท้องถิ่น ขณะเดียวกัน
วัดผู้ปกครองก็ได้ใช้โอกาสในการบ่มเพาะศีลธรรมจริยธรรมให้เกิดขึ้น”
27กรณี โรงเรียนบ้านยางอ้อย อ.ห้างฉัตร จ.ล�ำปาง
และ โรงเรียนบ้านสบป้าก อ.วังชิ้น จ.แพร่
	 จากสถานการณ์เศรษฐกิจ สังคม เปลี่ยนไป โรงเรียนในชนบทที่
เคยมีเด็กร้อยกว่าคนลดเหลือน้อยลงและมีแนวโน้มลดลงเรื่อยๆเนื่องจาก
หลายสาเหตุ เช่น การคุมก�ำเนิด คนหนุ่มสาวออกไปท�ำงานนอกชุมชน
จึงน�ำมาสู่นโยบายการยุบ ควบรวมโรงเรียนขนาดเล็กซึ่งหลายแห่งได้รับ
ผลกระทบเพราะนักเรียนของโรงเรียนขนาดเล็กมาจากครอบครัวที่มีราย
ได้น้อย ยากจน ไม่สามารถส่งลูกไปเรียนในเมืองได้ เพื่อไม่ให้โรงเรียนถูก
ยุบ โรงเรียนจึงต้องพัฒนาคุณภาพการเรียนการสอนที่จะพัฒนาผู้เรียน
แผนผังโรงเรียนยางอ้อย
แผนผังโรงเรียนบ้านสบป้าก
30 โรงเรียนของชุมชน โรงเรียนของเรา
จะพัฒนาก็ต้องเริ่มต้นที่ตัวเรา
	 รู้เขา :
	 เมื่อรัฐบาลมีมติยกเลิกนโยบายโรงเรียนขนาดเล็ก โรงเรียนบ้านยาง
อ้อยและโรงเรียนบ้านสบป้ากก็ได้รับผลกระทบโดยตรง เพราะมีเด็ก 43 คน
และ 53 คน ตามล�ำดับ ผู้บริหารสถานศึกษา จึงได้จัดประชุมผู้ปกครองเพื่อ
แจ้งให้ทราบและสอบถามความเห็นจากผู้ปกครอง ซึ่งผู้ปกครองทั้งหมดไม่
ต้องการให้ยุบโรงเรียน ผู้ปกครองที่ส่งลูกหลานเข้าเรียนทั้งสองโรงเรียน จะ
เป็นผู้มีรายได้น้อย ยากจน การให้เด็กออกไปเรียนโรงเรียนที่ห่างไกลบ้าน จะ
เป็นการเพิ่มภาระค่าใช้จ่าย ไม่ว่าจะเป็นค่ารถ ค่าอาหาร ถึงแม้ว่ารัฐจะมีน
โยบายจัดหารถตู้รับส่งนักเรียนที่อยู่ในชุมชนไปยังโรงเรียนใหม่ แต่นั่นก็ไม่ได้
มีหลักประกันว่ารัฐจะด�ำเนินการสนับสนุนได้อย่างต่อเนื่องและตลอดไปจน
กว่าเด็กจะจบการศึกษา อีกทั้งผู้ปกครองยังห่วงเรื่องความปลอดภัยระหว่าง
การเดินทาง เนื่องจากก่อนหน้านี้ มีโรงเรียนขนาดเล็กถูกยุบไปหลายแห่ง
แล้ว ผู้ปกครองได้ศึกษาข้อมูลไว้บ้างพบกรณีที่เด็กย้ายไปรวมกับโรงเรียนอื่น
ท�ำให้ห้องเรียนแออัดมากขึ้นและยังไม่ได้รับความเอาใจใส่เท่ากับเด็ก
นักเรียนที่เรียนอยู่เดิม หรือแม้แต่เด็กปฐมวัย ห้องคับแคบขึ้น เด็กนอนเรียง
กันจนถึงหน้าประตู
31กรณี โรงเรียนบ้านยางอ้อย อ.ห้างฉัตร จ.ล�ำปาง
และ โรงเรียนบ้านสบป้าก อ.วังชิ้น จ.แพร่
	 รู้เรา :
	 การจัดประชุมประชาคมผู้ปกครองและชาวบ้านของบ้านยาง
อ้อย 2 หมู่บ้านเพื่อระดมความคิดเห็นต่อการพัฒนาคุณภาพการศึกษาของ
โรงเรียนบ้านยางอ้อย พบสาเหตุที่ผู้ปกครองไม่เชื่อมั่นต่อการจัดการศึกษา
ของโรงเรียน ได้แก่ 1) ผู้บริหารสถานศึกษาย้ายบ่อย ขาดความต่อเนื่องใน
การพัฒนา ซึ่งจากสถิติพบว่ามีผู้บริหารเข้ามารับต�ำแหน่งในรอบ30ปีที่ผ่าน
มาจนถึงปัจจุบัน 13 คน 2) พฤติกรรมที่ไม่เหมาะสมของครูและผู้บริหารใน
อดีตที่มีต่อชุมชนและนักเรียน 3) ขาดครูเฉพาะทางและครูไม่ครบชั้นเรียน
4) เกิดธุรกิจการศึกษาในด้านอาชีพรถตู้รับ-ส่งนักเรียนไปเรียนที่อื่น 5)ค่านิยม
ความเชื่อในการน�ำลูกหลานไปเรียนที่อื่น
	 จากสาเหตุดังกล่าวท�ำให้ผู้ปกครองขาดความเชื่อมั่นต่อทาง
โรงเรียนและได้พาลูกหลานไปเรียนที่สถานศึกษาในอ�ำเภอและจังหวัดได้แก่
โรงเรียนอนุบาลประจ�ำอ�ำเภอ โรงเรียนอนุบาลประจ�ำจังหวัด โรงเรียนเอกชน
ในตัวจังหวัด โรงเรียนในเขตเทศบาล และโรงเรียนการกุศลในตัวจังหวัด
ซึ่งส่งผลให้โรงเรียนมีจ�ำนวนนักเรียนลดลงทุกปี กลายเป็นโรงเรียนขนาดเล็ก
ที่มีนักเรียนต�่ำกว่า 60 คน ของส�ำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา
ล�ำปาง เขต 1 ส่วนนักเรียนที่เหลือพบว่า ส่วนใหญ่เป็นนักเรียนที่ต้องอาศัย
อยู่กับปู่ย่าตายาย ลุง ป้า น้า อา พ่อแม่ไปท�ำงานต่างถิ่น หย่าร้าง ถูกละทิ้ง
พิการ อีกทั้งประสบปัญหาภาระหนี้สินของครอบครัว ท�ำให้ประสบกับ
ความยากล�ำบากในการด�ำเนินชีวิตที่ต้องดิ้นรนให้อยู่รอดไปวันๆ หรือมีบาง
ครอบครัวที่พาลูกออกไปเรียนนอกชุมชน แต่ไม่สามารถเรียนต่อได้ตลอด
เพราะมีค่าใช้จ่ายสูง จึงต้องกลับมาเรียนที่โรงเรียนบ้านยางอ้อย ขณะที่งบ
ประมาณรายหัวถูกตัดออกไปแล้ว ผู้บริหารก็ต้องหางบมาเพิ่มเมื่อมีการย้าย
เด็กกลับมา อีกทั้งโรงเรียนยังมีเด็กพิเศษอีกหลายคนที่เรียนร่วมชั้นเรียนกับ
เด็กคนอื่นๆ
เมื่อสถานการณ์เศรษฐกิจ สังคมเปลี่ยน วิถีความเป็นอยู่ของคน
ในชุมชนเปลี่ยนไป ส่งผลต่อวิธีการเลี้ยงลูกที่เปลี่ยนไปด้วย เด็กเล็กต้องตื่น
แต่เช้าตามผู้ปกครองออกไปท�ำงานและเรียนในตัวเมือง กลับถึงบ้านมืด
ค�่ำ ไม่มีเวลาเล่นเหมือนเด็กทั่วไป บางครอบครัวท�ำงานหนักจนไม่มีเวลา
ใกล้ชิดลูก ให้เงินไว้ใช้ ขณะเดียวกันเด็กๆ อยู่ในชุมชนแต่ไม่ได้รู้จักชุมชน
และเข้าใจในวิถีการอยู่การกินของชุมชน
	 ขณะที่เด็กบ้านสบป้ากส่วนใหญ่ ยังคงเรียนอยู่ในชุมชน โรงเรียน
บ้านสบป้าก มีจ�ำนวนน้อยที่ออกไปเรียนนอกชุมชน เพราะยังมีลักษณะ
ของชุมชนชนบทและห่างจากเมืองพอสมควร และยังมีผู้ใหญ่ที่คอยเอาใจ
ใส่ลูกหลาน อีกทั้งยังมีวัดเป็นศูนย์กลางของคนบ้านสบป้าก และทุกวัน
ศุกร์จะมีกิจกรรมด้านคุณธรรมจริยธรรม โดยมีเจ้าอาวาสและพระอาจารย์
เป็นผู้จัด นอกจากนั้นยังเข้าไปช่วยสอนวิชาศีลธรรมในโรงเรียน
	
	 ร่วมกันปรับปรุง พัฒนา :
	 ด้วยโรงเรียนบ้านยางอ้อย อยู่คู่กับชุมชนมาเกือบร้อยปี และเป็น
โรงเรียนที่คนในชุมชนลงมือสร้างด้วยตนเอง ชุมชนมีความรักความผูกพัน
ต่อโรงเรียน ผู้ปกครองและชาวบ้านจาก 2หมู่บ้านคือบ้านยางอ้อยเหนือ
และบ้านยางอ้อยใต้ เห็นร่วมกันเป็นเอกฉันท์ว่าจะไม่ยุบโรงเรียนบ้านยาง
อ้อย ฉะนั้น ผู้อ�ำนวยการโรงเรียน จึงระดมความเห็นและความร่วมมือใน
การพัฒนาโรงเรียน และคุณภาพของนักเรียน จากการประชุมผู้ปกครอง
และชุมชน ได้มีการระดมความคิดเห็น และมีข้อเสนอที่ต้องการให้เกิดขึ้น
คือ อยากให้โรงเรียนช่วยกลั่นกรองความรู้ความสามารถของเด็กอยากให้
ครูผู้สอนพัฒนาในด้านการศึกษาและความรู้ให้มากขึ้น อยากให้โรงเรียน
พัฒนาส่งเสริมอาชีพ เพื่อให้เด็กใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์ อยากให้
โรงเรียนสร้างจุดเด่น เรียนรู้ภูมิปัญญาชาวบ้าน จัดหาปราชญ์ชาวบ้านมา
32 โรงเรียนของชุมชน โรงเรียนของเรา
35กรณี โรงเรียนบ้านยางอ้อย อ.ห้างฉัตร จ.ล�ำปาง
และ โรงเรียนบ้านสบป้าก อ.วังชิ้น จ.แพร่
ฝึกสอนตามหลักสูตรการเรียนการสอน อยากให้โรงเรียนมีครูประจ�ำชั้น
ครบชั้นทุกวิชา อยากให้ทางโรงเรียนจัดหาสื่อการเรียนการสอนที่ทันสมัย
ความรู้ความสามารถ อยากให้โรงเรียนมีสถานที่ในบริเวณโรงเรียนสะอาด
ร่มรื่นมีความปลอดภัยอยากให้มีการประชุมผู้ปกครองบ่อยครั้ง ให้ครูช่วย
ควบคุมดูแลการใช้เทคโนโลยี เช่น โทรศัพท์ แท็ปเล็ต เกินความจ�ำเป็น
และไม่เหมาะสม ขณะเดียวกัน ชาวบ้าน ผู้ปกครอง แกนน�ำบ้านสบป้าก
ไม่ต้องการให้ยุบโรงเรียนของพวกเขา ฉะนั้นจึงต้องวางแผนและร่วมมือ
สนับสนุนกิจกรรมของโรงเรียนให้มีความเจริญก้าวหน้าอย่างมีแบบแผน
ซึ่งที่ผ่านมา ชุมชนก็เข้าร่วมในกิจกรรมของโรงเรียนเสมอมา เช่นการจัด
ผ้าป่าสร้างรั้วโรงเรียน สร้างส้วม จัดซื้ออุปกรณ์สื่อการเรียนการสอน มี
กองทุนการศึกษาของศิษย์เก่าจากโครงการรักโรงเรียนบ้านเกิด ศิษย์เก่า
ยังจัดผ้าป่าน�ำอุปกรณ์การศึกษามามอบให้แก่โรงเรียน และเมื่อโรงเรียน
มีกิจกรรม เช่น วันพ่อ วันแม่ ชุมชนก็เข้าร่วม ซึ่งจะพบว่าความร่วมมือ
ของชุมชนท�ำให้เกิดการสร้างและพัฒนาโรงเรียน โดยไม่ได้ใช้งบประมาณ
ของทางราชการ เช่น ชุมชนร่วมเป็นแรงงานสร้างรั้วและสร้างส้วมของ
โรงเรียนดังนั้นความร่วมมือของชุมชนจึงเป็นจุดแข็งของบ้านสบป้ากและ
ต้องท�ำให้ชัดเจนมากขึ้น เพื่อไม่ให้โรงเรียนถูกยุบ สถานการณ์การยุบ
โรงเรียนนั้น ผู้ปกครองได้ติดตามข่าวสารจากพื้นที่อื่นที่ยุบไปแล้ว จากสื่อ
จากครู พบว่าเด็กต้องไปเรียนไกลขึ้น มีค่าใช้จ่าย และเป็นห่วงความ
ปลอดภัย เนื่องจากยังเป็นเด็กประถม แม้ว่าจะมีการสนับสนุนค่าพาหนะ
หรือการจัดรถตู้อ�ำนวยความสะดวกหรือการมีงบจัดสรรค่าอาหาร
กลางวันให้เด็ก แต่ก็ไม่ได้มีความต่อเนื่อง ผู้ปกครองจึงขาดความมั่นใจ
และยังเชื่อมั่นที่จะให้ลูกหลานเรียนในท้องถิ่น
36 โรงเรียนของชุมชน โรงเรียนของเรา
	 จากข้อเสนอของผู้ปกครองจึงได้เกิดการขับเคลื่อนในการใช้
ความพยายามในการที่จะร่วมแรงร่วมใจและร่วมมือกันในการที่จะบริหาร
จัดการโรงเรียนของชุมชนร่วมกับบุคลากรของโรงเรียนซึ่งประกอบด้วย
ผู้บริหารโรงเรียน ครูและบุคลากรทางการศึกษาในโรงเรียน ในการให้การ
สนับสนุนการบริหารจัดการสถานศึกษาของชุมชนให้มีคุณภาพเป็นที่ยอมรับ
ของชุมชนและสังคมทั่วไป ซึ่งการร่วมแรงร่วมใจและร่วมมือดังกล่าว ก่อให้
เกิดกิจกรรมต่างๆ มากมาย เช่น การระดมทรัพยากรทางการศึกษา การ
ร่วมแรงร่วมใจกันพัฒนาโรงเรียน การเป็นครูภูมิปัญญา การจัดหาทุนการ
ศึกษา การจัดหาครู การร่วมกันคิดและร่วมกันจัดท�ำแผนพัฒนาโรงเรียน
เป็นต้น จากความร่วมมือ ร่วมแรง และร่วมใจของทุกภาคส่วนในชุมชนของ
โรงเรียนโดยมีเป้าหมายหลักร่วมกันในการพัฒนาคุณภาพการศึกษาโดยการ
มีส่วนร่วมของชุมชน จึงเป็นที่มาของโครงการวิจัยเพื่อพัฒนาคุณภาพการ
ศึกษาของโรงเรียนบ้านยางอ้อย และโรงเรียนบ้านสบป้าก โดยได้รับทุน
สนับสนุนจากส�ำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย(สกว.) งานวิจัยเพื่อท้องถิ่น
พัฒนาด้วยการศึกษาและพัฒนาหลักสูตรท้องถิ่น การค้นหาความรู้พบว่า
ชุมชนมีความรู้มากมาย หลากหลาย ซึ่งความรู้เหล่านี้ก็อยู่ในผู้ปกครอง
ชาวบ้าน การสืบค้นความรู้ท้องถิ่น เกิดการสร้างความภาคภูมิใจและการ
ยกระดับความรู้ การท�ำมาหากิน ที่เป็นเรื่องปกติในวิถีชีวิต เป็นความรู้ใน
ห้องเรียน เป็นครูสอนเด็กๆ และเด็กก็มีความสุข สนุกสนานกับการเรียนรู้
ผ่านการปฏิบัติจริง ความสุข ความสนุกเกิดขึ้นระหว่างการเรียนรู้ ผู้เรียน
ครูภูมิปัญญาและครูในโรงเรียน
37กรณี โรงเรียนบ้านยางอ้อย อ.ห้างฉัตร จ.ล�ำปาง
และ โรงเรียนบ้านสบป้าก อ.วังชิ้น จ.แพร่
	 จากโครงการวิจัยความรู้ท้องถิ่น ได้จัดให้มีการศึกษาดูงานและ
เรียนรู้แนวคิดของโรงเรียนมีชัยพัฒนา จังหวัดบุรีรัมย์ และโรงเรียนอื่นๆ
เช่น โรงเรียนแม่จ้อง อ�ำเภอดอยสะเก็ด ศูนย์การศึกษาพัฒนาห้วยฮ่องไคร้
จังหวัดเชียงใหม่ ครูและผู้ปกครองเดินทางไปร่วมเรียนรู้ เกิดการจุด
ประกาย การแลกเปลี่ยนประสบการณ์การจัดการเรียนการสอน แล้วน�ำ
กลับมาประยุกต์และด�ำเนินการในโรงเรียน ผู้ปกครองรู้สึกถึงการมีส่วน
ร่วม และคุณค่าของตนเอง ในการเป็นส่วนหนึ่งของการพัฒนาโรงเรียน ซึ่ง
เมื่อก่อนนั้น ผู้ปกครองจะไม่ได้เข้ามามีส่วนร่วมในกิจกรรมของโรงเรียน
มากนัก ส่วนใหญ่มีหน้าที่รับส่งลูก และประชุมผู้ปกครองตามวาระเท่านั้น
การประชุมผู้ปกครองที่ท�ำให้เห็นเป้าหมายของลูกหลานว่าจะพัฒนาไป
แบบไหน
38 โรงเรียนของชุมชน โรงเรียนของเรา
	 ในการบริหารงานนั้น ผู้บริหารโรงเรียนจะมีบทบาทส�ำคัญซึ่งอดีต
ผู้อ�ำนวยการของทั้งสองโรงเรียนได้วางรากฐาน การสร้างสัมพันธภาพที่ดี
ระหว่างโรงเรียน ชุมชนและวัด เมื่อผู้บริหารคนปัจจุบัน เข้ามาบริหารและ
สานต่อเจตนารมณ์เดิม การเข้าร่วมกิจกรรม การเข้าพบปะผู้น�ำชุมชน
เยี่ยมเยียนผู้ปกครองการเปิดพื้นที่โรงเรียนให้ชุมชนเข้ามาท�ำกิจกรรมหรือ
ใช้สถานที่ เกิดความร่วมมือ ไม่ว่าโรงเรียนจะท�ำกิจกรรมใดๆ ผู้ปกครอง
ก็จะมาช่วยออกแรง ด้วยแรงกายและแรงใจเต็มร้อย เช่น การสร้างรั้วรอบ
โรงเรียนก็ได้แรงงานจากผู้ปกครองช่วยกัน ท�ำให้ลดการใช้งบประมาณ
จากรัฐไปได้เยอะ และหากรองบจากรัฐทั้งหมดทั้งค่าแรง ค่าวัสดุอุปกรณ์
ก็อาจจะยังไม่ได้สร้าง เพราะมีหลายขั้นตอน
กระบวนการพัฒนาหลักสูตรท้องถิ่น
วิถีไทย วิถีพอเพียงกระบวนการพัฒนาหลักสูตรท้องถิ่น
วิถีไทย วิถีพอเพียง
40 โรงเรียนของชุมชน โรงเรียนของเรา
การพัฒนาแนวคิด :
	 ตามพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 แก้ไขเพิ่มเติม
(ฉบับที่ 2 พ.ศ.2545) ได้ก�ำหนดให้สถานศึกษาขั้นพื้นฐาน จัดสาระ
ของหลักสูตรท้องถิ่นที่เกี่ยวกับสภาพปัญหาในชุมชนและสังคม ภูมิปัญญา
ท้องถิ่น มีความหลากหลายของหลักสูตร จัดตามความเหมาะสมกับ
สภาพความต้องการของท้องถิ่นและแต่ละระดับของผู้เรียน โดยมุ่งพัฒนา
คุณภาพชีวิตของผู้เรียน ทั้งนี้ต้องมุ่งพัฒนาให้เป็นคนที่มีความสมดุล มี
ความรู้ ความคิด ความสามารถ ความดีงาม ความรับผิดชอบต่อสังคม
โรงเรียนจึงได้จัดประชุมระดมความคิดเห็นของครู ผู้ปกครอง แกนน�ำ
ชุมชนหน่วยงานท้องถิ่นในการพัฒนาหลักสูตรท้องถิ่นสู่วิถีไทยวิถีพอเพียง
ของโรงเรียนบ้านยางอ้อย มีแนวคิด หลักการของการจัดหลักสูตร กล่าว
คือ
- เพื่อสร้างความเป็นเอกภาพของชุมชน มุ่งรักษาวัฒนธรรม จารีต
ของท้องถิ่น และภาคภูมิใจในความเป็นไทย
- เพื่อให้ทุกคนได้รับการศึกษาเรียนรู้อย่างเสมอภาค ตามความสนใจ
ความถนัด เท่าเทียมกันโดยมีชุมชน องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ครู
ภูมิปัญญาในท้องถิ่นมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษ
- เพื่อส่งเสริมให้ผู้เรียนได้พัฒนาการเรียนรู้ด้วยตนเองอย่างต่อเนื่อง
โดยถือว่าผู้เรียนส�ำคัญที่สุด สามารถพัฒนาตามศักยภาพของแต่ละ
คน
41กรณี โรงเรียนบ้านยางอ้อย อ.ห้างฉัตร จ.ล�ำปาง
และ โรงเรียนบ้านสบป้าก อ.วังชิ้น จ.แพร่
การพัฒนาการมีส่วนร่วม :
	 พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติพ.ศ.2542 แก้ไขเพิ่มเติมฉบับ
ที่ 2 พ.ศ.2545 และแก้ไขเพิ่มเติม ฉบับที่ 3 พ.ศ.2553 ได้ก�ำหนดไว้ใน
มาตรา 8 (2) ให้สังคมมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษา ฉะนั้นสถานศึกษา
ทุกระดับต้องเปิดโอกาสให้ประชาชนชุมชนเข้ามามีส่วนร่วมในการจัดการ
ศึกษา ทั้งนี้เมื่อผู้ปกครองมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษาจะช่วยขับเคลื่อน
การบริหารการศึกษาที่เป็นไปตามความต้องการของผู้ปกครองและชุมชน
ส่งผลให้ผู้ปกครอง ชุมชน มีความรู้สึกเป็นส่วนหนึ่งของสถานศึกษา เกิด
ความรัก ความหวงแหน และสนับสนุนทรัพยากรการศึกษาและให้ความ
ร่วมมือที่จะเข้าร่วมกิจกรรมของสถานศึกษา
	 การมีส่วนร่วมหมายถึงการเปิดโอกาสให้ผู้มีส่วนได้เสีย เข้าร่วม
ด�ำเนินกิจกรรมตั้งแต่การศึกษาปัญหา การวางแผนด�ำเนินการ การตัดสินใจ
การแก้ไขปัญหา และการประเมินร่วมกัน เพื่อขับเคลื่อนให้กิจกรรมนั้น
ด�ำเนินไปอย่างมีประสิทธิภาพ โดยยึดหลักการมีส่วนร่วม คือ หลักร่วมคิด
ร่วมท�ำ ร่วมตรวจสอบ ร่วมรับผิดชอบ
	 จากเอกสารประกอบการอบรมผู้น�ำการเปลี่ยนแปลงส�ำหรับผู้
บริหารของกระทรวงศึกษาธิการ ได้ให้แนวทางการมีส่วนร่วมของผู้ปกครอง
และชุมชนในการจัดการศึกษาไว้ ดังนี้
	 1.การมีส่วนร่วมในการจัดท�ำหลักสูตรสถานศึกษา โดยสถานศึกษา
สามารถเปิดโอกาสให้ผู้ปกครองและชุมชนจัดสร้างหลักสูตรสถานศึกษา
และก�ำกับ ติดตามการใช้หลักสูตรสถานศึกษา
	 2.การมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษา การสร้างความร่วมมือระหว่าง
สถานศึกษากับผู้ปกครองและชุมชนเป็นยุทธศาสตร์ที่จ�ำเป็นอย่างยิ่ง
ผู้บริหารและบุคลากรในสถานศึกษาควรระลึกถึง ซึ่งมีหลัก 10 ประการ คือ
1) สร้างความศรัทธาและความเชื่อมั่นต่อชุมชน 2) ฝึกให้เป็นคนใจกว้าง
โรงเรียนของชุมชน โรงเรียนของเรา
โรงเรียนของชุมชน โรงเรียนของเรา
โรงเรียนของชุมชน โรงเรียนของเรา
โรงเรียนของชุมชน โรงเรียนของเรา
โรงเรียนของชุมชน โรงเรียนของเรา
โรงเรียนของชุมชน โรงเรียนของเรา
โรงเรียนของชุมชน โรงเรียนของเรา
โรงเรียนของชุมชน โรงเรียนของเรา
โรงเรียนของชุมชน โรงเรียนของเรา
โรงเรียนของชุมชน โรงเรียนของเรา
โรงเรียนของชุมชน โรงเรียนของเรา
โรงเรียนของชุมชน โรงเรียนของเรา
โรงเรียนของชุมชน โรงเรียนของเรา
โรงเรียนของชุมชน โรงเรียนของเรา
โรงเรียนของชุมชน โรงเรียนของเรา
โรงเรียนของชุมชน โรงเรียนของเรา
โรงเรียนของชุมชน โรงเรียนของเรา
โรงเรียนของชุมชน โรงเรียนของเรา
โรงเรียนของชุมชน โรงเรียนของเรา
โรงเรียนของชุมชน โรงเรียนของเรา
โรงเรียนของชุมชน โรงเรียนของเรา
โรงเรียนของชุมชน โรงเรียนของเรา
โรงเรียนของชุมชน โรงเรียนของเรา
โรงเรียนของชุมชน โรงเรียนของเรา
โรงเรียนของชุมชน โรงเรียนของเรา
โรงเรียนของชุมชน โรงเรียนของเรา
โรงเรียนของชุมชน โรงเรียนของเรา
โรงเรียนของชุมชน โรงเรียนของเรา
โรงเรียนของชุมชน โรงเรียนของเรา
โรงเรียนของชุมชน โรงเรียนของเรา
โรงเรียนของชุมชน โรงเรียนของเรา
โรงเรียนของชุมชน โรงเรียนของเรา
โรงเรียนของชุมชน โรงเรียนของเรา
โรงเรียนของชุมชน โรงเรียนของเรา
โรงเรียนของชุมชน โรงเรียนของเรา
โรงเรียนของชุมชน โรงเรียนของเรา
โรงเรียนของชุมชน โรงเรียนของเรา
โรงเรียนของชุมชน โรงเรียนของเรา
โรงเรียนของชุมชน โรงเรียนของเรา

More Related Content

More from Tum Meng

ชุมชนบ้านไม้โบราณ ป้อมมหากาฬ (บทความ)
ชุมชนบ้านไม้โบราณ ป้อมมหากาฬ (บทความ)ชุมชนบ้านไม้โบราณ ป้อมมหากาฬ (บทความ)
ชุมชนบ้านไม้โบราณ ป้อมมหากาฬ (บทความ)Tum Meng
 
ชุมชนป้อมมหากาฬ (ป้อมมีชีวิต ชีวิตหลังป้อม)
ชุมชนป้อมมหากาฬ (ป้อมมีชีวิต ชีวิตหลังป้อม)ชุมชนป้อมมหากาฬ (ป้อมมีชีวิต ชีวิตหลังป้อม)
ชุมชนป้อมมหากาฬ (ป้อมมีชีวิต ชีวิตหลังป้อม)Tum Meng
 
สรุปประมวล เวทีสนทนา คืนการศึกษาให้สังคม : ร่วมกัน-สร้าง-พลเมือง
สรุปประมวล เวทีสนทนา คืนการศึกษาให้สังคม : ร่วมกัน-สร้าง-พลเมืองสรุปประมวล เวทีสนทนา คืนการศึกษาให้สังคม : ร่วมกัน-สร้าง-พลเมือง
สรุปประมวล เวทีสนทนา คืนการศึกษาให้สังคม : ร่วมกัน-สร้าง-พลเมืองTum Meng
 
EduTalk : การศึกษาเอกชนบนเส้นทางการปฏิรูปเรียนรู้สู่การเป็นพลเมืองและพลโลก
EduTalk : การศึกษาเอกชนบนเส้นทางการปฏิรูปเรียนรู้สู่การเป็นพลเมืองและพลโลกEduTalk : การศึกษาเอกชนบนเส้นทางการปฏิรูปเรียนรู้สู่การเป็นพลเมืองและพลโลก
EduTalk : การศึกษาเอกชนบนเส้นทางการปฏิรูปเรียนรู้สู่การเป็นพลเมืองและพลโลกTum Meng
 
EduTalk : การศึกษาที่เลือกได้
EduTalk : การศึกษาที่เลือกได้EduTalk : การศึกษาที่เลือกได้
EduTalk : การศึกษาที่เลือกได้Tum Meng
 
EduTalk : การศึกษาไทยต้องปฏิรูปอย่างจริงจังและเร่งด่วน
EduTalk : การศึกษาไทยต้องปฏิรูปอย่างจริงจังและเร่งด่วนEduTalk : การศึกษาไทยต้องปฏิรูปอย่างจริงจังและเร่งด่วน
EduTalk : การศึกษาไทยต้องปฏิรูปอย่างจริงจังและเร่งด่วนTum Meng
 
ฐานการพัฒนาท้องถิ่นอยู่ที่โรงเรียน : กรณี โรงเรียนเทศบาลวัดป่าเรไร อ.เมือง จ....
ฐานการพัฒนาท้องถิ่นอยู่ที่โรงเรียน : กรณี โรงเรียนเทศบาลวัดป่าเรไร อ.เมือง จ....ฐานการพัฒนาท้องถิ่นอยู่ที่โรงเรียน : กรณี โรงเรียนเทศบาลวัดป่าเรไร อ.เมือง จ....
ฐานการพัฒนาท้องถิ่นอยู่ที่โรงเรียน : กรณี โรงเรียนเทศบาลวัดป่าเรไร อ.เมือง จ....Tum Meng
 
ประกาศฯ เรื่อง แต่งตั้งคณะปฏิรูปการศึกษาจังหวัดเชียงใหม่
ประกาศฯ เรื่อง แต่งตั้งคณะปฏิรูปการศึกษาจังหวัดเชียงใหม่ประกาศฯ เรื่อง แต่งตั้งคณะปฏิรูปการศึกษาจังหวัดเชียงใหม่
ประกาศฯ เรื่อง แต่งตั้งคณะปฏิรูปการศึกษาจังหวัดเชียงใหม่Tum Meng
 
คืนการศึกษาให้สังคม (เอกสารประกอบเวทีคืนการศึกษาให้สังคม)
คืนการศึกษาให้สังคม (เอกสารประกอบเวทีคืนการศึกษาให้สังคม)คืนการศึกษาให้สังคม (เอกสารประกอบเวทีคืนการศึกษาให้สังคม)
คืนการศึกษาให้สังคม (เอกสารประกอบเวทีคืนการศึกษาให้สังคม)Tum Meng
 
Happy New Year : Calendar 2015
Happy New Year : Calendar 2015 Happy New Year : Calendar 2015
Happy New Year : Calendar 2015 Tum Meng
 
สรุปข้อมูล เวทีเสียงประชาชนฯ อีสานเหนือ(ขอนแก่น)
สรุปข้อมูล เวทีเสียงประชาชนฯ อีสานเหนือ(ขอนแก่น)สรุปข้อมูล เวทีเสียงประชาชนฯ อีสานเหนือ(ขอนแก่น)
สรุปข้อมูล เวทีเสียงประชาชนฯ อีสานเหนือ(ขอนแก่น)Tum Meng
 
สรุปข้อมูล เวทีเสียงประชาชนฯ อีสานใต้(อุบล)
สรุปข้อมูล เวทีเสียงประชาชนฯ   อีสานใต้(อุบล)สรุปข้อมูล เวทีเสียงประชาชนฯ   อีสานใต้(อุบล)
สรุปข้อมูล เวทีเสียงประชาชนฯ อีสานใต้(อุบล)Tum Meng
 
ชุมชน ฅน สู้เหล้า
ชุมชน ฅน สู้เหล้าชุมชน ฅน สู้เหล้า
ชุมชน ฅน สู้เหล้าTum Meng
 
หลักสูตรดินน้ำลมไฟ โรงเรียนเทศบาลคุ้มหนองคู จ.ขอนแก่น
หลักสูตรดินน้ำลมไฟ โรงเรียนเทศบาลคุ้มหนองคู จ.ขอนแก่นหลักสูตรดินน้ำลมไฟ โรงเรียนเทศบาลคุ้มหนองคู จ.ขอนแก่น
หลักสูตรดินน้ำลมไฟ โรงเรียนเทศบาลคุ้มหนองคู จ.ขอนแก่นTum Meng
 
ทำ - ธรรมนูญ : ธรรมนูญประชาชนเพื่อการจัดการตนเอง
ทำ - ธรรมนูญ : ธรรมนูญประชาชนเพื่อการจัดการตนเองทำ - ธรรมนูญ : ธรรมนูญประชาชนเพื่อการจัดการตนเอง
ทำ - ธรรมนูญ : ธรรมนูญประชาชนเพื่อการจัดการตนเองTum Meng
 
PLANNER 2013 (Theme cartoon) By Tum Inthira
PLANNER 2013 (Theme cartoon) By Tum InthiraPLANNER 2013 (Theme cartoon) By Tum Inthira
PLANNER 2013 (Theme cartoon) By Tum InthiraTum Meng
 
PLANNER 2013 By Tum Inthira
PLANNER 2013 By Tum InthiraPLANNER 2013 By Tum Inthira
PLANNER 2013 By Tum InthiraTum Meng
 
‘มัจฉานุ' พลังท้องถิ่นบ้านควน
‘มัจฉานุ' พลังท้องถิ่นบ้านควน‘มัจฉานุ' พลังท้องถิ่นบ้านควน
‘มัจฉานุ' พลังท้องถิ่นบ้านควนTum Meng
 
“5 เสือ...ฐานรากการผสานพลังชุมชน”
“5 เสือ...ฐานรากการผสานพลังชุมชน”“5 เสือ...ฐานรากการผสานพลังชุมชน”
“5 เสือ...ฐานรากการผสานพลังชุมชน”Tum Meng
 
“พลังบ้านขวาง พลังผู้สูงวัย หัวใจละอ่อน”
“พลังบ้านขวาง พลังผู้สูงวัย หัวใจละอ่อน”“พลังบ้านขวาง พลังผู้สูงวัย หัวใจละอ่อน”
“พลังบ้านขวาง พลังผู้สูงวัย หัวใจละอ่อน”Tum Meng
 

More from Tum Meng (20)

ชุมชนบ้านไม้โบราณ ป้อมมหากาฬ (บทความ)
ชุมชนบ้านไม้โบราณ ป้อมมหากาฬ (บทความ)ชุมชนบ้านไม้โบราณ ป้อมมหากาฬ (บทความ)
ชุมชนบ้านไม้โบราณ ป้อมมหากาฬ (บทความ)
 
ชุมชนป้อมมหากาฬ (ป้อมมีชีวิต ชีวิตหลังป้อม)
ชุมชนป้อมมหากาฬ (ป้อมมีชีวิต ชีวิตหลังป้อม)ชุมชนป้อมมหากาฬ (ป้อมมีชีวิต ชีวิตหลังป้อม)
ชุมชนป้อมมหากาฬ (ป้อมมีชีวิต ชีวิตหลังป้อม)
 
สรุปประมวล เวทีสนทนา คืนการศึกษาให้สังคม : ร่วมกัน-สร้าง-พลเมือง
สรุปประมวล เวทีสนทนา คืนการศึกษาให้สังคม : ร่วมกัน-สร้าง-พลเมืองสรุปประมวล เวทีสนทนา คืนการศึกษาให้สังคม : ร่วมกัน-สร้าง-พลเมือง
สรุปประมวล เวทีสนทนา คืนการศึกษาให้สังคม : ร่วมกัน-สร้าง-พลเมือง
 
EduTalk : การศึกษาเอกชนบนเส้นทางการปฏิรูปเรียนรู้สู่การเป็นพลเมืองและพลโลก
EduTalk : การศึกษาเอกชนบนเส้นทางการปฏิรูปเรียนรู้สู่การเป็นพลเมืองและพลโลกEduTalk : การศึกษาเอกชนบนเส้นทางการปฏิรูปเรียนรู้สู่การเป็นพลเมืองและพลโลก
EduTalk : การศึกษาเอกชนบนเส้นทางการปฏิรูปเรียนรู้สู่การเป็นพลเมืองและพลโลก
 
EduTalk : การศึกษาที่เลือกได้
EduTalk : การศึกษาที่เลือกได้EduTalk : การศึกษาที่เลือกได้
EduTalk : การศึกษาที่เลือกได้
 
EduTalk : การศึกษาไทยต้องปฏิรูปอย่างจริงจังและเร่งด่วน
EduTalk : การศึกษาไทยต้องปฏิรูปอย่างจริงจังและเร่งด่วนEduTalk : การศึกษาไทยต้องปฏิรูปอย่างจริงจังและเร่งด่วน
EduTalk : การศึกษาไทยต้องปฏิรูปอย่างจริงจังและเร่งด่วน
 
ฐานการพัฒนาท้องถิ่นอยู่ที่โรงเรียน : กรณี โรงเรียนเทศบาลวัดป่าเรไร อ.เมือง จ....
ฐานการพัฒนาท้องถิ่นอยู่ที่โรงเรียน : กรณี โรงเรียนเทศบาลวัดป่าเรไร อ.เมือง จ....ฐานการพัฒนาท้องถิ่นอยู่ที่โรงเรียน : กรณี โรงเรียนเทศบาลวัดป่าเรไร อ.เมือง จ....
ฐานการพัฒนาท้องถิ่นอยู่ที่โรงเรียน : กรณี โรงเรียนเทศบาลวัดป่าเรไร อ.เมือง จ....
 
ประกาศฯ เรื่อง แต่งตั้งคณะปฏิรูปการศึกษาจังหวัดเชียงใหม่
ประกาศฯ เรื่อง แต่งตั้งคณะปฏิรูปการศึกษาจังหวัดเชียงใหม่ประกาศฯ เรื่อง แต่งตั้งคณะปฏิรูปการศึกษาจังหวัดเชียงใหม่
ประกาศฯ เรื่อง แต่งตั้งคณะปฏิรูปการศึกษาจังหวัดเชียงใหม่
 
คืนการศึกษาให้สังคม (เอกสารประกอบเวทีคืนการศึกษาให้สังคม)
คืนการศึกษาให้สังคม (เอกสารประกอบเวทีคืนการศึกษาให้สังคม)คืนการศึกษาให้สังคม (เอกสารประกอบเวทีคืนการศึกษาให้สังคม)
คืนการศึกษาให้สังคม (เอกสารประกอบเวทีคืนการศึกษาให้สังคม)
 
Happy New Year : Calendar 2015
Happy New Year : Calendar 2015 Happy New Year : Calendar 2015
Happy New Year : Calendar 2015
 
สรุปข้อมูล เวทีเสียงประชาชนฯ อีสานเหนือ(ขอนแก่น)
สรุปข้อมูล เวทีเสียงประชาชนฯ อีสานเหนือ(ขอนแก่น)สรุปข้อมูล เวทีเสียงประชาชนฯ อีสานเหนือ(ขอนแก่น)
สรุปข้อมูล เวทีเสียงประชาชนฯ อีสานเหนือ(ขอนแก่น)
 
สรุปข้อมูล เวทีเสียงประชาชนฯ อีสานใต้(อุบล)
สรุปข้อมูล เวทีเสียงประชาชนฯ   อีสานใต้(อุบล)สรุปข้อมูล เวทีเสียงประชาชนฯ   อีสานใต้(อุบล)
สรุปข้อมูล เวทีเสียงประชาชนฯ อีสานใต้(อุบล)
 
ชุมชน ฅน สู้เหล้า
ชุมชน ฅน สู้เหล้าชุมชน ฅน สู้เหล้า
ชุมชน ฅน สู้เหล้า
 
หลักสูตรดินน้ำลมไฟ โรงเรียนเทศบาลคุ้มหนองคู จ.ขอนแก่น
หลักสูตรดินน้ำลมไฟ โรงเรียนเทศบาลคุ้มหนองคู จ.ขอนแก่นหลักสูตรดินน้ำลมไฟ โรงเรียนเทศบาลคุ้มหนองคู จ.ขอนแก่น
หลักสูตรดินน้ำลมไฟ โรงเรียนเทศบาลคุ้มหนองคู จ.ขอนแก่น
 
ทำ - ธรรมนูญ : ธรรมนูญประชาชนเพื่อการจัดการตนเอง
ทำ - ธรรมนูญ : ธรรมนูญประชาชนเพื่อการจัดการตนเองทำ - ธรรมนูญ : ธรรมนูญประชาชนเพื่อการจัดการตนเอง
ทำ - ธรรมนูญ : ธรรมนูญประชาชนเพื่อการจัดการตนเอง
 
PLANNER 2013 (Theme cartoon) By Tum Inthira
PLANNER 2013 (Theme cartoon) By Tum InthiraPLANNER 2013 (Theme cartoon) By Tum Inthira
PLANNER 2013 (Theme cartoon) By Tum Inthira
 
PLANNER 2013 By Tum Inthira
PLANNER 2013 By Tum InthiraPLANNER 2013 By Tum Inthira
PLANNER 2013 By Tum Inthira
 
‘มัจฉานุ' พลังท้องถิ่นบ้านควน
‘มัจฉานุ' พลังท้องถิ่นบ้านควน‘มัจฉานุ' พลังท้องถิ่นบ้านควน
‘มัจฉานุ' พลังท้องถิ่นบ้านควน
 
“5 เสือ...ฐานรากการผสานพลังชุมชน”
“5 เสือ...ฐานรากการผสานพลังชุมชน”“5 เสือ...ฐานรากการผสานพลังชุมชน”
“5 เสือ...ฐานรากการผสานพลังชุมชน”
 
“พลังบ้านขวาง พลังผู้สูงวัย หัวใจละอ่อน”
“พลังบ้านขวาง พลังผู้สูงวัย หัวใจละอ่อน”“พลังบ้านขวาง พลังผู้สูงวัย หัวใจละอ่อน”
“พลังบ้านขวาง พลังผู้สูงวัย หัวใจละอ่อน”
 

โรงเรียนของชุมชน โรงเรียนของเรา

  • 1. ¡Ã³Õ âçàÃÕ¹ºŒÒ¹Âҧ͌Í µ.àÇÕ§µÒÅ Í.ˌҧ©ÑµÃ ¨.ÅÓ»Ò§ áÅÐ âçàÃÕ¹ºŒÒ¹Êº»‡Ò¡ µ.áÁ‹à¡Ôë§ Í.ÇѧªÔé¹ ¨.á¾Ã‹¡Ã³Õ âçàÃÕ¹ºŒÒ¹Âҧ͌Í µ.àÇÕ§µÒÅ Í.ˌҧ©ÑµÃ ¨.ÅÓ»Ò§ áÅÐ âçàÃÕ¹ºŒÒ¹Êº»‡Ò¡ µ.áÁ‹à¡Ôë§ Í.ÇѧªÔé¹ ¨.á¾Ã‹ สมัชชาเครือขาย ปฏิรูปการศึกษา
  • 2.
  • 3. พิมพ์ครั้งแรก กันยายน 2558 จำ�นวนพิมพ์ 1,000 เล่ม ผู้เขียน สลิลทิพย์ เชียงทอง ภาพประกอบ อภิรัฐ วิทยสมบูรณ์ ออกแบบรูปเล่ม อินทิรา วิทยสมบูรณ์ ผู้สนับสนุนการจัดพิมพ์ สำ�นักงานประสานการพัฒนาสังคมสุขภาวะ (สปพส.) 126/146 ชั้น 4 อาคาร 10 ชั้น สถาบันบำ�ราศนราดูร ซอยติวานนท์ 14 ต.ตลาดขวัญ อ.เมือง จ.นนทบุรี 11000 โทร 0-2965-9531-3 โทรสาร 0-2965-9534 ดำ�เนินการผลิต Media for All, mediaforall.project@gmail.com โรงเรียนของชุมชน โรงเรียนของเรา กรณี โรงเรียนบ้านยางอ้อย ต.เวียงตาล อ.ห้างฉัตร จ.ล�ำปาง และ โรงเรียนบ้านสบป้าก ต.แม่เกิ๋ง อ.วังชิ้น จ.แพร่ โรงเรียนของชุมชน โรงเรียนของเรา กรณี โรงเรียนบ้านยางอ้อย ต.เวียงตาล อ.ห้างฉัตร จ.ล�ำปาง และ โรงเรียนบ้านสบป้าก ต.แม่เกิ๋ง อ.วังชิ้น จ.แพร่
  • 4. จากวิกฤติของนโยบายการยุบควบโรงเรียนขนาดเล็กเมื่อปี พ.ศ.2554 ท�ำให้เกิดกระแสตื่นตัวของสังคม นักวิชาการ นักเรียนและผู้ปกครองซึ่งเป็น ผู้ได้รับผลกระทบต่างตื่นตัวรวมตัวกันปรึกษาหารือค้นหาข้อมูลจากข่าวสารจาก เพื่อนต่างต�ำบลที่โรงเรียนถูกยุบไปแล้ว ถึงผลได้เสียของการยุบโรงเรียนที่ลูก หลานเรียนอยู่ ขณะเดียวกันโรงเรียนก็ได้ท�ำหน้าที่เข้าหาชุมชนและผู้ปกครอง เพื่อจัดเวทีรับฟังความคิดเห็นของผู้ที่ได้รับผลกระทบ ซึ่งต่างก็ไม่เห็นด้วยกับ การยุบควบรวมโรงเรียนขนาดเล็ก การพัฒนาคุณภาพการเรียนการสอนด้วยการปฏิรูปการจัดการ ศึกษาแนวใหม่โดยให้ชุมชนเข้ามามีส่วนร่วมในการจัดการศึกษาเชื่อมโยงผู้รู้ ครูภูมิปัญญาท้องถิ่น เข้ามามีส่วนร่วมในการจัดการเรียนรู้ โดยมีเป้าหมายเพื่อ พัฒนาให้เป็นโรงเรียนของชุมชน จากการถอดบทเรียนการพัฒนาคุณภาพการ ศึกษาของโรงเรียนบ้านยางอ้อย อ.ห้างฉัตร จ.ล�ำปาง และโรงเรียนบ้านสบป้าก อ.วังชิ้น จ.แพร่ พบว่าเกิดการเปลี่ยนแปลงของคนในชุมชนที่เข้ามามีส่วนร่วม ในการจัดการศึกษาและการเข้าร่วมกิจกรรมของโรงเรียนด้วยจิตที่ตระหนักถึง การเป็นเจ้าของโรงเรียนที่ผู้เฒ่าผู้แก่ได้ลงมือสร้าง แม้นว่ารูปธรรมของโรงเรียน ทั้งสองแห่งเพิ่งจะเริ่มแต่ก็เห็นหน่อของการเติบโตพร้อมที่จะแข็งแรงต่อไป ในฐานะผู้ถอดบทเรียนและเรียบเรียงถ่ายทอดเรื่องราวที่เกิดขึ้น หวังเป็นอย่างยิ่งว่าหนังสือ“โรงเรียนของชุมชน โรงเรียนของเรา:กรณีโรงเรียน บ้านยางอ้อยอ.ห้างฉัตรจ.ล�ำปาง และโรงเรียนบ้านสบป้าก อ.วังชิ้น จ.แพร่” นี้จะสร้างแรงบันดาลใจในการริเริ่มจัดการศึกษาเพื่อพัฒนาไปสู่โรงเรียนของ ชุมชนต่อไป เชื่อมั่นและศรัทธา สลิลทิพย์ เชียงทอง กันยายน 2558 คำ�นำ�คำ�นำ�
  • 5. สถานการณ์โรงเรียนขนาดเล็กในช่วงปี 2554 พลิกวิกฤติเป็นโอกาสของการปรับตัวของโรงเรียนขนาดเล็ก กระบวนการพัฒนาหลักสูตรท้องถิ่น วิถีไทย วิถีพอเพียง การเปลี่ยนแปลง ทิศทางของการพัฒนาโรงเรียนขนาดเล็ก รายชื่อครูภูมิปัญญา ตัวอย่างหลักสูตรท้องถิ่น รายชื่อผู้ให้ข้อมูล อ้างอิง สารบัญสารบัญ 77 2121 3939 6161 6969 7474 6464 7676 7878
  • 6.
  • 7.
  • 9. โรงเรียนขนาดเล็กหมายถึงโรงเรียนประถมศึกษาสังกัดส�ำนักงาน การศึกษาขั้นพื้นฐาน (สพฐ.) มีจ�ำนวนนักเรียนต�่ำกว่า 120 คน โรงเรียนเปิด สอนตั้งแต่อนุบาล 1-2 และระดับประถม 1-6 รวม 8 ห้องเรียน แต่พบว่า มีครูผู้สอนและผู้บริหารโรงเรียนรวมกัน3-5คน เนื่องจากนโยบายของสพฐ. ใช้จ�ำนวนเด็กเป็นเกณฑ์ของการก�ำหนดงบประมาณจึงส่งผลให้เกิดปัญหา ตามมาหลายประการ กล่าวคือ การจัดสรรงบประมาณตามรายหัว เมื่อ นักเรียนน้อย งบประมาณจึงลดน้อยลงไปด้วย การจัดสรรอัตราครูจึงขึ้นอยู่ กับจ�ำนวนนักเรียน ถ้านักเรียนต�่ำกว่า 20 คน จะมีครูผู้สอน 1 คน นักเรียน 21-40 คน มีครูผู้สอน 2 คน นักเรียน 41-60 คน มีครูผู้สอน 3 คน นักเรียน 61-80 คน มีครูผู้สอน 4 คน นักเรียน 81-100 คน มีครูผู้สอน 5 คน และ นักเรียน 101-120 คน มีครูผู้สอน 6 คน เกิดปัญหาครูไม่ครบชั้น ขาดแคลน ครุภัณฑ์ อุปกรณ์การเรียนการสอน จ�ำนวนครูไม่ครบชั้นและไม่ครบสาระ วิชาตามหลักสูตร จากนโยบายที่ใช้จ�ำนวนนักเรียนเป็นตัวก�ำหนดอัตราส่วน ของครูต่อนักเรียน โดยไม่ได้ค�ำนึงถึงชั้นเรียนที่โรงเรียนจะต้องรับผิดชอบถึง 8 ห้องเรียน ท�ำให้ครูต้องรับผิดชอบในการสอนครบชั้นและสอนในสาระวิชา ที่ไม่ถนัด ไม่เชี่ยวชาญ จึงส่งผลให้ประสิทธิภาพ ประสิทธิผลของนักเรียน ประถมศึกษาไม่เป็นไปตามที่ควรจะเป็น อีกทั้งยังขาดแคลนเทคโนโลยีเพื่อ เป็นสื่อการเรียนการสอน การประเมินต่างๆ ของส�ำนักงานรับรองมาตรฐาน และประเมินคุณภาพการศึกษา (สมศ.) มีมากเกินความจ�ำเป็น ท�ำให้ครู มี ภาระงานซ�้ำซ้อน ต้องท�ำงานเอกสารมาก ท�ำให้เวลาในการดูแลเด็กลดน้อย ลงไป ผู้บริหารโรงเรียนโยกย้ายบ่อยหรือบางครั้งขาดผู้บริหารเป็นระยะเวลา นาน ท�ำให้เกิดช่องว่างของการท�ำงานในกลุ่มครูที่ไม่สามารถตัดสินใจหรือสั่ง การกันเองได้ ด้วยสาเหตุหลายประการจึงท�ำให้ผู้ปกครองขาดความมั่นใจ และย้ายเด็กไปเรียนโรงเรียนอื่นโดยเฉพาะผู้ปกครองที่มีรายได้ปานกลางขึ้น ไป ส่วนผู้ปกครองที่มีรายได้น้อย ยากจน ก็ยังคงให้ลูกหลานเรียนในโรงเรียน ต่อไป ปัญหาของโรงเรียนขนาดเล็กพบว่ามีจ�ำนวนเด็กลดน้อยลงทุกปี ดังมี ข้อมูลของจ�ำนวนโรงเรียนขนาดเล็กดังนี้ 8 โรงเรียนของชุมชน โรงเรียนของเรา
  • 11. 10 โรงเรียนของชุมชน โรงเรียนของเรา นโยบายของกระทรวงศึกษาธิการในการบริหารจัดการโรงเรียน ขนาดเล็กซึ่งสังกัดเดิม คือ ส�ำนักงานคณะกรรมการประถมศึกษา ปัจจุบัน คือ ส�ำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ตั้งแต่ปี พ.ศ.2536 เป็นต้นมา ได้พยายามด�ำเนินการบริหารจัดการสถานศึกษาขนาดเล็กใน หลายๆ รูปแบบ ได้แก่ การยุบรวมและเลิกล้มโรงเรียนขนาดเล็กนั้นๆ จน กระทั่งปี พ.ศ.2554 กระทรวงศึกษาธิการได้ประกาศนโยบายการยุบเลิก โรงเรียนขนาดเล็กอีกครั้งโดยให้ส�ำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาเร่งรัดปฏิบัติ การยุบควบรวมโรงเรียนขนาดเล็กให้เหลือร้อยละ50ภายในปีพ.ศ.2561 ดังมีเป้าหมายการยุบโรงเรียนขนาดเล็ก แบ่งเป็น 3 ระยะ กล่าวคือ ระยะ ที่ 1 ปีการศึกษา 2554-2556 จ�ำนวน 5,627 โรงเรียน ระยะที่ 2 ปีการ ศึกษา 2557-2559 จ�ำนวน 6,395 โรงเรียน ระยะที่ 3 ปีการศึกษา 2560- 2561 จ�ำนวน 2,372 โรงเรียน ซึ่งจะมีเด็กนับ 500,000 คนที่ห่างไกล ยากจนได้รับผลกระทบต่อนโยบาย ส�ำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ได้ให้หลักการและ เหตุผลส�ำคัญ 2 ประการ ต่อการยุบโรงเรียนขนาดเล็ก คือ 1. นักเรียนจากสถานศึกษาขนาดเล็กมีคุณภาพค่อนข้างต�่ำ เมื่อ เปรียบเทียบกับสถานศึกษาขนาดอื่นๆ อาจเป็นเพราะโรงเรียนขาดความ พร้อมทางด้านปัจจัย เช่น มีครูไม่ครบชั้นเรียน ขาดแคลนสื่อการเรียน การสอนและวัสดุอุปกรณ์ โดยเฉพาะสื่อและเทคโนโลยีที่มีราคาแพง ทั้งนี้ เนื่องจากเกณฑ์การจัดสรรงบประมาณใช้จ�ำนวนนักเรียนเป็นเกณฑ์ในการ จัดสรร 2. สถานศึกษาขนาดเล็กส่วนใหญ่ขาดประสิทธิภาพในการบริหาร จัดการ กล่าวคือ มีการลงทุนค่อนข้างสูง เมื่อเปรียบเทียบกับสถานศึกษา ขนาดใหญ่กว่า เช่น อัตราส่วนครู : นักเรียน ซึ่งตามมาตรฐานต้อง 1 : 25 แต่ส�ำหรับสถานศึกษาขนาดเล็ก อัตราส่วนครู : นักเรียนเท่ากับ 1 : 8 - 11
  • 12. 11กรณี โรงเรียนบ้านยางอ้อย อ.ห้างฉัตร จ.ล�ำปาง และ โรงเรียนบ้านสบป้าก อ.วังชิ้น จ.แพร่ การประกาศนโยบายยุบ/ควบรวมโรงเรียนขนาดเล็ก ในปี พ.ศ.2554 เกิด วิกฤตต่อสังคมขนาดใหญ่ กระแสความตื่นตัวเรื่องการบริหารการศึกษา ส�ำหรับโรงเรียนขนาดเล็กเป็นประเด็นใหญ่ที่สังคมให้ความสนใจทั้ง นักวิชาการ สื่อมวลชน ประชาชนทั่วไป โดยเฉพาะผู้ปกครองไม่ได้มีความ พร้อมที่จะให้ลูกหลานเดินทางเข้าไปเรียนโรงเรียนขนาดใหญ่ที่อยู่ห่างไกล นอกชุมชน กระแสสังคมตื่นตัว เกิดข้อเสนอจากภาคสังคม นโยบายการยุบโรงเรียนขนาดเล็กสวนทางกับพระราชบัญญัติ การศึกษาแห่งชาติปี พ.ศ.2542 ที่ให้ความส�ำคัญการกระจายอ�ำนาจใน การจัดการศึกษาแก่ท้องถิ่น นโยบายการยุบเลิกหรือยุบรวมโรงเรียนขนาด เล็กแสดงให้เห็นถึงความพยายามผูกขาดอ�ำนาจในการบริหารจัดการการ ศึกษาของฝ่ายบริหารและหน่วยราชการที่ไม่เปิดโอกาสให้ภาคสังคม โดย เฉพาะอย่างยิ่งชาวบ้าน พ่อแม่ผู้ปกครอง และเด็กนักเรียนที่จะได้รับผล กระทบ ได้มีส่วนร่วมในการตัดสินใจแต่อย่างใด ปัญหาขาดคุณภาพในด้านการเรียนการสอนของโรงเรียนขนาด เล็กจนน�ำมาสู่ข้ออ้างของการยุบเลิกหรือยุบรวมโรงเรียนก็ดูจะเป็นความ ผิดพลาดของการบริหารจัดการการศึกษาที่ผ่านมาของกระทรวงศึกษา ที่ไม่สามารถสนับสนุนการจัดการศึกษาที่มีคุณภาพแก่โรงเรียนที่อยู่ห่าง ไกลทั้งในแง่อุปกรณ์ เทคโนโลยี และในแง่การกระจายบุคลากร นโยบาย การยุบโรงเรียนขนาดเล็กท�ำให้คุณภาพการเรียนการสอนยิ่งรุนแรง มากขึ้น การลดอัตราจ้างครู ลดงบประมาณ การก�ำหนดนโยบายการ ศึกษาจากส่วนกลาง การใช้หลักสูตร การก�ำหนดตัวชี้วัด การประเมินผล การจัดระบบสนับสนุน ฯลฯ ส่งผลให้โรงเรียนขนาดเล็กที่อยู่ชนบทห่าง ไกลมีปัญหาด้านคุณภาพการเรียนการสอนค่อนข้างมาก
  • 13. 12 โรงเรียนของชุมชน โรงเรียนของเรา กระแสการคัดค้านการยุบโรงเรียนขนาดเล็กเกิดขึ้นอย่างกว้าง ขวาง นักวิชาการหลายท่านเขียนบทความแสดงความคิดเห็นคัดค้านการยุบ โรงเรียนขนาดเล็ก รวมทั้งมีการเปิดเวทีรับฟังความคิดเห็นจากหลายองค์กร และสมาคมสภาการศึกษาทางเลือกซึ่งเป็นองค์กรที่เกิดจากการรวมตัวของ โรงเรียน สถาบัน องค์กร และกลุ่มที่จัดการศึกษานอกระบบ รวมเรียกว่า กลุ่มการศึกษาทางเลือก ได้ท�ำหน้าที่เชื่อมโยงกลุ่มภาคีและสมาชิกกลุ่มการ ศึกษาทางเลือก 146 องค์กร สมาคมสภาการศึกษาทางเลือก ได้เปิดเวทีรับฟังความคิดเห็นทั้ง 4 ภาค ได้แก่ ภาคกลาง ภาคเหนือ ภาคอีสาน และภาคใต้ มีองค์กรเข้า ร่วม เช่น ส�ำนักงานกองทุนการวิจัย ฝ่ายวิจัยท้องถิ่น มูลนิธิอาสาสมัคร เพื่อสังคม เครือข่ายเยาวชนสืบสานภูมิปัญญา ภาคีของสภาการศึกษา ทางเลือก และผู้ได้รับผลกระทบและความเดือดร้อนจากการยุบ ควบ รวม โรงเรียนขนาดเล็ก ได้แก่ นักเรียน ผู้ปกครอง ผู้บริหารโรงเรียน ครู และ คนในชุมชน ซึ่งการระดมความเห็นต่อการยุบโรงเรียนขนาดเล็ก สรุปได้ คือ 1.เกิดสภาวะของการขาดโอกาสเข้าถึงทางการศึกษาที่ส่งผล กระทบโดยตรงต่อผู้ที่มีฐานะยากจน เพราะผู้ที่มีฐานะยากจนไม่มีศักยภาพ เพียงพอที่จะน�ำลูกไปเรียนในเมือง และการด�ำเนินการดังกล่าวเป็นการขัด กับรัฐธรรมนูญที่ระบุว่า “เด็กทุกคนต้องได้รับการศึกษาขั้นพื้นฐานอย่าง ทั่วถึง มีคุณภาพเท่าเทียม และฟรี” 2.เพิ่มความเสี่ยงต่อการเกิดอันตรายจากการเดินทางของเด็ก ผู้ปกครอง และ ครู ที่ต้องเดินทางไกลขึ้น หรือเดินทางข้ามชุมชนไปยัง โรงเรียนใหม่ รวมทั้งยังท�ำให้เกิดภาระค่าใช้จ่าย และการสูญเสียเวลาของ ผู้ปกครองในการประกอบอาชีพ รวมทั้งกระทบต่อสุขภาพจิตของผู้ปกครอง
  • 14. 13กรณี โรงเรียนบ้านยางอ้อย อ.ห้างฉัตร จ.ล�ำปาง และ โรงเรียนบ้านสบป้าก อ.วังชิ้น จ.แพร่ 3.เป็นการท�ำลายความเข้มแข็งของชุมชน เพราะการยุบ ควบ รวม โรงเรียนของชุมชนเป็นการท�ำลายสถาบันหลักส�ำคัญของชุมชน ซึ่งประกอบ ด้วย บ้าน วัด และโรงเรียน และเป็นเสมือนการดึงสถาบันที่เป็นเสาหลักของ การเรียนรู้ชุมชนออกจากชุมชน เนื่องจากหลายชุมชนตระหนักว่า ครู และ โรงเรียนถือว่าเป็นหัวใจของการท�ำงานพัฒนาชุมชน 4.เป็นการละเมิดสิทธิและศักดิ์ศรีของชุมชน เพราะโรงเรียนขนาด เล็กทุกแห่งชุมชนเป็นผู้ร่วมสร้าง สละทรัพย์ แรงงาน และที่ดิน เพื่อให้ลูก หลานได้เรียนในชุมชนท้องถิ่นของตนเอง ดังนั้นการยุบ ควบ รวม โรงเรียน จึงเป็นการกระท�ำที่แสดงให้เห็นถึงการไม่เคารพในสิทธิความเป็นเจ้าของ โรงเรียนของคนในชุมชนที่ได้ร่วมกันสร้างของ สพฐ. 5.การยุบ ควบ รวม โรงเรียนขนาดเล็กเป็นการท�ำลายรากฐาน การเรียนรู้วิถีชีวิตวัฒนธรรมที่เป็นเอกลักษณ์ที่ดีงามของชุมชนท้องถิ่น ถือ เป็นการท�ำลายโอกาสการเรียนรู้ของเด็ก ตัดขาดเด็กออกจากรากฐานวิถี ชีวิตวัฒนธรรมชุมชนท้องถิ่น ซึ่งจะต้องเป็นผู้สืบทอดมรดกทางอารยธรรม ของชาติต่อไป ท�ำให้เด็กเติบโตโดยขาดเอกลักษณ์ และความภาคภูมิใจใน ชุมชนท้องถิ่น รากเหง้าของตนเอง อะไรคือทางออกของโรงเรียนขนาดเล็ก ตามพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2542 และแก้ไขเพิ่ม เติม พ.ศ.2545 ก�ำหนดให้มีการปฏิรูปการศึกษาและการกระจายอ�ำนาจ การศึกษาไปยังสถานศึกษา ตามหลักการดังนี้ 1) หลักการกระจายอ�ำนาจ (Decentralization) เป็นการกระจายอ�ำนาจการจัดการศึกษาจากกระทรวง และส่วนกลางไปยังสถานศึกษา 2) หลักการมีส่วนร่วม (Participation) เปิด โอกาสให้ผู้เกี่ยวข้องและผู้มีส่วนได้เสีย ได้มีส่วนร่วมในการบริหารจัดการ ศึกษา 3) หลักการคืนอ�ำนาจจัดการศึกษาไปให้ประชาชน (Return Power
  • 15. 14 โรงเรียนของชุมชน โรงเรียนของเรา to People) กระทรวงศึกษาธิการก�ำหนดให้บุคคลที่เกี่ยวข้องกับการศึกษา หรือผู้มีส่วนได้เสียมีส่วนร่วมในการพัฒนาการศึกษาในรูปแบบต่างๆ เช่น มี ส่วนร่วมในการเป็นคณะกรรมการสถานศึกษา เป็นต้น 4) หลักการบริหาร ตนเอง (Self Management) ส่วนกลางมีหน้าที่เพียงก�ำหนดนโยบายและ เป้าหมาย ส่วนโรงเรียนสามารถก�ำหนดวิธีการท�ำงานเพื่อให้บรรลุเป้าหมาย ได้ด้วยตนเอง โดยมีอ�ำนาจหน้าที่และความรับผิดชอบในการด�ำเนินงานและ 5) หลักการตรวจสอบและถ่วงดุล (Check and Balance) ส่วนกลางมีหน้าที่ ก�ำหนดนโยบายและควบคุมมาตรฐาน มีองค์กรอิสระท�ำหน้าที่ตรวจสอบ คุณภาพการบริหารและการจัดการศึกษา เพื่อให้มีคุณภาพและมาตรฐาน เป็นไปตามก�ำหนดและเป็นไปตามนโยบายของชาติแต่กระทรวงศึกษาธิการ กลับไม่ท�ำตามกฎหมาย มีอ�ำนาจผูกขาดการจัดการศึกษา โรงเรียนขนาด เล็กในชนบทถูกละเลยจนไม่มีคุณภาพ จากการจัดเวทีรับฟังความคิดเห็นของผู้ที่ได้รับผลกระทบ ลงความเห็นว่าไม่เห็นด้วยกับการยุบควบรวมโรงเรียนขนาดเล็กและ สภาการศึกษาทางเลือก จึงขอสรุปใจความส�ำคัญของข้อเสนอต่อเลขานุการ ส�ำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน คือ ให้ยุติค�ำสั่ง และการ ด�ำเนินการต่างๆ ของ สพฐ. ในการยุบ ควบ รวม โรงเรียนขนาดเล็ก และ จัดให้มีกระบวนการแก้ปัญหาโรงเรียนขนาดเล็กอย่างมีส่วนร่วม โดยเคารพและปฏิบัติตามพระพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติพ.ศ.2542 แก้ไขเพิ่มเติมถึง พ.ศ. 2545 มาตรา 29 ให้สมกับเจตนารมณ์การปฏิรูปการ ศึกษา ปฏิรูปการเรียนรู้ ว่าด้วยการสร้างการมีส่วนร่วมของครอบครัว ชุมชน การศึกษาบนหลักการกระจายอ�ำนาจการศึกษาที่ให้ความส�ำคัญกับท้องถิ่น การศึกษาที่เสมอภาคเท่าเทียมส�ำหรับผู้เรียนทุกกลุ่ม การศึกษาที่เคารพ ความแตกต่างของผู้เรียนแต่ละคนให้สามารถพัฒนาตามธรรมชาติและเต็ม ศักยภาพจนถึงสูงสุดคือการศึกษาเพื่อพัฒนาความเป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์
  • 16. 15กรณี โรงเรียนบ้านยางอ้อย อ.ห้างฉัตร จ.ล�ำปาง และ โรงเรียนบ้านสบป้าก อ.วังชิ้น จ.แพร่ ทั้งนี้ใช้วิกฤติเป็นโอกาสในการพัฒนาโรงเรียนขนาดเล็กให้เป็น โรงเรียนของชุมชน อีกทั้งพัฒนาระบบการจัดการให้โรงเรียนมีประสิทธิภาพ และคุณภาพ จากวิกฤติการยุบโรงเรียนขนาดเล็ก ท�ำให้โรงเรียนขนาดเล็กหลาย แห่งได้รวมตัวกันเพื่อพัฒนาคุณภาพการเรียนการสอนด้วยการปฏิรูปการ จัดการศึกษาแนวใหม่ให้ชุมชนเข้ามามีส่วนร่วมในการจัดการศึกษาเชื่อมโยง ผู้รู้ ครูภูมิปัญญาของท้องถิ่น ให้เข้ามามีส่วนร่วมในการจัดการเรียนรู้ การ เรียนรู้ประวัติศาสตร์ท้องถิ่น วัฒนธรรมประเพณี วิถีชีวิต การศึกษาเรียนรู้ ที่สามารถสร้างงาน สร้างอาชีพได้ด้วยตนเอง อีกทั้งยังมีความรู้ที่กว้างขวาง เชื่อมโยงกับสังคมและเท่าทันสังคมโลกที่เปลี่ยนไป ในช่วงปี พ.ศ.2557 เกิดการรวมตัวขององค์กรภาคีเครือข่ายเพื่อ ปฏิรูปการศึกษาจ�ำนวน 9 เครือข่ายได้เครือข่ายการศึกษาทางเลือก เครือ ข่ายโรงเรียนขนาดเล็ก สังกัด สพฐ. เครือข่ายโรงเรียนเอกชน เครือข่าย โรงเรียนสังกัดองค์การปกครองส่วนท้องถิ่น (อปท.) เครือข่ายกลุ่มธุรกิจ เอกชน เครือข่ายการศึกษาชนเผ่าพื้นเมือง เครือข่ายเด็กและเยาวชนคน รุ่นใหม่ เครือข่ายพ่อแม่ผู้ปกครอง และเครือข่ายการศึกษาบนฐานชุมชน รวมตัวและเชื่อมร้อยในนาม “สมัชชาเครือข่ายปฏิรูปการศึกษา” เกิด การจัดประชุมภาคีเครือข่ายและเวทีสาธารณะเพื่อระดมและรับฟังความ คิดเห็นของสมาชิกเครือข่ายในการร่วมกันขับเคลื่อนปฏิรูปการศึกษา เกิด ข้อเสนอ 7 ปฏิรูป 7 ขับเคลื่อน ดังนี้
  • 17. 16 โรงเรียนของชุมชน โรงเรียนของเรา 7 ปฏิรูป 1. ปฎิรูปเป้าหมายทางการศึกษา กระบวนทัศน์ 2. ปฏิรูปการกระจายอ�ำนาจ โครงสร้าง 3. ปฏิรูปนโยบาย กฎหมายการศึกษา 4. ปฏิรูปกลไกการจัดการศึกษา 5. ปฏิรูปการบริหารจัดการ (หลักสูตร ตัวชี้วัด การประเมินผล และการจัดสรรงบประมาณ) 6. ปฏิรูประบบการผลิตและบุคลากรทางการศึกษา 7. ปฏิรูปการสื่อสารเพื่อการศึกษา 7 ขับเคลื่อน ปฏิบัติการท�ำทันที 1.เดินหน้าร่วมกันทันทีอย่างต่อเนื่องเพื่อให้เกิดการ พัฒนาคุณภาพการศึกษาอย่างจริงจังของแต่ละกลุ่มและเกิดรูปธรรมผล ส�ำเร็จในทุกระดับครอบครัว สถานศึกษา ชุมชนท้องถิ่น จังหวัด 2.สร้างภาคีเครือข่ายเพื่อปฏิรูปและพัฒนาคุณภาพโดยจัด ตั้งชมรม องค์กรเพื่อสร้างความเข้มแข็งให้เครือข่าย จัดให้มีการแลกเปลี่ยน เรียนรู้ซึ่งกันและกันและขยายเครือข่ายความร่วมมือให้หลากหลายและ กว้างขวางยิ่งขึ้น สื่อสารกับสาธารณะ 3.สกัดความรู้ ถอดบทเรียน จัดท�ำฐานข้อมูล สร้างพื้นที่ ต้นแบบเพื่อการสื่อสารกับสังคม 4.สร้างความร่วมมือกับสื่อเพื่อการปฏิรูปการศึกษา ด้วย การเผยแพร่ความรู้ที่ท�ำให้สังคมตื่นตัวและมองเห็นปัญหาของการศึกษา จุดประกายให้ทุกภาคส่วนเข้ามามีส่วนร่วมในการขับเคลื่อนปฏิรูปการ
  • 18. 17กรณี โรงเรียนบ้านยางอ้อย อ.ห้างฉัตร จ.ล�ำปาง และ โรงเรียนบ้านสบป้าก อ.วังชิ้น จ.แพร่ ศึกษา พัฒนาคน/พลเมืองที่มีคุณภาพร่วมกัน และคนในสังคมมีทางเลือก ทางการศึกษามากขึ้น ขับเคลื่อนเชิงนโยบาย 5.ทุกเครือข่ายร่วมกันผลักดันการศึกษาเป็นวาระแห่งชาติ 6. ยื่นข้อเสนอปฏิรูปการศึกษาแก่รัฐบาลชุดใหม่ เพื่อให้ เกิดการปฏิรูปการศึกษาที่ภาคีทุกภาคส่วนในสังคมเข้ามามีส่วนร่วมอย่าง แท้จริง ไม่ใช่การปฏิรูปการศึกษาดังที่ผ่านมาที่กระทรวงศึกษาธิการเป็นผู้ ด�ำเนินการฝ่ายเดียว 7.จัดตั้งสภาปฏิรูปการศึกษาในทุกระดับ(ชุมชน/ท้องถิ่น / จังหวัด/ ชาติ) ที่ทุกภาคส่วนเข้ามามีส่วนร่วม มีบทบาทในการขับเคลื่อน การปฏิรูปการศึกษาภาคประชาชนให้เกิดขึ้นและเป็นจริงในอนาคต และข้อตกลงร่วมของ 9 ภาคีเครือข่ายปฏิรูปการศึกษา คือลงมือ ท�ำทันที ในกิจกรรมที่สามารถปฏิบัติการได้เพื่อขับเคลื่อนการศึกษา เครือ ข่ายโรงเรียนขนาดเล็กมีข้อเสนอเพื่อปฏิบัติการเปลี่ยนแปลงการศึกษา คือ 1.ขับเคลื่อนเป็นเครือข่ายเพื่อสร้างพลังในการต่อรองอย่าง เป็นรูปธรรมมากขึ้น แนวปฏิบัติ - สร้างเครือข่ายจากการมีส่วนร่วมของภาคส่วนต่างๆไม่ว่าองค์กร ปกครองท้องถิ่น ผู้ปกครอง ชุมชน เพื่อการด�ำรงอยู่ของโรงเรียนขนาดเล็ก ในชุมชน ให้เป็นโรงเรียนของชุมชน โดยชุมชน เพื่อชุมชน อย่างแท้จริง - มุ่งเน้นการจัดการตนเองเพื่อให้เกิดการเป็นนิติบุคคลโดยสมบูรณ์ แบบ
  • 19. 18 โรงเรียนของชุมชน โรงเรียนของเรา 2.มุ่งพัฒนาคุณภาพการศึกษาให้เป็นที่ยอมรับของชุมชน - ออกแบบหลักสูตรที่ยืดหยุ่น มีกระบวนการเรียนการสอนที่ เหมาะกับผู้เรียน และเน้นทักษะชีวิตและอาชีพ - สร้างจิตส�ำนึกสาธารณะทั้งน�ำโรงเรียน เข้าสู่ชุมชน อาทิ การ เข้าร่วมกิจกรรมทางสังคม เครือข่ายโรงเรียนขนาดเล็กได้สร้างการมีส่วนร่วมจากภาคส่วน ต่างๆ องค์กรปกครองท้องถิ่น ผู้ปกครอง ชุมชน รวมทั้งองค์กรสนับสนุน ภายนอก เช่น ส�ำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.) Actionaid เพื่อ สร้างพลังชุมชนในการพัฒนาคุณภาพการศึกษาและการพัฒนาให้โรงเรียน ขนาดเล็กในชุมชน ให้เป็นโรงเรียนของชุมชน โดยชุมชน เพื่อชุมชน โดย ใช้หลักการมีส่วนร่วม เปิดโอกาสให้ผู้เกี่ยวข้องและผู้มีส่วนได้เสียได้มีส่วน ร่วมในการบริหารจัดการการศึกษา ซึ่งสอดคล้องกับพระราชบัญญัติการ ศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2542 ซึ่งจะขอน�ำเสนอรูปธรรมของโรงเรียนขนาด เล็กที่พัฒนาตนเองเป็นโรงเรียนชุมชนด้วยการสร้างการมีส่วนร่วม นั่นคือ โรงเรียนบ้านยางอ้อย ต�ำบลเวียงตาล อ�ำเภอห้างฉัตร จังหวัดล�ำปาง และโรงเรียนบ้านสบป้าก ต�ำบลแม่เกิ๋ง อ�ำเภอวังชิ้น จังหวัดแพร่
  • 20.
  • 21.
  • 23. 22 โรงเรียนของชุมชน โรงเรียนของเรา โรงเรียนขนาดเล็กเป็นโรงเรียนที่ห่างไกล ถูกสร้างโดยความร่วมมือ ของทุกคนในชุมชนที่ต้องการให้ลูกหลานได้รับการศึกษา อ่านออกเขียนได้ มีสติปัญญา สามารถใช้ชีวิตอย่างมีคุณภาพในชุมชนที่ตนอยู่ จึงร่วมกัน บริจาคที่ดินหรือใช้ที่ดินวัด ทุกคนช่วยกันลงแรงในการก่อสร้างอาคาร หาไม้ วัสดุในท้องถิ่น จัดหาครูในชุมชน หรือครูพระ ที่มีความรู้มาสอนเด็กๆ ดังนั้น โรงเรียนขนาดเล็กบางแห่งอายุเกือบ 100 ปี และโดยส่วนใหญ่จะมีอายุมาก กว่า 50 ปีขึ้นไป เช่น โรงเรียนบ้านยางอ้อย โรงเรียนบ้านสบป้าก โรงเรียน บ้านไทรงาม โรงเรียนบ้านท่าสะท้อน โรงเรียนบ้านเกาะแรต เป็นต้น ในอดีตโรงเรียนขนาดเล็กจึงเป็นโรงเรียนของชุมชนโดยแท้จริง นอกจากที่จะให้ลูกหลานได้เรียนหนังสือเท่าทันเด็กคนอื่นๆ แล้ว เขายัง อยากให้ลูกหลานได้เรียนรู้ชีวิต เรียนรู้วัฒนธรรมประเพณี เรียนรู้การท�ำมา หากินการท�ำเกษตรเลี้ยงสัตว์การท�ำอาหารการปลูกเรือนผ่านกิจกรรมของ ชุมชน และครอบครัว จนเมื่อกาลเวลาเปลี่ยนไป โรงเรียนของชุมชนเปลี่ยน ไปเป็นโรงเรียนของรัฐมีอาคารที่มั่นคงมีครูที่จบการศึกษาด้านครูโดยตรง มี งบประมาณแต่ความรู้สึกเป็นเจ้าของโรงเรียนค่อยๆ ห่างออกไปเรื่อยๆ การ เรียนรู้แคบลง เรียนเฉพาะในห้องเรียน การจัดการศึกษาตอบสนองต่อระบบ ทุนนิยม แข่งขันความเป็นเลิศด้านอุตสาหกรรม เทคโนโลยี เด็กๆ ห่างจาก วิถีชีวิตวัฒนธรรม ความรู้ทางศีลธรรม จริยธรรม ความรับผิดชอบต่อชุมชน สังคม ลดน้อยลง
  • 24. 23กรณี โรงเรียนบ้านยางอ้อย อ.ห้างฉัตร จ.ล�ำปาง และ โรงเรียนบ้านสบป้าก อ.วังชิ้น จ.แพร่ ขณะที่โรงเรียนบางแห่งได้ปรับการเรียนเปลี่ยนการสอนโดยพัฒนา ให้เป็นโรงเรียนของชุมชน จัดการเรียนรู้เพื่อการอยู่รอด การมีอาชีพ การ ด�ำรงอยู่ในชุมชน เกิดการเรียนรู้ประวัติศาสตร์ชุมชน วัฒนธรรมประเพณี ภูมิปัญญาของชุมชน ด้วยการจัดกระบวนการเรียนรู้ที่มีเด็กเป็นศูนย์กลาง โรงเรียนบ้านยางอ้อย ต�ำบลเวียงตาล อ�ำเภอห้างฉัตร จังหวัด ล�ำปาง และโรงเรียนบ้านสบป้าก ต�ำบลแม่เกิ๋ง อ�ำเภอวังชิ้น จังหวัด แพร่ เป็นหนึ่งในหลายพันแห่งของโรงเรียนขนาดเล็กที่มีเด็กต�่ำกว่า 60 คน ที่มีบทเรียน ความรู้ของการพลิกฟื้นพลังของชุมชนร่วมกันพัฒนา โรงเรียนเพื่อให้ลูกหลานได้ศึกษาเรียนรู้อยู่ในชุมชน บริบทของพื้นที่ : บ้านยางอ้อย ต�ำบลเวียงตาล อ�ำเภอห้างฉัตร จังหวัดล�ำปาง จากค�ำบอกเล่าของผู้ปกครองว่า ชุมชนบ้านยางอ้อยมีผู้มาตั้งถิ่น ฐานอาศัยเดิมมาจากกลุ่มชาติพันธุ์ที่มาอาศัยปลูกอ้อย ชาวไทยพื้นราบ เรียกคนกลุ่มนี้ว่า “ยาง” ต่อมาได้ย้ายไปอยู่ที่อื่นหมดแล้ว ชาวบ้านจึงเข้า มาอาศัยตั้งชุมชนเรียกบ้านยางอ้อยเมื่อประเมินอายุของชุมชนก็ประมาณ ร้อยปีกว่าปีพอๆกับการสร้างวัดและสร้างโรงเรียนชาวบ้านมีอาชีพท�ำนา ท�ำไร่ ท�ำสวน ต่อมาเมื่อมีการพัฒนาเศรษฐกิจ จึงมีผู้คนจากต่างชุมชนย้าย เข้ามาอาศัยเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ จากชนบทที่ห่างไกล มีการขยายของโรงงาน อุตสาหกรรม เช่น โรงงานเซรามิก โรงไม้ อุตสาหกรรมอาหาร เข้ามาใน เขตอ�ำเภอห้างฉัตร และตัวเมืองล�ำปาง ไม่ไกลจากชุมชนบ้านยางอ้อย จากอาชีพเกษตรกรรม มีที่นา ชาวบ้านต่างทยอยขายที่นาให้แก่นายทุน เพื่อสร้างโรงงานอุตสาหกรรม ในที่สุดคนบ้านยางอ้อยก็เปลี่ยนจากอาชีพ เกษตร จากเจ้าของที่นา ก็กลายเป็นลูกจ้างในโรงงานอุตสาหกรรม ต้อง
  • 25. 24 โรงเรียนของชุมชน โรงเรียนของเรา เข้างานและเลิกงานเป็นเวลา หรือบางครั้งก็ต้องท�ำงานล่วงเวลา จาก วิถีชีวิตเรียบง่าย การกินการอยู่ปรับตัวตามวิถีธรรมชาติ กลายเป็นผู้ที่ มีเวลาเป็นตัวก�ำหนดความรีบเร่งของชีวิต แม้แต่ลูกหลานในครอบครัวก็ ต้องปรับตัวตาม จากที่เคยให้ลูกหลานได้เข้าเรียนโรงเรียนในชุมชน ก็ต้อง ตื่นแต่เช้าตามพ่อแม่ออกไปท�ำงานพร้อมกัน เมื่อเลิกเรียนแล้วก็ต้องรอ กลับบ้านพร้อมพ่อแม่ ขณะที่คนที่ไม่มีความรู้เมื่อไม่มีรายได้จากเกษตรก็ ต้องออกไปรับจ้าง ใช้แรงงาน รายได้น้อย ยากจน บ้านสบป้าก ต�ำบลแม่เกิ๋ง อ�ำเภอวังชิ้น จังหวัดแพร่ บ้านสบป้ากมีลักษณะเป็นที่สูงและบางส่วนเป็นที่ราบลุ่มอยู่ติด กับล�ำห้วยแม่ป้ากซึ่งไหลไปจบกับล�ำน�้ำยม จุดที่สบกันจึงเรียกสบป้ากจึง ที่ตั้งของบ้านสบป้าก พบหลักฐานบ้านสบป้ากมีการสร้างวัด สร้างบ้าน ประมาณ 70-80 ปีมาแล้ว ชาวบ้านมีอาชีพเกษตรกรรม ท�ำนา ท�ำไร่ ปลูกผัก ปลูกถั่วลิสง ข้าวโพด ท�ำสวนส้ม และหาปลาจากล�ำน�้ำยม ชาว บ้านจึงช่วยกันรักษาและอนุรักษ์ปลาในล�ำน�้ำยมซึ่งเป็นสายน�้ำหลักที่ใช้ใน การเกษตรกรรม ปัจจุบันวิถีบ้านสบป้ากยังไม่เปลี่ยนไปจากเดิมมาก ชาว บ้านยังท�ำอาชีพเกษตรกรรมเป็นส่วนใหญ่ ยังด�ำรงวิถีชีวิตชนบทที่พึ่งพา ซึ่งกันและกัน
  • 26. 25กรณี โรงเรียนบ้านยางอ้อย อ.ห้างฉัตร จ.ล�ำปาง และ โรงเรียนบ้านสบป้าก อ.วังชิ้น จ.แพร่ โรงเรียนของชุมชน โรงเรียนของเราทุกคน : โรงเรียนบ้านยางอ้อย เดิมชื่อว่า “โรงเรียนประชาบาลต�ำบล ปันง้าว 2” (วัดบ้านเหล่า) ก่อตั้งเมื่อ พ.ศ.2466 โดยนายอ�ำเภอเป็นผู้ จัดตั้งขึ้น รับเด็กนักเรียนจาก 3 หมู่บ้าน คือ หมู่บ้านสันทราย บ้านเหล่า และบ้านยางอ้อย เรียนรวมกันโดยใช้ศาลาวัดบ้านเหล่าเป็นสถานที่เรียน เปิดท�ำการสอนอย่างเป็นทางการเมื่อวันที่ 1 พฤศจิกายน 2466 นักเรียน ทั้งหมด 58 คน มีพระหม่อง อินทจักร เป็นครูใหญ่ และมีพระครูท่านอื่นๆ และชาวบ้านที่มีความรู้ เป็นครูผู้สอน ต่อมาปี พ.ศ. 2480 ชาวบ้านขอย้าย โรงเรียนจากวัดบ้านเหล่ามาอยู่ที่ติดกับวัดยางอ้อยด้านทิศเหนือ และชาว บ้านจากบ้านยางอ้อย บ้านเหล่า และบ้านใหม่ ได้ร่วมกันปลูกสร้างอาคาร เรียนถาวร ขนาด 4 ห้องเรียน เปิดเรียนเมื่อวันที่ 6 สิงหาคม 2481 ใช้ ชื่อว่า “โรงเรียนประชาบาลห้างฉัตร 6” (ยางอ้อยวิทยาคาร) ต่อมามีเด็ก นักเรียนเพิ่มขึ้น ชาวบ้านยางอ้อยจึงได้ย้ายจากบริเวณวัดมาสร้างใหม่ใน ที่ดินปัจจุบัน บนเนื้อที่ 13 ไร่ 2 งาน 20 ตารางวา และได้ย้ายเด็กมาเรียน รวมกันเมื่อวันที่ 3 พฤษภาคม 2516 มีนักเรียน 111 คน หลังจากนั้นมีการพัฒนาปรับปรุงโรงเรียนมาโดยตลอด ด้วยความ ร่วมมือ ลงแรงของชาวบ้านทุกคน รวมทั้งผู้มีจิตศรัทธา เช่น การสร้าง ถนนคอนกรีตในโรงเรียนการสร้างรั้วคอนกรีตล้อมรอบบริเวณโรงเรียนทั้ง 4 ด้าน โรงเรียนยังจัดท�ำบุญสืบชะตาโรงเรียน ครบรอบ 87 ปี เพื่อระดม ทรัพยากรในการจัดการศึกษา และศิษย์เก่ายังได้ระดมทุนจัดตั้งกองทุน เพื่อการศึกษา นอกจากนั้น โรงเรียนยังได้รับการสนับสนุนจากผู้มีจิตศรัทธา ภายนอก สถาบันการศึกษา ภาคธุรกิจเอกชน เช่น การติดตั้งสัญญาณ อินเทอร์เน็ตความเร็วสูง การรับมอบเครื่องคอมพิวเตอร์ แท็ปเล็ต การรับ เครื่องกรองน�้ำดื่มพร้อมถังแสตนเลส การรับการสนับสนุนปรับปรุงห้อง สมุดและคอมพิวเตอร์
  • 27. 26 โรงเรียนของชุมชน โรงเรียนของเรา ปัจจุบัน โรงเรียนบ้านยางอ้อย เปิดสอนระดับชั้นอนุบาล 1 – ชั้น ประถมปีที่ 6 มีนักเรียน 43 คน (กุมภาพันธ์ พ.ศ.2558) มีเขตบริการทางการ ศึกษา คือ บ้านยางอ้อยเหนือ หมู่ 4 และบ้านยางอ้อยใต้ หมู่ 11 รวม 2 หมู่บ้านมี 540 ครัวเรือน ประชากร 1,700 คน มีประชากรในวัยเรียนระดับ ประถมศึกษาประมาณ 160 คน ส่วน โรงเรียนบ้านสบป้าก นั้นเมื่อมีการสร้างชุมชน ชาวบ้านและ ผู้น�ำชุมชนจึงร่วมกันก่อสร้างโรงเรียนเมื่อปีพ.ศ.2482 มีเด็กจาก4หมู่บ้าน มาเรียนที่โรงเรียนบ้านสบป้าก คือ บ้านหาดอ้อน บ้านสบป้าก บ้านนาฮ่าง บ้านแช่ฟ้า ทั้งนี้เพื่อให้ลูกหลานได้เล่าเรียน มีความรู้ อ่านออกเขียนได้ การจัดการศึกษาจะมีวัดสัมฤทธิบุญเป็นศูนย์กลาง มีพระท�ำหน้าที่เป็นครู สอนหนังสือ สอนธรรมะ สอนศิลปกรรม การวาดลวดลายไทย สอนการ ปรุงยาสมุนไพร หรือแม้แต่ศิลปะการด�ำเนินชีวิต เป็นการสอนแบบผสม ผสานศึกษาเรียนรู้เพื่อการด�ำรงชีวิตได้โรงเรียนบ้านสบป้ากมีความร่วมมือ ร่วมกัน 3 ฝ่าย “บวร” บ้าน วัด โรงเรียน มาตั้งแต่อดีต เนื่องจากเป็น ชุมชนชนบทขนาดเล็ก ผู้คนมีความใกล้ชิด สนิทสนมกัน มีความสัมพันธ์ กันเมื่อมีกิจกรรมในหมู่บ้าน นักเรียนก็เข้าร่วมในขบวนฟ้อน การแสดง ศิลปวัฒนธรรมท้องถิ่น เช่น งานก๋วยสลาก งานเข้าพรรษา งานออกพรรษา มาฆะบูชา วันสงกรานต์ ฯลฯ ครูก็จะพานักเรียนเข้าร่วมกิจกรรม ต่อมา โรงเรียนลดกิจกรรมกับชุมชนลง ให้ความส�ำคัญกับการเรียนในห้องเรียน มากขึ้นความกลมเกลียวใกล้ชิดรักท้องถิ่นก็ลดน้อยลงความผูกพันก็ค่อยๆ ลดทอนหายไป ผู้น�ำชุมชนได้กล่าวว่า “กิจกรรมท้องถิ่นจะท�ำให้เด็ก ครู ชุมชน ได้ใกล้ชิดกัน เกิดความรักความผูกพันกับท้องถิ่น ขณะเดียวกัน วัดผู้ปกครองก็ได้ใช้โอกาสในการบ่มเพาะศีลธรรมจริยธรรมให้เกิดขึ้น”
  • 28. 27กรณี โรงเรียนบ้านยางอ้อย อ.ห้างฉัตร จ.ล�ำปาง และ โรงเรียนบ้านสบป้าก อ.วังชิ้น จ.แพร่ จากสถานการณ์เศรษฐกิจ สังคม เปลี่ยนไป โรงเรียนในชนบทที่ เคยมีเด็กร้อยกว่าคนลดเหลือน้อยลงและมีแนวโน้มลดลงเรื่อยๆเนื่องจาก หลายสาเหตุ เช่น การคุมก�ำเนิด คนหนุ่มสาวออกไปท�ำงานนอกชุมชน จึงน�ำมาสู่นโยบายการยุบ ควบรวมโรงเรียนขนาดเล็กซึ่งหลายแห่งได้รับ ผลกระทบเพราะนักเรียนของโรงเรียนขนาดเล็กมาจากครอบครัวที่มีราย ได้น้อย ยากจน ไม่สามารถส่งลูกไปเรียนในเมืองได้ เพื่อไม่ให้โรงเรียนถูก ยุบ โรงเรียนจึงต้องพัฒนาคุณภาพการเรียนการสอนที่จะพัฒนาผู้เรียน
  • 31. 30 โรงเรียนของชุมชน โรงเรียนของเรา จะพัฒนาก็ต้องเริ่มต้นที่ตัวเรา รู้เขา : เมื่อรัฐบาลมีมติยกเลิกนโยบายโรงเรียนขนาดเล็ก โรงเรียนบ้านยาง อ้อยและโรงเรียนบ้านสบป้ากก็ได้รับผลกระทบโดยตรง เพราะมีเด็ก 43 คน และ 53 คน ตามล�ำดับ ผู้บริหารสถานศึกษา จึงได้จัดประชุมผู้ปกครองเพื่อ แจ้งให้ทราบและสอบถามความเห็นจากผู้ปกครอง ซึ่งผู้ปกครองทั้งหมดไม่ ต้องการให้ยุบโรงเรียน ผู้ปกครองที่ส่งลูกหลานเข้าเรียนทั้งสองโรงเรียน จะ เป็นผู้มีรายได้น้อย ยากจน การให้เด็กออกไปเรียนโรงเรียนที่ห่างไกลบ้าน จะ เป็นการเพิ่มภาระค่าใช้จ่าย ไม่ว่าจะเป็นค่ารถ ค่าอาหาร ถึงแม้ว่ารัฐจะมีน โยบายจัดหารถตู้รับส่งนักเรียนที่อยู่ในชุมชนไปยังโรงเรียนใหม่ แต่นั่นก็ไม่ได้ มีหลักประกันว่ารัฐจะด�ำเนินการสนับสนุนได้อย่างต่อเนื่องและตลอดไปจน กว่าเด็กจะจบการศึกษา อีกทั้งผู้ปกครองยังห่วงเรื่องความปลอดภัยระหว่าง การเดินทาง เนื่องจากก่อนหน้านี้ มีโรงเรียนขนาดเล็กถูกยุบไปหลายแห่ง แล้ว ผู้ปกครองได้ศึกษาข้อมูลไว้บ้างพบกรณีที่เด็กย้ายไปรวมกับโรงเรียนอื่น ท�ำให้ห้องเรียนแออัดมากขึ้นและยังไม่ได้รับความเอาใจใส่เท่ากับเด็ก นักเรียนที่เรียนอยู่เดิม หรือแม้แต่เด็กปฐมวัย ห้องคับแคบขึ้น เด็กนอนเรียง กันจนถึงหน้าประตู
  • 32. 31กรณี โรงเรียนบ้านยางอ้อย อ.ห้างฉัตร จ.ล�ำปาง และ โรงเรียนบ้านสบป้าก อ.วังชิ้น จ.แพร่ รู้เรา : การจัดประชุมประชาคมผู้ปกครองและชาวบ้านของบ้านยาง อ้อย 2 หมู่บ้านเพื่อระดมความคิดเห็นต่อการพัฒนาคุณภาพการศึกษาของ โรงเรียนบ้านยางอ้อย พบสาเหตุที่ผู้ปกครองไม่เชื่อมั่นต่อการจัดการศึกษา ของโรงเรียน ได้แก่ 1) ผู้บริหารสถานศึกษาย้ายบ่อย ขาดความต่อเนื่องใน การพัฒนา ซึ่งจากสถิติพบว่ามีผู้บริหารเข้ามารับต�ำแหน่งในรอบ30ปีที่ผ่าน มาจนถึงปัจจุบัน 13 คน 2) พฤติกรรมที่ไม่เหมาะสมของครูและผู้บริหารใน อดีตที่มีต่อชุมชนและนักเรียน 3) ขาดครูเฉพาะทางและครูไม่ครบชั้นเรียน 4) เกิดธุรกิจการศึกษาในด้านอาชีพรถตู้รับ-ส่งนักเรียนไปเรียนที่อื่น 5)ค่านิยม ความเชื่อในการน�ำลูกหลานไปเรียนที่อื่น จากสาเหตุดังกล่าวท�ำให้ผู้ปกครองขาดความเชื่อมั่นต่อทาง โรงเรียนและได้พาลูกหลานไปเรียนที่สถานศึกษาในอ�ำเภอและจังหวัดได้แก่ โรงเรียนอนุบาลประจ�ำอ�ำเภอ โรงเรียนอนุบาลประจ�ำจังหวัด โรงเรียนเอกชน ในตัวจังหวัด โรงเรียนในเขตเทศบาล และโรงเรียนการกุศลในตัวจังหวัด ซึ่งส่งผลให้โรงเรียนมีจ�ำนวนนักเรียนลดลงทุกปี กลายเป็นโรงเรียนขนาดเล็ก ที่มีนักเรียนต�่ำกว่า 60 คน ของส�ำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา ล�ำปาง เขต 1 ส่วนนักเรียนที่เหลือพบว่า ส่วนใหญ่เป็นนักเรียนที่ต้องอาศัย อยู่กับปู่ย่าตายาย ลุง ป้า น้า อา พ่อแม่ไปท�ำงานต่างถิ่น หย่าร้าง ถูกละทิ้ง พิการ อีกทั้งประสบปัญหาภาระหนี้สินของครอบครัว ท�ำให้ประสบกับ ความยากล�ำบากในการด�ำเนินชีวิตที่ต้องดิ้นรนให้อยู่รอดไปวันๆ หรือมีบาง ครอบครัวที่พาลูกออกไปเรียนนอกชุมชน แต่ไม่สามารถเรียนต่อได้ตลอด เพราะมีค่าใช้จ่ายสูง จึงต้องกลับมาเรียนที่โรงเรียนบ้านยางอ้อย ขณะที่งบ ประมาณรายหัวถูกตัดออกไปแล้ว ผู้บริหารก็ต้องหางบมาเพิ่มเมื่อมีการย้าย เด็กกลับมา อีกทั้งโรงเรียนยังมีเด็กพิเศษอีกหลายคนที่เรียนร่วมชั้นเรียนกับ เด็กคนอื่นๆ
  • 33. เมื่อสถานการณ์เศรษฐกิจ สังคมเปลี่ยน วิถีความเป็นอยู่ของคน ในชุมชนเปลี่ยนไป ส่งผลต่อวิธีการเลี้ยงลูกที่เปลี่ยนไปด้วย เด็กเล็กต้องตื่น แต่เช้าตามผู้ปกครองออกไปท�ำงานและเรียนในตัวเมือง กลับถึงบ้านมืด ค�่ำ ไม่มีเวลาเล่นเหมือนเด็กทั่วไป บางครอบครัวท�ำงานหนักจนไม่มีเวลา ใกล้ชิดลูก ให้เงินไว้ใช้ ขณะเดียวกันเด็กๆ อยู่ในชุมชนแต่ไม่ได้รู้จักชุมชน และเข้าใจในวิถีการอยู่การกินของชุมชน ขณะที่เด็กบ้านสบป้ากส่วนใหญ่ ยังคงเรียนอยู่ในชุมชน โรงเรียน บ้านสบป้าก มีจ�ำนวนน้อยที่ออกไปเรียนนอกชุมชน เพราะยังมีลักษณะ ของชุมชนชนบทและห่างจากเมืองพอสมควร และยังมีผู้ใหญ่ที่คอยเอาใจ ใส่ลูกหลาน อีกทั้งยังมีวัดเป็นศูนย์กลางของคนบ้านสบป้าก และทุกวัน ศุกร์จะมีกิจกรรมด้านคุณธรรมจริยธรรม โดยมีเจ้าอาวาสและพระอาจารย์ เป็นผู้จัด นอกจากนั้นยังเข้าไปช่วยสอนวิชาศีลธรรมในโรงเรียน ร่วมกันปรับปรุง พัฒนา : ด้วยโรงเรียนบ้านยางอ้อย อยู่คู่กับชุมชนมาเกือบร้อยปี และเป็น โรงเรียนที่คนในชุมชนลงมือสร้างด้วยตนเอง ชุมชนมีความรักความผูกพัน ต่อโรงเรียน ผู้ปกครองและชาวบ้านจาก 2หมู่บ้านคือบ้านยางอ้อยเหนือ และบ้านยางอ้อยใต้ เห็นร่วมกันเป็นเอกฉันท์ว่าจะไม่ยุบโรงเรียนบ้านยาง อ้อย ฉะนั้น ผู้อ�ำนวยการโรงเรียน จึงระดมความเห็นและความร่วมมือใน การพัฒนาโรงเรียน และคุณภาพของนักเรียน จากการประชุมผู้ปกครอง และชุมชน ได้มีการระดมความคิดเห็น และมีข้อเสนอที่ต้องการให้เกิดขึ้น คือ อยากให้โรงเรียนช่วยกลั่นกรองความรู้ความสามารถของเด็กอยากให้ ครูผู้สอนพัฒนาในด้านการศึกษาและความรู้ให้มากขึ้น อยากให้โรงเรียน พัฒนาส่งเสริมอาชีพ เพื่อให้เด็กใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์ อยากให้ โรงเรียนสร้างจุดเด่น เรียนรู้ภูมิปัญญาชาวบ้าน จัดหาปราชญ์ชาวบ้านมา 32 โรงเรียนของชุมชน โรงเรียนของเรา
  • 34.
  • 35.
  • 36. 35กรณี โรงเรียนบ้านยางอ้อย อ.ห้างฉัตร จ.ล�ำปาง และ โรงเรียนบ้านสบป้าก อ.วังชิ้น จ.แพร่ ฝึกสอนตามหลักสูตรการเรียนการสอน อยากให้โรงเรียนมีครูประจ�ำชั้น ครบชั้นทุกวิชา อยากให้ทางโรงเรียนจัดหาสื่อการเรียนการสอนที่ทันสมัย ความรู้ความสามารถ อยากให้โรงเรียนมีสถานที่ในบริเวณโรงเรียนสะอาด ร่มรื่นมีความปลอดภัยอยากให้มีการประชุมผู้ปกครองบ่อยครั้ง ให้ครูช่วย ควบคุมดูแลการใช้เทคโนโลยี เช่น โทรศัพท์ แท็ปเล็ต เกินความจ�ำเป็น และไม่เหมาะสม ขณะเดียวกัน ชาวบ้าน ผู้ปกครอง แกนน�ำบ้านสบป้าก ไม่ต้องการให้ยุบโรงเรียนของพวกเขา ฉะนั้นจึงต้องวางแผนและร่วมมือ สนับสนุนกิจกรรมของโรงเรียนให้มีความเจริญก้าวหน้าอย่างมีแบบแผน ซึ่งที่ผ่านมา ชุมชนก็เข้าร่วมในกิจกรรมของโรงเรียนเสมอมา เช่นการจัด ผ้าป่าสร้างรั้วโรงเรียน สร้างส้วม จัดซื้ออุปกรณ์สื่อการเรียนการสอน มี กองทุนการศึกษาของศิษย์เก่าจากโครงการรักโรงเรียนบ้านเกิด ศิษย์เก่า ยังจัดผ้าป่าน�ำอุปกรณ์การศึกษามามอบให้แก่โรงเรียน และเมื่อโรงเรียน มีกิจกรรม เช่น วันพ่อ วันแม่ ชุมชนก็เข้าร่วม ซึ่งจะพบว่าความร่วมมือ ของชุมชนท�ำให้เกิดการสร้างและพัฒนาโรงเรียน โดยไม่ได้ใช้งบประมาณ ของทางราชการ เช่น ชุมชนร่วมเป็นแรงงานสร้างรั้วและสร้างส้วมของ โรงเรียนดังนั้นความร่วมมือของชุมชนจึงเป็นจุดแข็งของบ้านสบป้ากและ ต้องท�ำให้ชัดเจนมากขึ้น เพื่อไม่ให้โรงเรียนถูกยุบ สถานการณ์การยุบ โรงเรียนนั้น ผู้ปกครองได้ติดตามข่าวสารจากพื้นที่อื่นที่ยุบไปแล้ว จากสื่อ จากครู พบว่าเด็กต้องไปเรียนไกลขึ้น มีค่าใช้จ่าย และเป็นห่วงความ ปลอดภัย เนื่องจากยังเป็นเด็กประถม แม้ว่าจะมีการสนับสนุนค่าพาหนะ หรือการจัดรถตู้อ�ำนวยความสะดวกหรือการมีงบจัดสรรค่าอาหาร กลางวันให้เด็ก แต่ก็ไม่ได้มีความต่อเนื่อง ผู้ปกครองจึงขาดความมั่นใจ และยังเชื่อมั่นที่จะให้ลูกหลานเรียนในท้องถิ่น
  • 37. 36 โรงเรียนของชุมชน โรงเรียนของเรา จากข้อเสนอของผู้ปกครองจึงได้เกิดการขับเคลื่อนในการใช้ ความพยายามในการที่จะร่วมแรงร่วมใจและร่วมมือกันในการที่จะบริหาร จัดการโรงเรียนของชุมชนร่วมกับบุคลากรของโรงเรียนซึ่งประกอบด้วย ผู้บริหารโรงเรียน ครูและบุคลากรทางการศึกษาในโรงเรียน ในการให้การ สนับสนุนการบริหารจัดการสถานศึกษาของชุมชนให้มีคุณภาพเป็นที่ยอมรับ ของชุมชนและสังคมทั่วไป ซึ่งการร่วมแรงร่วมใจและร่วมมือดังกล่าว ก่อให้ เกิดกิจกรรมต่างๆ มากมาย เช่น การระดมทรัพยากรทางการศึกษา การ ร่วมแรงร่วมใจกันพัฒนาโรงเรียน การเป็นครูภูมิปัญญา การจัดหาทุนการ ศึกษา การจัดหาครู การร่วมกันคิดและร่วมกันจัดท�ำแผนพัฒนาโรงเรียน เป็นต้น จากความร่วมมือ ร่วมแรง และร่วมใจของทุกภาคส่วนในชุมชนของ โรงเรียนโดยมีเป้าหมายหลักร่วมกันในการพัฒนาคุณภาพการศึกษาโดยการ มีส่วนร่วมของชุมชน จึงเป็นที่มาของโครงการวิจัยเพื่อพัฒนาคุณภาพการ ศึกษาของโรงเรียนบ้านยางอ้อย และโรงเรียนบ้านสบป้าก โดยได้รับทุน สนับสนุนจากส�ำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย(สกว.) งานวิจัยเพื่อท้องถิ่น พัฒนาด้วยการศึกษาและพัฒนาหลักสูตรท้องถิ่น การค้นหาความรู้พบว่า ชุมชนมีความรู้มากมาย หลากหลาย ซึ่งความรู้เหล่านี้ก็อยู่ในผู้ปกครอง ชาวบ้าน การสืบค้นความรู้ท้องถิ่น เกิดการสร้างความภาคภูมิใจและการ ยกระดับความรู้ การท�ำมาหากิน ที่เป็นเรื่องปกติในวิถีชีวิต เป็นความรู้ใน ห้องเรียน เป็นครูสอนเด็กๆ และเด็กก็มีความสุข สนุกสนานกับการเรียนรู้ ผ่านการปฏิบัติจริง ความสุข ความสนุกเกิดขึ้นระหว่างการเรียนรู้ ผู้เรียน ครูภูมิปัญญาและครูในโรงเรียน
  • 38. 37กรณี โรงเรียนบ้านยางอ้อย อ.ห้างฉัตร จ.ล�ำปาง และ โรงเรียนบ้านสบป้าก อ.วังชิ้น จ.แพร่ จากโครงการวิจัยความรู้ท้องถิ่น ได้จัดให้มีการศึกษาดูงานและ เรียนรู้แนวคิดของโรงเรียนมีชัยพัฒนา จังหวัดบุรีรัมย์ และโรงเรียนอื่นๆ เช่น โรงเรียนแม่จ้อง อ�ำเภอดอยสะเก็ด ศูนย์การศึกษาพัฒนาห้วยฮ่องไคร้ จังหวัดเชียงใหม่ ครูและผู้ปกครองเดินทางไปร่วมเรียนรู้ เกิดการจุด ประกาย การแลกเปลี่ยนประสบการณ์การจัดการเรียนการสอน แล้วน�ำ กลับมาประยุกต์และด�ำเนินการในโรงเรียน ผู้ปกครองรู้สึกถึงการมีส่วน ร่วม และคุณค่าของตนเอง ในการเป็นส่วนหนึ่งของการพัฒนาโรงเรียน ซึ่ง เมื่อก่อนนั้น ผู้ปกครองจะไม่ได้เข้ามามีส่วนร่วมในกิจกรรมของโรงเรียน มากนัก ส่วนใหญ่มีหน้าที่รับส่งลูก และประชุมผู้ปกครองตามวาระเท่านั้น การประชุมผู้ปกครองที่ท�ำให้เห็นเป้าหมายของลูกหลานว่าจะพัฒนาไป แบบไหน
  • 39. 38 โรงเรียนของชุมชน โรงเรียนของเรา ในการบริหารงานนั้น ผู้บริหารโรงเรียนจะมีบทบาทส�ำคัญซึ่งอดีต ผู้อ�ำนวยการของทั้งสองโรงเรียนได้วางรากฐาน การสร้างสัมพันธภาพที่ดี ระหว่างโรงเรียน ชุมชนและวัด เมื่อผู้บริหารคนปัจจุบัน เข้ามาบริหารและ สานต่อเจตนารมณ์เดิม การเข้าร่วมกิจกรรม การเข้าพบปะผู้น�ำชุมชน เยี่ยมเยียนผู้ปกครองการเปิดพื้นที่โรงเรียนให้ชุมชนเข้ามาท�ำกิจกรรมหรือ ใช้สถานที่ เกิดความร่วมมือ ไม่ว่าโรงเรียนจะท�ำกิจกรรมใดๆ ผู้ปกครอง ก็จะมาช่วยออกแรง ด้วยแรงกายและแรงใจเต็มร้อย เช่น การสร้างรั้วรอบ โรงเรียนก็ได้แรงงานจากผู้ปกครองช่วยกัน ท�ำให้ลดการใช้งบประมาณ จากรัฐไปได้เยอะ และหากรองบจากรัฐทั้งหมดทั้งค่าแรง ค่าวัสดุอุปกรณ์ ก็อาจจะยังไม่ได้สร้าง เพราะมีหลายขั้นตอน
  • 41. 40 โรงเรียนของชุมชน โรงเรียนของเรา การพัฒนาแนวคิด : ตามพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2 พ.ศ.2545) ได้ก�ำหนดให้สถานศึกษาขั้นพื้นฐาน จัดสาระ ของหลักสูตรท้องถิ่นที่เกี่ยวกับสภาพปัญหาในชุมชนและสังคม ภูมิปัญญา ท้องถิ่น มีความหลากหลายของหลักสูตร จัดตามความเหมาะสมกับ สภาพความต้องการของท้องถิ่นและแต่ละระดับของผู้เรียน โดยมุ่งพัฒนา คุณภาพชีวิตของผู้เรียน ทั้งนี้ต้องมุ่งพัฒนาให้เป็นคนที่มีความสมดุล มี ความรู้ ความคิด ความสามารถ ความดีงาม ความรับผิดชอบต่อสังคม โรงเรียนจึงได้จัดประชุมระดมความคิดเห็นของครู ผู้ปกครอง แกนน�ำ ชุมชนหน่วยงานท้องถิ่นในการพัฒนาหลักสูตรท้องถิ่นสู่วิถีไทยวิถีพอเพียง ของโรงเรียนบ้านยางอ้อย มีแนวคิด หลักการของการจัดหลักสูตร กล่าว คือ - เพื่อสร้างความเป็นเอกภาพของชุมชน มุ่งรักษาวัฒนธรรม จารีต ของท้องถิ่น และภาคภูมิใจในความเป็นไทย - เพื่อให้ทุกคนได้รับการศึกษาเรียนรู้อย่างเสมอภาค ตามความสนใจ ความถนัด เท่าเทียมกันโดยมีชุมชน องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ครู ภูมิปัญญาในท้องถิ่นมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษ - เพื่อส่งเสริมให้ผู้เรียนได้พัฒนาการเรียนรู้ด้วยตนเองอย่างต่อเนื่อง โดยถือว่าผู้เรียนส�ำคัญที่สุด สามารถพัฒนาตามศักยภาพของแต่ละ คน
  • 42. 41กรณี โรงเรียนบ้านยางอ้อย อ.ห้างฉัตร จ.ล�ำปาง และ โรงเรียนบ้านสบป้าก อ.วังชิ้น จ.แพร่ การพัฒนาการมีส่วนร่วม : พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติพ.ศ.2542 แก้ไขเพิ่มเติมฉบับ ที่ 2 พ.ศ.2545 และแก้ไขเพิ่มเติม ฉบับที่ 3 พ.ศ.2553 ได้ก�ำหนดไว้ใน มาตรา 8 (2) ให้สังคมมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษา ฉะนั้นสถานศึกษา ทุกระดับต้องเปิดโอกาสให้ประชาชนชุมชนเข้ามามีส่วนร่วมในการจัดการ ศึกษา ทั้งนี้เมื่อผู้ปกครองมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษาจะช่วยขับเคลื่อน การบริหารการศึกษาที่เป็นไปตามความต้องการของผู้ปกครองและชุมชน ส่งผลให้ผู้ปกครอง ชุมชน มีความรู้สึกเป็นส่วนหนึ่งของสถานศึกษา เกิด ความรัก ความหวงแหน และสนับสนุนทรัพยากรการศึกษาและให้ความ ร่วมมือที่จะเข้าร่วมกิจกรรมของสถานศึกษา การมีส่วนร่วมหมายถึงการเปิดโอกาสให้ผู้มีส่วนได้เสีย เข้าร่วม ด�ำเนินกิจกรรมตั้งแต่การศึกษาปัญหา การวางแผนด�ำเนินการ การตัดสินใจ การแก้ไขปัญหา และการประเมินร่วมกัน เพื่อขับเคลื่อนให้กิจกรรมนั้น ด�ำเนินไปอย่างมีประสิทธิภาพ โดยยึดหลักการมีส่วนร่วม คือ หลักร่วมคิด ร่วมท�ำ ร่วมตรวจสอบ ร่วมรับผิดชอบ จากเอกสารประกอบการอบรมผู้น�ำการเปลี่ยนแปลงส�ำหรับผู้ บริหารของกระทรวงศึกษาธิการ ได้ให้แนวทางการมีส่วนร่วมของผู้ปกครอง และชุมชนในการจัดการศึกษาไว้ ดังนี้ 1.การมีส่วนร่วมในการจัดท�ำหลักสูตรสถานศึกษา โดยสถานศึกษา สามารถเปิดโอกาสให้ผู้ปกครองและชุมชนจัดสร้างหลักสูตรสถานศึกษา และก�ำกับ ติดตามการใช้หลักสูตรสถานศึกษา 2.การมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษา การสร้างความร่วมมือระหว่าง สถานศึกษากับผู้ปกครองและชุมชนเป็นยุทธศาสตร์ที่จ�ำเป็นอย่างยิ่ง ผู้บริหารและบุคลากรในสถานศึกษาควรระลึกถึง ซึ่งมีหลัก 10 ประการ คือ 1) สร้างความศรัทธาและความเชื่อมั่นต่อชุมชน 2) ฝึกให้เป็นคนใจกว้าง