SlideShare a Scribd company logo
ประวัติโรงเรียนเสลภูมิพิทยาคม
โรงเรียนเสลภูมิพิทยาคม ตั้งอยู่ถนนแจ้งสนิท เลขที่ 99 หมู่ที่ 1
ตาบลขวัญเมือง อาเภอเสลภูมิ จังหวัดร้อยเอ็ด ห่างจากจังหวัดร้อยเอ็ด
ประมาณ 30 กิโลเมตร ตั้งอยู่บนที่ราบสูง เนื้อที่ 157 ไร่
โรงเรียนเสลภูมิพิทยาคม เปิดทาการสอนระดับมัธยมศึกษาปีที่ 1
ครั้งแรกเมื่อวันที่ 17 พฤษภาคม พ.ศ. 2499 จานวน 1 ห้องเรียน
มีนักเรียนจานวน 40 คน นักเรียนคนแรกของโรงเรียน ที่มีเลขประจาตัว
เลขที่ 1 คือ เด็กชายทองสุข แซ่เตีย ปัจจุบันคือนายแพทย์สุขวัฒน์
วัฒนาธิษฐาน ผู้ทรงคุณวุฒิสาขากุมารศัลยกรรม นายแพทย์ 11
ในปีการศึกษา 2499 มีครู 4 คน คือ คุณครูปราโมทย์ พงศ์ศาสตร์
คุณครูเชย ประทุมทิพย์ คุณครูสมบูรณ์ วรรณภักดี และคุณครูนภาภรณ์ วรรณภักดี โดยมี
คุณครูปราโมทย์ พงศ์ศาสตร์ เป็นครูใหญ่ มีนักการภารโรง 1 คน คือ นายเต้า ระกิติ
อักษรย่อของโรงเรียน คือ ร.อ. 15
สีประจาโรงเรียน คือ เขียว - แดง
สีเขียว หมายถึง ความสดชื่น เบิกบาน
สีแดง หมายถึง ความกล้าหาญ อดทน
ในปีแรกของการก่อตั้งนั้นการก่อสร้างอาคารเรียนยังไม่แล้วเสร็จ จึงอาศัยอาคารเรียนของโรงเรียน
เสลภูมิ (โรงเรียนหลังแดง) ทาการสอนไปก่อน ในปีการศึกษา 2500 การก่อสร้างแล้วเสร็จจึงย้าย
มาทาการเรียนการสอน ณ ที่ตั้งปัจจุบัน อาคารเรียนหลังแรกเป็นอาคารไม้ 2 ชั้น จานวน 16
ห้องเรียน มีหลังคาสีเขียว เพื่อให้ง่ายต่อการจดจาและการเรียกขาน ครู นักเรียน ผู้ปกครองและ
ประชาชนทั่วไปจึงเรียกสั้นๆ ว่า “ โรงเรียนหลังเขียว ” จนถึงปัจจุบัน
สภาพทั่วไปของโรงเรียนเสลภูมิพิทยาคม ในสมัยนั้นมีสภาพเป็นปุา มีต้นไม้น้อยใหญ่
ค่อนข้างหนาแน่น ครู นักเรียน และภารโรงรุ่นแรกๆ ได้ช่วยกันถางปุา ปรับพื้นที่เพื่อสร้างอาคาร
เรียน สนามกีฬา แปลงเกษตรกรรม และได้ช่วยกันปลูกต้นสักเป็นอาณาเขตทั้งด้านหน้าและ
ด้านข้างของโรงเรียน ส่วนบริเวณรอบสนามฟุตบอลได้ช่วยกันปลูกต้นมะขาม ด้านทิศเหนือของ
สนาม เพื่อเป็นร่มเงาบังแดดในการชมและเชียร์กีฬา บริเวณโรงเรียนจะมีต้นหนามคอมน้อยใหญ่
เป็นซุ้มอยู่เป็นระยะๆ ให้ครูนักเรียนได้พักผ่อน ต่อมาได้กาหนดให้ต้นหนามคอมเป็นต้นไม้ประจา
สถาบัน และเป็นชื่อวารสารประชาสัมพันธ์โรงเรียนตั้งแต่ปีการศึกษา 2525 เป็นต้นมา
ปีการศึกษา 2509 โรงเรียนได้รับงบประมาณในการก่อสร้างหอประชุมหลังแรก ซึ่งต่อมาได้
ปรับปรุงและใช้ประโยชน์เป็นห้องประกันคุณภาพ และห้องแหล่งเรียนรู้ในปัจจุบันนายปราโมทย์
พงศ์ศาสตร์ ได้ร่วมกับคณะครู นักเรียน ชุมชน สร้างสรรค์ อบรม สั่งสอน และพัฒนานักเรียน
โรงเรียนเสลภูมิพิทยาคม เป็นระยะเวลาถึง 20 ปี จนกระทั่งเสียชีวิตลงในปี 2519 ด้วยคุณงาม
ความดีของท่าน โรงเรียนจึงได้สร้างอนุสาวรีย์ไว้ทางด้านทิศตะวันตก
นายปราโมทย์ พงศ์ศาสตร์
ปีการศึกษา 2519 นายสุนทร พินิจธนสาร ผู้ช่วยอาจารย์ใหญ่
โรงเรียนร้อยเอ็ดวิทยาลัย ย้ายมาดารงตาแหน่งอาจารย์ใหญ่ และต่อมา
ได้ปรับตาแหน่งเป็นผู้อานวยการโรงเรียน
ในปีการศึกษา 2521 ได้มีการปรับเปลี่ยนการใช้หลักสูตร
จากหลักสูตรมัธยมศึกษา 2503 เป็นหลักสูตรมัธยมศึกษาตอนต้น
พ.ศ. 2521 และหลักสูตรมัธยมศึกษาตอนปลาย พ.ศ. 2524
(เปลี่ยนจาก ม.ศ. เป็น ม.) ในสมัยนี้ คณะครูได้ร่วมกันกาหนดสิ่งที่
เป็นเอกลักษณ์และวัฒนธรรมของโรงเรียนเพิ่มเติมดังนี้
เครื่องหมายโรงเรียน เป็นรูปคบเพลิง มีรัศมีแผ่ครอบ
คลุมคบเพลิงและอักษรย่อ ส.ภ.ค. และมีชื่อ “เสลภูมิพิทยาคม”
อยู่ด้านล่าง ซึ่งหมายถึง โรงเรียนเสลภูมิพิทยาคม เป็นแหล่ง
ศึกษาแหล่งความรู้ และมีชื่อเสียงระบือไกล
คาขวัญของโรงเรียน คือ ความรู้ดี กีฬาเด่น
เน้นคุณธรรม นาชุมชน
ปรัชญาของโรงเรียน คือ “ปัญญา ชีวิสัส ปัชโชโต”
ปัญญาคือแสงสว่างแห่งชีวิต
คติพจน์ของโรงเรียน คือ ค่าของคนอยู่ที่ผลของงาน
ปีการศึกษา 2525 ได้รับงบประมาณก่อสร้างอาคารเรียน แบบ 216 ล. ปัจจุบันคือ
อาคาร 3 (อาคารจิตตะ) และในปีการศึกษา 2525 ผู้อานวยการสุนทร พินิจธนสาร ได้ย้ายไปดารง
ตาแหน่งผู้อานวยการโรงเรียนจันทรุเบกษานุสรณ์ อาเภอเกษตรวิสัย จังหวัดร้อยเอ็ด
ปีการศึกษา 2525 นายสมบัติ จันทภูมิ ย้ายมาดารงตาแหน่งแทน ช่วงนี้อยู่ในระหว่างการ
ปรับปรุงหลักสูตรต่อเนื่องมาตั้งแต่ปีการศึกษา 2521 ทาให้มีนักเรียนมากถึง 2,5000 คน ในฝุาย
บริหารโรงเรียนมีผู้ช่วยผู้อานวยการโรงเรียนครบทั้ง 4 ฝุาย
คือ ฝุายธุรการ นายเข็มชาติ นันโท ฝุายวิชาการ นายวินัย แสนมณี
ฝุายปกครอง นายอานนตรี ประสมสุข ฝุายบริการ นายประพันธ์
จิราภรณ์
ปีการศึกษา 2525 ได้รับงบประมาณก่อสร้างอาคารเรียน
แบบ 318 ค ปัจจุบันคือ อาคาร 2 (อาคารวิริยะ)
ปีการศึกษา 2526 รื้ออาคารหลังแรก ที่ก่อสร้างตั้งแต่ปี 2499
ปีการศึกษา 2528 ได้รับงบประมาณก่อสร้างหอประชุม
นายสมบัติ จันทภูมิ แบบ 100/27 (หอประชุมตักกสิลา)
และโรงฝึกงานคหกรรม แบบ 102/27
ปีการศึกษา 2531 ผู้อานวยการสมบัติ จันทภูมิ ย้ายไปดารงตาแหน่งผู้อานวยการโรงเรียน
มหาวิชานุกูล อาเภอเมือง จังหวัดมหาสารคาม และผู้อานวยการรังสรรค์ ชื่นชม ย้ายมาดารง
ตาแหน่งแทน
นายสุนทร พินิจธนสาร
นายสมบัติ จันทภูมิ
ปีการศึกษา 2532 ได้รับงบประมาณก่อสร้างโรงฝึกงาน
อุตสาหกรรม แบบ 204/27 และได้พัฒนาครู พัฒนาการเรียนการสอน
และกิจกรรมต่างๆ อย่างต่อเนื่อง โดยเฉพาะกิจกรรมลูกเสือได้สร้าง
ค่ายลูกเสือบริเวณสวนปุา เพื่อบริการชุมชนและฝึกอบรมผู้กากับลูกเสือ
ในจังหวัดร้อยเอ็ด
ปีการศึกษา 2535 ผู้อานวยการรังสรรค์ ชื่นชม ย้ายไปดารง
ตาแหน่งผู้อานวยการโรงเรียนสารคามพิทยาคม และผู้อานวยการ
วิจิตร สายธนู ย้ายมาดารงตาแหน่งแทน ในสมัยนี้มีการพัฒนาการ
ศึกษาขยายโอกาสทางการศึกษาและก่อสร้างอาคารเรียน
อาคารประกอบเป็นจานวนมาก
ปีการศึกษา 2535 ตั้งโรงเรียนสาขา ท่าม่วงวิทยาคม
ปีการศึกษา 2537 ตั้งโรงเรียนสาขา วังหลวงวิทยาคม
ปีการศึกษา 2538 ได้รับงบประมาณก่อสร้างอาคารเรียน
แบบ 324 ล. ปัจจุบันคืออาคาร 4 ( อาคารวิมังสา )
ปีการศึกษา 2539 สร้างศาลาอุทยานการศึกษา 3 หลัง
ปีการศึกษา 2540 ได้รับเมตตาจากพระมงคลญาณเถระ
(หลวงปูุมา ญาณวโร) สนับสนุนงบประมาณ 8 ล้านบาท สร้างอาคารหอสมุดเฉลิมพระเกียรติ
กาญจนาภิเษก เนื่องในวโรกาสพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวครองราชย์ครบ 50 ปี และในปีนี้
โรงเรียนเสลภูมิพิทยาคม ได้รับรางวัลอันทรงเกียรติ คือชนะเลิศการประกวดโรงเรียนรางวัล
พระราชทาน ประเภทโรงเรียนมัธยมศึกษาขนาดใหญ่และในปีการศึกษา 2540 ผู้อานวยการวิจิตร
สายธนู ย้ายไปดารงตาแหน่งผู้อานวยการโรงเรียนท่าอุเทน อาเภอท่าอุเทน จังหวัดนครพนม
ปีการศึกษา 2542 ผู้อานวยการวัฒนา ศรีสว่าง ย้ายมาดารงตาแหน่งแทน เนื่องจากท่าน
เคยเป็นครูสอนและเป็นผู้ช่วยอาจารย์ใหญ่ที่โรงเรียนนี้มาก่อน การบริหารงานจึงเป็นเสมือน
ครอบครัวเดียวกันและเป็นผู้อานวยการที่นี่เพียง 2 ปี นายวัฒนา ศรีสว่างจึงย้ายไปโรงเรียนโพนทอง
พัฒนาวิทยา อาเภอโพนทอง จังหวัดร้อยเอ็ด ในปีการศึกษา 2544 และนายปรีดา ลามะนา
ย้ายมาดารงตาแหน่งแทน จนถึงปัจจุบันในระหว่างนี้เป็นยุคการปฏิรูปการศึกษา
ตามพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542
โรงเรียนจึงได้ดาเนินงานตามแนวทางปฏิรูปการศึกษาและ
พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ โดยดาเนินการดังนี้
1. ด้านอาคารสถานที่และสิ่งแวดล้อม ได้เพิ่มถนน
คอนกรีตภายในโรงเรียน ขยายถนนให้กว้างขึ้น ต่อเติมอาคาร
หอสมุดเฉลิมพระเกียรติกาญจนาภิเษก ชั้นล่างเป็นศูนย์การเรียน
คอมพิวเตอร์และอินเตอร์เน็ต สร้างห้องประชุมศิลานคร
ว่าที่ ร.ต.รังสรรค์ ชื่นชม
นายวิจิตร สายธนู
นายวัฒนา ศรีสว่าง
ปรับปรุงต่อเติมหอประชุมตักกสิลา สร้างรั้ว ซุ้มประตูและปูาย
ชื่อโรงเรียน สร้างโรงอาหาร 48 ปี หลังเขียว ปรับปรุงห้องน้า
ห้องส้วมนักเรียนให้สะอาด สะดวกถูกสุขลักษณะ จนครบ 6
หลัง พร้องทั้งปรับปรุงภูมิทัศน์ของโรงเรียนให้เป็นระเบียบ
ร่มรื่น สวยงาม และส่งเสริมบรรยากาศแห่งการเรียนรู้
2. ด้านการพัฒนาบุคลากร ได้พัฒนาครู อาจารย์
ให้มีความรู้ความสามารถสอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลง
ในยุคปฏิรูปการศึกษารวมทั้งพัฒนาครูให้เลื่อนและได้รับวิทยฐานะ
ครูชานาญการและครูชานาญการพิเศษ เป็นจานวนมาก
3. ด้านหลักสูตรและการเรียนการสอน ได้ปรับเปลี่ยนการใช้หลักสูตรมาใช้หลักสูตร
การศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2544 โดยเป็นโรงเรียนนาร่องการใช้หลักสูตรปีการศึกษา 2545
พัฒนาคุณภาพการศึกษาตามแนวทางประกันคุณภาพการศึกษาพัฒนาการเรียนการสอนให้นักเรียน
ได้เรียนคอมพิวเตอร์ทุกระดับชั้นระดมทุนก่อตั้งวงโยธวาฑิต งบประมาณ 2,000,000 บาท สร้าง
ความเข้มแข็งด้านวิชาการและการบริหารงานวิชาการให้กับกลุ่มสาระการเรียนรู้ พัฒนาการเรียนการ
สอนภาษาอังกฤษโดยครูชาวต่างประเทศ และในปีการศึกษา 2550 ได้รับงบประมาณจากองค์การ
บริหารส่วนจังหวัดร้อยเอ็ดจานวน 500,000 บาท ในการก่อสร้างห้องเรียนอัจฉริยะ
(E-Smart Room)
4. ด้านการบริหารจัดการ ได้กาหนดวิสัยทัศน์ (Vision) ไว้ว่า “ เสลภูมิพิทยาคมจะเป็น
โรงเรียนชั้นนาที่มีคุณภาพและความเป็นเลิศ ” ได้นาหลักธรรมาภิบาลหรือธรรมรัฐ (Good
Governance) มากาหนดเป็นหลักการและแนวคิด เพื่อสร้างสรรค์สังคมโรงเรียนเสลภูมิพิทยาคม
ให้เป็นสังคม 6 ส. คือ สังคมแห่งความสงบสุข สังคมที่สวยงาม สังคมที่ใสสะอาด สังคมที่ทุกคนมี
ส่วนร่วม สังคมที่ทุกคนมีจิตสานึกที่ดี และสังคมที่สร้างสรรค์ได้กาหนดยุทธศาสตร์และนโยบายใน
การพัฒนาโรงเรียนอย่างชัดเจนและต่อเนื่อง มีการพัฒนาระบบประกันคุณภาพให้เข้มแข็ง โรงเรียน
ได้ผ่านการประเมินคุณภาพภายนอก จากสานักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา
(องค์การมหาชน) 2 ครั้ง และผลการประเมิน ผ่านการรับรองในระดับดีมากทั้ง 2 ครั้ง
ปีการศึกษา 2551 ผู้อานวยการปรีดา ลามะนา ได้ย้ายไปดารงตาแหน่งผู้อานวยการ
โรงเรียนสตรีศึกษา และผู้อานวยการพีรพงษ์ พงศ์ศาสตร์ ได้ย้ายมา
ดารงตาแหน่งแทน โรงเรียนได้รับการคัดเลือกให้เข้าโครงการโรงเรียน
มาตรฐานสากล ( World class standard school ) โดยมีการ
พัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาที่เทียบเคียงหลักสูตรมาตรฐานสากล
ปรับหลักสูตรให้มีความเป็นเลิศเฉพาะทาง (วิทย์ , คณิต , ภาษา ,
อาชีพ , ดนตรี , กีฬา) โดยทุกหลักสูตรปรับเนื้อหาวิชาพื้นฐานต่างๆ
ให้มีความเข้มข้นเทียบเคียงมาตรฐานสากล และจัดให้มีกิจกรรม
การเรียนการสอน/กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน/รายวิชาเพิ่มเติม 3 วิชา
นายปรีดา ลามะนา
นายพีรพงษ์ พงศ์ศาสตร์
คือ IS 1 – การศึกษาค้นคว้าและสร้างองค์ความรู้ (Research and
Knowledge Formation) IS 2 – การสื่อสารและการนาเสนอ
(Communication and Presentation) IS 3 – การนาองค์ความรู้
ไปใช้บริการสังคม (Social Service Activity) มีการพัฒนาครูผู้สอน
ในกลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และคอมพิวเตอร์
เพื่อใช้ภาษาอังกฤษในการจัดการเรียนการสอน นอกจากนั้นมีการ
ปรับปรุงพัฒนาอาคารหอประชุมหลังเก่าที่สร้างมานานแต่โครงสร้าง
โดยรวมยังมีความแข็งแรงให้เป็นศูนย์สื่อการเรียนการสอนและ
ธนาคารออมสินในสถานศึกษามีการปรับปรุงสถานที่เจ้าพ่อเขียวแดงซึ่งเป็นแหล่งรวมใจของนักเรียน
โรงเรียนเสลภูมิพิทยาคมให้มีความสวยงาม โอ่อ่ายิ่งขึ้น นอกจากนี้มีการปรับปรุงเปลี่ยนแปลง
บ้านพักผู้อานวยการซึ่งชารุดทรุดโทรมให้เป็นศูนย์วัฒนธรรมของโรงเรียนโดยมีการระดมทุนจากทุก
ภาคส่วนทั้งคณะครู นักเรียน และบุคลากรในโรงเรียนทุกคน รวมทั้งหน่วยงานรัฐและเอกชน
ประชาชนทั่วไป ทาให้มีสถานที่ที่เป็นแหล่งอบรมคุณธรรม จริยธรรม รวมทั้งเป็นที่ศึกษาค้นคว้า
ด้านศิลปะ วัฒนธรรม ประเพณีท้องถิ่นของนักเรียน
ปีการศึกษา 2553 โรงเรียนเสลภูมิพิทยาคมได้เริ่มให้มีการจัดการเรียนการสอน GP (Gifted
Program) ในระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 และในปีการศึกษา 2554 จัดให้การจัดการเรียนการสอน
GP (Gifted Program) ในระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 เป็นครั้งแรก
ปีการศึกษา 2556 ผู้อานวยการพีรพงษ์ พงศ์ศาสตร์ ได้เกษียณอายุราชการ และ
ผู้อานวยการเสถียร เปรินทร์ ได้ย้ายมาดารงตาแหน่งแทน ได้สานต่องานเก่าที่ผู้อานวยการพีรพงษ์
พงศ์ศาสตร์ ริเริ่มไว้ คือ ทางเดินที่เชื่อมต่อระหว่างอาคารเรียน เพื่อให้นักเรียนเดินในช่วงฤดูฝน
และทาให้การคมนาคมในโรงเรียนมีความรวดเร็ว ปลอดภัยและสะดวกยิ่งขึ้นจนสาเร็จลุล่วง และใน
ปีการศึกษา 2556 นี้ คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐานโรงเรียนเสลภูมิพิทยาคมได้หมดวาระใน
การดารงตาแหน่ง มีการสรรหาใหม่ และได้แต่งตั้งเป็นที่เรียบร้อย ซึ่งมีนายพูนศักดิ์ ปิยมาตย์ เป็น
ประธาน และผู้อานวยการเสถียร เปรินทร์ เป็นกรรมการและเลขานุการ นอกจากนั้นมีการปรับปรุง
โครงสร้าง การบริหารองค์กรให้มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น เนื่องจากมีรองผู้อานวยการ และคุณครูได้ย้าย
เข้ามาในโรงเรียนตามนโยบายครูคืนถิ่นหลายคน รวมทั้งมีครูขอไปช่วยราชการที่อื่นด้วย
ปีการศึกษา 2557 ผู้อานวยการเสถียร เปรินทร์ ได้เกษียณอายุ
ราชการ และผู้อานวยการชอบ ธาระมนต์ ได้ย้ายมาดารงตาแหน่งแทน
ปัจจุบัน โรงเรียนเสลภูมิพิทยาคม ซึ่งเป็นโรงเรียนมัธยมศึกษาขนาดใหญ่
พิเศษ เปิดสอนระดับมัธยมศึกษาตอนต้น (ช่วงชั้นที่ 3) และมัธยมศึกษา
ตอนปลาย (ช่วงชั้นที่ 4) มีการจัดการเรียนการสอนนักเรียน GP (Gifted
Program) ในระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 – 6 ระดับชั้นละ 1 ห้องเรียน
มีครูประจาการ 128 คน ครูอัตราจ้าง 13 คน ครูชาวต่างชาติ 4 คน
ลูกจ้างประจา 5 คน ในปีการศึกษา 2557 นี้มีจานวน 64 ห้องเรียน
มีนักเรียน 2,755 คน
นายเสถียร เปรินทร์
นายชอบ ธาระมนต์
ทาเนียบผู้บริหารโรงเรียนเสลภูมิพิทยาคม
ลาดับ
ที่
ชื่อ – สกุล วุฒิการศึกษา ปีที่ดารงตาแหน่ง ตาแหน่ง
1 นายปราโมทย์ พงศ์ศาสตร์ ศศ.บ. 2499 - 2519 อาจารย์ใหญ่
2 นายสุนทร พินิจธนสาร กศ.บ. 2519 - 2525 ผู้อานวยการโรงเรียน
3 นายสมบัติ จันทภูมิ ค.บ., ค.ม. 2525 - 2531 ผู้อานวยการโรงเรียน
4 ว่าที่ ร.ต.รังสรรค์ ชื่นชม กศ.บ., กศ.ม. 2531 - 2535 ผู้อานวยการโรงเรียน
5 นายวิจิตร สายธนู กศ.บ., กศ.ม. 2535 - 2542 ผู้อานวยการโรงเรียน
6 นายวัฒนา ศรีสว่าง กศ.บ. 2542 - 2544 ผู้อานวยการโรงเรียน
7 นายปรีดา ลามะนา กศ.ม.(บริหารการศึกษา) 2544 - 2551 ผู้อานวยการโรงเรียน
8 นายพีรพงษ์ พงศ์ศาสตร์ ค.ม.(บริหารการศึกษา) 2551 – 2556 ผู้อานวยการโรงเรียน
9 นายเสถียร เปรินทร์ กศ.ม.(บริหารการศึกษา) 2556 – 2557 ผู้อานวยการโรงเรียน
10 นายชอบ ธาระมนต์ กศ.ม.(บริหารการศึกษา) 2557 – ปัจจุบัน ผู้อานวยการโรงเรียน
ประกาศโรงเรียนเสลภูมิพิทยาคม
เรื่อง นโยบายปฏิบัติราชการ
ตามหลักการบริหารกิจการบ้านเมือง และสังคมที่ดี (Good Governance)
เพื่อให้สังคมโรงเรียนเสลภูมิพิทยาคม เป็นสังคมที่มีเกียรติ มีศักดิ์ศรี มีระเบียบวินัย อบอุ่น
สวยงาม มีสันติและสงบสุข ให้ทุกคนอยู่ภายใต้กฎ กติกา ระเบียบ แนวปฏิบัติเดียวกัน บนพื้นฐาน
ของความรัก ความเข้าใจ ความปรารถนาดี ความเห็นอกเห็นใจ ความเอื้ออาทร ความเสียสละ
ความมีน้าใจ ความมีสัมมาคารวะและความเสมอภาค โรงเรียนเสลภูมิพิทยาคม จึงได้นาเอา
ระเบียบสานักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยหลักการบริหารกิจการบ้านเมืองและสังคมที่ดี (Good Governance)
พ.ศ. 2542 ประกอบกับกฎหมาย ระเบียบ คาสั่ง และแนวปฏิบัติต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง มากาหนด
เป็นนโยบายการปฏิบัติราชการเพื่อเป็นการจัดระเบียบสังคม ตามเจตนารมณ์ดังกล่าวข้างต้น โดยมี
หลักการและแนวคิดที่จะสร้างสังคมโรงเรียนเสลภูมิพิทยาคม ให้มีลักษณะเป็นสังคม 6 ส.
สงบสุข สวยงาม ใสสะอาด มีส่วนร่วม มีจิตสานึกที่ดี และสร้างสรรค์ กล่าวคือ
1. ยึด หลักนิติธรรม สร้างสังคมให้สงบสุข โดยให้ทุกคนยึดถือและปฏิบัติตาม กฎ
ระเบียบข้อบังคับประเพณีปฏิบัติ ภายใต้กฎเกณฑ์เดียวกัน ทั้งนี้เพื่อให้เกิดความเป็นธรรม ความมี
ระเบียบวินัย ความมีสันติสงบสุข ความสง่างาม ความเสมอภาค และหลีกเลี่ยงความขัดแย้ง
ความเอารัดเอาเปรียบ
2. ยึด หลักคุณธรรม สร้างสังคมที่สวยงาม โดยให้ทุกคนยึดถือและปฏิบัติตามหลัก
คุณธรรมจริยธรรม ความเหมาะสม ความถูกต้องดีงาม ปฏิบัติดีปฏิบัติชอบ ทั้งนี้เพื่อให้เกิดความดี
งาม ความสามัคคี ความอบอุ่น และเป็นแบบอย่างที่ดีแก่เด็ก เยาวชน ประชาชน และสังคมอื่น
3. ยึด หลักความโปร่งใส สร้างสังคมที่ใสสะอาด โดยให้ทุกคนปฏิบัติงานด้วยความ
ซื่อสัตย์สุจริต เปิดเผยข้อมูลข่าวสารที่เป็นประโยชน์ต่อส่วนรวม สร้างความไว้วางใจและให้เกียรติซึ่ง
กันและกันตามบทบาทหน้าที่ ทั้งนี้เพื่อให้เกิดความโปร่งใส และสามารถตรวจสอบได้
4. ยึด หลักการมีส่วนร่วม สร้างสังคมมีส่วนร่วม โดยการปฏิบัติงานเป็นทีม เคารพใน
ความคิดเห็นที่แตกต่าง เปิดโอกาสให้ทุกคนร่วมคิด ร่วมทา ร่วมรับผิดชอบ กล้าคิด กล้าทากล้า
รับผิดชอบ ไม่มีใครคนใดคนหนึ่งที่จะเก่งเท่าพวกเราทุกคนรวมกัน (Non one is perfect but
team can be) ทั้งนี้เพื่อให้เกิดความเป็นเจ้าของ มีความรักความผูกพันและจงรักภักดีต่อโรงเรียน
และหมู่คณะ
5. ยึด หลักความรับผิดชอบ สร้างสังคมที่มีจิตสานึก โดยให้ทุกคนตระหนักในหน้าที่
มีความรับผิดชอบใส่ใจในปัญญา ยอมรับความจริง หันหน้ามาหาทางแก้ไขปัญหาและข้อบกพร่อง
ร่วมกันอย่างถูกต้อง กล้าหาญและมีจริยธรรม ทั้งนี้เพื่อเกิดประสิทธิผลและประสิทธิภาพสูงสุดใน
การปฏิบัติงาน
6. ยึด หลักความคุ้มค่า สร้างสังคมที่สร้างสรรค์ โดยให้ทุกฝุาย ทุกกลุ่มสาระ ทุกงาน
บริหารจัดการทรัพยากรที่มีอยู่อย่างจากัดให้เกิดประโยชน์สูงสุดแก่ส่วนรวมทั้งนี้เพื่อให้มีทรัพยากรใน
การบริหารใช้อย่างเพียงพอและเหมาะสมที่จะสร้างสังคมโรงเรียนให้มีคุณภาพ
เพื่อให้เป็นตามเจตนารมณ์ หลักการและแนวคิดดังกล่าว โรงเรียนเสลภูมิพิทยาคม
ได้กาหนดนโยบายการปฏิบัติราชการให้บุคลากรทุกคนได้พึงยึดถือปฏิบัติเป็นแนวเดียวกัน ดังมี
รายละเอียดท้ายประกาศดังนี้
จึงประกาศนโยบายนี้ให้ทราบและถือปฏิบัติร่วมกัน
ทั้งนี้ ตั้งแต่วันที่ 21 มกราคม พ.ศ. 2545 เป็นต้นไป
ประกาศ ณ วันที่ 18 มกราคม พ.ศ. 2545
(ลงชื่อ) ปรีดา ลามะนา
( นายปรีดา ลามะนา )
ผู้อานวยการโรงเรียนเสลภูมิพิทยาคม
ผังมโนทัศน์ แสดงกรอบแนวคิดของแผนหลังเขียวพัฒนา ปี 2554 - 2558
มฐ.10 มีภาวะผู้นา/ความสามารถ มฐ.11 บริหารเป็นระบบครบวงจร มฐ.1 มีคุณธรรม จริยธรรม
ค่านิยมที่ดี
มฐ.8 มีคุณวุฒิ/ความรู้ ความสามารถ มฐ.9 จัดการเรียนการสอน มฐ.4 มีความสามารถในการคิด
เพียงพอ มฐ.12 เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ มฐ.5 มีความรู้และทักษะที่จาเป็น
ตามหลักสูตร
มฐ.6 มีทักษะแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง
มฐ.7 มีทักษะในการทางาน รักการทางาน
มฐ.13 เหมาะสม เอื้อต่อการรีเยนรู้
มฐ.2 มีสุขนิสัย สุขภาพกายและสุขภาพ
จิตที่ดี
มฐ.3 มีลักษณะนิสัยด้านศิลปะ
ดนตรี กีฬา
มฐ.15 เป็นอุทยานการศึกษา/โรงเรียนรีสอร์ท
มฐ.14 ความสัมพันธ์และความร่วมมือกับชุมชน
วิสัยทัศน์
โรงเรียนเสลภูมิพิทยาคม เป็นโรงเรียนชั้นนาที่มีคุณภาพ โดยยกระดับ
การจัดการเรียนการสอนสู่มาตรฐาน เพื่อให้ผู้เรียนเป็นพลโลกบนพื้นฐานของความเป็นไทย
มาตรฐานการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน
ด้านปัจจัย (INPUT)
()
ด้านกระบวนการ (PROCESS)
()
ด้านผลผลิต (OUTPUT)
()
เป็นคนดี
()
ผู้บริหาร
()
กระบวนการบริหารจัดการ
()
ครู
()
กระบวนการเรียนการสอน
()
เป็นคนเก่ง
()
เป็นคนที่มีความสุข
()
หลักสูตร สื่อการเรียนการสอน
เทคโนโลยีสารสนเทศ แหล่งเรียนรู้
อาคารสถานที่
สิ่งอานวยความสะดวก
บรรยากาศสิ่งแวดล้อม
ชุมชน
วิสัยทัศน์ (Vission)
โรงเรียนเสลภูมิพิทยาคม เป็นโรงเรียนชั้นนาที่มีคุณภาพ โดยยกระดับการจัดการเรียนการสอน
สู่มาตรฐานสากล เพื่อให้นักเรียนเป็นพลโลกบนพื้นฐานของความเป็นไทย
พันธกิจ (Mission)
มุ่งมั่นพัฒนาโรงเรียน ให้มีการจัดการเรียนการสอนเทียบเคียงมาตรฐานสากล โดยการบริหาร
จัดการเชิงระบบเพื่อพัฒนาผู้เรียนมีศักยภาพเป็นพลโลก
เป้าหมาย (Goal)
1. พัฒนาผู้เรียนให้มีความรู้ ความสามารถทางวิชาการอยู่ในระดับดี (เป็นเลิศวิชาการ)
2. พัฒนาผู้เรียนให้มีทักษะการสื่อสาร ปฏิสัมพันธ์กับผู้อื่นและแลกเปลี่ยนเรียนรู้กับ
ชาวต่างประเทศได้ (สื่อสารสองภาษา)
3. พัฒนาผู้เรียนให้มีความคิดสร้างสรรค์ กล้าเผชิญความเสี่ยง วางแผนการจัดการสู่
เปูาหมายที่ตั้งไว้ได้ (ล้าหน้าทางความคิด)
4. พัฒนาผู้เรียนให้สามารถประดิษฐ์คิดค้น ออกแบบโดยใช้เครื่องมือและเทคโนโลยีที่
เหมาะสม (ผลิตงานอย่างสร้างสรรค์)
5. พัฒนาผู้เรียนให้มีความรู้ ความเข้าใจ ยอมรับความหลากหลายทางเชื้อชาติ สังคม
วัฒนธรรม ขนบธรรมเนียม ประเพณี สภาพแวดล้อม เศรษฐกิจ (ร่วมกันรับผิดชอบสังคมโลก)
อัตลักษณ์ของสถานศึกษา
ผู้เรียนมีความเป็นเลิศในคุณธรรม จริยธรรมด้านการประหยัดและออม
เอกลักษณ์ของสถานศึกษา
ทุกวันเสาร์ห้วงเข้าพรรษา เข้าวัดพัฒนาทักษะชีวิต ชาระจิตด้วยธรรมะ
ยุทธศาสตร์และนโยบาย
ในการพัฒนาโรงเรียนเสลภูมิพิทยาคม
ปี 2556 – 2558
ยุทธศาสตร์ที่ 1. การดูแลช่วยเหลือ ปลูกฝัง สร้างเสริมให้นักเรียนเป็นคนดี
นโยบาย : พัฒนาระบบการดูแลช่วยเหลือเอาใจใส่ ให้ความรัก ความอบอุ่นนักเรียนอย่าง
ใกล้ชิด โดยการรู้จักนักเรียนเป็นรายบุคคล ด้วยวิธีการและเครื่องมือที่หลากหลาย เช่น
แบบประเมินพฤติกรรม (SDQ) แบบประเมินความฉลาดทางอารมณ์ (EQ) การเยี่ยมบ้าน การคัด
กรองนักเรียนออกเป็นกลุ่มปกติ และกลุ่มเสี่ยง การส่งเสริมนักเรียนกลุ่มปกติ ทั้งการจัดกิจกรรม
ต่างๆ การปูองกัน การแก้ปัญหากลุ่มเสี่ยงและการส่งต่อนักเรียนเพื่อขอความร่วมมือ ขอความ
ช่วยเหลือไปยังผู้ที่เกี่ยวข้องทั้งการส่งต่อภายในและการส่งต่อภายนอกโรงเรียน
จัดระบบ กวดขัน สร้างเสริม ระเบียบวินัยนักเรียน ในเรื่อง การตรงต่อเวลา การเคารพ
กฎกติกา ของโรงเรียนและสังคม การแต่งกาย จัดการอบรม ปลูกฝังความประพฤติ กริยา
มารยาท สมบัติผู้ดี ความเป็นประชาธิปไตย ความเสียสละและเห็นประโยชน์ส่วนรวม ปลูกฝัง
เสริมสร้างคุณธรรม จริยธรรม และค่านิยมอันพึงประสงค์ให้นักเรียนได้ชื่อว่าเป็นคนดี จนเป็นที่
ไว้วางใจและได้รับการยกย่องชมเชยจากผู้ปกครองและชุมชน ว่าเป็น คนดี
การนานโยบายสู่การปฏิบัติ : ระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน
************************
ยุทธศาสตร์ที่ 2 การจัดการเรียนการสอน ส่งเสริมให้นักเรียนเป็นคนเก่ง
นโยบาย : จัดกิจกรรมการเรียนการสอน มุ่งให้นักเรียนเป็นบุคคลแห่งการเรียนรู้
มีความรู้ ทักษะ ที่จาเป็นตามหลักสูตร มีความสามารถในการคิด วิเคราะห์ มีวิจารณญาณ
คิดสร้างสรรค์ ไตร่ตรองและ มีวิสัยทัศน์ มีทักษะในการแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง รักการเรียนรู้
และมีการพัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่อง จัดกิจกรรมสอนซ่อมเสริมสาหรับนักเรียนที่มีปัญหาด้านการ
เรียนให้มีอัตราการติด 0, ร, มส. ลดลง สอนเสริมเพื่อยกระดับผลการเรียนเฉลี่ย (GPA) ของ
นักเรียนให้สูงขึ้น และให้สามารถเรียนต่อในสถาบันอุดมศึกษาในสัดส่วนที่สูงขึ้น นอกจากนั้นจะ
สนับสนุน ส่งเสริมให้นักเรียนได้เข้าประกวดแข่งขัน แสดงทักษะความสามารถทางวิชาการในระดับ
ต่างๆ เพื่อสร้างความเป็นเลิศทางวิชาการ ตลอดจนมีทักษะในการทางาน รักการทางาน
มีเจตคติที่ดีต่ออาชีพสุจริตและสามารถทางานร่วมกับผู้อื่นได้ ให้นักเรียนได้ชื่อว่าเป็น คนเก่ง
การนานโยบายสู่การปฏิบัติ : ระบบการเรียนรู้
ยุทธศาสตร์ที่ 3 ส่งเสริม สนับสนุนให้ผู้เรียนมีสุขนิสัย สุขภาพกายและสุขภาพจิตที่ดี
นโยบาย : จัดกิจกรรมที่มุ่งเน้นให้นักเรียนรู้จักดูแลสุขภาพ สร้างสุขนิสัยที่ดี ปฏิบัติ
กิจวัตรประจาวันได้เองอย่างถูกต้องเหมาะสมตามวัย และสนับสนุนให้มีการออกกาลังกายอย่าง
สม่าเสมอ รู้จักเลือกรับประทานอาหารที่มีคุณค่า ที่ส่งผลให้นักเรียนมีน้าหนัก ส่วนสูง และมี
สมรรถภาพทางกายตามเกณฑ์ สนับสนุนการจัดกิจกรรมให้นักเรียน ได้รู้เข้าใจเกี่ยวกับโทษของสิ่ง
เสพติด มอมเมา หลีกเลี่ยงสภาวะที่เสี่ยงต่อความรุนแรง โรคภัยและอุบัติเหตุรวมทั้งปัญหาทางเพศ
รู้จักการปฏิเสธ และชักชวนเพื่อน ไม่ให้ยุ่งเกี่ยวกับสารเสพติดทุกประเภท ให้นักเรียนมีจิตสานึก
แห่งความปลอดภัย ระมัดระวังตนในการใช้ชีวิตประจาวัน ให้รู้จักรักนวลสงวนตัว และมีความมั่นใจ
กล้าแสดงออกในทางที่ถูกต้องมีสุนทรียภาพ และลักษณะนิสัย ด้านศิลปะ ดนตรี และกีฬาเข้าร่วม
กิจกรรมศิลปวัฒนธรรมและประเพณีที่ดีงามของท้องถิ่นและของไทย ซึ่งนักเรียนสามารถปรับตนและ
ดารงชีวิตอยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุข
การนานโยบายสู่การปฏิบัติ : ระบบกิจกรรมนักเรียน
************************
ยุทธศาสตร์ที่ 4 การพัฒนาระบบบริหารและการจัดการ
นโยบาย : ปรับปรุงโครงสร้างการบริหารโรงเรียนให้ชัดเจน ทันสมัย ครอบคลุมภารกิจ
และพิถีพิถันในการจัดบุคลากรเข้าปฏิบัติงาน ให้เกิดความสอดคล้องระหว่าง ลักษณะงาน และ
ลักษณะคน โดยคานึงถึงภารกิจของหน่วยงาน และความรู้ ความสามารถ ความถนัด ความสนใจ
ทักษะ ประสบการณ์ของบุคลากร เปิดโอกาสจูงใจ และกระจายความรับผิดชอบให้บุคลากรเข้ามี
ส่วนร่วมในการบริหารโรงเรียนให้เต็มศักยภาพและเกิดประโยชน์สูงสุด พัฒนาระบบการบริหารการ
จัดการให้มีประสิทธิภาพ ตามหลักการธรรมาธิปไตย (Good Governance) และใช้วงจร
คุณภาพ (Quality Cycle : P-D-C-A) มาสร้างวัฒนธรรมแห่งคุณภาพในการปฏิบัติงานของ
โรงเรียนอย่างเป็นระบบครบวงจรและต่อเนื่องด้วยการร่วมคิด (Plan) ร่วมทา (Do) ร่วมตรวจสอบ
นิเทศติดตามประเมินผล (Check) และร่วมปรับปรุงแก้ไขพัฒนา (Adjust) จนมีความเป็นเลิศ
ทางการบริหารที่สามารถเป็นแบบอย่างได้
การนานโยบายสู่การปฏิบัติ : ระบบบริหารจัดการ
************************
ยุทธศาสตร์ที่ 5 การปฏิรูปการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ
นโยบาย : ปฏิรูปการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ (Child Center) จัดการเรียนการ
สอนให้มีความหลากหลายเหมาะสมกับธรรมชาติของผู้เรียน พัฒนาหลักสูตรเทคนิค และ
กระบวนการเรียนการสอนที่เน้นการบูรณาการ ให้ผู้เรียนได้ศึกษาค้นคว้า คิดวิเคราะห์ และสร้าง
องค์ความรู้ด้วยตนเองพัฒนาการจัดกิจกรรม สร้างบรรยากาศ คิดวิเคราะห์ และสร้างองค์ความรู้
ด้วยตนเอง พัฒนาการจัดกิจกรรม สร้างบรรยากาศทางวิชาการ พัฒนาการวัดผลประเมินผลตาม
สภาพจริง (Authentic Assessment) พัฒนาระบบนิเทศภายใน จัดกิจกรรมสอนซ่อมเสริม
และคลีนิคสอนเสริมให้นักเรียนติด 0, ร, มส. น้อยลง ยกระดับผลการเรียน เฉลี่ย (GPA) ของ
นักเรียนให้สูงขึ้น ส่งเสริมการเรียนต่อให้มากขึ้น ส่งเสริมการวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนรู้ (Action
Research) ตลอดจน พัฒนาระบบงานหมวดวิชาให้มีศักยภาพเสมือนโรงเรียนเล็กในโรงเรียนใหญ่
(School in School) เพื่อสร้างความเข้มแข็งในการบริหารและความเข้มข้นทางวิชาการ โดยมี
เปูาหมายให้แต่ละโรงเรียนเล็กเป็น SMILE School ให้โรงเรียนเป็นโรงเรียนแกนนาในการปฏิรูป
การเรียนรู้ จนมีความเป็นเลิศและเป็นผู้นาทางวิชาการ
การนานโยบายสู่การปฏิบัติ : ระบบการเรียนการสอน
************************
ยุทธศาสตร์ที่ 6 การสร้างภาวะผู้นาและพัฒนาทีมงาน
นโยบาย : เร่งรัดพัฒนาคณะผู้บริหารโรงเรียน หัวหน้าฝุายหัวหน้ากลุ่มสาระ หัวหน้างาน
และบุคลากรตามโครงการบริหาร ให้ยึดหลักธรรมาธิบาลในการบริหารงานที่รับผิดชอบให้มีความ
สุจริต ยุติธรรม ใช้ระบบคุณธรรม การระดมการมีส่วนร่วมในการบริหารและปฏิบัติตาม
จรรยาบรรณวิชาชีพครู สามารถแสดงทิศทางการพัฒนาการศึกษา ของสถานศึกษาที่ควรจะเป็นใน
อนาคตอีก 3-5 ปี ข้างหน้าได้อย่างชัดเจนและเหมาะสม มีความคิดริเริ่มแนวทางในการบริหารที่
ท้าทายกับการเปลี่ยนแปลงในยุคการปฏิรูปการศึกษา มีมนุษย์สัมพันธ์ในการปฏิบัติงานเป็นที่ยอมรับ
ศรัทธาของผู้ที่เกี่ยวข้อง
การนานโยบายสู่การปฏิบัติ : ระบบการสร้างภาวะผู้นาและพัฒนาทีมงาน (บริหาร)
************************
ยุทธศาสตร์ที่ 7. การส่งเสริมและพัฒนาครูให้มีลักษณะที่เหมาะสม
นโยบาย : ส่งเสริมและพัฒนาครู ให้เป็นผู้ที่มีคุณลักษณะที่เหมาะสมมีความมุ่งมั่นและ
อุทิศตนในการสอนและพัฒนาผู้เรียน มีปฏิสัมพันธ์ที่ดีกับผู้เรียน ผู้ปกครองและชุมชน ให้ครูได้
แสวงหาความรู้และเทคนิควิธีการใหม่ๆ เป็นประจา มีความสามารถในการจัดการเรียนการสอน
อย่างมีประสิทธิภาพเข้าใจรู้เปูาหมายของการจัดการศึกษา และหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน
ให้ครูสามารถวิเคราะห์ศักยภาพของผู้เรียนและเข้าใจผู้เรียนเป็นรายบุคคล ยกระดับมาตรฐาน
วิชาชีพครู สามารถเลื่อนระดับปรับตาแหน่งเป็นครู ชานาญการ ชานาญการพิเศษ ครูเชี่ยวชาญ
และครูเชี่ยวชาญพิเศษ สนับสนุนครูให้สามารถใช้เทคโนโลยีในการพัฒนาการเรียนรู้ของตนเองและ
ผู้เรียน มีการประเมินผลการเรียนการสอนที่สอดคล้องกับสภาพการเรียนรู้ที่จัดให้ผู้เรียน และนาผล
การประเมินมาปรับเปลี่ยนการเรียนการสอน มีการวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนรู้ของผู้เรียนได้
การนานโยบายสู่การปฏิบัติ : ระบบการพัฒนาครูอาจารย์
************************
ยุทธศาสตร์ที่ 8. การพัฒนาหลักสูตร สื่อ นวัตกรรมและเทคโนโลยี
นโยบาย : พัฒนา และเป็นแกนนาในการใช้หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2544
โดยจัดทาหลักสูตรและเนื้อหาสาระการเรียนรู้ระดับสากล ระดับชาติ และระดับท้องถิ่นที่เหมาะสม
สอดคล้องกับหลักสูตรแกนกลางและความต้องการของผู้เรียนและท้องถิ่น มีการจัดสภาพแวดล้อม
ในบริการเทคโนโลยีสารสนเทศทุกรูปแบบที่เอื้อต่อการเรียนรู้ด้วยตนเองและการเรียนรู้แบบมีส่วน
ร่วม มีสื่อการเรียนการสอนที่เหมาะสมและเอื้อต่อการเรียนรู้ ทั้งสื่อธรรมชาติ สื่อเทคโนโลยีและ
สารสนเทศรวมทั้งสื่อภูมิปัญญาท้องถิ่น สนับสนุนส่งเสริมให้ผู้เรียนได้สืบค้นความรู้ทางอินเตอร์เน็ต
(Internet) จัดและใช้แหล่งเรียนรู้ทั้งภายในและภายนอกสถานศึกษาพัฒนาห้องสมุดให้เป็น ศูนย์
วิทยบริการ (Resource Center) ที่สมบูรณ์ และทันสมัย
การนานโยบายสู่การปฏิบัติ : ระบบการพัฒนาหลักสูตร สื่อ และเทคโนโลยี
************************
ยุทธศาสตร์ที่ 9. การพัฒนาอาคารสถานที่ บรรยากาศและสิ่งแวดล้อม
นโยบาย : พัฒนาอาคารสถานที่ บรรยากาศและสิ่งแวดล้อมให้เป็นโรงเรียนรีสอร์ท
(Resort School) หรือ อุทยานการศึกษา โดยใช้กิจกรรม 5 ส. และหลักการมีส่วนร่วมจากทุก
ฝุาย พัฒนาอาคารเรียน ห้องเรียน ห้องปฏิบัติการ พื้นที่สีเขียว และสิ่งอานวยความสะดวก
เพียงพอ อยู่ในสภาพที่ใช้การได้ดี จัดระบบสาธารณูปโภค ภูมิทัศน์ต่างๆ ให้มีความเป็นระเบียบ
เรียบร้อย มีความเป็นปัจจุบัน สะอาด สะดวก สบาย ร่มรื่น สวยงามมีชีวิต ชีวา เอื้ออานวยต่อ
การเรียนรู้ และการปลูกฝังคุณธรรม จริยธรรม ให้นักเรียน ครู และผู้ปกครองเข้ามาโรงเรียน
อย่างมีความสุข รวมทั้งสามารถเป็นสวนสาธารณะ สถานที่พักผ่อนหย่อนใจ เล่นกีฬา ออกกาลังกาย
ใช้ประโยชน์และให้บริการด้านต่างๆ แก่ชุมชนได้อย่างเต็มที่
การนานโยบายสู่การปฏิบัติ : ระบบการพัฒนาอาคารสถานที่และสิ่งแวดล้อม
************************
ยุทธศาสตร์ที่ 10 การพัฒนาความสัมพันธ์กับชุมชนและระดมทรัพยากร
นโยบาย : สนับสนุนส่งเสริมให้มีระบบและกลไกในการส่งเสริมความสัมพันธ์และความ
ร่วมมือกับชุมชนในการพัฒนาการศึกษา โดยให้มีผู้รับผิดชอบหรือจัดหน่วยงานรับผิดชอบ ในการ
ส่งเสริมความสัมพันธ์อย่างชัดเจน มีการจัดแผนงานระเบียบ การประเมินระบบและกลไกแล้วนาผล
ประเมินมาใช้ตัดสิน และปรับปรุงการสร้างความสัมพันธ์ จัดให้มีกิจกรรมประชาสัมพันธ์
เพื่อสร้างความเข้าใจระหว่างบุคคลในสถานศึกษาและชุมชนเห็นความสาคัญในการจัดการศึกษา
ร่วมกันรวมทั้งจัดกิจกรรมให้บริการร่วมกิจกรรมกับชุมชน หรือให้ชุมชนมีส่วนร่วมในกิจกรรมของ
โรงเรียน จัดสร้างเครือข่ายความสัมพันธ์กับชุมชน ให้ใช้โรงเรียนเป็นฐานในการบริหาร (School
Based Management : SBM) มีการระดมสรรพกาลังทุกรูปแบบ จากคณะกรรมการ
สถานศึกษาขั้นพื้นฐาน สมาคมผู้ปกครองและครู ชมรมศิษย์เก่าผู้ปกครอง ชุมชน หน่วยงาน
องค์กรจากภาครัฐและเอกชน องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นภูมิปัญญาท้องถิ่น
การนานโยบายสู่การปฏิบัติ : ระบบชุมชนสัมพันธ์
************************
สัญลักษณ์ของโรงเรียน
รูปคบเพลิงมีรัศมีแผ่ครอบคลุมคบเพลิงและอักษรย่อ ส.ภ.ค.
และมีชื่อ “ เสลภูมิพิทยาคม ” อยู่ข้างล่าง
ความหมาย : โรงเรียนเสลภูมิพิทยาคม เป็นแหล่งศึกษา แหล่งความรู้ ที่มีชื่อเสียงระบือไกล
ปรัชญาโรงเรียน
ปญฺญา ชีวิตสฺส ปชฺโชโต
ปัญญา คือ แสงสว่างแห่งชีวิต
คาขวัญโรงเรียน
“ความรู้ดี กีฬาเด่น เน้นคุณธรรม นาชุมชน”
คติพจน์
“ค่าของคน อยู่ที่ผลของงาน”
ต้นไม้ประจาโรงเรียน
“ต้นหนามคอม”
สีประจาโรงเรียน
“เขียว – แดง”
สีเขียว หมายถึง ความสดชื่น เบิกบาน
สีแดง หมายถึง ความกล้าหาญ อดทน
พระพุทธรูปประจาโรงเรียน
“พระพุทธฐิติวิริโย”
หัวหน้ากลุ่มงาน
ตาแหน่งตามโครงสร้างการบริหารทั่วไป บุคลากรที่รับผิดชอบ
1. กลุ่มบริหารงบประมาณและทรัพย์สิน
1.1 หัวหน้ากลุ่มงานธุรการ
1.2 หัวหน้ากลุ่มงานนโยบายและแผน
1.3 หัวหน้างานงบประมาณและสินทรัพย์
1.1 นางกัลยาณี แก้วพิกุล
1.2 นายพิพัฒน์ อักษรกาญจน์
1.3 นางเขมิกา โคตรเพชร
2. กลุ่มบริหารงานวิชาการ
2.1 หัวหน้ากลุ่มงานหลักสูตรและประเมินผล
2.2 หัวหน้ากลุ่มงานพัฒนาคุณภาพการศึกษา
2.3 หัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้
2.1 นายปราณี ปฏิพันธ์
2.2 นางสมฤทัย กาหอม
2.3 (รายนามอยู่หน้าถัดไป)
3. กลุ่มบริหารงานกิจกการนักเรียน
3.1 หัวหน้ากลุ่มงานปกครองและระเบียบวินัย
3.2 หัวหน้ากลุ่มงานดูแลช่วยเหลือนักเรีย
3.3 หัวหน้ากลุ่มงานชุมชนสัมพันธ์
3.1 นายยิ่งศักดิ์ สุทธิจันทร์
3.2 นายศรีสุวรรณ์ สาราญจิตร
3.3 นายธีรวัฒน์ สายเพ็ชร
4. กลุ่มบริหารงานทั่วไป
4.1 หัวหน้ากลุ่มงานอาคารสถานที่
4.2 หัวหน้ากลุ่มงานสวัสดิการ
4.3 หัวหน้ากลุ่มงานวิทยบริการ
4.1 นายกุลดิลก พลสาเดช
4.2 นายไพศาล อิสระ
4.3 นายเกียรติศักดิ์ ศรีเรือง
หัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้
กลุ่มสาระการเรียนรู้ หัวหน้ากลุ่มสาระ รองหัวหน้ากลุ่มสาระ
1. ภาษาไทย นางบรรเพ็ญ ทองบ่อ นายประสิทธิ์ แย้มศรี
นางอุดมทรัพย์ ไชยขาว
2. คณิตศาสตร์ นางสาวธารินี อุดมรัตน์ นางทัศนีย์ เส็งคุ้มหอม
นางสาวสุกัญญา กลางสุข
3. วิทยาศาสตร์ นายพรชัย กาหอม นายปัญญา น่าบัณฑิต
นายธีรดนย์ โพธิคา
4. สังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม นางวิบูลลักษณ์ นามบุญลือ นางพิราวรรณ น่าบัณฑิต
นางสิรภัทร ขจรสมบัติ
5. สุขศึกษาและพลศึกษา นายมงคล ส่งศรีโรจน์ นางสุมาลี ธิมาชัย
6. ศิลปะ นายประภาส โพธิสาขา นายวิทยา สุทธิจันทร์
7. การงานอาชีพและเทคโนโลยี นายศิริพงษ์ โพธิ์วันนา นายเฉลิมศักดิ์ สุนทรารักษ์
นางขาจิตร มณีนิล
8. ภาษาต่างประเทศ นางวีรยา ศาลารัตน์ นางสาวกรัญยวันณ์ ใค่นุ่นสิงห์
นางอุดมลักษณ์ ทองภู
9. กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน นายพีระศักดิ์ มณีฉาย นายภูมิสุวรรณ์ บริบูรณ์
นายศรีสุวรรณ์ สาราญจิตร
วิชาเหมือนสินค้า
วิชาเหมือนสินค้า อันมีค่าอยู่เมืองไกล
ต้องยากลาบากไป จึงจะได้สินค้ามา
จงตั้งเอากายเจ้า เป็นสาเภาอันโสภา
ความเพียรเป็นโยธา แขนซ้ายขวาเป็นเสาใบ
นิ้วเป็นสายระยาง สองเท้าต่างสมอใหญ่
ปากเป็นนายงานไป อัชฌาสัยเป็นเสบียง
สติเป็นหางเสือ ถือท้ายเรือไว้ให้เที่ยง
ถือไว้อย่าให้เอียง ตัดแล่นเลี่ยงข้ามคงคา
ปัญญาเป็นกล้องแก้ว ส่องดูแถวแนวหินผา
เจ้าจงเอาหูตา เป็นล้าต้าฟังดูลม
ขี้เกียจคือปลาร้าย จะทาลายให้เรือจม
เอาใจเป็นปืนคม คือวิชาอันพิสมัย
จงหมั่นมั่นหมายใจ อย่าได้คร้านการวิชา
จากหนังสือดรุณศึกษา เล่ม ๓

More Related Content

What's hot

คอมพิวเตอร์
คอมพิวเตอร์คอมพิวเตอร์
คอมพิวเตอร์พัน พัน
 
ทวีป Europe
ทวีป Europeทวีป Europe
ทวีป Europe
Natchanon Tatiyaratanapun
 
รายงานทรัพย์สินทางปัญญา
รายงานทรัพย์สินทางปัญญารายงานทรัพย์สินทางปัญญา
รายงานทรัพย์สินทางปัญญา
shikapu
 
ทรัพยากรป่าไม้ในภาคเหนือ
ทรัพยากรป่าไม้ในภาคเหนือทรัพยากรป่าไม้ในภาคเหนือ
ทรัพยากรป่าไม้ในภาคเหนือ
Anusaraphon B.
 
Pdf format แบบประเมินพฤติกรรมการทำงาน2013
Pdf format แบบประเมินพฤติกรรมการทำงาน2013Pdf format แบบประเมินพฤติกรรมการทำงาน2013
Pdf format แบบประเมินพฤติกรรมการทำงาน2013
Kruthai Kidsdee
 
โครงงานประเภททฤษฏี
โครงงานประเภททฤษฏีโครงงานประเภททฤษฏี
โครงงานประเภททฤษฏีNuchy Geez
 
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศ
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศเรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศ
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศ
พัน พัน
 
ขนมไทย
ขนมไทยขนมไทย
ขนมไทย
Chainarong Maharak
 
ใบงานที่ 5.1 เรื่อง ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ใบงานที่  5.1 เรื่อง    ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ใบงานที่  5.1 เรื่อง    ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ใบงานที่ 5.1 เรื่อง ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
โรงเรียนหาดใหญ่รัฐประชาสรรค์
 
ตัวอย่างบันทึกข้อความ
ตัวอย่างบันทึกข้อความตัวอย่างบันทึกข้อความ
ตัวอย่างบันทึกข้อความnurmedia
 
บทบาทหน้าที่ของรัฐบาลในการพัฒนาประเทศ
บทบาทหน้าที่ของรัฐบาลในการพัฒนาประเทศบทบาทหน้าที่ของรัฐบาลในการพัฒนาประเทศ
บทบาทหน้าที่ของรัฐบาลในการพัฒนาประเทศ
Suwannaphum Charoensiri
 
คำนาม
คำนามคำนาม
คำนาม
Nanthida Chattong
 
แบบสอบถามความพึงพอใจ
แบบสอบถามความพึงพอใจแบบสอบถามความพึงพอใจ
แบบสอบถามความพึงพอใจ
Duangnapa Inyayot
 
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการสื่อสาร
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการสื่อสารความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการสื่อสาร
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการสื่อสาร
Wilawun Wisanuvekin
 
หลักฐานในการศึกษาประวัติศาสตร์ไทยสมัยรัตนโกสินทร์ ส16103 ประวัติศาสตร์ ป.6
หลักฐานในการศึกษาประวัติศาสตร์ไทยสมัยรัตนโกสินทร์ ส16103 ประวัติศาสตร์ ป.6หลักฐานในการศึกษาประวัติศาสตร์ไทยสมัยรัตนโกสินทร์ ส16103 ประวัติศาสตร์ ป.6
หลักฐานในการศึกษาประวัติศาสตร์ไทยสมัยรัตนโกสินทร์ ส16103 ประวัติศาสตร์ ป.6
Thanawut Rattanadon
 

What's hot (20)

คอมพิวเตอร์
คอมพิวเตอร์คอมพิวเตอร์
คอมพิวเตอร์
 
ทวีป Europe
ทวีป Europeทวีป Europe
ทวีป Europe
 
รายงานทรัพย์สินทางปัญญา
รายงานทรัพย์สินทางปัญญารายงานทรัพย์สินทางปัญญา
รายงานทรัพย์สินทางปัญญา
 
ม.5 เทอม 1 หน่วย 1
ม.5 เทอม 1 หน่วย 1ม.5 เทอม 1 หน่วย 1
ม.5 เทอม 1 หน่วย 1
 
หน้าปก
หน้าปกหน้าปก
หน้าปก
 
ทรัพยากรป่าไม้ในภาคเหนือ
ทรัพยากรป่าไม้ในภาคเหนือทรัพยากรป่าไม้ในภาคเหนือ
ทรัพยากรป่าไม้ในภาคเหนือ
 
Pdf format แบบประเมินพฤติกรรมการทำงาน2013
Pdf format แบบประเมินพฤติกรรมการทำงาน2013Pdf format แบบประเมินพฤติกรรมการทำงาน2013
Pdf format แบบประเมินพฤติกรรมการทำงาน2013
 
ปก
ปกปก
ปก
 
โครงงานประเภททฤษฏี
โครงงานประเภททฤษฏีโครงงานประเภททฤษฏี
โครงงานประเภททฤษฏี
 
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศ
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศเรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศ
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
ขนมไทย
ขนมไทยขนมไทย
ขนมไทย
 
ใบงานที่ 5.1 เรื่อง ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ใบงานที่  5.1 เรื่อง    ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ใบงานที่  5.1 เรื่อง    ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ใบงานที่ 5.1 เรื่อง ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
ตัวอย่างบันทึกข้อความ
ตัวอย่างบันทึกข้อความตัวอย่างบันทึกข้อความ
ตัวอย่างบันทึกข้อความ
 
บทบาทหน้าที่ของรัฐบาลในการพัฒนาประเทศ
บทบาทหน้าที่ของรัฐบาลในการพัฒนาประเทศบทบาทหน้าที่ของรัฐบาลในการพัฒนาประเทศ
บทบาทหน้าที่ของรัฐบาลในการพัฒนาประเทศ
 
แผ่นพับโครงงาน
แผ่นพับโครงงานแผ่นพับโครงงาน
แผ่นพับโครงงาน
 
คำนาม
คำนามคำนาม
คำนาม
 
แบบสอบถามความพึงพอใจ
แบบสอบถามความพึงพอใจแบบสอบถามความพึงพอใจ
แบบสอบถามความพึงพอใจ
 
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการสื่อสาร
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการสื่อสารความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการสื่อสาร
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการสื่อสาร
 
ลิลิตตะเลงพ่าย
ลิลิตตะเลงพ่ายลิลิตตะเลงพ่าย
ลิลิตตะเลงพ่าย
 
หลักฐานในการศึกษาประวัติศาสตร์ไทยสมัยรัตนโกสินทร์ ส16103 ประวัติศาสตร์ ป.6
หลักฐานในการศึกษาประวัติศาสตร์ไทยสมัยรัตนโกสินทร์ ส16103 ประวัติศาสตร์ ป.6หลักฐานในการศึกษาประวัติศาสตร์ไทยสมัยรัตนโกสินทร์ ส16103 ประวัติศาสตร์ ป.6
หลักฐานในการศึกษาประวัติศาสตร์ไทยสมัยรัตนโกสินทร์ ส16103 ประวัติศาสตร์ ป.6
 

Similar to ประวัติโรงเรียนเสลภูมิพิทยาคม

สารสนเทศ 53
สารสนเทศ  53สารสนเทศ  53
สารสนเทศ 53saenphinit
 
วารสารโรงเรียนทุ่งยาวผดุงศิษย์ ปี 2555
วารสารโรงเรียนทุ่งยาวผดุงศิษย์ ปี 2555วารสารโรงเรียนทุ่งยาวผดุงศิษย์ ปี 2555
วารสารโรงเรียนทุ่งยาวผดุงศิษย์ ปี 2555waranyuati
 
แผนปฏิบัติปี 2558-ร.ร.ตูมพิทยานุสรณ์
แผนปฏิบัติปี 2558-ร.ร.ตูมพิทยานุสรณ์แผนปฏิบัติปี 2558-ร.ร.ตูมพิทยานุสรณ์
แผนปฏิบัติปี 2558-ร.ร.ตูมพิทยานุสรณ์
Ozzy Ozone
 
โรงเรียนบ้านหนองแสน
โรงเรียนบ้านหนองแสนโรงเรียนบ้านหนองแสน
โรงเรียนบ้านหนองแสนkrunoi55
 
การพัฒนาหลักสูตร ภาษาไทยB
การพัฒนาหลักสูตร  ภาษาไทยBการพัฒนาหลักสูตร  ภาษาไทยB
การพัฒนาหลักสูตร ภาษาไทยBSOOREETA
 
การพัฒนาหลักสูตร ภาษาไทยB
การพัฒนาหลักสูตร  ภาษาไทยBการพัฒนาหลักสูตร  ภาษาไทยB
การพัฒนาหลักสูตร ภาษาไทยBSOOREETA
 
การพัฒนาหลักสูตร ภาษาไทยB
การพัฒนาหลักสูตร  ภาษาไทยBการพัฒนาหลักสูตร  ภาษาไทยB
การพัฒนาหลักสูตร ภาษาไทยBSOOREETA
 
แผนพัฒนาการศึกษาประจำปี 2561 - 2564 โรงเรียนวัดห้วยพระ
แผนพัฒนาการศึกษาประจำปี 2561 - 2564 โรงเรียนวัดห้วยพระ  แผนพัฒนาการศึกษาประจำปี 2561 - 2564 โรงเรียนวัดห้วยพระ
แผนพัฒนาการศึกษาประจำปี 2561 - 2564 โรงเรียนวัดห้วยพระ
Watcharasak Chantong
 
Panpattana
PanpattanaPanpattana
Panpattanasakeenan
 
ThaphosripitayaBotany
ThaphosripitayaBotanyThaphosripitayaBotany
ThaphosripitayaBotanymananchaya
 
สัมภาษณ์หลักสูตรโรงเรียนบ้านน้ำกระจาย
สัมภาษณ์หลักสูตรโรงเรียนบ้านน้ำกระจายสัมภาษณ์หลักสูตรโรงเรียนบ้านน้ำกระจาย
สัมภาษณ์หลักสูตรโรงเรียนบ้านน้ำกระจายshaimat
 
ความพึ่งพอใจในการใช้บริการโรงอาหาร
ความพึ่งพอใจในการใช้บริการโรงอาหารความพึ่งพอใจในการใช้บริการโรงอาหาร
ความพึ่งพอใจในการใช้บริการโรงอาหาร
risa021040
 
นำเสนองานโรงเรียนดี
นำเสนองานโรงเรียนดี นำเสนองานโรงเรียนดี
นำเสนองานโรงเรียนดี
นายไพโรจน์ พันธุศิลป์
 
ข้อมูลพื้นฐานโรงเรียนน้ำคำวิทยาคม
ข้อมูลพื้นฐานโรงเรียนน้ำคำวิทยาคมข้อมูลพื้นฐานโรงเรียนน้ำคำวิทยาคม
ข้อมูลพื้นฐานโรงเรียนน้ำคำวิทยาคมพงษ์เทพ ทองจันทร์
 
นำเสนอแนะนำร.ร.บ้านตุ่น
นำเสนอแนะนำร.ร.บ้านตุ่นนำเสนอแนะนำร.ร.บ้านตุ่น
นำเสนอแนะนำร.ร.บ้านตุ่นkruklai98
 
นำเสนอแนะนำร.ร.บ้านตุ่น
นำเสนอแนะนำร.ร.บ้านตุ่นนำเสนอแนะนำร.ร.บ้านตุ่น
นำเสนอแนะนำร.ร.บ้านตุ่นkruklai98
 

Similar to ประวัติโรงเรียนเสลภูมิพิทยาคม (20)

สารสนเทศ 53
สารสนเทศ  53สารสนเทศ  53
สารสนเทศ 53
 
วารสารโรงเรียนทุ่งยาวผดุงศิษย์ ปี 2555
วารสารโรงเรียนทุ่งยาวผดุงศิษย์ ปี 2555วารสารโรงเรียนทุ่งยาวผดุงศิษย์ ปี 2555
วารสารโรงเรียนทุ่งยาวผดุงศิษย์ ปี 2555
 
แผนปฏิบัติปี 2558-ร.ร.ตูมพิทยานุสรณ์
แผนปฏิบัติปี 2558-ร.ร.ตูมพิทยานุสรณ์แผนปฏิบัติปี 2558-ร.ร.ตูมพิทยานุสรณ์
แผนปฏิบัติปี 2558-ร.ร.ตูมพิทยานุสรณ์
 
School
SchoolSchool
School
 
โรงเรียนบ้านหนองแสน
โรงเรียนบ้านหนองแสนโรงเรียนบ้านหนองแสน
โรงเรียนบ้านหนองแสน
 
5 3-4
5 3-45 3-4
5 3-4
 
naphopittayakhom
naphopittayakhomnaphopittayakhom
naphopittayakhom
 
การพัฒนาหลักสูตร ภาษาไทยB
การพัฒนาหลักสูตร  ภาษาไทยBการพัฒนาหลักสูตร  ภาษาไทยB
การพัฒนาหลักสูตร ภาษาไทยB
 
การพัฒนาหลักสูตร ภาษาไทยB
การพัฒนาหลักสูตร  ภาษาไทยBการพัฒนาหลักสูตร  ภาษาไทยB
การพัฒนาหลักสูตร ภาษาไทยB
 
การพัฒนาหลักสูตร ภาษาไทยB
การพัฒนาหลักสูตร  ภาษาไทยBการพัฒนาหลักสูตร  ภาษาไทยB
การพัฒนาหลักสูตร ภาษาไทยB
 
แผนพัฒนาการศึกษาประจำปี 2561 - 2564 โรงเรียนวัดห้วยพระ
แผนพัฒนาการศึกษาประจำปี 2561 - 2564 โรงเรียนวัดห้วยพระ  แผนพัฒนาการศึกษาประจำปี 2561 - 2564 โรงเรียนวัดห้วยพระ
แผนพัฒนาการศึกษาประจำปี 2561 - 2564 โรงเรียนวัดห้วยพระ
 
Panpattana
PanpattanaPanpattana
Panpattana
 
ThaphosripitayaBotany
ThaphosripitayaBotanyThaphosripitayaBotany
ThaphosripitayaBotany
 
สัมภาษณ์หลักสูตรโรงเรียนบ้านน้ำกระจาย
สัมภาษณ์หลักสูตรโรงเรียนบ้านน้ำกระจายสัมภาษณ์หลักสูตรโรงเรียนบ้านน้ำกระจาย
สัมภาษณ์หลักสูตรโรงเรียนบ้านน้ำกระจาย
 
รายงานการเผยแพร่โทรทัศน์ครู
รายงานการเผยแพร่โทรทัศน์ครูรายงานการเผยแพร่โทรทัศน์ครู
รายงานการเผยแพร่โทรทัศน์ครู
 
ความพึ่งพอใจในการใช้บริการโรงอาหาร
ความพึ่งพอใจในการใช้บริการโรงอาหารความพึ่งพอใจในการใช้บริการโรงอาหาร
ความพึ่งพอใจในการใช้บริการโรงอาหาร
 
นำเสนองานโรงเรียนดี
นำเสนองานโรงเรียนดี นำเสนองานโรงเรียนดี
นำเสนองานโรงเรียนดี
 
ข้อมูลพื้นฐานโรงเรียนน้ำคำวิทยาคม
ข้อมูลพื้นฐานโรงเรียนน้ำคำวิทยาคมข้อมูลพื้นฐานโรงเรียนน้ำคำวิทยาคม
ข้อมูลพื้นฐานโรงเรียนน้ำคำวิทยาคม
 
นำเสนอแนะนำร.ร.บ้านตุ่น
นำเสนอแนะนำร.ร.บ้านตุ่นนำเสนอแนะนำร.ร.บ้านตุ่น
นำเสนอแนะนำร.ร.บ้านตุ่น
 
นำเสนอแนะนำร.ร.บ้านตุ่น
นำเสนอแนะนำร.ร.บ้านตุ่นนำเสนอแนะนำร.ร.บ้านตุ่น
นำเสนอแนะนำร.ร.บ้านตุ่น
 

Recently uploaded

การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
Prachyanun Nilsook
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdfแนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdfรายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
NitayataNuansri
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 

Recently uploaded (9)

การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
 
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdfแนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
 
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
 
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdfรายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 

ประวัติโรงเรียนเสลภูมิพิทยาคม

  • 1. ประวัติโรงเรียนเสลภูมิพิทยาคม โรงเรียนเสลภูมิพิทยาคม ตั้งอยู่ถนนแจ้งสนิท เลขที่ 99 หมู่ที่ 1 ตาบลขวัญเมือง อาเภอเสลภูมิ จังหวัดร้อยเอ็ด ห่างจากจังหวัดร้อยเอ็ด ประมาณ 30 กิโลเมตร ตั้งอยู่บนที่ราบสูง เนื้อที่ 157 ไร่ โรงเรียนเสลภูมิพิทยาคม เปิดทาการสอนระดับมัธยมศึกษาปีที่ 1 ครั้งแรกเมื่อวันที่ 17 พฤษภาคม พ.ศ. 2499 จานวน 1 ห้องเรียน มีนักเรียนจานวน 40 คน นักเรียนคนแรกของโรงเรียน ที่มีเลขประจาตัว เลขที่ 1 คือ เด็กชายทองสุข แซ่เตีย ปัจจุบันคือนายแพทย์สุขวัฒน์ วัฒนาธิษฐาน ผู้ทรงคุณวุฒิสาขากุมารศัลยกรรม นายแพทย์ 11 ในปีการศึกษา 2499 มีครู 4 คน คือ คุณครูปราโมทย์ พงศ์ศาสตร์ คุณครูเชย ประทุมทิพย์ คุณครูสมบูรณ์ วรรณภักดี และคุณครูนภาภรณ์ วรรณภักดี โดยมี คุณครูปราโมทย์ พงศ์ศาสตร์ เป็นครูใหญ่ มีนักการภารโรง 1 คน คือ นายเต้า ระกิติ อักษรย่อของโรงเรียน คือ ร.อ. 15 สีประจาโรงเรียน คือ เขียว - แดง สีเขียว หมายถึง ความสดชื่น เบิกบาน สีแดง หมายถึง ความกล้าหาญ อดทน ในปีแรกของการก่อตั้งนั้นการก่อสร้างอาคารเรียนยังไม่แล้วเสร็จ จึงอาศัยอาคารเรียนของโรงเรียน เสลภูมิ (โรงเรียนหลังแดง) ทาการสอนไปก่อน ในปีการศึกษา 2500 การก่อสร้างแล้วเสร็จจึงย้าย มาทาการเรียนการสอน ณ ที่ตั้งปัจจุบัน อาคารเรียนหลังแรกเป็นอาคารไม้ 2 ชั้น จานวน 16 ห้องเรียน มีหลังคาสีเขียว เพื่อให้ง่ายต่อการจดจาและการเรียกขาน ครู นักเรียน ผู้ปกครองและ ประชาชนทั่วไปจึงเรียกสั้นๆ ว่า “ โรงเรียนหลังเขียว ” จนถึงปัจจุบัน สภาพทั่วไปของโรงเรียนเสลภูมิพิทยาคม ในสมัยนั้นมีสภาพเป็นปุา มีต้นไม้น้อยใหญ่ ค่อนข้างหนาแน่น ครู นักเรียน และภารโรงรุ่นแรกๆ ได้ช่วยกันถางปุา ปรับพื้นที่เพื่อสร้างอาคาร เรียน สนามกีฬา แปลงเกษตรกรรม และได้ช่วยกันปลูกต้นสักเป็นอาณาเขตทั้งด้านหน้าและ ด้านข้างของโรงเรียน ส่วนบริเวณรอบสนามฟุตบอลได้ช่วยกันปลูกต้นมะขาม ด้านทิศเหนือของ สนาม เพื่อเป็นร่มเงาบังแดดในการชมและเชียร์กีฬา บริเวณโรงเรียนจะมีต้นหนามคอมน้อยใหญ่ เป็นซุ้มอยู่เป็นระยะๆ ให้ครูนักเรียนได้พักผ่อน ต่อมาได้กาหนดให้ต้นหนามคอมเป็นต้นไม้ประจา สถาบัน และเป็นชื่อวารสารประชาสัมพันธ์โรงเรียนตั้งแต่ปีการศึกษา 2525 เป็นต้นมา ปีการศึกษา 2509 โรงเรียนได้รับงบประมาณในการก่อสร้างหอประชุมหลังแรก ซึ่งต่อมาได้ ปรับปรุงและใช้ประโยชน์เป็นห้องประกันคุณภาพ และห้องแหล่งเรียนรู้ในปัจจุบันนายปราโมทย์ พงศ์ศาสตร์ ได้ร่วมกับคณะครู นักเรียน ชุมชน สร้างสรรค์ อบรม สั่งสอน และพัฒนานักเรียน โรงเรียนเสลภูมิพิทยาคม เป็นระยะเวลาถึง 20 ปี จนกระทั่งเสียชีวิตลงในปี 2519 ด้วยคุณงาม ความดีของท่าน โรงเรียนจึงได้สร้างอนุสาวรีย์ไว้ทางด้านทิศตะวันตก นายปราโมทย์ พงศ์ศาสตร์
  • 2. ปีการศึกษา 2519 นายสุนทร พินิจธนสาร ผู้ช่วยอาจารย์ใหญ่ โรงเรียนร้อยเอ็ดวิทยาลัย ย้ายมาดารงตาแหน่งอาจารย์ใหญ่ และต่อมา ได้ปรับตาแหน่งเป็นผู้อานวยการโรงเรียน ในปีการศึกษา 2521 ได้มีการปรับเปลี่ยนการใช้หลักสูตร จากหลักสูตรมัธยมศึกษา 2503 เป็นหลักสูตรมัธยมศึกษาตอนต้น พ.ศ. 2521 และหลักสูตรมัธยมศึกษาตอนปลาย พ.ศ. 2524 (เปลี่ยนจาก ม.ศ. เป็น ม.) ในสมัยนี้ คณะครูได้ร่วมกันกาหนดสิ่งที่ เป็นเอกลักษณ์และวัฒนธรรมของโรงเรียนเพิ่มเติมดังนี้ เครื่องหมายโรงเรียน เป็นรูปคบเพลิง มีรัศมีแผ่ครอบ คลุมคบเพลิงและอักษรย่อ ส.ภ.ค. และมีชื่อ “เสลภูมิพิทยาคม” อยู่ด้านล่าง ซึ่งหมายถึง โรงเรียนเสลภูมิพิทยาคม เป็นแหล่ง ศึกษาแหล่งความรู้ และมีชื่อเสียงระบือไกล คาขวัญของโรงเรียน คือ ความรู้ดี กีฬาเด่น เน้นคุณธรรม นาชุมชน ปรัชญาของโรงเรียน คือ “ปัญญา ชีวิสัส ปัชโชโต” ปัญญาคือแสงสว่างแห่งชีวิต คติพจน์ของโรงเรียน คือ ค่าของคนอยู่ที่ผลของงาน ปีการศึกษา 2525 ได้รับงบประมาณก่อสร้างอาคารเรียน แบบ 216 ล. ปัจจุบันคือ อาคาร 3 (อาคารจิตตะ) และในปีการศึกษา 2525 ผู้อานวยการสุนทร พินิจธนสาร ได้ย้ายไปดารง ตาแหน่งผู้อานวยการโรงเรียนจันทรุเบกษานุสรณ์ อาเภอเกษตรวิสัย จังหวัดร้อยเอ็ด ปีการศึกษา 2525 นายสมบัติ จันทภูมิ ย้ายมาดารงตาแหน่งแทน ช่วงนี้อยู่ในระหว่างการ ปรับปรุงหลักสูตรต่อเนื่องมาตั้งแต่ปีการศึกษา 2521 ทาให้มีนักเรียนมากถึง 2,5000 คน ในฝุาย บริหารโรงเรียนมีผู้ช่วยผู้อานวยการโรงเรียนครบทั้ง 4 ฝุาย คือ ฝุายธุรการ นายเข็มชาติ นันโท ฝุายวิชาการ นายวินัย แสนมณี ฝุายปกครอง นายอานนตรี ประสมสุข ฝุายบริการ นายประพันธ์ จิราภรณ์ ปีการศึกษา 2525 ได้รับงบประมาณก่อสร้างอาคารเรียน แบบ 318 ค ปัจจุบันคือ อาคาร 2 (อาคารวิริยะ) ปีการศึกษา 2526 รื้ออาคารหลังแรก ที่ก่อสร้างตั้งแต่ปี 2499 ปีการศึกษา 2528 ได้รับงบประมาณก่อสร้างหอประชุม นายสมบัติ จันทภูมิ แบบ 100/27 (หอประชุมตักกสิลา) และโรงฝึกงานคหกรรม แบบ 102/27 ปีการศึกษา 2531 ผู้อานวยการสมบัติ จันทภูมิ ย้ายไปดารงตาแหน่งผู้อานวยการโรงเรียน มหาวิชานุกูล อาเภอเมือง จังหวัดมหาสารคาม และผู้อานวยการรังสรรค์ ชื่นชม ย้ายมาดารง ตาแหน่งแทน นายสุนทร พินิจธนสาร นายสมบัติ จันทภูมิ
  • 3. ปีการศึกษา 2532 ได้รับงบประมาณก่อสร้างโรงฝึกงาน อุตสาหกรรม แบบ 204/27 และได้พัฒนาครู พัฒนาการเรียนการสอน และกิจกรรมต่างๆ อย่างต่อเนื่อง โดยเฉพาะกิจกรรมลูกเสือได้สร้าง ค่ายลูกเสือบริเวณสวนปุา เพื่อบริการชุมชนและฝึกอบรมผู้กากับลูกเสือ ในจังหวัดร้อยเอ็ด ปีการศึกษา 2535 ผู้อานวยการรังสรรค์ ชื่นชม ย้ายไปดารง ตาแหน่งผู้อานวยการโรงเรียนสารคามพิทยาคม และผู้อานวยการ วิจิตร สายธนู ย้ายมาดารงตาแหน่งแทน ในสมัยนี้มีการพัฒนาการ ศึกษาขยายโอกาสทางการศึกษาและก่อสร้างอาคารเรียน อาคารประกอบเป็นจานวนมาก ปีการศึกษา 2535 ตั้งโรงเรียนสาขา ท่าม่วงวิทยาคม ปีการศึกษา 2537 ตั้งโรงเรียนสาขา วังหลวงวิทยาคม ปีการศึกษา 2538 ได้รับงบประมาณก่อสร้างอาคารเรียน แบบ 324 ล. ปัจจุบันคืออาคาร 4 ( อาคารวิมังสา ) ปีการศึกษา 2539 สร้างศาลาอุทยานการศึกษา 3 หลัง ปีการศึกษา 2540 ได้รับเมตตาจากพระมงคลญาณเถระ (หลวงปูุมา ญาณวโร) สนับสนุนงบประมาณ 8 ล้านบาท สร้างอาคารหอสมุดเฉลิมพระเกียรติ กาญจนาภิเษก เนื่องในวโรกาสพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวครองราชย์ครบ 50 ปี และในปีนี้ โรงเรียนเสลภูมิพิทยาคม ได้รับรางวัลอันทรงเกียรติ คือชนะเลิศการประกวดโรงเรียนรางวัล พระราชทาน ประเภทโรงเรียนมัธยมศึกษาขนาดใหญ่และในปีการศึกษา 2540 ผู้อานวยการวิจิตร สายธนู ย้ายไปดารงตาแหน่งผู้อานวยการโรงเรียนท่าอุเทน อาเภอท่าอุเทน จังหวัดนครพนม ปีการศึกษา 2542 ผู้อานวยการวัฒนา ศรีสว่าง ย้ายมาดารงตาแหน่งแทน เนื่องจากท่าน เคยเป็นครูสอนและเป็นผู้ช่วยอาจารย์ใหญ่ที่โรงเรียนนี้มาก่อน การบริหารงานจึงเป็นเสมือน ครอบครัวเดียวกันและเป็นผู้อานวยการที่นี่เพียง 2 ปี นายวัฒนา ศรีสว่างจึงย้ายไปโรงเรียนโพนทอง พัฒนาวิทยา อาเภอโพนทอง จังหวัดร้อยเอ็ด ในปีการศึกษา 2544 และนายปรีดา ลามะนา ย้ายมาดารงตาแหน่งแทน จนถึงปัจจุบันในระหว่างนี้เป็นยุคการปฏิรูปการศึกษา ตามพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 โรงเรียนจึงได้ดาเนินงานตามแนวทางปฏิรูปการศึกษาและ พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ โดยดาเนินการดังนี้ 1. ด้านอาคารสถานที่และสิ่งแวดล้อม ได้เพิ่มถนน คอนกรีตภายในโรงเรียน ขยายถนนให้กว้างขึ้น ต่อเติมอาคาร หอสมุดเฉลิมพระเกียรติกาญจนาภิเษก ชั้นล่างเป็นศูนย์การเรียน คอมพิวเตอร์และอินเตอร์เน็ต สร้างห้องประชุมศิลานคร ว่าที่ ร.ต.รังสรรค์ ชื่นชม นายวิจิตร สายธนู นายวัฒนา ศรีสว่าง
  • 4. ปรับปรุงต่อเติมหอประชุมตักกสิลา สร้างรั้ว ซุ้มประตูและปูาย ชื่อโรงเรียน สร้างโรงอาหาร 48 ปี หลังเขียว ปรับปรุงห้องน้า ห้องส้วมนักเรียนให้สะอาด สะดวกถูกสุขลักษณะ จนครบ 6 หลัง พร้องทั้งปรับปรุงภูมิทัศน์ของโรงเรียนให้เป็นระเบียบ ร่มรื่น สวยงาม และส่งเสริมบรรยากาศแห่งการเรียนรู้ 2. ด้านการพัฒนาบุคลากร ได้พัฒนาครู อาจารย์ ให้มีความรู้ความสามารถสอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลง ในยุคปฏิรูปการศึกษารวมทั้งพัฒนาครูให้เลื่อนและได้รับวิทยฐานะ ครูชานาญการและครูชานาญการพิเศษ เป็นจานวนมาก 3. ด้านหลักสูตรและการเรียนการสอน ได้ปรับเปลี่ยนการใช้หลักสูตรมาใช้หลักสูตร การศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2544 โดยเป็นโรงเรียนนาร่องการใช้หลักสูตรปีการศึกษา 2545 พัฒนาคุณภาพการศึกษาตามแนวทางประกันคุณภาพการศึกษาพัฒนาการเรียนการสอนให้นักเรียน ได้เรียนคอมพิวเตอร์ทุกระดับชั้นระดมทุนก่อตั้งวงโยธวาฑิต งบประมาณ 2,000,000 บาท สร้าง ความเข้มแข็งด้านวิชาการและการบริหารงานวิชาการให้กับกลุ่มสาระการเรียนรู้ พัฒนาการเรียนการ สอนภาษาอังกฤษโดยครูชาวต่างประเทศ และในปีการศึกษา 2550 ได้รับงบประมาณจากองค์การ บริหารส่วนจังหวัดร้อยเอ็ดจานวน 500,000 บาท ในการก่อสร้างห้องเรียนอัจฉริยะ (E-Smart Room) 4. ด้านการบริหารจัดการ ได้กาหนดวิสัยทัศน์ (Vision) ไว้ว่า “ เสลภูมิพิทยาคมจะเป็น โรงเรียนชั้นนาที่มีคุณภาพและความเป็นเลิศ ” ได้นาหลักธรรมาภิบาลหรือธรรมรัฐ (Good Governance) มากาหนดเป็นหลักการและแนวคิด เพื่อสร้างสรรค์สังคมโรงเรียนเสลภูมิพิทยาคม ให้เป็นสังคม 6 ส. คือ สังคมแห่งความสงบสุข สังคมที่สวยงาม สังคมที่ใสสะอาด สังคมที่ทุกคนมี ส่วนร่วม สังคมที่ทุกคนมีจิตสานึกที่ดี และสังคมที่สร้างสรรค์ได้กาหนดยุทธศาสตร์และนโยบายใน การพัฒนาโรงเรียนอย่างชัดเจนและต่อเนื่อง มีการพัฒนาระบบประกันคุณภาพให้เข้มแข็ง โรงเรียน ได้ผ่านการประเมินคุณภาพภายนอก จากสานักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) 2 ครั้ง และผลการประเมิน ผ่านการรับรองในระดับดีมากทั้ง 2 ครั้ง ปีการศึกษา 2551 ผู้อานวยการปรีดา ลามะนา ได้ย้ายไปดารงตาแหน่งผู้อานวยการ โรงเรียนสตรีศึกษา และผู้อานวยการพีรพงษ์ พงศ์ศาสตร์ ได้ย้ายมา ดารงตาแหน่งแทน โรงเรียนได้รับการคัดเลือกให้เข้าโครงการโรงเรียน มาตรฐานสากล ( World class standard school ) โดยมีการ พัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาที่เทียบเคียงหลักสูตรมาตรฐานสากล ปรับหลักสูตรให้มีความเป็นเลิศเฉพาะทาง (วิทย์ , คณิต , ภาษา , อาชีพ , ดนตรี , กีฬา) โดยทุกหลักสูตรปรับเนื้อหาวิชาพื้นฐานต่างๆ ให้มีความเข้มข้นเทียบเคียงมาตรฐานสากล และจัดให้มีกิจกรรม การเรียนการสอน/กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน/รายวิชาเพิ่มเติม 3 วิชา นายปรีดา ลามะนา นายพีรพงษ์ พงศ์ศาสตร์
  • 5. คือ IS 1 – การศึกษาค้นคว้าและสร้างองค์ความรู้ (Research and Knowledge Formation) IS 2 – การสื่อสารและการนาเสนอ (Communication and Presentation) IS 3 – การนาองค์ความรู้ ไปใช้บริการสังคม (Social Service Activity) มีการพัฒนาครูผู้สอน ในกลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และคอมพิวเตอร์ เพื่อใช้ภาษาอังกฤษในการจัดการเรียนการสอน นอกจากนั้นมีการ ปรับปรุงพัฒนาอาคารหอประชุมหลังเก่าที่สร้างมานานแต่โครงสร้าง โดยรวมยังมีความแข็งแรงให้เป็นศูนย์สื่อการเรียนการสอนและ ธนาคารออมสินในสถานศึกษามีการปรับปรุงสถานที่เจ้าพ่อเขียวแดงซึ่งเป็นแหล่งรวมใจของนักเรียน โรงเรียนเสลภูมิพิทยาคมให้มีความสวยงาม โอ่อ่ายิ่งขึ้น นอกจากนี้มีการปรับปรุงเปลี่ยนแปลง บ้านพักผู้อานวยการซึ่งชารุดทรุดโทรมให้เป็นศูนย์วัฒนธรรมของโรงเรียนโดยมีการระดมทุนจากทุก ภาคส่วนทั้งคณะครู นักเรียน และบุคลากรในโรงเรียนทุกคน รวมทั้งหน่วยงานรัฐและเอกชน ประชาชนทั่วไป ทาให้มีสถานที่ที่เป็นแหล่งอบรมคุณธรรม จริยธรรม รวมทั้งเป็นที่ศึกษาค้นคว้า ด้านศิลปะ วัฒนธรรม ประเพณีท้องถิ่นของนักเรียน ปีการศึกษา 2553 โรงเรียนเสลภูมิพิทยาคมได้เริ่มให้มีการจัดการเรียนการสอน GP (Gifted Program) ในระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 และในปีการศึกษา 2554 จัดให้การจัดการเรียนการสอน GP (Gifted Program) ในระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 เป็นครั้งแรก ปีการศึกษา 2556 ผู้อานวยการพีรพงษ์ พงศ์ศาสตร์ ได้เกษียณอายุราชการ และ ผู้อานวยการเสถียร เปรินทร์ ได้ย้ายมาดารงตาแหน่งแทน ได้สานต่องานเก่าที่ผู้อานวยการพีรพงษ์ พงศ์ศาสตร์ ริเริ่มไว้ คือ ทางเดินที่เชื่อมต่อระหว่างอาคารเรียน เพื่อให้นักเรียนเดินในช่วงฤดูฝน และทาให้การคมนาคมในโรงเรียนมีความรวดเร็ว ปลอดภัยและสะดวกยิ่งขึ้นจนสาเร็จลุล่วง และใน ปีการศึกษา 2556 นี้ คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐานโรงเรียนเสลภูมิพิทยาคมได้หมดวาระใน การดารงตาแหน่ง มีการสรรหาใหม่ และได้แต่งตั้งเป็นที่เรียบร้อย ซึ่งมีนายพูนศักดิ์ ปิยมาตย์ เป็น ประธาน และผู้อานวยการเสถียร เปรินทร์ เป็นกรรมการและเลขานุการ นอกจากนั้นมีการปรับปรุง โครงสร้าง การบริหารองค์กรให้มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น เนื่องจากมีรองผู้อานวยการ และคุณครูได้ย้าย เข้ามาในโรงเรียนตามนโยบายครูคืนถิ่นหลายคน รวมทั้งมีครูขอไปช่วยราชการที่อื่นด้วย ปีการศึกษา 2557 ผู้อานวยการเสถียร เปรินทร์ ได้เกษียณอายุ ราชการ และผู้อานวยการชอบ ธาระมนต์ ได้ย้ายมาดารงตาแหน่งแทน ปัจจุบัน โรงเรียนเสลภูมิพิทยาคม ซึ่งเป็นโรงเรียนมัธยมศึกษาขนาดใหญ่ พิเศษ เปิดสอนระดับมัธยมศึกษาตอนต้น (ช่วงชั้นที่ 3) และมัธยมศึกษา ตอนปลาย (ช่วงชั้นที่ 4) มีการจัดการเรียนการสอนนักเรียน GP (Gifted Program) ในระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 – 6 ระดับชั้นละ 1 ห้องเรียน มีครูประจาการ 128 คน ครูอัตราจ้าง 13 คน ครูชาวต่างชาติ 4 คน ลูกจ้างประจา 5 คน ในปีการศึกษา 2557 นี้มีจานวน 64 ห้องเรียน มีนักเรียน 2,755 คน นายเสถียร เปรินทร์ นายชอบ ธาระมนต์
  • 6. ทาเนียบผู้บริหารโรงเรียนเสลภูมิพิทยาคม ลาดับ ที่ ชื่อ – สกุล วุฒิการศึกษา ปีที่ดารงตาแหน่ง ตาแหน่ง 1 นายปราโมทย์ พงศ์ศาสตร์ ศศ.บ. 2499 - 2519 อาจารย์ใหญ่ 2 นายสุนทร พินิจธนสาร กศ.บ. 2519 - 2525 ผู้อานวยการโรงเรียน 3 นายสมบัติ จันทภูมิ ค.บ., ค.ม. 2525 - 2531 ผู้อานวยการโรงเรียน 4 ว่าที่ ร.ต.รังสรรค์ ชื่นชม กศ.บ., กศ.ม. 2531 - 2535 ผู้อานวยการโรงเรียน 5 นายวิจิตร สายธนู กศ.บ., กศ.ม. 2535 - 2542 ผู้อานวยการโรงเรียน 6 นายวัฒนา ศรีสว่าง กศ.บ. 2542 - 2544 ผู้อานวยการโรงเรียน 7 นายปรีดา ลามะนา กศ.ม.(บริหารการศึกษา) 2544 - 2551 ผู้อานวยการโรงเรียน 8 นายพีรพงษ์ พงศ์ศาสตร์ ค.ม.(บริหารการศึกษา) 2551 – 2556 ผู้อานวยการโรงเรียน 9 นายเสถียร เปรินทร์ กศ.ม.(บริหารการศึกษา) 2556 – 2557 ผู้อานวยการโรงเรียน 10 นายชอบ ธาระมนต์ กศ.ม.(บริหารการศึกษา) 2557 – ปัจจุบัน ผู้อานวยการโรงเรียน
  • 7. ประกาศโรงเรียนเสลภูมิพิทยาคม เรื่อง นโยบายปฏิบัติราชการ ตามหลักการบริหารกิจการบ้านเมือง และสังคมที่ดี (Good Governance) เพื่อให้สังคมโรงเรียนเสลภูมิพิทยาคม เป็นสังคมที่มีเกียรติ มีศักดิ์ศรี มีระเบียบวินัย อบอุ่น สวยงาม มีสันติและสงบสุข ให้ทุกคนอยู่ภายใต้กฎ กติกา ระเบียบ แนวปฏิบัติเดียวกัน บนพื้นฐาน ของความรัก ความเข้าใจ ความปรารถนาดี ความเห็นอกเห็นใจ ความเอื้ออาทร ความเสียสละ ความมีน้าใจ ความมีสัมมาคารวะและความเสมอภาค โรงเรียนเสลภูมิพิทยาคม จึงได้นาเอา ระเบียบสานักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยหลักการบริหารกิจการบ้านเมืองและสังคมที่ดี (Good Governance) พ.ศ. 2542 ประกอบกับกฎหมาย ระเบียบ คาสั่ง และแนวปฏิบัติต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง มากาหนด เป็นนโยบายการปฏิบัติราชการเพื่อเป็นการจัดระเบียบสังคม ตามเจตนารมณ์ดังกล่าวข้างต้น โดยมี หลักการและแนวคิดที่จะสร้างสังคมโรงเรียนเสลภูมิพิทยาคม ให้มีลักษณะเป็นสังคม 6 ส. สงบสุข สวยงาม ใสสะอาด มีส่วนร่วม มีจิตสานึกที่ดี และสร้างสรรค์ กล่าวคือ 1. ยึด หลักนิติธรรม สร้างสังคมให้สงบสุข โดยให้ทุกคนยึดถือและปฏิบัติตาม กฎ ระเบียบข้อบังคับประเพณีปฏิบัติ ภายใต้กฎเกณฑ์เดียวกัน ทั้งนี้เพื่อให้เกิดความเป็นธรรม ความมี ระเบียบวินัย ความมีสันติสงบสุข ความสง่างาม ความเสมอภาค และหลีกเลี่ยงความขัดแย้ง ความเอารัดเอาเปรียบ 2. ยึด หลักคุณธรรม สร้างสังคมที่สวยงาม โดยให้ทุกคนยึดถือและปฏิบัติตามหลัก คุณธรรมจริยธรรม ความเหมาะสม ความถูกต้องดีงาม ปฏิบัติดีปฏิบัติชอบ ทั้งนี้เพื่อให้เกิดความดี งาม ความสามัคคี ความอบอุ่น และเป็นแบบอย่างที่ดีแก่เด็ก เยาวชน ประชาชน และสังคมอื่น 3. ยึด หลักความโปร่งใส สร้างสังคมที่ใสสะอาด โดยให้ทุกคนปฏิบัติงานด้วยความ ซื่อสัตย์สุจริต เปิดเผยข้อมูลข่าวสารที่เป็นประโยชน์ต่อส่วนรวม สร้างความไว้วางใจและให้เกียรติซึ่ง กันและกันตามบทบาทหน้าที่ ทั้งนี้เพื่อให้เกิดความโปร่งใส และสามารถตรวจสอบได้ 4. ยึด หลักการมีส่วนร่วม สร้างสังคมมีส่วนร่วม โดยการปฏิบัติงานเป็นทีม เคารพใน ความคิดเห็นที่แตกต่าง เปิดโอกาสให้ทุกคนร่วมคิด ร่วมทา ร่วมรับผิดชอบ กล้าคิด กล้าทากล้า รับผิดชอบ ไม่มีใครคนใดคนหนึ่งที่จะเก่งเท่าพวกเราทุกคนรวมกัน (Non one is perfect but team can be) ทั้งนี้เพื่อให้เกิดความเป็นเจ้าของ มีความรักความผูกพันและจงรักภักดีต่อโรงเรียน และหมู่คณะ
  • 8. 5. ยึด หลักความรับผิดชอบ สร้างสังคมที่มีจิตสานึก โดยให้ทุกคนตระหนักในหน้าที่ มีความรับผิดชอบใส่ใจในปัญญา ยอมรับความจริง หันหน้ามาหาทางแก้ไขปัญหาและข้อบกพร่อง ร่วมกันอย่างถูกต้อง กล้าหาญและมีจริยธรรม ทั้งนี้เพื่อเกิดประสิทธิผลและประสิทธิภาพสูงสุดใน การปฏิบัติงาน 6. ยึด หลักความคุ้มค่า สร้างสังคมที่สร้างสรรค์ โดยให้ทุกฝุาย ทุกกลุ่มสาระ ทุกงาน บริหารจัดการทรัพยากรที่มีอยู่อย่างจากัดให้เกิดประโยชน์สูงสุดแก่ส่วนรวมทั้งนี้เพื่อให้มีทรัพยากรใน การบริหารใช้อย่างเพียงพอและเหมาะสมที่จะสร้างสังคมโรงเรียนให้มีคุณภาพ เพื่อให้เป็นตามเจตนารมณ์ หลักการและแนวคิดดังกล่าว โรงเรียนเสลภูมิพิทยาคม ได้กาหนดนโยบายการปฏิบัติราชการให้บุคลากรทุกคนได้พึงยึดถือปฏิบัติเป็นแนวเดียวกัน ดังมี รายละเอียดท้ายประกาศดังนี้ จึงประกาศนโยบายนี้ให้ทราบและถือปฏิบัติร่วมกัน ทั้งนี้ ตั้งแต่วันที่ 21 มกราคม พ.ศ. 2545 เป็นต้นไป ประกาศ ณ วันที่ 18 มกราคม พ.ศ. 2545 (ลงชื่อ) ปรีดา ลามะนา ( นายปรีดา ลามะนา ) ผู้อานวยการโรงเรียนเสลภูมิพิทยาคม
  • 9. ผังมโนทัศน์ แสดงกรอบแนวคิดของแผนหลังเขียวพัฒนา ปี 2554 - 2558 มฐ.10 มีภาวะผู้นา/ความสามารถ มฐ.11 บริหารเป็นระบบครบวงจร มฐ.1 มีคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยมที่ดี มฐ.8 มีคุณวุฒิ/ความรู้ ความสามารถ มฐ.9 จัดการเรียนการสอน มฐ.4 มีความสามารถในการคิด เพียงพอ มฐ.12 เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ มฐ.5 มีความรู้และทักษะที่จาเป็น ตามหลักสูตร มฐ.6 มีทักษะแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง มฐ.7 มีทักษะในการทางาน รักการทางาน มฐ.13 เหมาะสม เอื้อต่อการรีเยนรู้ มฐ.2 มีสุขนิสัย สุขภาพกายและสุขภาพ จิตที่ดี มฐ.3 มีลักษณะนิสัยด้านศิลปะ ดนตรี กีฬา มฐ.15 เป็นอุทยานการศึกษา/โรงเรียนรีสอร์ท มฐ.14 ความสัมพันธ์และความร่วมมือกับชุมชน วิสัยทัศน์ โรงเรียนเสลภูมิพิทยาคม เป็นโรงเรียนชั้นนาที่มีคุณภาพ โดยยกระดับ การจัดการเรียนการสอนสู่มาตรฐาน เพื่อให้ผู้เรียนเป็นพลโลกบนพื้นฐานของความเป็นไทย มาตรฐานการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน ด้านปัจจัย (INPUT) () ด้านกระบวนการ (PROCESS) () ด้านผลผลิต (OUTPUT) () เป็นคนดี () ผู้บริหาร () กระบวนการบริหารจัดการ () ครู () กระบวนการเรียนการสอน () เป็นคนเก่ง () เป็นคนที่มีความสุข () หลักสูตร สื่อการเรียนการสอน เทคโนโลยีสารสนเทศ แหล่งเรียนรู้ อาคารสถานที่ สิ่งอานวยความสะดวก บรรยากาศสิ่งแวดล้อม ชุมชน
  • 10. วิสัยทัศน์ (Vission) โรงเรียนเสลภูมิพิทยาคม เป็นโรงเรียนชั้นนาที่มีคุณภาพ โดยยกระดับการจัดการเรียนการสอน สู่มาตรฐานสากล เพื่อให้นักเรียนเป็นพลโลกบนพื้นฐานของความเป็นไทย พันธกิจ (Mission) มุ่งมั่นพัฒนาโรงเรียน ให้มีการจัดการเรียนการสอนเทียบเคียงมาตรฐานสากล โดยการบริหาร จัดการเชิงระบบเพื่อพัฒนาผู้เรียนมีศักยภาพเป็นพลโลก เป้าหมาย (Goal) 1. พัฒนาผู้เรียนให้มีความรู้ ความสามารถทางวิชาการอยู่ในระดับดี (เป็นเลิศวิชาการ) 2. พัฒนาผู้เรียนให้มีทักษะการสื่อสาร ปฏิสัมพันธ์กับผู้อื่นและแลกเปลี่ยนเรียนรู้กับ ชาวต่างประเทศได้ (สื่อสารสองภาษา) 3. พัฒนาผู้เรียนให้มีความคิดสร้างสรรค์ กล้าเผชิญความเสี่ยง วางแผนการจัดการสู่ เปูาหมายที่ตั้งไว้ได้ (ล้าหน้าทางความคิด) 4. พัฒนาผู้เรียนให้สามารถประดิษฐ์คิดค้น ออกแบบโดยใช้เครื่องมือและเทคโนโลยีที่ เหมาะสม (ผลิตงานอย่างสร้างสรรค์) 5. พัฒนาผู้เรียนให้มีความรู้ ความเข้าใจ ยอมรับความหลากหลายทางเชื้อชาติ สังคม วัฒนธรรม ขนบธรรมเนียม ประเพณี สภาพแวดล้อม เศรษฐกิจ (ร่วมกันรับผิดชอบสังคมโลก) อัตลักษณ์ของสถานศึกษา ผู้เรียนมีความเป็นเลิศในคุณธรรม จริยธรรมด้านการประหยัดและออม เอกลักษณ์ของสถานศึกษา ทุกวันเสาร์ห้วงเข้าพรรษา เข้าวัดพัฒนาทักษะชีวิต ชาระจิตด้วยธรรมะ
  • 11. ยุทธศาสตร์และนโยบาย ในการพัฒนาโรงเรียนเสลภูมิพิทยาคม ปี 2556 – 2558 ยุทธศาสตร์ที่ 1. การดูแลช่วยเหลือ ปลูกฝัง สร้างเสริมให้นักเรียนเป็นคนดี นโยบาย : พัฒนาระบบการดูแลช่วยเหลือเอาใจใส่ ให้ความรัก ความอบอุ่นนักเรียนอย่าง ใกล้ชิด โดยการรู้จักนักเรียนเป็นรายบุคคล ด้วยวิธีการและเครื่องมือที่หลากหลาย เช่น แบบประเมินพฤติกรรม (SDQ) แบบประเมินความฉลาดทางอารมณ์ (EQ) การเยี่ยมบ้าน การคัด กรองนักเรียนออกเป็นกลุ่มปกติ และกลุ่มเสี่ยง การส่งเสริมนักเรียนกลุ่มปกติ ทั้งการจัดกิจกรรม ต่างๆ การปูองกัน การแก้ปัญหากลุ่มเสี่ยงและการส่งต่อนักเรียนเพื่อขอความร่วมมือ ขอความ ช่วยเหลือไปยังผู้ที่เกี่ยวข้องทั้งการส่งต่อภายในและการส่งต่อภายนอกโรงเรียน จัดระบบ กวดขัน สร้างเสริม ระเบียบวินัยนักเรียน ในเรื่อง การตรงต่อเวลา การเคารพ กฎกติกา ของโรงเรียนและสังคม การแต่งกาย จัดการอบรม ปลูกฝังความประพฤติ กริยา มารยาท สมบัติผู้ดี ความเป็นประชาธิปไตย ความเสียสละและเห็นประโยชน์ส่วนรวม ปลูกฝัง เสริมสร้างคุณธรรม จริยธรรม และค่านิยมอันพึงประสงค์ให้นักเรียนได้ชื่อว่าเป็นคนดี จนเป็นที่ ไว้วางใจและได้รับการยกย่องชมเชยจากผู้ปกครองและชุมชน ว่าเป็น คนดี การนานโยบายสู่การปฏิบัติ : ระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน ************************ ยุทธศาสตร์ที่ 2 การจัดการเรียนการสอน ส่งเสริมให้นักเรียนเป็นคนเก่ง นโยบาย : จัดกิจกรรมการเรียนการสอน มุ่งให้นักเรียนเป็นบุคคลแห่งการเรียนรู้ มีความรู้ ทักษะ ที่จาเป็นตามหลักสูตร มีความสามารถในการคิด วิเคราะห์ มีวิจารณญาณ คิดสร้างสรรค์ ไตร่ตรองและ มีวิสัยทัศน์ มีทักษะในการแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง รักการเรียนรู้ และมีการพัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่อง จัดกิจกรรมสอนซ่อมเสริมสาหรับนักเรียนที่มีปัญหาด้านการ เรียนให้มีอัตราการติด 0, ร, มส. ลดลง สอนเสริมเพื่อยกระดับผลการเรียนเฉลี่ย (GPA) ของ นักเรียนให้สูงขึ้น และให้สามารถเรียนต่อในสถาบันอุดมศึกษาในสัดส่วนที่สูงขึ้น นอกจากนั้นจะ สนับสนุน ส่งเสริมให้นักเรียนได้เข้าประกวดแข่งขัน แสดงทักษะความสามารถทางวิชาการในระดับ ต่างๆ เพื่อสร้างความเป็นเลิศทางวิชาการ ตลอดจนมีทักษะในการทางาน รักการทางาน มีเจตคติที่ดีต่ออาชีพสุจริตและสามารถทางานร่วมกับผู้อื่นได้ ให้นักเรียนได้ชื่อว่าเป็น คนเก่ง การนานโยบายสู่การปฏิบัติ : ระบบการเรียนรู้
  • 12. ยุทธศาสตร์ที่ 3 ส่งเสริม สนับสนุนให้ผู้เรียนมีสุขนิสัย สุขภาพกายและสุขภาพจิตที่ดี นโยบาย : จัดกิจกรรมที่มุ่งเน้นให้นักเรียนรู้จักดูแลสุขภาพ สร้างสุขนิสัยที่ดี ปฏิบัติ กิจวัตรประจาวันได้เองอย่างถูกต้องเหมาะสมตามวัย และสนับสนุนให้มีการออกกาลังกายอย่าง สม่าเสมอ รู้จักเลือกรับประทานอาหารที่มีคุณค่า ที่ส่งผลให้นักเรียนมีน้าหนัก ส่วนสูง และมี สมรรถภาพทางกายตามเกณฑ์ สนับสนุนการจัดกิจกรรมให้นักเรียน ได้รู้เข้าใจเกี่ยวกับโทษของสิ่ง เสพติด มอมเมา หลีกเลี่ยงสภาวะที่เสี่ยงต่อความรุนแรง โรคภัยและอุบัติเหตุรวมทั้งปัญหาทางเพศ รู้จักการปฏิเสธ และชักชวนเพื่อน ไม่ให้ยุ่งเกี่ยวกับสารเสพติดทุกประเภท ให้นักเรียนมีจิตสานึก แห่งความปลอดภัย ระมัดระวังตนในการใช้ชีวิตประจาวัน ให้รู้จักรักนวลสงวนตัว และมีความมั่นใจ กล้าแสดงออกในทางที่ถูกต้องมีสุนทรียภาพ และลักษณะนิสัย ด้านศิลปะ ดนตรี และกีฬาเข้าร่วม กิจกรรมศิลปวัฒนธรรมและประเพณีที่ดีงามของท้องถิ่นและของไทย ซึ่งนักเรียนสามารถปรับตนและ ดารงชีวิตอยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุข การนานโยบายสู่การปฏิบัติ : ระบบกิจกรรมนักเรียน ************************ ยุทธศาสตร์ที่ 4 การพัฒนาระบบบริหารและการจัดการ นโยบาย : ปรับปรุงโครงสร้างการบริหารโรงเรียนให้ชัดเจน ทันสมัย ครอบคลุมภารกิจ และพิถีพิถันในการจัดบุคลากรเข้าปฏิบัติงาน ให้เกิดความสอดคล้องระหว่าง ลักษณะงาน และ ลักษณะคน โดยคานึงถึงภารกิจของหน่วยงาน และความรู้ ความสามารถ ความถนัด ความสนใจ ทักษะ ประสบการณ์ของบุคลากร เปิดโอกาสจูงใจ และกระจายความรับผิดชอบให้บุคลากรเข้ามี ส่วนร่วมในการบริหารโรงเรียนให้เต็มศักยภาพและเกิดประโยชน์สูงสุด พัฒนาระบบการบริหารการ จัดการให้มีประสิทธิภาพ ตามหลักการธรรมาธิปไตย (Good Governance) และใช้วงจร คุณภาพ (Quality Cycle : P-D-C-A) มาสร้างวัฒนธรรมแห่งคุณภาพในการปฏิบัติงานของ โรงเรียนอย่างเป็นระบบครบวงจรและต่อเนื่องด้วยการร่วมคิด (Plan) ร่วมทา (Do) ร่วมตรวจสอบ นิเทศติดตามประเมินผล (Check) และร่วมปรับปรุงแก้ไขพัฒนา (Adjust) จนมีความเป็นเลิศ ทางการบริหารที่สามารถเป็นแบบอย่างได้ การนานโยบายสู่การปฏิบัติ : ระบบบริหารจัดการ ************************
  • 13. ยุทธศาสตร์ที่ 5 การปฏิรูปการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ นโยบาย : ปฏิรูปการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ (Child Center) จัดการเรียนการ สอนให้มีความหลากหลายเหมาะสมกับธรรมชาติของผู้เรียน พัฒนาหลักสูตรเทคนิค และ กระบวนการเรียนการสอนที่เน้นการบูรณาการ ให้ผู้เรียนได้ศึกษาค้นคว้า คิดวิเคราะห์ และสร้าง องค์ความรู้ด้วยตนเองพัฒนาการจัดกิจกรรม สร้างบรรยากาศ คิดวิเคราะห์ และสร้างองค์ความรู้ ด้วยตนเอง พัฒนาการจัดกิจกรรม สร้างบรรยากาศทางวิชาการ พัฒนาการวัดผลประเมินผลตาม สภาพจริง (Authentic Assessment) พัฒนาระบบนิเทศภายใน จัดกิจกรรมสอนซ่อมเสริม และคลีนิคสอนเสริมให้นักเรียนติด 0, ร, มส. น้อยลง ยกระดับผลการเรียน เฉลี่ย (GPA) ของ นักเรียนให้สูงขึ้น ส่งเสริมการเรียนต่อให้มากขึ้น ส่งเสริมการวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนรู้ (Action Research) ตลอดจน พัฒนาระบบงานหมวดวิชาให้มีศักยภาพเสมือนโรงเรียนเล็กในโรงเรียนใหญ่ (School in School) เพื่อสร้างความเข้มแข็งในการบริหารและความเข้มข้นทางวิชาการ โดยมี เปูาหมายให้แต่ละโรงเรียนเล็กเป็น SMILE School ให้โรงเรียนเป็นโรงเรียนแกนนาในการปฏิรูป การเรียนรู้ จนมีความเป็นเลิศและเป็นผู้นาทางวิชาการ การนานโยบายสู่การปฏิบัติ : ระบบการเรียนการสอน ************************ ยุทธศาสตร์ที่ 6 การสร้างภาวะผู้นาและพัฒนาทีมงาน นโยบาย : เร่งรัดพัฒนาคณะผู้บริหารโรงเรียน หัวหน้าฝุายหัวหน้ากลุ่มสาระ หัวหน้างาน และบุคลากรตามโครงการบริหาร ให้ยึดหลักธรรมาธิบาลในการบริหารงานที่รับผิดชอบให้มีความ สุจริต ยุติธรรม ใช้ระบบคุณธรรม การระดมการมีส่วนร่วมในการบริหารและปฏิบัติตาม จรรยาบรรณวิชาชีพครู สามารถแสดงทิศทางการพัฒนาการศึกษา ของสถานศึกษาที่ควรจะเป็นใน อนาคตอีก 3-5 ปี ข้างหน้าได้อย่างชัดเจนและเหมาะสม มีความคิดริเริ่มแนวทางในการบริหารที่ ท้าทายกับการเปลี่ยนแปลงในยุคการปฏิรูปการศึกษา มีมนุษย์สัมพันธ์ในการปฏิบัติงานเป็นที่ยอมรับ ศรัทธาของผู้ที่เกี่ยวข้อง การนานโยบายสู่การปฏิบัติ : ระบบการสร้างภาวะผู้นาและพัฒนาทีมงาน (บริหาร) ************************
  • 14. ยุทธศาสตร์ที่ 7. การส่งเสริมและพัฒนาครูให้มีลักษณะที่เหมาะสม นโยบาย : ส่งเสริมและพัฒนาครู ให้เป็นผู้ที่มีคุณลักษณะที่เหมาะสมมีความมุ่งมั่นและ อุทิศตนในการสอนและพัฒนาผู้เรียน มีปฏิสัมพันธ์ที่ดีกับผู้เรียน ผู้ปกครองและชุมชน ให้ครูได้ แสวงหาความรู้และเทคนิควิธีการใหม่ๆ เป็นประจา มีความสามารถในการจัดการเรียนการสอน อย่างมีประสิทธิภาพเข้าใจรู้เปูาหมายของการจัดการศึกษา และหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน ให้ครูสามารถวิเคราะห์ศักยภาพของผู้เรียนและเข้าใจผู้เรียนเป็นรายบุคคล ยกระดับมาตรฐาน วิชาชีพครู สามารถเลื่อนระดับปรับตาแหน่งเป็นครู ชานาญการ ชานาญการพิเศษ ครูเชี่ยวชาญ และครูเชี่ยวชาญพิเศษ สนับสนุนครูให้สามารถใช้เทคโนโลยีในการพัฒนาการเรียนรู้ของตนเองและ ผู้เรียน มีการประเมินผลการเรียนการสอนที่สอดคล้องกับสภาพการเรียนรู้ที่จัดให้ผู้เรียน และนาผล การประเมินมาปรับเปลี่ยนการเรียนการสอน มีการวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนรู้ของผู้เรียนได้ การนานโยบายสู่การปฏิบัติ : ระบบการพัฒนาครูอาจารย์ ************************ ยุทธศาสตร์ที่ 8. การพัฒนาหลักสูตร สื่อ นวัตกรรมและเทคโนโลยี นโยบาย : พัฒนา และเป็นแกนนาในการใช้หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2544 โดยจัดทาหลักสูตรและเนื้อหาสาระการเรียนรู้ระดับสากล ระดับชาติ และระดับท้องถิ่นที่เหมาะสม สอดคล้องกับหลักสูตรแกนกลางและความต้องการของผู้เรียนและท้องถิ่น มีการจัดสภาพแวดล้อม ในบริการเทคโนโลยีสารสนเทศทุกรูปแบบที่เอื้อต่อการเรียนรู้ด้วยตนเองและการเรียนรู้แบบมีส่วน ร่วม มีสื่อการเรียนการสอนที่เหมาะสมและเอื้อต่อการเรียนรู้ ทั้งสื่อธรรมชาติ สื่อเทคโนโลยีและ สารสนเทศรวมทั้งสื่อภูมิปัญญาท้องถิ่น สนับสนุนส่งเสริมให้ผู้เรียนได้สืบค้นความรู้ทางอินเตอร์เน็ต (Internet) จัดและใช้แหล่งเรียนรู้ทั้งภายในและภายนอกสถานศึกษาพัฒนาห้องสมุดให้เป็น ศูนย์ วิทยบริการ (Resource Center) ที่สมบูรณ์ และทันสมัย การนานโยบายสู่การปฏิบัติ : ระบบการพัฒนาหลักสูตร สื่อ และเทคโนโลยี ************************
  • 15. ยุทธศาสตร์ที่ 9. การพัฒนาอาคารสถานที่ บรรยากาศและสิ่งแวดล้อม นโยบาย : พัฒนาอาคารสถานที่ บรรยากาศและสิ่งแวดล้อมให้เป็นโรงเรียนรีสอร์ท (Resort School) หรือ อุทยานการศึกษา โดยใช้กิจกรรม 5 ส. และหลักการมีส่วนร่วมจากทุก ฝุาย พัฒนาอาคารเรียน ห้องเรียน ห้องปฏิบัติการ พื้นที่สีเขียว และสิ่งอานวยความสะดวก เพียงพอ อยู่ในสภาพที่ใช้การได้ดี จัดระบบสาธารณูปโภค ภูมิทัศน์ต่างๆ ให้มีความเป็นระเบียบ เรียบร้อย มีความเป็นปัจจุบัน สะอาด สะดวก สบาย ร่มรื่น สวยงามมีชีวิต ชีวา เอื้ออานวยต่อ การเรียนรู้ และการปลูกฝังคุณธรรม จริยธรรม ให้นักเรียน ครู และผู้ปกครองเข้ามาโรงเรียน อย่างมีความสุข รวมทั้งสามารถเป็นสวนสาธารณะ สถานที่พักผ่อนหย่อนใจ เล่นกีฬา ออกกาลังกาย ใช้ประโยชน์และให้บริการด้านต่างๆ แก่ชุมชนได้อย่างเต็มที่ การนานโยบายสู่การปฏิบัติ : ระบบการพัฒนาอาคารสถานที่และสิ่งแวดล้อม ************************ ยุทธศาสตร์ที่ 10 การพัฒนาความสัมพันธ์กับชุมชนและระดมทรัพยากร นโยบาย : สนับสนุนส่งเสริมให้มีระบบและกลไกในการส่งเสริมความสัมพันธ์และความ ร่วมมือกับชุมชนในการพัฒนาการศึกษา โดยให้มีผู้รับผิดชอบหรือจัดหน่วยงานรับผิดชอบ ในการ ส่งเสริมความสัมพันธ์อย่างชัดเจน มีการจัดแผนงานระเบียบ การประเมินระบบและกลไกแล้วนาผล ประเมินมาใช้ตัดสิน และปรับปรุงการสร้างความสัมพันธ์ จัดให้มีกิจกรรมประชาสัมพันธ์ เพื่อสร้างความเข้าใจระหว่างบุคคลในสถานศึกษาและชุมชนเห็นความสาคัญในการจัดการศึกษา ร่วมกันรวมทั้งจัดกิจกรรมให้บริการร่วมกิจกรรมกับชุมชน หรือให้ชุมชนมีส่วนร่วมในกิจกรรมของ โรงเรียน จัดสร้างเครือข่ายความสัมพันธ์กับชุมชน ให้ใช้โรงเรียนเป็นฐานในการบริหาร (School Based Management : SBM) มีการระดมสรรพกาลังทุกรูปแบบ จากคณะกรรมการ สถานศึกษาขั้นพื้นฐาน สมาคมผู้ปกครองและครู ชมรมศิษย์เก่าผู้ปกครอง ชุมชน หน่วยงาน องค์กรจากภาครัฐและเอกชน องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นภูมิปัญญาท้องถิ่น การนานโยบายสู่การปฏิบัติ : ระบบชุมชนสัมพันธ์ ************************
  • 16. สัญลักษณ์ของโรงเรียน รูปคบเพลิงมีรัศมีแผ่ครอบคลุมคบเพลิงและอักษรย่อ ส.ภ.ค. และมีชื่อ “ เสลภูมิพิทยาคม ” อยู่ข้างล่าง ความหมาย : โรงเรียนเสลภูมิพิทยาคม เป็นแหล่งศึกษา แหล่งความรู้ ที่มีชื่อเสียงระบือไกล ปรัชญาโรงเรียน ปญฺญา ชีวิตสฺส ปชฺโชโต ปัญญา คือ แสงสว่างแห่งชีวิต คาขวัญโรงเรียน “ความรู้ดี กีฬาเด่น เน้นคุณธรรม นาชุมชน” คติพจน์ “ค่าของคน อยู่ที่ผลของงาน” ต้นไม้ประจาโรงเรียน “ต้นหนามคอม” สีประจาโรงเรียน “เขียว – แดง” สีเขียว หมายถึง ความสดชื่น เบิกบาน สีแดง หมายถึง ความกล้าหาญ อดทน พระพุทธรูปประจาโรงเรียน “พระพุทธฐิติวิริโย”
  • 17. หัวหน้ากลุ่มงาน ตาแหน่งตามโครงสร้างการบริหารทั่วไป บุคลากรที่รับผิดชอบ 1. กลุ่มบริหารงบประมาณและทรัพย์สิน 1.1 หัวหน้ากลุ่มงานธุรการ 1.2 หัวหน้ากลุ่มงานนโยบายและแผน 1.3 หัวหน้างานงบประมาณและสินทรัพย์ 1.1 นางกัลยาณี แก้วพิกุล 1.2 นายพิพัฒน์ อักษรกาญจน์ 1.3 นางเขมิกา โคตรเพชร 2. กลุ่มบริหารงานวิชาการ 2.1 หัวหน้ากลุ่มงานหลักสูตรและประเมินผล 2.2 หัวหน้ากลุ่มงานพัฒนาคุณภาพการศึกษา 2.3 หัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้ 2.1 นายปราณี ปฏิพันธ์ 2.2 นางสมฤทัย กาหอม 2.3 (รายนามอยู่หน้าถัดไป) 3. กลุ่มบริหารงานกิจกการนักเรียน 3.1 หัวหน้ากลุ่มงานปกครองและระเบียบวินัย 3.2 หัวหน้ากลุ่มงานดูแลช่วยเหลือนักเรีย 3.3 หัวหน้ากลุ่มงานชุมชนสัมพันธ์ 3.1 นายยิ่งศักดิ์ สุทธิจันทร์ 3.2 นายศรีสุวรรณ์ สาราญจิตร 3.3 นายธีรวัฒน์ สายเพ็ชร 4. กลุ่มบริหารงานทั่วไป 4.1 หัวหน้ากลุ่มงานอาคารสถานที่ 4.2 หัวหน้ากลุ่มงานสวัสดิการ 4.3 หัวหน้ากลุ่มงานวิทยบริการ 4.1 นายกุลดิลก พลสาเดช 4.2 นายไพศาล อิสระ 4.3 นายเกียรติศักดิ์ ศรีเรือง
  • 18. หัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้ หัวหน้ากลุ่มสาระ รองหัวหน้ากลุ่มสาระ 1. ภาษาไทย นางบรรเพ็ญ ทองบ่อ นายประสิทธิ์ แย้มศรี นางอุดมทรัพย์ ไชยขาว 2. คณิตศาสตร์ นางสาวธารินี อุดมรัตน์ นางทัศนีย์ เส็งคุ้มหอม นางสาวสุกัญญา กลางสุข 3. วิทยาศาสตร์ นายพรชัย กาหอม นายปัญญา น่าบัณฑิต นายธีรดนย์ โพธิคา 4. สังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม นางวิบูลลักษณ์ นามบุญลือ นางพิราวรรณ น่าบัณฑิต นางสิรภัทร ขจรสมบัติ 5. สุขศึกษาและพลศึกษา นายมงคล ส่งศรีโรจน์ นางสุมาลี ธิมาชัย 6. ศิลปะ นายประภาส โพธิสาขา นายวิทยา สุทธิจันทร์ 7. การงานอาชีพและเทคโนโลยี นายศิริพงษ์ โพธิ์วันนา นายเฉลิมศักดิ์ สุนทรารักษ์ นางขาจิตร มณีนิล 8. ภาษาต่างประเทศ นางวีรยา ศาลารัตน์ นางสาวกรัญยวันณ์ ใค่นุ่นสิงห์ นางอุดมลักษณ์ ทองภู 9. กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน นายพีระศักดิ์ มณีฉาย นายภูมิสุวรรณ์ บริบูรณ์ นายศรีสุวรรณ์ สาราญจิตร
  • 19. วิชาเหมือนสินค้า วิชาเหมือนสินค้า อันมีค่าอยู่เมืองไกล ต้องยากลาบากไป จึงจะได้สินค้ามา จงตั้งเอากายเจ้า เป็นสาเภาอันโสภา ความเพียรเป็นโยธา แขนซ้ายขวาเป็นเสาใบ นิ้วเป็นสายระยาง สองเท้าต่างสมอใหญ่ ปากเป็นนายงานไป อัชฌาสัยเป็นเสบียง สติเป็นหางเสือ ถือท้ายเรือไว้ให้เที่ยง ถือไว้อย่าให้เอียง ตัดแล่นเลี่ยงข้ามคงคา ปัญญาเป็นกล้องแก้ว ส่องดูแถวแนวหินผา เจ้าจงเอาหูตา เป็นล้าต้าฟังดูลม ขี้เกียจคือปลาร้าย จะทาลายให้เรือจม เอาใจเป็นปืนคม คือวิชาอันพิสมัย จงหมั่นมั่นหมายใจ อย่าได้คร้านการวิชา จากหนังสือดรุณศึกษา เล่ม ๓