SlideShare a Scribd company logo
ทฤษฎีการออกแบบเว็บไซต์
จัดทาโดย
นางสาวพัชราพร ภูสมตา 533410080519
นางสาวรุ่งรัตน์ รมย์รื่น 533410080525
นางสาวศุภรัตน์ บุญชู 533410080528
นายศักดา น้อยศรี 533410080546
หมู่เรียนที่ 5 Group 6 ชั้นปีที่ 4
เสนอ
อาจารย์ปวริส สารมะโน
สาขาคอมพิวเตอร์ศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฎมหาสารคาม
คานา
หลักการออกเว็บไซต์ เป็นหนังสือที่จัดทาขึ้น เพื่อให้ศึกษา
หลักการ ทฤษฎี ต่างๆ เกี่ยวกับการออกแบบเว็บไซต์ได้เป็นอย่างดี
และเมื่ออ่านหนังสือเล่มนี้แล้วสามารถออกแบบเว็บไซต์ให้สวยงานได้
หนังสือเล่มนี้ให้ข้อมูลเกี่ยวกับ แนวคิดและทฤษฎีเกี่ยวกับการ
สื่อสาร การประชาสัมพันธ์ของเว็บไซต์ ความหมายของเว็บไซต์ การ
ออกแบบและการพัฒนาเว็บไซต์ ขั้นตอนการพัฒนาเว็บไซต์
ส่วนประกอบของหน้าเว็บไซต์ โดยผู้จัดทาได้เรียบเรียงเป็นลาดับดับ
ขั้นตอน ซึ่งง่ายต่อการศึกษา การเข้าใจ และการจดจาเป็นอย่างดี
ผู้จัดทาได้หวังเป็นอย่างยิ่งว่าหนังสือหลักการออกแบบ
เว็บไซต์ นี้จะเป็นประโยชน์ต่อผู้เรียน ผู้สอน สาหรับนาไปใช้ ในการ
เรียนรู้และศึกษาด้วยตนเอง ขอขอบคุณผู้เจ้าของข้อมูลทั้งด้านหนังสือ
คู่มือ และเว็บไซท์ที่มีส่วนช่วย ในการจัดทาทุกท่านมา ณ โอกาสนี้
คณะผู้จัดทา
สารบัญ
เรื่อง หน้า
บทที่ 1 แนวคิดและทฤษฎีเกี่ยวกับการสื่อสาร
แนวคิดและทฤษฎีเกี่ยวกับการสื่อสารของ 2
แบลโลว์ กิลสันและโอดิออร์น
แนวคิดและทฤษฎีเกี่ยวกับการสื่อสารของ 2
โรเจอร์
แนวคิดและทฤษฎีเกี่ยวกับการสื่อสารขอ 2
งชรามม์
แนวคิดและทฤษฎีเกี่ยวกับผลของการสื่อสาร 4
และความพึงพอใจของการสื่อสาร
บทที่ 2 ทฤษฎีการประชาสัมพันธ์
ความสาคัญและความหมายของ 7
การประชาสัมพันธ์
แนวคิดทฤษฎีการประชาสัมพันธ์ 8
ของ วิรัช ลภิรัตนกุล
แนวคิดทฤษฎีการประชาสัมพันธ์ 8
ของ ณัฐนันท์ ศิริเจริญ
ศาสตร์และศิลป์ของการประชาสัมพันธ์ 9
การประชาสัมพันธ์ที่เป็นศิลปะ 10
สารบัญ
เรื่อง หน้า
หลักการประชาสัมพันธ์ 11
สื่อและการสื่อสารเพื่อการประชาสัมพันธ์ 13
ที่มีประสิทธิภาพ
บทที่ 3 เว็บไซต์
ความหมายของเว็บไซต์ (Web Site) 15
ความสาคัญของเว็บไซต์ 17
ประโยชน์ของเว็บไซต์ 18
บทที่ 4 การออกแบบและการพัฒนาเว็บไซต์
ความสาคัญของการออกแบบเว็บไซต์ 20
การออกแบบโครงสร้างหน้าตาของเว็บไซต์ 20
ขั้นตอนการออกแบบเว็บไซต์ 21
ขั้นตอนการพัฒนาเว็บไซต์ 24
บทที่ 5 ส่วนประกอบของหน้าเว็บไซต์
ส่วนประกอบของเว็บไซต์ที่ดี 31
บทที่ 6 ทฤษฎีสีกับการออกแบบเว็บไซต์
ทฤษฎีสีกับการออกแบบเว็บไซต์ 35
ความรู้สึกที่คนส่วนใหญ่มีต่อสีต่างๆ 38
บทที่ 1
แนวคิดและทฤษฎีเกี่ยวกับการสื่อสาร
การสื่อสารนี้ เกิดจากแนวความคิด ที่ว่าการสื่อสาร เป็น
กระบวนการแลกเปลี่ยน โดยมีสาระสาคัญที่ว่าผู้สื่อสารทาหน้าที่ทั้ง
ผู้ส่งและผู้รับข่าว ในขณะเดียวกันไม อาจระบุว่า การสื่อสารเริ่มต้น
และสิ้นสุดที่จุดใด เพราะถือว่าการสื่อสารมีลักษณะเป็นวงกลม และ
ไมมีที่สิ้นสุด ผู้รับข่าวและผู้ส่งข่าวนอก จากจะทาหน้ าที่ทั้งการ
เข้ารหัสและ ถอดรหัส แล้วยังเป็น ผู้ก่อให้เกิดข่าวสาร และกาหนด
พฤติกรรม
ภาพที่ 1 กระบวนการสื่อสาร
แนวคิดและทฤษฎีเกี่ยวกับการสื่อสารของ แบลโลว์ กิลสัน และโอดิ
ออร์น
แบลโลว์ กิลสันและโอดิออร น (Bollow, Gilson and
Odiorne, 1962) ได้กล่าวว่า การติดต่อสื่อสารในองค์การ หมายถึง
แลกเปลี่ยนคาพูด อักษร สัญลักษณ์ หรือข่าวสาร เพื่อให้สมาชิกใน
องค์การหนึ่งได้เข้าใจความหมาย และสามารถเข้าใจฝ่ายอื่นได้ ซึ่งถ้า
พิจารณาในทางการ บริหารองค์การ อาจจะกล่าวให้ชัดเจนขึ้นได วา
การติดต่อสื่อสาร คือ การกระจายหรือสื่อความหมายเกี่ยวกับ
นโยบาย และคาสั่ง ลงไปยัง เบื้องล่าง พรอมกับ รับข้อเสนอ แนะ
ความเห็นและความรู้สึกต่าง ๆ กลับมา
แนวคิดและทฤษฎีเกี่ยวกับการสื่อสารของ โรเจอร์
โรเจอร์ (Rogers, 1976) ได้ให้ความหมายของกา ร
ติดต่อสื่อสารว่าเป็นการถ่ายทอดและแลกเปลี่ยนข้อเท็จจริง ความรู้สึก
ความคิด หรือการกระทาต่าง ๆ โดยมีเจตนาที่จะเปลี่ยนพฤติกรรม
ของบุคคล พฤติกรรมในที่นี้ หมายถึง การเปลี่ยนความรู้ ความเข้าใจ
ทัศนคติ และพฤติกรรมที่แสดงออกโดยเปิดเผย
แนวคิดและทฤษฎีเกี่ยวกับการสื่อสารของ ชรามม์
ชรามม์ (Schramm, 1973) ได้พยายามอธิบายถึง กระบวน
การติดต่อสื่อสารเป็นวงจรในการแลกเปลี่ยนข่าวสารระหว่างบุคคล
2 คน ซึ่งกระบวนการสื่อสารจะเริ่มตั้งแต่การแปลความหมายการ
ถ่ายทอดข่าวสารซึ่งกันและกันเป็นกระบวนการที่เกิดขึ้นซ้ากันไปเรื่อย
จนกว่าทั้งสองฝ่ายจะเข้าใจซึ่งกันและกัน
สรุป ไม่มีคาจากัดความของการสื่อสารอย่างใดอย่างหนึ่งที่จะ
นาไปใช้กับพฤติกรรมการสื่อสารได้ทุกรูปแบบ แต่ละคาจากัดความจะ
มีวัตถุประสงค์ และผลที่เกิดขึ้นแตกต่างกัน จึงทาให้ความหมายของ
การสื่อสารกว้าง และนาไปใช้ในสถานการณ์ต่าง ๆ การพิจารณา
ความหมายของการสื่อสารจึงต้องเลือกใช้ให้เหมาะสมกับกิจกรรม
สื่อสารเป็นเรื่อง ๆ ไป ดังนั้นการสื่อสารต้องเกี่ยวกับองค์ประกอบ
สาคัญ ๆ 3 ประการ อันได้แก่ ผู้ส่งข่าวสาร (Sender) ผู้รับข่าวสาร
(Receiver) และตัวข่าวสาร (Message) เมื่อนามารวมกันจะเรียกว่า
เป็นการสื่อสาร
การสื่อสารเป็นกิจกรรมที่ไม่อยู่นิ่งมีการเปลี่ยนแปลงอยู่
ตลอดเวลา และมีความยุ่งยาก สลับซับซ้อน การเรียนรู้รูปแบบต่าง ๆ
ของการสื่อสารนั้นมีเหตุผล 4 ประการ คือ
1. ช่วยให้มีโอกาสที่จะเลือกกระบวนการของการสื่อสาร และ
ปัจจัยต่าง ๆ เพื่อนาไปใช้กับกิจกรรมทางการสื่อสารที่เกิดขึ้นจริง ทั้งนี้
เพราะว่าไม่มีรูปแบบการสื่อสารอย่างใดอย่างหนึ่งเพียงชนิดเดียวที่
สามารถนาเอาไปใช้กับข้อมูลต่าง ๆ ทางการสื่อสารได้โดยสมบูรณ์
2. ช่วยให้ค้นพบความจริงใหม่ ๆ เกี่ยวกับการสื่อสาร เพราะ
การสื่อสารแต่ละรูปแบบย่อมก่อให้เกิดปัญหาต่าง ๆ กัน
3. ช่วยให้เกิดการคาดคะเนล่วงหน้าเกี่ยวกับการสื่อสารขึ้น
และรูปแบบเหล่านี้จะช่วยให้คาดคะเนได้ว่า อะไรจะเกิดขึ้นในแต่ละ
สภาพของการสื่อสาร ซึ่งการคาดคะเนเหล่านี้จะช่วยให้การสื่อสารมี
ประสิทธิภาพ
4. ช่วยให้สามารถหาวิธีมาวัดปัจจัย และกระบวนการในการ
สื่อสารต่าง ๆ ได้ เพราะรูปแบบ
การสื่อสารแต่ละอย่างมักจะมีลักษณะพิเศษที่เป็นของตัวเอง
ในเรื่องเกี่ยวกับช่องทางของการสื่อสารหรือวิธีการส่งข่าว ซึ่งจะ
สามารถวัดข้อมูลที่ถูกส่งออกไปได้
แนวคิดและทฤษฎีเกี่ยวกับผลของการสื่อสาร และความพึงพอใจ
ของการสื่อสาร
ผลของการสื่อสารเกิดจากองค์ประกอบของกระบวนการ
สื่อสารที่ประกอบไปด้วยผู้ส่งสารทาการส่งข่าวสาร โดยผ่านช่อง
ทางการสื่อสารไปยังผู้รับสาร และเมื่อผู้รับสารได้รับสารนั้นแล้วย่อม
เกิดปรากฎการณ์อย่างใดอย่างหนึ่งขึ้น โดยสิ่งที่เกิดขึ้นนั้นอาจ
เปลี่ยนแปลงด้านความรู้สึกนึกคิด อารมณ์ รวมไปถึงความรู้ ความ
เข้าใจและพฤติกรรมของ
ผู้รับสารนั้นด้วย
ภาพที่ 2 การสื่อสาร
สุรสิทธิ์ วิทยารัฐ (2549) ได้สรุปไว้ว่า การเปลี่ยนแปลงจาก
ผลของการสื่อสารอาจก่อให้เกิดผล 3 ประการ กล่าวคือ การ
เปลี่ยนแปลงความรู้ (Knowledge Change) การเปลี่ยนทัศนคติ
(Attitude Change) และการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม (Practice
Change) โดยการเปลี่ยนแปลงสามารถแบ่งได้ตามหลักเกณฑ์ความดี
และ ไม่ดีของผลที่เกิดขึ้น ซึ่งเป็นการพิจารณาว่าผลของการสื่อสารใน
ครั้งนั้น ๆ ก่อให้เกิดผลดีต่อบุคคลหรือเป็นผลที่ทาให้ผู้ส่งสารบรรลุ
วัตถุประสงค์ตามที่ตั้งใจหรือไม่ ทั้งนี้สามารถ แบ่งได้เป็น 2 ประเภท
คือ
ประเภทแรก คือผลทางบวก (Positive Effect) ซึ่งเป็นผล
ของการสื่อสารที่บรรลุวัตถุประสงค์ของผู้ส่งสารที่ตั้งไว้และก่อให้เกิด
ผลดีต่อบุคคล
ประเภทที่สอง คือผลทางลบ (Negative Effect) เป็นผลของ
การสื่อสารที่ไม่บรรลุวัตถุประสงค์ที่ผู้ส่งสารได้คาดหมายไว้ อีกทั้งยัง
ก่อให้เกิดผลไม่ดีต่อตัวบุคคลอีกด้วยเมื่อผลของการสื่อสารเกิดใน
ทางบวกหรือลบก็ตามสิ่งที่เกิดขึ้นต่อมาแก่ผู้รับสารก็คือความพึงพอใจ
ของการสื่อสาร
วรูม (Vroom,1964) ได้กล่าวว่า ทัศนคติและความพึงพอใจ
ต่อสิ่งหนึ่งสามารถใช้แทนกันได้เพราะทั้งสองคานี้หมายถึงผลที่ได้จาก
การที่บุคคลเข้าไปมีส่วนร่วมในสิ่งนั้นหากผู้รับสารมีทัศนคติในด้าน
บวกก็จะแสดงให้เห็นความพึงพอใจในสิ่งนั้น และในทัศนคติด้านลบก็
จะแสดงให้เห็นสภาพความไม่พึงพอใจเช่นกัน
วิมลสิทธิ์ หรยางกูร (2549) ได้ให้ความหมายเพิ่มเติมว่า เป็น
การให้ค่าความรู้สึกของคนเราที่เกี่ยวกับความหมายของ
สภาพแวดล้อม โดยค่าความรู้สึกของบุคคลที่มีต่อสภาพแวดล้อมจะ
แตกต่างกัน เช่น ความรู้สึก ดี-เลว พอใจ-ไม่พอใจ สนใจ-ไม่สนใจ เป็น
ต้น
บทที่ 2
ทฤษฎีการประชาสัมพันธ์
ความสาคัญและความหมายของการประชาสัมพันธ์
นิเทศศาสตร์เป็นศาสตร์ที่ว่าด้วยการติดต่อสื่อสารทุกรูปแบบ
ไม่ว่าจะเป็นการสื่อสารมวลชน หรือการโฆษณา การประชาสัมพันธ์
ตลอดจนการพูดและการแสดง ทั้งนี้เพราะคาว่า “นิเทศ” หมายถึง
การชี้แจง หรือการแสดงนั้นเอง การประขาสัมพันธ์ (Public
Relations) เป็นคาที่ใช้กันอย่างแพรหลา โดยเฉพาะอย่างยิ่งหน่วยงาน
ภาครัฐทั้งนี้เพราะ การประชาสัมพันธ์เป็นกิจกรรมเพื่อสร้างความ
เข้าใจ และความสัมพันธ์ที่ดีระหว่างชุมชน และกลุ่มคนประเภทต่างๆ
ภาพที่ 3 การประชาสัมพันธ์ด้านธุรกิจ
แนวคิดทฤษฎีการประชาสัมพันธ์ของ วิรัช ลภิรัตนกุล
วิรัช ลภิรัตนกุล (2546 : 2, 22) ได้กล่าวถึงความสาคัญของ
การประชาสัมพันธ์ว่าเพื่อการชักจูงประชามติ (public opinion) ด้วย
วิธีการติดต่อสื่อสาร (communication) เพื่อให้กลุ่มเป้าหมาย
(target publics) เกิดมีความรู้ ความเข้าใจ และความรู้สึกนึกคิดที่ ดี
ต่อหน่วยงาน องค์การ สถาบัน กา รประชาสัมพันธ์จึงเป็นการเผยแพร่
ที่เป็นในเชิงการสร้างสรรค์ที่ก่อให้เกิดความรู้ ความเข้าใจแก่ประชาชน
เป็นงานส่งเสริมสัมพันธภาพระหว่างหน่วยงาน หรือกลุ่มประชาชนที่
เกี่ยวข้องจึงเป็นการสร้างค่านิยม (goodwill) แก่กลุ่มประชาชนต่างๆ
ด้วยวิธีการบอกกล่าว (inform) ชี้แจงให้ประชาชนได้ทราบถึงนโยบาย
วัตถุประสงค์ และสิ่งซึ่งองค์การ สถาบันได้ทาลงไป
แนวคิดทฤษฎีการประชาสัมพันธ์ของ ณัฐนันท์ ศิริเจริญ
ณัฐนันท์ ศิริเจริญ (2548:110) ให้ความหมายของการ
ประชาสัมพันธ์ว่า เป็นการติดต่อสื่อสาร ระหว่างองค์กรกับสาธารณชน
เพื่อบอกกล่าวให้ทราบ ชี้แจงทาความเข้าใจใ ห้ถูกต้องเกี่ยวกับความ
คิดเห็น (opinion) ทัศนคติ (Attitude) และค่านิยม (value) สร้าง
ชื่อเสียงและภาพพจน์ที่ดี สร้างเสริมและรักษา (to build and
sustain) ความสัมพันธ์ที่ดี นาไปสู่การสนับสนุน และความร่วมมือจาก
กลุ่มเป้าหมาย
สรุป
ความหมายของการประชาสัมพันธ์ คือ การที่องค์กรให้ข้อมูล
สารไปยังประชาชนเพื่อให้ทราบหรือสร้างความเข้าใจกับประชาชน ทา
ให้เกิดทัศนคติและภาพพจน์ที่ดีต่อองค์กร
โดยทั่วไปความหมายของ การประชาสัมพันธ์ คนทั่วไปมักจะ
เข้าใจผิดว่าหมายถึง การประกาศ หรือการโฆษณาสินค้าหรือ
ผลิตภัณฑ์ต่างๆ นอกจากนี้ยังอาจเข้าใจว่า เป็นการสอบถาม หรืองาน
ติดต่อสอบถาม ทาให้เกิดการสับสนขึ้น
การประชาสัมพันธ์ จะประสบผลสาเร็จได้ต้องอาศัย การ
สื่อสารที่มีประสิทธิภาพ ต้องมีการวางแผน กาหนดวัตถุประสงค์ และ
ดาเนินการจริงตามแผนที่ได้วางไว้ อย่างเหมาะสม สามารถปรับแก้ไข
ได้บางกรณีซึ่งจะทาให้ได้ผลงานที่ดีกว่า
ศาสตร์และศิลป์ของการประชาสัมพันธ์
ลภิรัตนกุล. (2546 : 27-28) ได้พูดถึงการประชาสัมพันธ์ว่า
การประชาสัมพันธ์นั้น อาจพิจารณาได้ว่าเป็นทั้งศาสตร์ และศิลปะ
พร้อมกันในตัวเอง กล่าวคือ การประชาสัมพันธ์ที่เป็นศาสตร์ ศาสตร์
ในที่นี้หมายถึงวิทยาการ ความรู้ ความเชื่อถือที่กาหนดไว้เป็นระบบ
ระเบียบที่พึงเชื่อถือได้ สามารถศึกษาค้นคว้าหาความจริงได้อย่างมี
ระเบียบแบบแผน และมีระบบวิชาการประชาสัมพันธ์ เป็นวิชาที่มี
ระเบียบแบบแผน มีเหตุมีผลและอาจศึกษาเรียนรู้ได้จาก ตาหรับ
ตาราต่างๆ เป็นการศึกษาค้นคว้าหาหลักและทฤษฎีที่น่าเชื่อถือได้ไว้ใช้
เป็นแนวทาง ในการดาเนินงานประชาสัมพันธ์ มีการศึกษาค้นคว้าถึง
กระบวนการในการสื่อสารประชาสัมพันธ์ของมนุษย์ เพื่ออธิบายและ
วิเคราะห์พฤติกรรมของมนุษย์ที่มีปฏิกิริยาสัมพันธ์ต่อกันในสังคม
รวมทั้งการศึกษาวิจัยถึงประชามติ และความสัมพันธ์กันระหว่างกลุ่ม
บุคคลกับองค์กรสถาบันที่เกี่ยวข้อง เป็นต้น สิ่งต่างๆ เหล่านี้สามารถ
ศึกษา เรียนรู้วิธีการ และถ่ายทอดความรู้ให้แก่ผู้อื่นได้ ฉะนั้น จึงกล่าว
ได้ว่า วิชาการประชาสัมพันธ์อยู่ในขอบเขตของศาสตร์ทางด้านสังคม
วิทยา
การประชาสัมพันธ์ที่เป็นศิลปะ
การประชาสัมพันธ์เป็นการนาเอาหลักการ ความรู้ที่ได้ศึกษา
มา ไปประยุกต์ใช้ จึงมีลักษณะเป็นศิลปะ การดาเนินงาประชาสัมพันธ์
จะยึดถือกฎเกณฑ์ หรือระเบียบแบบแผนที่ตายตัวไม่ได้ แต่จะต้อง
ปรับเปลี่ยนกลยุทธ์และวิธีการให้สอดคล้องเหมาะสมกับเงื่อนไขของ
สถานการณ์ที่เป็นอยู่ในขณะนั้น ทั้งนี้ศิลปะของการประชาสัมพันธ์
จะต้องใช้ความสามารถพิเศษ
เฉพาะตัวเป็นหลัก
ภาพที่ 4 : กรมอุทยาแห่งชาติ
สัตว์ป่า และพันธุ์พืช (มปป.)
หลักการประชาสัมพันธ์
เป็นการทราบกันว่า เป้าหมาย วัตถุประสงค์ ของกา ร
ประชาสัมพันธ์ก็เพื่อการสร้างความสัมพันธ์อันดีระหว่างองค์กรสถาบัน
กับประชาชนที่เป็ นกลุ่มเป้าหมาย ดังนั้น การประชาสั มพันธ์ กา ร
สื่อสารข้อมูลข่าวสารไปยังกลุ่มเป้าหมายนั้น ก็เพื่อให้เกิดความรู้ ความ
เข้าใจ รวมไปถึงความสัมพันธ์อันดีในการสร้างค่านิยม ภาพลักษณ์ที่ดี
ให้เกิดกับองค์กร เพื่อที่จ ะนาไปสู่การยอมรับ และรวมไปถึงก ารให้
ความร่วมมือสนับสนุนในการดา เนินงานขององค์กรให้เป็นไปในทาง
เดียวกันในที่สุด
การประชาสัมพันธ์ของรัฐบาล
การประชาสัมพันธ์ของรัฐบาล หมายรวมถึง การ
ประชาสัมพันธ์ของหน่วยงานราชการ ทั้งในส่วนกลางและส่วนภูมิภาค
ซึ่งการดาเนินงานดังกล่าวจะใช้วิธีการกระจายข่าวสาร การเผยแพร่
ชี้แจงเกี่ยวกับนโยบาย การดาเนินงาน ผลงานต่างๆ เพื่อเสริมสร้าง
ความเข้าใจอันดี และชื่อเสียงเกียรติคุณของหน่วยงานสู่ประชาชน
เพื่อให้ได้รับความร่วมมือ ร่วมใจและความนิยมจาก ประชาชนกลุ่ม
ต่างๆ ในการสร้างความสาเร็จแก่หน่วยงานราชการนั้นๆ และของ
ประเทศชาติโดยส่วนรวม อีกทางหนึ่งประชาชนในฐานะผู้เป็นเจ้าของ
ประเทศย่อมมีสิทธิ มีเสียง มีส่วนร่วมในการปกครองประเทศ ดังนั้น
ประชาชนจึงมีสิทธิตามกฎหมายในการรับรูข้อมูลข่าวสารของรัฐ
สื่อที่ใช้ได้แก่ วิทยุกระจายเสียง วิทยุโทรทัศน์ เอกสารสิ่งพิมพ์
ภาพข่าวและภาพยนตร์ การจัดนิทรรศการและงานพิเศษ หน่วย
ประชาสัมพันธ์เคลื่อนที่ บริการสาหรับหนังสือพิมพ์ การสารวจ
ประชามติ การเผยแพร่ด้านวิชาการผ่านการอบรม เป็นต้น
ภาพที่ 5 การประชาสัมพันธ์ของภาครัฐ
การประชาสัมพันธ์ธุรกิจ
การประชาสัมพันธ์ของภาคธุรกิจ เป็นการดาเนินงาน
ประชาสัมพันธ์เพื่อสร้างความสัมพันธ์กับกลุ่มประชาชน ได้ แก่ บริษัท
ธุรกิจ ด้วยการบอกกล่าวเผยแพร่ ชี้แจงเกี่ยวกับ ข้อมูลบริษัทนโยบาย
ผลการดาเนินงาน การติดต่อ เพื่อสร้างความเชื่อถือและ สร้า ง
ภาพลักษณ์ให้กับบริษัท แสดงถึงความรับผิดชอบต่อสังคม เพื่อ
พยายามรักษาลูกค้าให้คงอยู่กับบริษัทให้นานที่สุดสื่อที่ใช้ ได้แก่
วิทยุกระจายเสียง หนังสือพิมพ์ วิทยุโทรทัศน์ เอกสารสิ่งพิมพ์ ภาพ
ข่าวและภาพยนตร์ การจัดนิทรรศการและงานพิเศษการจัดกิจกรรม
พิเศษ เว็บไซต์ในอินเตอร์เน็ต เป็นต้น
ภาพที่ 6 การประชาสัมพันธ์ด้านธุรกิจ
สื่อและการสื่อสารเพื่อการประชาสัมพันธ์ที่มีประสิทธิภาพ
ในการติดต่อสื่อสารประชาสัมพันธ์เพื่อเผยแพร่ การบอก
กล่าว กระจายข่าวสารต่างๆ ของสถาบัน องค์การ หรือหน่วยงานไป
ยังประชาชนกลุ่มเป้าหมาย จาเป็นต้องใช้สื่อเป็นตัวกลางในการ
ถ่ายทอดซึ่งจาเป็นต้องเลือกใช้สื่อและเรียนรู้ถึงคุณสมบัติและลักษณะ
ของสื่อประเภทต่างๆ เพื่อให้สามารถเลือกใช้ได้อย่างเหมาะสมกับการ
ดาเนินงานตามแผนงานที่ได้กาหนดไว้อย่างมีประสิทธิภาพ
ดังนั้น การประชาสัมพันธ์ที่จะประสบผลสาเร็จได้ผลดี
ประการใดย่อมขึ้นอยู่กับการใช้สื่อเป็นปัจจัยสาคัญ ปัญหาจึงอยู่ที่จะ
เลือกใช้สื่ออย่างไรจึงจะไปถึงกลุ่มเป้าหมายที่ดีที่สุด เหมาะสมที่สุด
บทที่ 3
เว็บไซต์
ความหมายของเว็บไซต์ (Web Site)
เว็บไซต์ (อังกฤษ: website, web site, Web site) หมายถึง
หน้าเว็บเพจหลายหน้า ซึ่งเชื่อมโยงกันผ่านทางไฮเปอร์ลิงก์ ส่วนใหญ่
จัดทาขึ้นเพื่อนาเสนอข้อมูลผ่านคอมพิวเตอร์ โดยถูกจัดเก็บไว้ใน
เวิลด์ไวด์เว็บ หน้าแรกของเว็บไซต์ที่เก็บไว้ที่ชื่อหลักจะ เรียกว่า
โฮมเพจ เว็บไซต์โดยทั่วไปจะให้บริการต่อผู้ใช้ฟรี แต่ในขณะเดียวกัน
บางเว็บไซต์จาเป็นต้องมีการสมัครสมาชิกและเสียค่าบริการเพื่อที่จะดู
ข้อมูล ในเว็บไซต์นั้น ซึ่งได้แก่ข้อมูลทางวิชาการข้อมูลตามหลักทรัพย์
หรือข้อมูลสื่อต่างๆ ผู้ทาเว็บไซต์มี
หลากหลายระดับ ตั้งแต่สร้าง
เว็บไซต์ส่วนตัว จนถึงระดับเว็บไซต์
สาหรับธุรกิจหรือองค์กรต่างๆ การ
เรียกดูเว็บไซต์โดยทั่วไปนิยมเรียกดู
ผ่านซอฟต์แวร์ในลักษณะของ เว็บ
บราวเซอร์
ภาพที่ 7 เว็บไซต์ (Web Site)
โฮมเพจ
โฮมเพจ (Home Page) คือ เว็บเพจหน้าแรกซึ่งเป็นทางเข้า
หลักของเว็บไซต์ ปกติเว็บเพจทุกๆ หน้าในเว็บไซท์จะถูกลิงค์ (โดยตรง
หรือโดยอ้อมก็ตาม) มาจากโฮมเพจ ดังนั้นบางครั้งจึงมีผู้ใช้คาว่า
โฮมเพจโดยหมายถึงเว็บไซท์ทั้งหมด แต่ความจริงแล้วโฮมเพจหมายถึง
หน้าแรกเท่านั้น ถ้าเปรียบกับร้านค้า โฮมเพจก็เป็นเสมือนหน้าร้าน
นั่นเอง ดังนั้นจึงมักถูกออกแบบให้โดดเด่นและน่าสนใจมากที่สุด
ภาพที่ 8 โฮมเพจ (Home Page)
เว็บเพจ
เว็บเพจ (Web Page) หมายถึง หน้าเอกสารของบริการ
WWW ซึ่งตามปกติจะถูกเก็บอยู่ในรูปแบบไฟล์ HTML (Hyper
Text Markup Language) โดยไฟล์ HTML 1 ไฟล์ ก็คือเว็บเพจ 1
หน้านั่นเอง ภายในเว็บเพจอาจประกอบไปด้ว ยข้อความ ภาพ เสียง
วิดีโอ และภาพเคลื่อนไหวแบบมัลติมีเดีย นอกจากนี้เว็บเพจแต่ละหน้า
จะมีการเชื่อมโยงหรือ “ลิงค์” (Link) กัน เพื่อให้ผู้ชมเรียกดูเอกสาร
หน้าอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องได้สะดวกอีกด้วย
ภาพที่ 9 เว็บเพจ (Web Page)
ความสาคัญของเว็บไซต์
ในปัจจุบันเว็บไซต์ได้กลายเป็นสื่อที่มีความสาคัญ ซึ่งมี
บทบาทอย่างมากในเรื่องของการโฆษณาและประชาสัมพันธ์ ทั้งนี้
เนื่องจากคุณสมบัติที่สามารถนาเสนอ เผยแพร่ ข้อมูลข่าวสารได้อย่าง
ไร้ขีดจากัด ทั้งในเรื่องเวลาและระยะทาง ใครๆก็สามารถคลิกเข้ามา
เปิดดูได้ตลอดเวลา 24 ชั่วโมง ไม่ว่าจะนั่งอยู่ส่วนใดๆของโลกก็ตาม
ด้วยข้อดีดังกล่าว บริษัท ห้างร้าน สถานประกอบการเกือบทุกแห่งทั้ง
ภาครัฐและเอกชน หรือแม้แต่บุคคลทั่วไป ต่างก็มีความต้องการจัดทา
เว็บไซต์ขึ้นเพื่อเป็นช่องทางการสื่อสารรูปแบบใหม่ เพื่อประโยชน์ใน
การเผยแพร่ข้อมูล ข่าวสาร ไปสู่กลุ่มเป้าหมาย เช่น การโฆษณาขาย
สินค้าและบริการในรูปแบบต่างๆ ที่มีจุดมุ่งหมายในเชิงธุรกิจ หรือการ
ใช้เว็บไซต์เป็นช่องทางเผยแพร่ข้อมูล ข่าวสารขององค์กร เพื่อ
ประชาสัมพันธ์องค์กรให้เป็นที่รู้จักเพื่อหวังผลในการสร้างภาพลักษณ์
ขององค์กรให้เป็นที่ยอมรับ ซึ่งเว็บไซต์นั้นเป็นสื่อที่มีประสิทธิภาพเป็น
อย่างมากในการสนองภารกิจ
ประโยชน์ของเว็บไซต์
1. เป็นสื่ออิเล็กทรอนิกส์ทางอินเตอร์เน็ต ที่ใช้เพื่อการโฆษณา
ประชาสัมพันธ์ การตลาด ให้ข้อมูลข่าวสาร และสร้าง ภาพลักษณ์ที่ดี
แก่ธุรกิจและองค์กร
2. สามารถนามาใช้เป็นร้านค้าออนไลน์เพื่อจาหน่ายสินค้า /
บริการ
3. มีประสิทธิภาพเข้าถึงกลุ่มเป้าหมายได้ทั่วโลก
4. เสียค่าใช้จ่ายในการผลิตต่ากว่าสื่ออื่นๆ แต่มีอายุการใช้
งานยาวนานกว่า สามารถอัพเดทข้อมูลเปลี่ยนแปลงได้ง่าย
5. กลุ่มเป้าหมายสามารถเข้าถึงสื่อได้โดยสะดวกและรวดเร็ว
ผ่านอินเตอร์เน็ตได้ทุกวัน ตลอด 24 ชั่วโมง
ดังนั้น ในโลกยุคปัจจุบันที่มีความเจริญก้าวหน้าในเรื่อง
เทคโนโลยีอย่างไม่หยุดยั้ง การใช้สื่อเว็บไซต์เพื่อเป็นช่องทางการ
สื่อสาร เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการประชาสัมพันธ์ให้กับองค์กรของ
ตน จึงเป็นเรื่องที่ไม่สามารถที่จะมอง ข้ามไปได้ ซึ่งสร้างเว็บไซต์นั้น
นอกจากการจ้างบริษัทที่รับจ้างทั่วไปแล้ว เราสามารถที่จะสร้างเองได้
ไม่ยากจนเกินไปนัก
บทที่ 4
การออกแบบและการพัฒนาเว็บไซต์
การสร้างเว็บไซต์ นอกจากจะมีความรู เกี่ยวกับภาษาและ
เครื่องมือต่างๆ ที่ใช้พัฒนาแลว สิ่งสาคัญอีกอย่างหนึ่งที่ผู้ พัฒนาเว็บ
ต้องทาความเข้าใจ คือหลักการออกแบบและพัฒนาเว็บ ไซต์ที่ถูกต้อง
ซึ่งจะช่วยให้สามารถกาหนดทิศทางการทางานของเว็บไซต์ได้ตรงตาม
เป้าหมาย มีประโยชน และให้ความสะดวกแก่ผู้ที่เข้ามาใช้บริการ
ภาพที่ 10 โครงสร้างหน้าตาของเว็บไซต์
ความสาคัญของการออกแบบเว็บไซต์
ปัจจุบันมีเว็บไซต์ เว็บเกิดขึ้นใหม่ทุกวัน (ket9, 2008.
ที่มา : http://www.igetweb.com/www/ket9) การออกแบบ
เว็บไซต์จึงเป็นส่วนสาคัญอย่างมาก ที่จะสร้างความประทับใจให้กับ
ผู้ใช้บริการ และทาให้อยากกลับเข้ามาใช้อีกในอนาคต ซึ่งนอกจาก
จะต้องพัฒนาเว็บให้ดีมีประโยชนแลว ยังต้องแข่งขันกับเว็บไซต์อื่น
ที่ให้บริการแบบเดียวกัน รวมไป ถึงต้องสร้าง ความได เปรียบ ให้
เหนือกว่าเว็บไซต์ที่กาลังจะเกิดขึ้นใหม่ในอนาคตอีกด้วย ดังนั้น จึง
ควรออกแบบ เว็บอย่างมีคุณภาพ เพื่อดึงดูด ผู้ใช้ให้อยู่ กับเว็บของ
คุณตลอดไป
การออกแบบโครงสร้างหน้าตาของเว็บไซต์
ปัจจุบันจะมีหลักการออกแบบโครงสร้างหน้าเว็บไซต์ จะไม
แตกต่างกันมากนัก ซึ่งสามารถจาแนกออกไดเป็น 3 รูปแบบใหญ่ คือ
(นันท์นภัส ลาวรี และสุเทพ ลิอุบล, 2008.
ที่มา:http://wbi.wk.ac.th/users/web/unit1/page2.html)
1. ออกแบบหน้าเว็บไซต์ ที่เน้นการนาเสนอเนื้อหาเป็นหลัก
จะเน้นการนาเสนอเนื้อหามากกว่ารูปภาพ ซึ่งใช้โครงสร้างของตาราง
เป็นหลัก เพื่อใส่ข้อความแบบหน้าสารบัญ และรูปภาพประกอบที่มี
ขนาดเล็กๆ
2. ออกแบบหน้าเว็บไซต์ที่เน้นภาพกราฟิกเป็นหลัก จะไม่เน้น
ข้อความภายในเว็บเพจ แต่จะเน้นใช้ภาพกราฟิกเป็นหลัก และสร้าง
ลิงค์ที่ภาพไปยังหน้าเว็บเพจอื่นๆ ซึ่งอาจสร้างมาจากโปรแกรมกราฟิก
ต่างๆ เช่น Photoshop เป็นต้น
3. ออกแบบหน้าเว็บไซต์ที่มีทั้งภาพ และเนื้อหา เป็นลักษณะ
ของการออกแบบเว็บไซต์ที่นารูปแบบทั้ง 2 ที่กล่าวข้างต้นมาผสมกัน
โดยจะเน้นการจัดวางภาพและเนื้อหาให้เหมาะสม และสวยงาม
ขั้นตอนการออกแบบเว็บไซต์
การออกแบบเว็บไซต์ให้มีประสิทธิภาพและตรงกับความ
ต้องการมากที่สุด มีขั้นตอนดังต่อไปนี้ (ประเวศน์ วงษ์คาชัย และพิร
พร หมุนสนิท, 2550 : 60-64)
1. การกาหนดขอบเขต
การพัฒนาเว็บไซต์ไม่ได้มีหลักการหรือการกาหนดขอบเขตที่
ตายตัว แต่จะขึ้นอยู่กับเป้าหมายและความต้องการในการใช้งาน
เว็บไซต์นั้นว่าสร้างเพื่ออะไร เช่น เพื่อประชาสัมพันธ์บริษัทหรือเพื่อ
ขายสินค้า เป็นต้น ซึ่งผู้พัฒนาจะต้องศึกษาความต้องการของผู้ใช้อย่าง
ละเอียดก่อน เพื่อใช้เป็นแนวทางในการสร้างเว็บไซต์ให้สามารถ
ตอบสนองความต้องการของผู้ใช้ได้อย่างถูกต้อง โดยสามารถจาแนก
ขั้นตอนการกาหนดขอบเขตที่ผู้พัฒนาเว็บไซต์ส่วนใหญ่ยึดถือเป็น
หลักการ
2. กาหนดเป้าหมาย
การกาหนดเป้าหมายหรือวัตถุประสงค์จะช่วยให้ผู้พัฒนา
สามารถกาหนดทิศทางการดาเนินงานงบประมาณ รวมทั้งระยะเวลา
ได้อย่างเหมาะสม ซึ่งถือได้ว่าเป็นขั้นตอนที่สาคัญที่สุดของการ
ดาเนินงานทั้งหมดอย่างไรก็ตามเพื่อให้ผลงานตรงตามความต้องการ
ของลูกค้ามากที่สุด จึงควรคานึงและให้ความสาคัญกับปัจจัย
3. กาหนดโครงสร้างข้อมูล
การกาหนดโครงสร้างข้อมูลภายในเว็บไซต์จะช่วยให้ผู้พัฒนา
สามารถกาหนดลาดับการทางานต่างๆ ภายในเว็บไซต์ได้ง่าย และ
สะดวกยิ่งขึ้น รวมไปถึงทาให้ลูกค้าเห็นโครงสร้างของเว็บไซต์ แนว
ทางการออกแบบ และรูปแบบของการทางานต่างๆ ซึ่งโดยส่วนใหญ่จะ
เป็นงานบนกระดาษก่อนที่จะมีการพัฒนาจริง
4. กาหนดการสืบทอดข้อมูล
การกาหนดโครงสร้างข้อมูลเว็บไซต์ดังกล่าวข้างต้น เพียง
อย่างเดียวจะยังไม่สามารถมองเห็นความสัมพันธ์ของแต่ละเพจได้ ซึ่ง
ผู้พัฒนาจะต้องทาการเปลี่ยนโครงสร้างข้อมูลไปเป็นการสืบทอดข้อมูล
หรือรูปแบบโครงสร้างข้อมูลแบบต้นไม้ (Tree Structure) ก่อน ด้วย
การแบ่งเนื้อหาที่ต้องการนามาเสนอบนเว็บไซต์ออกเป็นกลุ่มหรือ
หมวดหมู่ โดยเริ่มต้นกาหนดกลุ่มหลักก่อน จากโครงสร้างข้อมูลที่
กาหนดไว้ข้างต้น สามารถนามาจัดกลุ่มเนื้อ
5. สร้างไซต์แม็ป (Site Map)
การสร้างไซต์แม็ป (Site Map) เป็นการกาหนดโครงสร้างการ
เชื่อมโยงของเพจในเว็บไซต์ เพื่อความสะดวกในการค้นหา หรือเป็น
การนาองค์ประกอบทั้งหมดในเว็บไซต์
มาจัดลาดับเป็นลาดับชั้นที่เกี่ยวข้อง
กัน จากการสืบทอดข้างต้นสามารถ
นามาสร้างไซต์แม็ปของเว็บไซต์
6. แบ่งเฟรมพื้นที่การแสดงผล
การสร้างไซต์แม็ป ข้างต้นยังไม่ใช่ขั้นตอนสุดท้ายในการ
วางแผนเพื่อพัฒนาเว็บไซต์ ผู้พัฒนาจะต้องสร้างเพจสาหรับแสดง
เนื้อหาของแต่ละส่วนด้วยการแบ่งเฟรม ซึ่งการแบ่งเฟรมเป็นการแบ่ง
พื้นที่การแสดงเนื้อหาบนเพจมีรูปแบบที่แตกต่างกันออกไปตามความ
ต้องการของผู้พัฒนาหรือลูกค้า
7. สร้างเว็บเพจแต่ละหน้าตามที่ออกแบบ
หลังจากที่ได้ออกแบบเว็บเพจแต่ละหน้าเรียบร้อยแล้ว
ขั้นตอนนี้จะเป็นการสร้างหน้าเว็บเพจตามที่ได้ออกแบบไว้ดังกล่าว
ข้างต้น ด้วยภาษาหรือเครื่องมือต่างๆ ตามที่ผู้พัฒนาเว็บไซต์ต้องการ
เช่น HTML, PHP, ASP หรือโปรแกรม Dreamweaver เป็นต้น
8. ลงทะเบียนขอพื้นที่เว็บไซต์
เมื่อสิ้นสุดขั้นตอนการพัฒนาเว็บไซต์ทั้งหมดเรียบร้อยแล้ว
ขั้นตอนต่อไป คือ การนาเว็บไซต์นั้นไปเผยแพร่บนเครือข่า ย
อินเทอร์เน็ต เพื่อให้ผู้คนสามารถเข้ามาชมเว็บไซต์ได้ โดยการนาขึ้นไป
เก็บไว้ที่เว็บเซิร์ฟเวอร์องค์กร หรือขอพื้นที่เว็บไซต์กับผู้ให้บริการเว็บ
โอสติ้ง (Web Hosting) ซึ่งมีทั้งฟรีและเสียค่าใช้จ่าย (ประชา พฤกษ์
ประเสริฐ,2550 : 11)
9. อัฟโหลดเว็บไซต์
เมื่อพัฒนาเว็บไซต์เสร็จสมบูรณ์ และมีพื้นที่สาหรับเก็บ
เว็บไซต์ที่ต้องการนาไปเผยแพร่สู่อินเทอร์เน็ตเรียบร้อยแล้ว ขั้นตอน
สุดท้ายคือการอั พโหลดไฟล์เว็บไซต์ทั้งหมดขึ้นไปเก็บไว้ในพื้นที่ที่ได้
จัดเตรียมไว้ด้วยโปรแกรม FTP หรือเครื่องมือที่ผู้ให้บริการได้
จัดเตรียมไว้ให้
สรุป
การสร้างเว็บไซต์ที่ดีนั้น ต้องอาศัยหลักการออกแบบและการ
จัดระบบข้อมูลอย่างเหมาะสมเพื่อให้เว็บไซต์ที่สร้างขึ้นมีความน่าสนใจ
และสร้างความประทับใจให้กับผู้ใช้บริการ ทาให้อยากกลับเข้ามาใช้
อีกในอนาคต ซึ่งกาออกแบบเว็บไซต์ที่ดีนั้นนอกจากจะสร้างความ
ประทับใจให้กับผู้ ใช้บริการแล้วยังทาให้ ได้เปรียบเหนือเว็บไซต์ของ
คู่แข่ง หรือที่กาลังจะเกิดขึ้นในอนาคตได้ โดยการออกแบบเว็บไซต์ที่ดี
นั้นไม่ได้หมายถึงเฉพาะการออกแบบหน้าตาของเว็บไซต์เพียงอย่าง
เดียวเท่านั้น แต่จะเกี่ยวข้องตั้งแต่การเริ่มต้นกาหนดเป้าหมายของ
เว็บไซต์ ระบุกลุ่มผู้ใช้ การจัดระบบข้อมูล การสร้างระบบเนวิเกชัน
การออกแบบหน้าเว็บ รวมไปถึงการใช้กราฟิก การเลือกใช้สี และ
รูปแบบตัวอักษรที่เหมาะสม
ขั้นตอนการพัฒนาเว็บไซต์
กระบวนการพัฒนาเว็บไซต์แบ่งออกเป็นขั้นตอนต่างๆ ซึ่งมีอยู่
หลายแนวคิด หนังสือเล่มนี้จึงขอรวบรวมและสรุปมาเฉพาะประเด็น
สาคัญๆ เพื่อให้เหมาะสาหรับผู้เริ่มต้นที่จะใช้เป็นแนวทางในการสร้าง
เว็บไซต์ตั้งแต่ขนาดเล็กจนถึงขนาดกลาง
กาหนดเป้าหมายและวางแผน (Site Definition and Planning)
ในการพัฒนาเว็บไซต์คว รกาหนดเป้าหมายและวางแผนไว้
ล่วงหน้า เพื่อให้การทางานในขั้นต่อๆ ไปมีแนวทางที่ชัดเจน เรื่อง
หลักๆ ที่คุณควรทาในขั้นตอนนี้ประกอบด้วย
1. กาหนดวัตถุประสงค์ของเว็บไซต์
2. กาหนดกลุ่มผู้ชมเป้าหมาย
3. เตรียมแหล่งข้อมูล
4. เตรียมทักษะหรือบุคลากร
5. เตรียมทรัพยากรต่าง ๆ ที่จาเป็น
วิเคราะห์และจัดโครงสร้างข้อมูล (Analysis and Information
Architecture)
การนาข้อมูลต่างๆ ที่รวบรวมได้จากขั้นแรก ไม่ว่าจะเป็น
วัตถุประสงค์ของเว็บไซต์ คุณลักษณะและข้อจา กัดของกลุ่มผู้ชม
เป้าหมาย รวมทั้งเนื้อหาหลักของเว็บไซต์ นามาประเมิน วิเคราะห์
และจัดระบบ เพื่อให้ได้โครงสร้างข้อมูลและข้อกาหนด ซึ่งจะใช้เป็น
กรอบสาหรับการออกแบบและดาเนินการในขั้นต่อๆ ไป
ออกแบบเว็บเพจและเตรียมข้อมูล (Page Design and Content
Editing)
เป็นขั้นตอนของการออกแบบเค้าโครง หน้าตา และลักษณะ
ทางด้านกราฟิกของหน้าเว็บเพจ เพื่อให้ผู้ชมเกิดอารมณ์ความรับรู้ต่อ
เว็บเพจตามที่คุณต้องการ ดังนั้นผู้ที่ทาหน้าที่นี้จึงควรมีความสามารถ
ทางด้านศิลปะ โปรแกรมที่เหมาะจะใช้ในการออกแบบ คือ Adobe
Photoshop หรือ Adobe Fireworks สาหรับผลลัพธ์ที่ได้จะ
ประกอบด้วยไฟล์กราฟิกต่างๆ ที่ใช้บนเว็บเพจ เช่น โลโก้ภาพพื้นหลัง
ปุ่มเมนู ไอคอนที่เป็นหัวคอลัมน์ และแบบเนอร์โฆษณา
ในส่วนของเนื้อหา ขั้นตอนนี้จะเป็นการนาเอาเนื้อหาที่เลือก
ไว้มาปรับแก้และตรวจทานความถูกต้อง เพื่อให้พร้อมสาหรับจะนาไป
ใส่เว็บเพจแต่ละหน้าในขั้นตอนถัดไป
ลงมือสร้างและทดสอบ (Construction and Testing)
เป็นขั้นตอนสร้างเว็บเพจขั้นมาจริงโดยอาศัยเค้าโครงและ
องค์ประกอบกราฟิกตามที่ออกแบบไว้ เนื้อหาต่างๆ จะถูกนามาใส่
และจัดรูปแบบลิงค์ ระบบนาทางถูกสร้างและองค์ประกอบเสริมต่างๆ
ถูกวางเข้าที่
เว็บไซต์ที่สร้างขึ้นมาควรได้รับการทดสอบก่อนที่ จะออก
เผยแพร่ ไม่ว่าจะเป็นในเรื่องความถูกต้องของเนื้อหา การทางานของ
ลิงค์และระบบนาทางตรวจหาความผิดพลาดของโปรแกรมสคริปต์และ
ฐานข้อมูล นอกจากนี้ก็ควรทดสอบโดยใช้สภาพแวดล้อมที่เหมือนกับ
ของกลุ่มผู้ชมเป้าหมาย เช่น เวอร์ชั่นของบราวเซอร์ ความละเอียดของ
จอภาพและความเร็วที่เชื่อมต่อกับอินเทอร์เน็ต เพื่อดูว่าผู้ชมเป้าหมาย
สามารถชมเว็บไซต์ได้อย่างสมบูรณ์ และมีประสิทธิภาพหรือไม่
เผยแพร่และส่งเสริมให้เป็นที่รู้จัก (Publishing and Promotion)
โดยทั่วไปการนาเว็บไซต์ขึ้นเผยแพร่บนอินเทอร์เน็ต จะทา
ด้วยการอัพโหลดไฟล์ทั้งหมด คือ HTML และไฟล์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้องขึ้น
ไปเก็บบนเว็บเซิร์ฟเวอร์ที่มีคุณเปิดบริการไว้ การอัพโหลดเว็บไซต์หรือ
บางครั้ง เรียกว่า การ “พับบลิช” (publish) อาจทาด้วยโปรแกรม
สร้างเว็บไซต์เอง ซึ่งมีคุณสมบัตินี้อยู่ในตัว หรืออาจใช้โปรแกรมยูทิลิตี้
ประเภท FTP เช่น FileZilla,CuteFTP หรือใช้เครื่องมืออื่นบนเว็บ
เซิร์ฟเวอร์ก็ได้
ดูแลและพัฒนา (Maintenance and Innovation)
เว็บไซต์ที่เผยแพร่ออกไปแล้วคุณไม่ควรทิ้งขว้าง แต่ควรดูแล
โดยตลอด ซึ่งหน้าที่นี้ครอบคลุมหลายเรื่อง ตั้งแต่การตรวจสอบเว็บ
เซิร์ฟเวอร์ว่าไม่หยุดทา งานบ่อยๆ ลิงค์ที่เชื่อมโยงไปภายนอกยังคง
ใช้ได้ (เนื่องจากเว็บไซต์นั้นอาจปิดไป) คอยตอบอีเมล์หรือคาถามที่มีผู้
ฝากไว้บนเว็บเพจ ถ้าเป็นเว็บข่าวสารก็ต้องปรับปรุงข้อมูลให้ทันสมัย
ตลอดเวลา ถ้ามีการใช้ฐานข้อมูลก็ต้องแบ็คอัพข้อมูลอย่างสม่าเสมอ
ทีมงานพัฒนาเว็บไซต์
การพัฒนาเว็บไซต์สามารถทา เพียงคนเดียว หรือทาเป็นทีมก็
ได้ ขึ้นอยู่กับความจาเป็นที่แตกต่างกัน กล่าวคือ เป็นเว็บไซต์ขนาด
ใหญ่หรือเล็ก เว็บไซต์ที่ส่วนตัว สาหรับประเภทของบุคลากรที่ต้องใช้ก็
จะขึ้นอยู่กับเนื้อหา ข้อมูล และเทคโนโลยี ที่ต้องการจะนาเสนอ โดย
ในองค์กรขนาดใหญ่หรือบริษัทที่รับพัฒนาเว็บไซต์ อาจต้องมีการ
แบ่งแยกหน้าที่อย่างชั ดเจนว่าใครทา อะไร ซึ่งแต่ละคนจะมีความ
ชานาญเฉพาะเรื่องไป
การศึกษาความต้องการของผู้ชมเว็บไซต์
วัตถุประสงค์หลักอย่างหนึ่งของการสร้างเว็บไซต์ก็คือ ให้มีผู้
มาชม ใช้บริการ และอยู่ในเว็บไซต์ให้นานที่สุด ดังนั้น คุณจึงจาเป็น
ต้องใส่เนื้อหาและองค์ประกอบที่น่าสนใจหลายๆ อย่างเพื่อดึงดูด ซึ่ง
ต้องศึกษาและเข้าใจถึงธรรมชาติของสิ่งที่ผู้ชมส่วนใหญ่คาดหวัง
ว่าจะได้รับจากการเข้ามาในเว็บไซต์ของคุณ ว่ามีอะไรบ้าง ความ
ต้องการของผู้ชมโดยทั่วไปแบ่งเป็นหัวข้อหลักๆ คือ
1. ข้อมูล (Content)
2. ข่าวสารความเคลื่อนไหว (News)
3. ของฟรี (Free Service)
4. การมีปฏิสัมพันธ์ (Interactive)
5. ความบันเทิง (Entertainment)
เนื้อหาที่ควรมีในเว็บไซต์
การศึกษาตัวอย่างจากเว็บไซต์อื่นๆ และโดยเฉพาะที่เป็น
ประเภทเดียวกัน จะช่วยให้มองเห็นว่าในเว็บไซต์ของคุณควรมีเนื้อหา
อะไรบ้าง อย่างไรก็ตามเรื่องนี้ไม่ได้มีการกา หนดไว้เป็นมาตรฐาน
ตายตัว แต่ขึ้นอยู่กับสิ่งที่จะนาเสนอและจุดเด่นที่คุณต้องการให้มี ซึ่ง
จะทาให้รายละเอียดปลีกย่อยของแต่ละเว็บไซต์แตกต่างกันออกไป
บทที่ 5
ส่วนประกอบของหน้าเว็บไซต์
เราสามารถจาแนกส่วนประกอบของหน้าเว็บเพจ เป็น 3 ส่วน คือ
1. ส่วนหัว (Page Header) น่าจะอยู่บริเวณบนสุดของหน้า
เว็บเพจ เป็นส่วนที่แสดงชื่อเว็บไซต์ โลโก้ แบนเนอร์โฆษณาลิงก์
สาหรับข้ามไปยังหน้าเว็บอื่น
ภาพที่ 11 ส่วนหัว (Page Header)
2. ส่วนเนื้อหา (Page Body) จะอยู่บริเวณตอนกลางของหน้า
เว็บเพจ ซึ่งเป็นส่วนที่แสดงเนื้อหาภายในหน้าเว็บ เพจนั้น โดย
ประกอบด้วยข้อความ ข้อมูล ภาพเคลื่อนไหว เป็นต้น
ภาพที่ 12 ส่วนเนื้อหา (Page Body)
3. ส่วนท้าย (Page Footer) จะอยู่บริเวณด้านล่างสุดของ
หน้าเว็บเพจ ส่วนมากใช้สาหรับลิงก์ข้อความสั้น ๆ เข้าใจง่าย หรือจะมี
ชื่อเจ้าของเว็บไซต์ อีเมลแอดเดรสของผู้ดูแลเว็บไซต์สาหรับติดต่อกับ
ทางเว็บไซต์
ภาพที่ 13 ส่วนท้าย (Page Footer)
ส่วนประกอบของเว็บไซต์ที่ดี
ภาพที่ 14 ส่วนประกอบของเว็บไซต์ที่ดี
สาหรับคนที่เริ่มต้นออกแบบเว็บไซต์ในครั้งแรกไม่รู้ว่าจะเริ่ม
อย่างไรดี บทความนี้จะแนะนาวิธีการในการออกแบบเว็บไซต์ที่เว็บ
ทั่วไปควรมี ดังรูปที่เห็นด้านบนเป็นโครงสร้างของเว็บไซต์โดยจะมีส่วน
หลักๆอยู่ด้วยกันทั้งหมด 6 ส่วนดังนี้
Containing block
โดยปรกติเราจะเขียน <div> หรือ <table> ต่อจาก
<body> เพื่อเอาไว้เก็บเนื้อหาทั้งหมดของเว็บไซต์ก่อน เพื่อเอาไว้เป็น
กล่องในการเก็บเนื้อหาทั้งหมด โดยกล่องของเราจะมีข้อดีอยู่ตรงที่
สามารถทาให้ปรับเปลี่ยนขนาดในการแสดงผลของเนื้อหาได้ หรือ
ตาแหน่งการแสดงผลของเว็บไซต์ได้เช่น จัดกลาง ชิดซ้าย หรือชิดขวา
หากนึกภาพไม่ออก ลองเขียนเว็บไซต์โดยเริ่มที่ใส่ตัวหนังสือลงไปก่อน
จากนั้นหากต้องการจัดตัวหนังสือเหล่านั้นจะทาได้ยากมาก ดังนั้นทุก
ครั้งที่ออกแบบเว็บไซต์อย่างลืมที่จะสร้าง containing block เอาไว้ใส่
เนื้อหาทั้งหมดก่อน เพื่อความสะดวกของเราเอง
Logo
เป็นสัญลักษณ์ที่แสดงถึงตัวตนของเรา ทาให้ลูกค้าหรืผู้ใช้งาน
จดจาเราได้ ด้วยเหตุนี้เองทาให้ การออกแบบเว็บไซต์นั้นจาเป็นต้อ งมี
โลโก้ ของเว็บไซต์เป็นอย่างยิ่ง ส่ วนตาแหน่งที่ควรจะวางโลโก้ไว้ คือ
ตาแหน่งที่เป็นสีม่วงทั้งหมดนั่นเอง จะสังเกตได้ว่าจะเป็นส่วนที่อยู่ด้าน
บนของเว็บไซต์ทั้งหมด เพื่อให้ผู้ใช้งานจาได้ และสะดุดตา เรื่องที่ต้อง
เตือนให้รู้กันก็คือ โลโก้ของเว็บไซต์เมื่อคลิกจะนาไปสู่หน้าแรกของ
เว็บไซต์เสมอ
Navigation
เป็นส่วนที่จะนาผู้เข้าชมเว็บไซต์ไปยังส่วนต่างของเว็บไซต์
โดยสามารถทาให้อยู่ ในแนวนอน หรือแนวตั้งก็ได้ หากสังเกต
hellomyweb.com เราจะทาทั้งแนวตั้งและแนวนอน โดยแนวนอน
จะนาไปสู่เนื้อหาหน้าอื่นของเว็บไซต์ ส่วนแนวตั้งจะนาไปสู่เนื้อหาย่อย
ในหน้านั้น ตาแหน่งที่ควรจะวาง navagation เอาไว้คือสีเขียวทั้งหมด
ถ้าสังเกตดูจะพบว่าการวางตาแหน่งต้อ งพยายามให้อยู่ในส่วนด้านบน
ของเว็บไซต์ หรือจะพูดอีกอย่างคือส่วนที่เมื่อผู้ใช้เปิดมาก็ต้องเจอได้
ทันที ไม่ควรวางไว้ในตาแหน่งที่ผู้ใช้จะต้องเลื่อนขึ้นลง ซ้ายขวา
Content
ส่วนเนื้อหาของเว็บไซต์ เป็นส่วนที่สาคัญมากที่สุด หากผู้ใช้
งานไม่สามารถเข้าถึงได้โดยง่ายผู้ใช้งานจะเปลี่ยนไปชมเว็บใหม่ทันที
ตาแหน่งที่ควรวางเนื้อหาไว้คือสีแดง หรือตาแหน่งอื่นๆที่คิดว่าจะทา
ให้ผู้หาเจอได้โดยไม่ลาบาก หากสังเกตดูจะพบว่าเว็บไซต์บางเว็บไซต์
มีโฆษณาที่มากจนเกินไป ทาให้ผู้ใช้งานหาเนื้อหาไม่เจอ นั่นถือเป็น
การออกแบบที่ผิดพลาด
Footer
คือส่วนล่างสุดของหน้าเว็บไซต์ ส่วนใหญ่จะเก็บลิงก์ต่างๆ
เอาไว้ หรือเป็นเนื้อหาที่เกี่ยวกับเ ว็บไซต์เช่นลิขสิทธิ์ต่างๆ ถามว่ า
จาเป็นต้องมีหรือไม่ บอกได้ว่าจาเป็นอย่างยิ่ง footer จะเป็นตัวบอก
ผู้ชมว่าส่วนนี้คือล่างสุดของหน้าที่กาลังแสดงอยู่แล้วนะ ไม่มีเนื้อหา
เพิ่มเติมแล้ว ทาไม่ต้องบอกเนื่องจากการแสดงเว็บไซต์ในบางครั้งนั้น
หน้านั้นอาจโหลดได้ไม่หมด อาจแสดงได้แค่เนื้อหาภายใน หากเรา
ออกแบบให้มี footer ตั้งแต่แรกผู้ใช้งานก็จะรู้ได้ทันทีว่า หน้าที่แสดง
ผลนี้อาจแสดงได้ไม่สมบูรณ์เพราะยังไม่เห็น footer และยังมีผลต่อ
ภาพลักษณ์ของเว็บไซต์โดยตรง เราจะสังเกตได้ว่าเมื่อเข้าไปดูเว็บไซต์
ที่ไม่มี footer จะรู้สึกเหมือนกับว่าเว็บไซต์นั้นยังทาไม่เสร็จ หรือขาด
อะไรบางอย่าง
Whitespace
พื้นที่ว่างในเว็บไซต์ คนส่วนใหญ่มักไม่เห็นความสาคัญของ
การเว้นพื้นที่ว่างไว้ในเว็บไซต์ เรามักจะใส่ภาพหรือตัวหนังสือเข้าไปให้
มากที่สุดเพราะคิดว่าจะทาให้เว็บดูสวยงามขึ้น หรือใช้พื้นที่มีมีอยู่ให้
คุ้มค่าที่สุด หากเราออกแบบโดยไม่ได้คานึงว่าต้องมีพื้นที่ว่างอยู่ใน
เว็บไซต์ จะทาให้เว็บของเรานั้นดูอึดอัดทันที การเว้นช่องว่างเอาไว้ ไม่
ว่าจะเป็นระยะห่างระหว่างตัวอักษร หรือช่องว่างระหว่างภาพ เนื้อหา
ต่างๆ นอกจากจะทาให้เว็บของเราดูสบายตาขึ้นแล้ว ยังทาให้เรา
สามารถกาหนดจุดที่จะให้ผู้ใช้งานเว็บรู้สึกสนใจในจุดนั้นได้อีกด้วย
เช่น หากเราเว้นช่องว่ างเอาไว้ตรงกลาง และนาภาพหรือตัวหนังสือ
เล็กๆไปวางไว้ ตรงจุดนั้นจะเป็นที่สนใจของผู้ใช้ทันที
บทที่ 6
ทฤษฎีสีกับการออกแบบเว็บไซต์
ทฤษฎีสีกับการออกแบบเว็บไซต์
การสร้างสีสันบนหน้าเว็บเป็นสิ่งที่สื่อความหมายของเว็บไซต์
ได้อย่างชัดเจน การเลือกใช้สีให้เหมาะสม กลมกลืน ไม่เพียงแต่จะ
สร้างความพึงพอใจให้กับผู้ใช้ แต่ยังสามารถทาให้เห็นถึงความแตกต่าง
ระหว่างเว็บไซต์ได้ สีเป็นองค์ประกอบหลักสาหรับการตกแต่งเว็บ จึง
จาเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องทาความเข้าใจเกี่ยวกับการใช้สี
ระบบสีที่แสดงบนจอคอมพิว เตอร์ มีระบบการแสดงผลผ่าน
หลอดลาแสงที่เรียกว่า CRT (Cathode ray tube) โดยมีลักษณะ
ระบบสีแบบบวก อาศัยการผสมของของแสงสีแดง สีเขียว และสีน้า
เงิน หรือระบบสี RGB สามารถกาหนดค่าสีจาก 0 ถึง 255 ได้ จากการ
รวมสีของแม่สีหลักจะทาให้เกิดแสงสีขาว มีลักษณะเป็นจุดเล็ก ๆ บน
หน้าจอไม่สามารถมองเห็นด้วยตาเปล่าได้ จะมองเห็นเป็นสีที่ถูกผสม
เป็นเนื้อสีเดียวกันแล้ว จุดแต่ละจุดหรือพิกเซล (Pixel) เป็นส่วน
ประกอบของภาพบนหน้าจอคอมพิวเตอร์ โดยจานวนบิตที่ใช้ในการ
กาหนดความสามารถของการแสดงสีต่าง ๆ เพื่อสร้างภาพบนจอนั้น
เรียกว่า บิตเด็ป (Bit-depth) ในภาษา HTML มีการกาหนดสีด้วย
ระบบเลขฐานสิบหก ซึ่งมีเครื่องหมาย (#) อยู่ด้านหน้าและตามด้วย
เลขฐานสิบหกจานวนอักษรอีก 6 หลัก โดยแต่ละไบต์ (byte) จะมี
ตัวอักษรสองตัว แบ่งออกเป็น 3 กลุ่ม เช่น #FF12AC การใช้ตัวอักษร
แต่ละไบต์นี้เพื่อกาหนดระดับความเข้มของแม่สีแต่ละสีของชุดสี RGB
โดย 2 หลักแรก แสดงถึงความเข้มของสีแดง 2 หลักต่อมา แสดงถึง
ความเข้มของสีเขียว 2 หลักสุดท้ายแสดงถึงความเข้มของสีน้าเงิน
สีมีอิทธิพลในเรื่องของอารมณ์การสื่อความหมายที่เด่นชัด
กระตุ้นการรับรู้ทางด้านจิตใจมนุษย์ สีแต่ละสีให้ความรู้สึก อารมณ์ที่
ไม่เหมือนกัน สีบางสีให้ความรู้สึกสงบ บางสีให้ความรู้สึกตื่นเต้น
รุนแรง สีจึงเป็นปัจจัยสาคัญอย่างยิ่งต่อการออกแบบเว็บไซต์ ดังนั้น
การเลือกใช้โทนสีภายในเว็บไซต์เป็นการแสดงถึงความแตกต่างของสีที่
แสดงออกทางอารมณ์ มีชีวิตชีวาหรือเศร้าโศก รูปแบบของสีที่สายตา
ของมนุษย์มองเห็น สามารถแบ่งออกเป็น 3 กลุ่ม คือ
1. สีโทนร้อน (Warm Colors) เป็นกลุ่มสีที่แสดงถึงความสุข
ความปลอบโยน ความอบอุ่น และดึงดูดใจ สีกลุ่มนี้เป็นกลุ่มสีที่ช่วยให้
หายจากความเฉื่อยชา มีชีวิตชีวามากยิ่งขึ้น
2. สีโทนเย็น (Cool Colors) แสดงถึงความที่ดูสุภาพ
อ่อนโยนเรียบร้อย เป็นกลุ่มสีที่มีคนชอบมากที่สุด สามารถโน้มนาวใน
ระยะไกลได้
3. สีโทนกลาง (Neutral Colors) สีที่เป็นกลาง ประกอบด้วย
สีดา สีขาว สีเทา และสีน้าตาล กลุ่มสีเหล่านี้คือ สีกลางที่สามารถนา
ไปผสมกับสีอื่น ๆ เพื่อให้เกิดสีกลางขึ้นมา
สีโทนร้อน
สีโทนเย็น
สิ่งที่สาคัญต่อผู้ออกแบบเว็บคือการเลือกใช้สีสาหรับเว็บ นอก
จากจะมีผลต่อการแสดงออกของเว็บแล้วยังเป็นการสร้างความรู้สึกที่ดี
ต่อผู้ใช้บริการ ดังนั้นจะเห็นว่าสีแต่ละสีสามารถสื่อความหมายของเว็บ
ได้อย่างชัดเจน ความแตกต่าง ความสัมพันธ์ที่เกิดขึ้นย่อมส่งผลให้เว็บ
มีความน่าเชื่อถือมากยิ่งขึ้น ชุดสีแต่ละชุดมีความสาคัญต่อเว็บถ้าเลือก
ใช้สีไม่ตรงกับวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายอาจจะทาให้เว็บไม่น่าสนใจ
ผู้ใช้บริการจะไม่กลับมาใช้บริก ารอีกภายหลัง ฉะนั้นการใช้สีอย่า ง
เหมาะสมเพื่อสื่อความหมายของเว็บต้องเลือกใช้สีที่มีความกลมกลืน
กัน
ทฤษฎีสี
การใช้สีนั้นเป็นเรื่องที่สาคัญมากในการทาเว็บไซต์ การเลือกสี
ให้เข้ากับเนื้อหาของเว็บไซต์ จะทาให้เว็บไซต์มีความน่าเชื่อถือยิ่งขึ้ น
และยังส่งผลอย่างมากกับความสวยงามของเว็บไซต์ ถ้าเราออกแบบ
โดยใช้สีที่ไม่เข้ากัน ก็จะทาให้เว็บของเราดูไม่สวยไปเลยก็ได้
จิตวิทยาเกี่ยวกับสี
สีนั้นมีความสาคัญอย่างยิ่งในการออกแบบเว็บไซต์ การเลือก
สีให้เข้ากับเนื้อหาของเว็บไซต์ จะทาให้เว็บไซต์มีความน่าเชื่อถือยิ่งขึ้น
และยังส่งผลอย่างมากกับความสวยงามของเว็บไซต์
ความรู้สึกที่คนส่วนใหญ่มีต่อสีต่างๆ
สีฟ้า
ให้ความรู้สึกสงบ สุขุม สุภาพ หนักแน่น เคร่งขรึม เอาการเอา
งาน ละเอียด รอบคอบ สง่างาม มีศักดิ์ศรี สูงศักดิ์ เป็นระเบียบถ่อม
ตน สามารถลดความตื่นเต้น และช่วยทาให้มีสมาธิ แต่ถ้ามีสีน้าเงินเข้ม
เกินไป ก็จะทาให้รู้สึกซึมเศร้าได้
สีเขียว
เป็นสีในวรรณะเย็น จะสร้างความรู้สึกเย็นสบาย ใช้เป็นสีที่
ช่วยผ่อนคลายความเครียดได้ ให้ความรู้สึก สงบ เงียบ ร่มรื่น ร่มเย็น
การพักผ่อน การผ่อนคลาย ธรรมชาติ ความปลอดภัย ปกติ ความสุข
ความสุขุม เยือกเย็น
สีเหลือง
เป็นสีแห่งความเบิกบาน เร้าอารมณ์ และเรียกร้องความสนใจ
ให้ความรู้สึกแจ่มใส ความสดใส ความร่าเริง ความเบิกบานสดชื่น ชีวิต
ใหม่ ความสด ใหม่ ความสุกสว่าง การแผ่กระจาย อานาจบารมี ให้
ลองสังเกตดูว่า วันที่ท้องฟ้ามืดครึ้มปราศจากแสงแดด เราจะรู้สึก
หงอยเหงา หดหู่ แต่พอมีแสงแดด ท้องฟ้าสว่าง มีสีเหลือง เราจะรู้สึก
มีชีวิตชีวาขึ้น
สีแดง
เป็นสีที่สร้างความตื่นเต้น และกระตุ้นสมอง สีแดงปานกลาง
แสดงถึงความมีสุขภาพดี ความมีชีวิต ความรัก ความสาคัญ ความอุดม
สมบูรณ์ ความมั่งคั่ง สีแดงจัดมีความหมายแฝงด้านกามารมณ์
นอกจากนี้สีแดงยังสร้างความรู้สึกรุนแรง ให้ความรู้สึกร้อน กระตุ้น ท้า
ทาย เคลื่อนไหว ตื่นเต้น เร้าใจ มีพลัง มันจะใช้กันกรณีที่เกี่ยวกับ
ความตื่นเต้น หรืออันตราย
สีม่วง
ให้ความรู้สึก มีเสน่ห์ น่าติดตาม เร้นลับ ซ่อนเร้น มีอานาจ มี
พลังแฝงอยู่ ความรัก ความเศร้า ความผิดหวัง ความสงบ ความสูง
ศักดิ์ เป็นสีที่ปลอบโยน และช่วยลดความเครียด แต่เดิมสีม่วงได้มา
จากสัตว์มีกระดอง,เปลือก ในทะเลเมดิเตอร์เรเนียน มีชื่อว่า Purpura
จึงได้ชื่อภาษาอังกฤษว่า Purple
สีส้ม
ให้ความรู้สึก ร้อน ความอบอุ่น ความสดใส มีชีวิตชีวา วัยรุ่น
ความคึกคะนอง การปลดปล่อย ความเปรี้ยว การระวัง เป็นสีที่เร้า
ความรู้สึก ปรกติควรใช้แต่น้อยเมื่อเทียบกับสีอื่น สังเกตว่าคนที่อยู่ใน
ห้องสีส้มจะอยู่ได้ไม่นาน
สีน้าตาล
ให้ความรู้สึกอบอุ่น ได้พักผ่อน แต่ควรใช้ร่วมกับสีส้ม เหลือง
หรือสีทอง เพราะถ้าใช้สีน้าตาลเพียงสีเดียว อาจทาให้เกิดความรู้สึก
หดหู่ได้
สีเทา
ให้ความรู้สึก เศร้า อาลัย ท้อแท้ ความลึกลับ ความหดหู่
ความชรา ความสงบ ความเงียบ สุภาพ สุขุม ถ่อมตน สีนี้มีข้อดีคือทา
ให้เย็น แต่สร้างความสร้างความรู้สึกหม่นหมองได้ ควรใช้ร่วมกับสีที่มี
ชีวิต โทนสว่างอย่างน้อยหนึ่งสี
สีขาว
ให้ความรู้สึก บริสุทธิ์ สะอาด สดใส เบาบาง อ่อนโยนเปิดเผย
การเกิด ความรัก ความหวัง ความจริง ความเมตตา ความศรัทธา
ความดีงาม ให้ความรู้สึกรื่นเริง โดยเฉพาะเมื่อใช้กับสีแดง เหลือง และ
ส้ม
ประโยชน์ของสีในเว็บไซต์
สีเป็นเครื่องมืออเนกประสงค์อย่างหนึ่งที่มีความสาคัญมากใน
การออกแบบเว็บไซต์ เนื่องจากสีสามารถสื่อถึงความรู้สึกและอารมณ์
และยังช่วยสร้างความสัมพันธ์ระหว่างสถานที่กับเวลาอีกด้วยดังนั้นสีจึง
เป็นปัจจัยสาคัญอย่างหนึ่งที่จะช่วยเสริมสร้างความหมายของ
องค์ประกอบให้กับเว็บเพจได้ อย่างดี
ประโยชน์ของสีในรูปแบบต่างๆ มีดังนี้
- สีสามารถชักนาสายตาผู้อ่านให้ไปยังทุกบริเวณในหน้าเว็บ
เพจ
- สีช่วยเชื่อมโยงบริเวณที่ได้รับการออกแบบเข้าด้วยกัน
หนังสือเล่มเล็ก
หนังสือเล่มเล็ก

More Related Content

What's hot

วรรณกรรมเรื่องขุนช้างขุนแผน พร้อมแบบฝึกหัด
วรรณกรรมเรื่องขุนช้างขุนแผน พร้อมแบบฝึกหัดวรรณกรรมเรื่องขุนช้างขุนแผน พร้อมแบบฝึกหัด
วรรณกรรมเรื่องขุนช้างขุนแผน พร้อมแบบฝึกหัดThiranan Suphiphongsakorn
 
การวัดตำแหน่งที่ของข้อมูลม.6
การวัดตำแหน่งที่ของข้อมูลม.6การวัดตำแหน่งที่ของข้อมูลม.6
การวัดตำแหน่งที่ของข้อมูลม.6
KruGift Girlz
 
แบบทดสอบ ภาษาไทย(วรรณคดี) ม.3
แบบทดสอบ ภาษาไทย(วรรณคดี) ม.3แบบทดสอบ ภาษาไทย(วรรณคดี) ม.3
แบบทดสอบ ภาษาไทย(วรรณคดี) ม.3teerachon
 
โครงงานภาษาไทย เรื่อง คำไทยที่มักเขียนผิด
โครงงานภาษาไทย เรื่อง คำไทยที่มักเขียนผิดโครงงานภาษาไทย เรื่อง คำไทยที่มักเขียนผิด
โครงงานภาษาไทย เรื่อง คำไทยที่มักเขียนผิด
ธณัชช์ภรณ์ ศิริวัชเดชากุล
 
รามเกียรติ์ ตอนนารายณ์ปราบนนทก พร้อมแบบฝึกหัด
รามเกียรติ์ ตอนนารายณ์ปราบนนทก พร้อมแบบฝึกหัดรามเกียรติ์ ตอนนารายณ์ปราบนนทก พร้อมแบบฝึกหัด
รามเกียรติ์ ตอนนารายณ์ปราบนนทก พร้อมแบบฝึกหัดMethaporn Meeyai
 
ตัวอย่างโครงงานคอม
ตัวอย่างโครงงานคอมตัวอย่างโครงงานคอม
ตัวอย่างโครงงานคอมปยล วชย.
 
สรุปหัวใจชายหนุ่ม
สรุปหัวใจชายหนุ่มสรุปหัวใจชายหนุ่ม
สรุปหัวใจชายหนุ่ม
Nattha-aoy Unchai
 
โครงงานคณิตบทที่ 1
โครงงานคณิตบทที่ 1โครงงานคณิตบทที่ 1
โครงงานคณิตบทที่ 1
Jutarat Bussadee
 
ภาษาไทย จ้า11
ภาษาไทย จ้า11ภาษาไทย จ้า11
ภาษาไทย จ้า11
Suphatsorn Pennuanoong
 
10บรรณานุกรม
10บรรณานุกรม10บรรณานุกรม
10บรรณานุกรมkrupornpana55
 
การเขียนสารคดี ขนมจีน
การเขียนสารคดี ขนมจีนการเขียนสารคดี ขนมจีน
การเขียนสารคดี ขนมจีนMaii's II
 
บทที่ 5
บทที่ 5บทที่ 5
บทที่ 5
Jutarat Bussadee
 
Unit4 ความขัดแย้งและความร่วมมือในคริสต์ศตวรรษที่ 20
Unit4 ความขัดแย้งและความร่วมมือในคริสต์ศตวรรษที่ 20Unit4 ความขัดแย้งและความร่วมมือในคริสต์ศตวรรษที่ 20
Unit4 ความขัดแย้งและความร่วมมือในคริสต์ศตวรรษที่ 20Princess Chulabhorn's College, Chiang Rai Thailand
 
วงรี
วงรีวงรี
วงรี
Siwimol Wannasing
 
สรุปเนื้อหาภาษาไทย..ม.ต้น
สรุปเนื้อหาภาษาไทย..ม.ต้นสรุปเนื้อหาภาษาไทย..ม.ต้น
สรุปเนื้อหาภาษาไทย..ม.ต้น
Took Took Rachataporn
 
แผน พล ม. 1 ภาค 1 ปี 54 ปิงปอง
แผน พล ม. 1 ภาค  1 ปี 54  ปิงปองแผน พล ม. 1 ภาค  1 ปี 54  ปิงปอง
แผน พล ม. 1 ภาค 1 ปี 54 ปิงปองsomchaitumdee50
 
เอกสารประกอบการอบรม PPT-มัธยม.pdf
เอกสารประกอบการอบรม PPT-มัธยม.pdfเอกสารประกอบการอบรม PPT-มัธยม.pdf
เอกสารประกอบการอบรม PPT-มัธยม.pdf
Kanyarat Sirimathep
 
ไตรภูมิพระร่วง
ไตรภูมิพระร่วงไตรภูมิพระร่วง
ไตรภูมิพระร่วง
พัน พัน
 
โจทย์ปัญหา
โจทย์ปัญหาโจทย์ปัญหา
โจทย์ปัญหาAon Narinchoti
 

What's hot (20)

วรรณกรรมเรื่องขุนช้างขุนแผน พร้อมแบบฝึกหัด
วรรณกรรมเรื่องขุนช้างขุนแผน พร้อมแบบฝึกหัดวรรณกรรมเรื่องขุนช้างขุนแผน พร้อมแบบฝึกหัด
วรรณกรรมเรื่องขุนช้างขุนแผน พร้อมแบบฝึกหัด
 
การวัดตำแหน่งที่ของข้อมูลม.6
การวัดตำแหน่งที่ของข้อมูลม.6การวัดตำแหน่งที่ของข้อมูลม.6
การวัดตำแหน่งที่ของข้อมูลม.6
 
แบบทดสอบ ภาษาไทย(วรรณคดี) ม.3
แบบทดสอบ ภาษาไทย(วรรณคดี) ม.3แบบทดสอบ ภาษาไทย(วรรณคดี) ม.3
แบบทดสอบ ภาษาไทย(วรรณคดี) ม.3
 
โครงงานภาษาไทย เรื่อง คำไทยที่มักเขียนผิด
โครงงานภาษาไทย เรื่อง คำไทยที่มักเขียนผิดโครงงานภาษาไทย เรื่อง คำไทยที่มักเขียนผิด
โครงงานภาษาไทย เรื่อง คำไทยที่มักเขียนผิด
 
รามเกียรติ์ ตอนนารายณ์ปราบนนทก พร้อมแบบฝึกหัด
รามเกียรติ์ ตอนนารายณ์ปราบนนทก พร้อมแบบฝึกหัดรามเกียรติ์ ตอนนารายณ์ปราบนนทก พร้อมแบบฝึกหัด
รามเกียรติ์ ตอนนารายณ์ปราบนนทก พร้อมแบบฝึกหัด
 
ตัวอย่างโครงงานคอม
ตัวอย่างโครงงานคอมตัวอย่างโครงงานคอม
ตัวอย่างโครงงานคอม
 
29 ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน บทนำ
29 ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน บทนำ29 ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน บทนำ
29 ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน บทนำ
 
สรุปหัวใจชายหนุ่ม
สรุปหัวใจชายหนุ่มสรุปหัวใจชายหนุ่ม
สรุปหัวใจชายหนุ่ม
 
โครงงานคณิตบทที่ 1
โครงงานคณิตบทที่ 1โครงงานคณิตบทที่ 1
โครงงานคณิตบทที่ 1
 
ภาษาไทย จ้า11
ภาษาไทย จ้า11ภาษาไทย จ้า11
ภาษาไทย จ้า11
 
10บรรณานุกรม
10บรรณานุกรม10บรรณานุกรม
10บรรณานุกรม
 
การเขียนสารคดี ขนมจีน
การเขียนสารคดี ขนมจีนการเขียนสารคดี ขนมจีน
การเขียนสารคดี ขนมจีน
 
บทที่ 5
บทที่ 5บทที่ 5
บทที่ 5
 
Unit4 ความขัดแย้งและความร่วมมือในคริสต์ศตวรรษที่ 20
Unit4 ความขัดแย้งและความร่วมมือในคริสต์ศตวรรษที่ 20Unit4 ความขัดแย้งและความร่วมมือในคริสต์ศตวรรษที่ 20
Unit4 ความขัดแย้งและความร่วมมือในคริสต์ศตวรรษที่ 20
 
วงรี
วงรีวงรี
วงรี
 
สรุปเนื้อหาภาษาไทย..ม.ต้น
สรุปเนื้อหาภาษาไทย..ม.ต้นสรุปเนื้อหาภาษาไทย..ม.ต้น
สรุปเนื้อหาภาษาไทย..ม.ต้น
 
แผน พล ม. 1 ภาค 1 ปี 54 ปิงปอง
แผน พล ม. 1 ภาค  1 ปี 54  ปิงปองแผน พล ม. 1 ภาค  1 ปี 54  ปิงปอง
แผน พล ม. 1 ภาค 1 ปี 54 ปิงปอง
 
เอกสารประกอบการอบรม PPT-มัธยม.pdf
เอกสารประกอบการอบรม PPT-มัธยม.pdfเอกสารประกอบการอบรม PPT-มัธยม.pdf
เอกสารประกอบการอบรม PPT-มัธยม.pdf
 
ไตรภูมิพระร่วง
ไตรภูมิพระร่วงไตรภูมิพระร่วง
ไตรภูมิพระร่วง
 
โจทย์ปัญหา
โจทย์ปัญหาโจทย์ปัญหา
โจทย์ปัญหา
 

Similar to หนังสือเล่มเล็ก

หนังสือเล่มเล็ก
หนังสือเล่มเล็กหนังสือเล่มเล็ก
หนังสือเล่มเล็กPhanudet Senounjan
 
โครงงานบอร์ดอาหารไทยสี่ภาค
โครงงานบอร์ดอาหารไทยสี่ภาคโครงงานบอร์ดอาหารไทยสี่ภาค
โครงงานบอร์ดอาหารไทยสี่ภาค
Montra Songsee
 
Travel check in
Travel check inTravel check in
Travel check in
Fearn_clash
 
โครงร่างโครงงาน
โครงร่างโครงงานโครงร่างโครงงาน
โครงร่างโครงงาน
wisita42
 
ใบงานที่ 2 - 8
ใบงานที่ 2 - 8ใบงานที่ 2 - 8
ใบงานที่ 2 - 8
PluemSupichaya
 
แบบโครงร่าง Com
แบบโครงร่าง Comแบบโครงร่าง Com
แบบโครงร่าง ComPattaraporn Khantha
 
คำอธิบายรายวิชางานไม้ครุภัณฑ์
คำอธิบายรายวิชางานไม้ครุภัณฑ์คำอธิบายรายวิชางานไม้ครุภัณฑ์
คำอธิบายรายวิชางานไม้ครุภัณฑ์อำนาจ ศรีทิม
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ ใบงานที่ 2-8
โครงงานคอมพิวเตอร์ ใบงานที่ 2-8โครงงานคอมพิวเตอร์ ใบงานที่ 2-8
โครงงานคอมพิวเตอร์ ใบงานที่ 2-8
Phuchit Mondath
 
หนังสือเล่มเล็ก
หนังสือเล่มเล็กหนังสือเล่มเล็ก
หนังสือเล่มเล็กMelody Moon
 
โครงร่างงานคอม
โครงร่างงานคอมโครงร่างงานคอม
โครงร่างงานคอมptrnan
 
โครงร่าง
โครงร่างโครงร่าง
โครงร่างptrnan
 
ทฤษฎีการออกแบบเว็บไซต์
ทฤษฎีการออกแบบเว็บไซต์ทฤษฎีการออกแบบเว็บไซต์
ทฤษฎีการออกแบบเว็บไซต์Noo Pui Chi Chi
 
ทฤษฎีการออกแบบเว็บไซต์
ทฤษฎีการออกแบบเว็บไซต์ทฤษฎีการออกแบบเว็บไซต์
ทฤษฎีการออกแบบเว็บไซต์Noo Pui Chi Chi
 
Computer
ComputerComputer
Computer
poompeemm
 

Similar to หนังสือเล่มเล็ก (20)

Theory of website design
Theory of website designTheory of website design
Theory of website design
 
หนังสือเล่มเล็ก
หนังสือเล่มเล็กหนังสือเล่มเล็ก
หนังสือเล่มเล็ก
 
Project m607
Project m607Project m607
Project m607
 
โครงงานบอร์ดอาหารไทยสี่ภาค
โครงงานบอร์ดอาหารไทยสี่ภาคโครงงานบอร์ดอาหารไทยสี่ภาค
โครงงานบอร์ดอาหารไทยสี่ภาค
 
Travel check in
Travel check inTravel check in
Travel check in
 
โครงร่างโครงงาน
โครงร่างโครงงานโครงร่างโครงงาน
โครงร่างโครงงาน
 
Projectm6 2-2556
Projectm6 2-2556Projectm6 2-2556
Projectm6 2-2556
 
h6ju
h6juh6ju
h6ju
 
ใบงานที่ 2 - 8
ใบงานที่ 2 - 8ใบงานที่ 2 - 8
ใบงานที่ 2 - 8
 
แบบโครงร่าง Com
แบบโครงร่าง Comแบบโครงร่าง Com
แบบโครงร่าง Com
 
คำอธิบายรายวิชางานไม้ครุภัณฑ์
คำอธิบายรายวิชางานไม้ครุภัณฑ์คำอธิบายรายวิชางานไม้ครุภัณฑ์
คำอธิบายรายวิชางานไม้ครุภัณฑ์
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ ใบงานที่ 2-8
โครงงานคอมพิวเตอร์ ใบงานที่ 2-8โครงงานคอมพิวเตอร์ ใบงานที่ 2-8
โครงงานคอมพิวเตอร์ ใบงานที่ 2-8
 
หนังสือเล่มเล็ก
หนังสือเล่มเล็กหนังสือเล่มเล็ก
หนังสือเล่มเล็ก
 
โครงร่างงานคอม
โครงร่างงานคอมโครงร่างงานคอม
โครงร่างงานคอม
 
โครงร่าง
โครงร่างโครงร่าง
โครงร่าง
 
Ana_web
Ana_webAna_web
Ana_web
 
ทฤษฎีการออกแบบเว็บไซต์
ทฤษฎีการออกแบบเว็บไซต์ทฤษฎีการออกแบบเว็บไซต์
ทฤษฎีการออกแบบเว็บไซต์
 
ทฤษฎีการออกแบบเว็บไซต์
ทฤษฎีการออกแบบเว็บไซต์ทฤษฎีการออกแบบเว็บไซต์
ทฤษฎีการออกแบบเว็บไซต์
 
ใบงานที่2-8
ใบงานที่2-8ใบงานที่2-8
ใบงานที่2-8
 
Computer
ComputerComputer
Computer
 

หนังสือเล่มเล็ก

  • 1. ทฤษฎีการออกแบบเว็บไซต์ จัดทาโดย นางสาวพัชราพร ภูสมตา 533410080519 นางสาวรุ่งรัตน์ รมย์รื่น 533410080525 นางสาวศุภรัตน์ บุญชู 533410080528 นายศักดา น้อยศรี 533410080546 หมู่เรียนที่ 5 Group 6 ชั้นปีที่ 4 เสนอ อาจารย์ปวริส สารมะโน สาขาคอมพิวเตอร์ศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฎมหาสารคาม
  • 2. คานา หลักการออกเว็บไซต์ เป็นหนังสือที่จัดทาขึ้น เพื่อให้ศึกษา หลักการ ทฤษฎี ต่างๆ เกี่ยวกับการออกแบบเว็บไซต์ได้เป็นอย่างดี และเมื่ออ่านหนังสือเล่มนี้แล้วสามารถออกแบบเว็บไซต์ให้สวยงานได้ หนังสือเล่มนี้ให้ข้อมูลเกี่ยวกับ แนวคิดและทฤษฎีเกี่ยวกับการ สื่อสาร การประชาสัมพันธ์ของเว็บไซต์ ความหมายของเว็บไซต์ การ ออกแบบและการพัฒนาเว็บไซต์ ขั้นตอนการพัฒนาเว็บไซต์ ส่วนประกอบของหน้าเว็บไซต์ โดยผู้จัดทาได้เรียบเรียงเป็นลาดับดับ ขั้นตอน ซึ่งง่ายต่อการศึกษา การเข้าใจ และการจดจาเป็นอย่างดี ผู้จัดทาได้หวังเป็นอย่างยิ่งว่าหนังสือหลักการออกแบบ เว็บไซต์ นี้จะเป็นประโยชน์ต่อผู้เรียน ผู้สอน สาหรับนาไปใช้ ในการ เรียนรู้และศึกษาด้วยตนเอง ขอขอบคุณผู้เจ้าของข้อมูลทั้งด้านหนังสือ คู่มือ และเว็บไซท์ที่มีส่วนช่วย ในการจัดทาทุกท่านมา ณ โอกาสนี้ คณะผู้จัดทา
  • 3. สารบัญ เรื่อง หน้า บทที่ 1 แนวคิดและทฤษฎีเกี่ยวกับการสื่อสาร แนวคิดและทฤษฎีเกี่ยวกับการสื่อสารของ 2 แบลโลว์ กิลสันและโอดิออร์น แนวคิดและทฤษฎีเกี่ยวกับการสื่อสารของ 2 โรเจอร์ แนวคิดและทฤษฎีเกี่ยวกับการสื่อสารขอ 2 งชรามม์ แนวคิดและทฤษฎีเกี่ยวกับผลของการสื่อสาร 4 และความพึงพอใจของการสื่อสาร บทที่ 2 ทฤษฎีการประชาสัมพันธ์ ความสาคัญและความหมายของ 7 การประชาสัมพันธ์ แนวคิดทฤษฎีการประชาสัมพันธ์ 8 ของ วิรัช ลภิรัตนกุล แนวคิดทฤษฎีการประชาสัมพันธ์ 8 ของ ณัฐนันท์ ศิริเจริญ ศาสตร์และศิลป์ของการประชาสัมพันธ์ 9 การประชาสัมพันธ์ที่เป็นศิลปะ 10
  • 4. สารบัญ เรื่อง หน้า หลักการประชาสัมพันธ์ 11 สื่อและการสื่อสารเพื่อการประชาสัมพันธ์ 13 ที่มีประสิทธิภาพ บทที่ 3 เว็บไซต์ ความหมายของเว็บไซต์ (Web Site) 15 ความสาคัญของเว็บไซต์ 17 ประโยชน์ของเว็บไซต์ 18 บทที่ 4 การออกแบบและการพัฒนาเว็บไซต์ ความสาคัญของการออกแบบเว็บไซต์ 20 การออกแบบโครงสร้างหน้าตาของเว็บไซต์ 20 ขั้นตอนการออกแบบเว็บไซต์ 21 ขั้นตอนการพัฒนาเว็บไซต์ 24 บทที่ 5 ส่วนประกอบของหน้าเว็บไซต์ ส่วนประกอบของเว็บไซต์ที่ดี 31 บทที่ 6 ทฤษฎีสีกับการออกแบบเว็บไซต์ ทฤษฎีสีกับการออกแบบเว็บไซต์ 35 ความรู้สึกที่คนส่วนใหญ่มีต่อสีต่างๆ 38
  • 5. บทที่ 1 แนวคิดและทฤษฎีเกี่ยวกับการสื่อสาร การสื่อสารนี้ เกิดจากแนวความคิด ที่ว่าการสื่อสาร เป็น กระบวนการแลกเปลี่ยน โดยมีสาระสาคัญที่ว่าผู้สื่อสารทาหน้าที่ทั้ง ผู้ส่งและผู้รับข่าว ในขณะเดียวกันไม อาจระบุว่า การสื่อสารเริ่มต้น และสิ้นสุดที่จุดใด เพราะถือว่าการสื่อสารมีลักษณะเป็นวงกลม และ ไมมีที่สิ้นสุด ผู้รับข่าวและผู้ส่งข่าวนอก จากจะทาหน้ าที่ทั้งการ เข้ารหัสและ ถอดรหัส แล้วยังเป็น ผู้ก่อให้เกิดข่าวสาร และกาหนด พฤติกรรม ภาพที่ 1 กระบวนการสื่อสาร
  • 6. แนวคิดและทฤษฎีเกี่ยวกับการสื่อสารของ แบลโลว์ กิลสัน และโอดิ ออร์น แบลโลว์ กิลสันและโอดิออร น (Bollow, Gilson and Odiorne, 1962) ได้กล่าวว่า การติดต่อสื่อสารในองค์การ หมายถึง แลกเปลี่ยนคาพูด อักษร สัญลักษณ์ หรือข่าวสาร เพื่อให้สมาชิกใน องค์การหนึ่งได้เข้าใจความหมาย และสามารถเข้าใจฝ่ายอื่นได้ ซึ่งถ้า พิจารณาในทางการ บริหารองค์การ อาจจะกล่าวให้ชัดเจนขึ้นได วา การติดต่อสื่อสาร คือ การกระจายหรือสื่อความหมายเกี่ยวกับ นโยบาย และคาสั่ง ลงไปยัง เบื้องล่าง พรอมกับ รับข้อเสนอ แนะ ความเห็นและความรู้สึกต่าง ๆ กลับมา แนวคิดและทฤษฎีเกี่ยวกับการสื่อสารของ โรเจอร์ โรเจอร์ (Rogers, 1976) ได้ให้ความหมายของกา ร ติดต่อสื่อสารว่าเป็นการถ่ายทอดและแลกเปลี่ยนข้อเท็จจริง ความรู้สึก ความคิด หรือการกระทาต่าง ๆ โดยมีเจตนาที่จะเปลี่ยนพฤติกรรม ของบุคคล พฤติกรรมในที่นี้ หมายถึง การเปลี่ยนความรู้ ความเข้าใจ ทัศนคติ และพฤติกรรมที่แสดงออกโดยเปิดเผย แนวคิดและทฤษฎีเกี่ยวกับการสื่อสารของ ชรามม์ ชรามม์ (Schramm, 1973) ได้พยายามอธิบายถึง กระบวน การติดต่อสื่อสารเป็นวงจรในการแลกเปลี่ยนข่าวสารระหว่างบุคคล 2 คน ซึ่งกระบวนการสื่อสารจะเริ่มตั้งแต่การแปลความหมายการ
  • 7. ถ่ายทอดข่าวสารซึ่งกันและกันเป็นกระบวนการที่เกิดขึ้นซ้ากันไปเรื่อย จนกว่าทั้งสองฝ่ายจะเข้าใจซึ่งกันและกัน สรุป ไม่มีคาจากัดความของการสื่อสารอย่างใดอย่างหนึ่งที่จะ นาไปใช้กับพฤติกรรมการสื่อสารได้ทุกรูปแบบ แต่ละคาจากัดความจะ มีวัตถุประสงค์ และผลที่เกิดขึ้นแตกต่างกัน จึงทาให้ความหมายของ การสื่อสารกว้าง และนาไปใช้ในสถานการณ์ต่าง ๆ การพิจารณา ความหมายของการสื่อสารจึงต้องเลือกใช้ให้เหมาะสมกับกิจกรรม สื่อสารเป็นเรื่อง ๆ ไป ดังนั้นการสื่อสารต้องเกี่ยวกับองค์ประกอบ สาคัญ ๆ 3 ประการ อันได้แก่ ผู้ส่งข่าวสาร (Sender) ผู้รับข่าวสาร (Receiver) และตัวข่าวสาร (Message) เมื่อนามารวมกันจะเรียกว่า เป็นการสื่อสาร การสื่อสารเป็นกิจกรรมที่ไม่อยู่นิ่งมีการเปลี่ยนแปลงอยู่ ตลอดเวลา และมีความยุ่งยาก สลับซับซ้อน การเรียนรู้รูปแบบต่าง ๆ ของการสื่อสารนั้นมีเหตุผล 4 ประการ คือ 1. ช่วยให้มีโอกาสที่จะเลือกกระบวนการของการสื่อสาร และ ปัจจัยต่าง ๆ เพื่อนาไปใช้กับกิจกรรมทางการสื่อสารที่เกิดขึ้นจริง ทั้งนี้ เพราะว่าไม่มีรูปแบบการสื่อสารอย่างใดอย่างหนึ่งเพียงชนิดเดียวที่ สามารถนาเอาไปใช้กับข้อมูลต่าง ๆ ทางการสื่อสารได้โดยสมบูรณ์ 2. ช่วยให้ค้นพบความจริงใหม่ ๆ เกี่ยวกับการสื่อสาร เพราะ การสื่อสารแต่ละรูปแบบย่อมก่อให้เกิดปัญหาต่าง ๆ กัน 3. ช่วยให้เกิดการคาดคะเนล่วงหน้าเกี่ยวกับการสื่อสารขึ้น และรูปแบบเหล่านี้จะช่วยให้คาดคะเนได้ว่า อะไรจะเกิดขึ้นในแต่ละ
  • 8. สภาพของการสื่อสาร ซึ่งการคาดคะเนเหล่านี้จะช่วยให้การสื่อสารมี ประสิทธิภาพ 4. ช่วยให้สามารถหาวิธีมาวัดปัจจัย และกระบวนการในการ สื่อสารต่าง ๆ ได้ เพราะรูปแบบ การสื่อสารแต่ละอย่างมักจะมีลักษณะพิเศษที่เป็นของตัวเอง ในเรื่องเกี่ยวกับช่องทางของการสื่อสารหรือวิธีการส่งข่าว ซึ่งจะ สามารถวัดข้อมูลที่ถูกส่งออกไปได้ แนวคิดและทฤษฎีเกี่ยวกับผลของการสื่อสาร และความพึงพอใจ ของการสื่อสาร ผลของการสื่อสารเกิดจากองค์ประกอบของกระบวนการ สื่อสารที่ประกอบไปด้วยผู้ส่งสารทาการส่งข่าวสาร โดยผ่านช่อง ทางการสื่อสารไปยังผู้รับสาร และเมื่อผู้รับสารได้รับสารนั้นแล้วย่อม เกิดปรากฎการณ์อย่างใดอย่างหนึ่งขึ้น โดยสิ่งที่เกิดขึ้นนั้นอาจ เปลี่ยนแปลงด้านความรู้สึกนึกคิด อารมณ์ รวมไปถึงความรู้ ความ เข้าใจและพฤติกรรมของ ผู้รับสารนั้นด้วย ภาพที่ 2 การสื่อสาร
  • 9. สุรสิทธิ์ วิทยารัฐ (2549) ได้สรุปไว้ว่า การเปลี่ยนแปลงจาก ผลของการสื่อสารอาจก่อให้เกิดผล 3 ประการ กล่าวคือ การ เปลี่ยนแปลงความรู้ (Knowledge Change) การเปลี่ยนทัศนคติ (Attitude Change) และการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม (Practice Change) โดยการเปลี่ยนแปลงสามารถแบ่งได้ตามหลักเกณฑ์ความดี และ ไม่ดีของผลที่เกิดขึ้น ซึ่งเป็นการพิจารณาว่าผลของการสื่อสารใน ครั้งนั้น ๆ ก่อให้เกิดผลดีต่อบุคคลหรือเป็นผลที่ทาให้ผู้ส่งสารบรรลุ วัตถุประสงค์ตามที่ตั้งใจหรือไม่ ทั้งนี้สามารถ แบ่งได้เป็น 2 ประเภท คือ ประเภทแรก คือผลทางบวก (Positive Effect) ซึ่งเป็นผล ของการสื่อสารที่บรรลุวัตถุประสงค์ของผู้ส่งสารที่ตั้งไว้และก่อให้เกิด ผลดีต่อบุคคล ประเภทที่สอง คือผลทางลบ (Negative Effect) เป็นผลของ การสื่อสารที่ไม่บรรลุวัตถุประสงค์ที่ผู้ส่งสารได้คาดหมายไว้ อีกทั้งยัง ก่อให้เกิดผลไม่ดีต่อตัวบุคคลอีกด้วยเมื่อผลของการสื่อสารเกิดใน ทางบวกหรือลบก็ตามสิ่งที่เกิดขึ้นต่อมาแก่ผู้รับสารก็คือความพึงพอใจ ของการสื่อสาร วรูม (Vroom,1964) ได้กล่าวว่า ทัศนคติและความพึงพอใจ ต่อสิ่งหนึ่งสามารถใช้แทนกันได้เพราะทั้งสองคานี้หมายถึงผลที่ได้จาก การที่บุคคลเข้าไปมีส่วนร่วมในสิ่งนั้นหากผู้รับสารมีทัศนคติในด้าน บวกก็จะแสดงให้เห็นความพึงพอใจในสิ่งนั้น และในทัศนคติด้านลบก็ จะแสดงให้เห็นสภาพความไม่พึงพอใจเช่นกัน
  • 10. วิมลสิทธิ์ หรยางกูร (2549) ได้ให้ความหมายเพิ่มเติมว่า เป็น การให้ค่าความรู้สึกของคนเราที่เกี่ยวกับความหมายของ สภาพแวดล้อม โดยค่าความรู้สึกของบุคคลที่มีต่อสภาพแวดล้อมจะ แตกต่างกัน เช่น ความรู้สึก ดี-เลว พอใจ-ไม่พอใจ สนใจ-ไม่สนใจ เป็น ต้น
  • 11. บทที่ 2 ทฤษฎีการประชาสัมพันธ์ ความสาคัญและความหมายของการประชาสัมพันธ์ นิเทศศาสตร์เป็นศาสตร์ที่ว่าด้วยการติดต่อสื่อสารทุกรูปแบบ ไม่ว่าจะเป็นการสื่อสารมวลชน หรือการโฆษณา การประชาสัมพันธ์ ตลอดจนการพูดและการแสดง ทั้งนี้เพราะคาว่า “นิเทศ” หมายถึง การชี้แจง หรือการแสดงนั้นเอง การประขาสัมพันธ์ (Public Relations) เป็นคาที่ใช้กันอย่างแพรหลา โดยเฉพาะอย่างยิ่งหน่วยงาน ภาครัฐทั้งนี้เพราะ การประชาสัมพันธ์เป็นกิจกรรมเพื่อสร้างความ เข้าใจ และความสัมพันธ์ที่ดีระหว่างชุมชน และกลุ่มคนประเภทต่างๆ ภาพที่ 3 การประชาสัมพันธ์ด้านธุรกิจ
  • 12. แนวคิดทฤษฎีการประชาสัมพันธ์ของ วิรัช ลภิรัตนกุล วิรัช ลภิรัตนกุล (2546 : 2, 22) ได้กล่าวถึงความสาคัญของ การประชาสัมพันธ์ว่าเพื่อการชักจูงประชามติ (public opinion) ด้วย วิธีการติดต่อสื่อสาร (communication) เพื่อให้กลุ่มเป้าหมาย (target publics) เกิดมีความรู้ ความเข้าใจ และความรู้สึกนึกคิดที่ ดี ต่อหน่วยงาน องค์การ สถาบัน กา รประชาสัมพันธ์จึงเป็นการเผยแพร่ ที่เป็นในเชิงการสร้างสรรค์ที่ก่อให้เกิดความรู้ ความเข้าใจแก่ประชาชน เป็นงานส่งเสริมสัมพันธภาพระหว่างหน่วยงาน หรือกลุ่มประชาชนที่ เกี่ยวข้องจึงเป็นการสร้างค่านิยม (goodwill) แก่กลุ่มประชาชนต่างๆ ด้วยวิธีการบอกกล่าว (inform) ชี้แจงให้ประชาชนได้ทราบถึงนโยบาย วัตถุประสงค์ และสิ่งซึ่งองค์การ สถาบันได้ทาลงไป แนวคิดทฤษฎีการประชาสัมพันธ์ของ ณัฐนันท์ ศิริเจริญ ณัฐนันท์ ศิริเจริญ (2548:110) ให้ความหมายของการ ประชาสัมพันธ์ว่า เป็นการติดต่อสื่อสาร ระหว่างองค์กรกับสาธารณชน เพื่อบอกกล่าวให้ทราบ ชี้แจงทาความเข้าใจใ ห้ถูกต้องเกี่ยวกับความ คิดเห็น (opinion) ทัศนคติ (Attitude) และค่านิยม (value) สร้าง ชื่อเสียงและภาพพจน์ที่ดี สร้างเสริมและรักษา (to build and sustain) ความสัมพันธ์ที่ดี นาไปสู่การสนับสนุน และความร่วมมือจาก กลุ่มเป้าหมาย
  • 13. สรุป ความหมายของการประชาสัมพันธ์ คือ การที่องค์กรให้ข้อมูล สารไปยังประชาชนเพื่อให้ทราบหรือสร้างความเข้าใจกับประชาชน ทา ให้เกิดทัศนคติและภาพพจน์ที่ดีต่อองค์กร โดยทั่วไปความหมายของ การประชาสัมพันธ์ คนทั่วไปมักจะ เข้าใจผิดว่าหมายถึง การประกาศ หรือการโฆษณาสินค้าหรือ ผลิตภัณฑ์ต่างๆ นอกจากนี้ยังอาจเข้าใจว่า เป็นการสอบถาม หรืองาน ติดต่อสอบถาม ทาให้เกิดการสับสนขึ้น การประชาสัมพันธ์ จะประสบผลสาเร็จได้ต้องอาศัย การ สื่อสารที่มีประสิทธิภาพ ต้องมีการวางแผน กาหนดวัตถุประสงค์ และ ดาเนินการจริงตามแผนที่ได้วางไว้ อย่างเหมาะสม สามารถปรับแก้ไข ได้บางกรณีซึ่งจะทาให้ได้ผลงานที่ดีกว่า ศาสตร์และศิลป์ของการประชาสัมพันธ์ ลภิรัตนกุล. (2546 : 27-28) ได้พูดถึงการประชาสัมพันธ์ว่า การประชาสัมพันธ์นั้น อาจพิจารณาได้ว่าเป็นทั้งศาสตร์ และศิลปะ พร้อมกันในตัวเอง กล่าวคือ การประชาสัมพันธ์ที่เป็นศาสตร์ ศาสตร์ ในที่นี้หมายถึงวิทยาการ ความรู้ ความเชื่อถือที่กาหนดไว้เป็นระบบ ระเบียบที่พึงเชื่อถือได้ สามารถศึกษาค้นคว้าหาความจริงได้อย่างมี ระเบียบแบบแผน และมีระบบวิชาการประชาสัมพันธ์ เป็นวิชาที่มี ระเบียบแบบแผน มีเหตุมีผลและอาจศึกษาเรียนรู้ได้จาก ตาหรับ ตาราต่างๆ เป็นการศึกษาค้นคว้าหาหลักและทฤษฎีที่น่าเชื่อถือได้ไว้ใช้ เป็นแนวทาง ในการดาเนินงานประชาสัมพันธ์ มีการศึกษาค้นคว้าถึง
  • 14. กระบวนการในการสื่อสารประชาสัมพันธ์ของมนุษย์ เพื่ออธิบายและ วิเคราะห์พฤติกรรมของมนุษย์ที่มีปฏิกิริยาสัมพันธ์ต่อกันในสังคม รวมทั้งการศึกษาวิจัยถึงประชามติ และความสัมพันธ์กันระหว่างกลุ่ม บุคคลกับองค์กรสถาบันที่เกี่ยวข้อง เป็นต้น สิ่งต่างๆ เหล่านี้สามารถ ศึกษา เรียนรู้วิธีการ และถ่ายทอดความรู้ให้แก่ผู้อื่นได้ ฉะนั้น จึงกล่าว ได้ว่า วิชาการประชาสัมพันธ์อยู่ในขอบเขตของศาสตร์ทางด้านสังคม วิทยา การประชาสัมพันธ์ที่เป็นศิลปะ การประชาสัมพันธ์เป็นการนาเอาหลักการ ความรู้ที่ได้ศึกษา มา ไปประยุกต์ใช้ จึงมีลักษณะเป็นศิลปะ การดาเนินงาประชาสัมพันธ์ จะยึดถือกฎเกณฑ์ หรือระเบียบแบบแผนที่ตายตัวไม่ได้ แต่จะต้อง ปรับเปลี่ยนกลยุทธ์และวิธีการให้สอดคล้องเหมาะสมกับเงื่อนไขของ สถานการณ์ที่เป็นอยู่ในขณะนั้น ทั้งนี้ศิลปะของการประชาสัมพันธ์ จะต้องใช้ความสามารถพิเศษ เฉพาะตัวเป็นหลัก ภาพที่ 4 : กรมอุทยาแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช (มปป.)
  • 15. หลักการประชาสัมพันธ์ เป็นการทราบกันว่า เป้าหมาย วัตถุประสงค์ ของกา ร ประชาสัมพันธ์ก็เพื่อการสร้างความสัมพันธ์อันดีระหว่างองค์กรสถาบัน กับประชาชนที่เป็ นกลุ่มเป้าหมาย ดังนั้น การประชาสั มพันธ์ กา ร สื่อสารข้อมูลข่าวสารไปยังกลุ่มเป้าหมายนั้น ก็เพื่อให้เกิดความรู้ ความ เข้าใจ รวมไปถึงความสัมพันธ์อันดีในการสร้างค่านิยม ภาพลักษณ์ที่ดี ให้เกิดกับองค์กร เพื่อที่จ ะนาไปสู่การยอมรับ และรวมไปถึงก ารให้ ความร่วมมือสนับสนุนในการดา เนินงานขององค์กรให้เป็นไปในทาง เดียวกันในที่สุด การประชาสัมพันธ์ของรัฐบาล การประชาสัมพันธ์ของรัฐบาล หมายรวมถึง การ ประชาสัมพันธ์ของหน่วยงานราชการ ทั้งในส่วนกลางและส่วนภูมิภาค ซึ่งการดาเนินงานดังกล่าวจะใช้วิธีการกระจายข่าวสาร การเผยแพร่ ชี้แจงเกี่ยวกับนโยบาย การดาเนินงาน ผลงานต่างๆ เพื่อเสริมสร้าง ความเข้าใจอันดี และชื่อเสียงเกียรติคุณของหน่วยงานสู่ประชาชน เพื่อให้ได้รับความร่วมมือ ร่วมใจและความนิยมจาก ประชาชนกลุ่ม ต่างๆ ในการสร้างความสาเร็จแก่หน่วยงานราชการนั้นๆ และของ ประเทศชาติโดยส่วนรวม อีกทางหนึ่งประชาชนในฐานะผู้เป็นเจ้าของ ประเทศย่อมมีสิทธิ มีเสียง มีส่วนร่วมในการปกครองประเทศ ดังนั้น ประชาชนจึงมีสิทธิตามกฎหมายในการรับรูข้อมูลข่าวสารของรัฐ สื่อที่ใช้ได้แก่ วิทยุกระจายเสียง วิทยุโทรทัศน์ เอกสารสิ่งพิมพ์ ภาพข่าวและภาพยนตร์ การจัดนิทรรศการและงานพิเศษ หน่วย
  • 16. ประชาสัมพันธ์เคลื่อนที่ บริการสาหรับหนังสือพิมพ์ การสารวจ ประชามติ การเผยแพร่ด้านวิชาการผ่านการอบรม เป็นต้น ภาพที่ 5 การประชาสัมพันธ์ของภาครัฐ การประชาสัมพันธ์ธุรกิจ การประชาสัมพันธ์ของภาคธุรกิจ เป็นการดาเนินงาน ประชาสัมพันธ์เพื่อสร้างความสัมพันธ์กับกลุ่มประชาชน ได้ แก่ บริษัท ธุรกิจ ด้วยการบอกกล่าวเผยแพร่ ชี้แจงเกี่ยวกับ ข้อมูลบริษัทนโยบาย ผลการดาเนินงาน การติดต่อ เพื่อสร้างความเชื่อถือและ สร้า ง ภาพลักษณ์ให้กับบริษัท แสดงถึงความรับผิดชอบต่อสังคม เพื่อ พยายามรักษาลูกค้าให้คงอยู่กับบริษัทให้นานที่สุดสื่อที่ใช้ ได้แก่ วิทยุกระจายเสียง หนังสือพิมพ์ วิทยุโทรทัศน์ เอกสารสิ่งพิมพ์ ภาพ ข่าวและภาพยนตร์ การจัดนิทรรศการและงานพิเศษการจัดกิจกรรม พิเศษ เว็บไซต์ในอินเตอร์เน็ต เป็นต้น
  • 17. ภาพที่ 6 การประชาสัมพันธ์ด้านธุรกิจ สื่อและการสื่อสารเพื่อการประชาสัมพันธ์ที่มีประสิทธิภาพ ในการติดต่อสื่อสารประชาสัมพันธ์เพื่อเผยแพร่ การบอก กล่าว กระจายข่าวสารต่างๆ ของสถาบัน องค์การ หรือหน่วยงานไป ยังประชาชนกลุ่มเป้าหมาย จาเป็นต้องใช้สื่อเป็นตัวกลางในการ ถ่ายทอดซึ่งจาเป็นต้องเลือกใช้สื่อและเรียนรู้ถึงคุณสมบัติและลักษณะ ของสื่อประเภทต่างๆ เพื่อให้สามารถเลือกใช้ได้อย่างเหมาะสมกับการ ดาเนินงานตามแผนงานที่ได้กาหนดไว้อย่างมีประสิทธิภาพ
  • 19. บทที่ 3 เว็บไซต์ ความหมายของเว็บไซต์ (Web Site) เว็บไซต์ (อังกฤษ: website, web site, Web site) หมายถึง หน้าเว็บเพจหลายหน้า ซึ่งเชื่อมโยงกันผ่านทางไฮเปอร์ลิงก์ ส่วนใหญ่ จัดทาขึ้นเพื่อนาเสนอข้อมูลผ่านคอมพิวเตอร์ โดยถูกจัดเก็บไว้ใน เวิลด์ไวด์เว็บ หน้าแรกของเว็บไซต์ที่เก็บไว้ที่ชื่อหลักจะ เรียกว่า โฮมเพจ เว็บไซต์โดยทั่วไปจะให้บริการต่อผู้ใช้ฟรี แต่ในขณะเดียวกัน บางเว็บไซต์จาเป็นต้องมีการสมัครสมาชิกและเสียค่าบริการเพื่อที่จะดู ข้อมูล ในเว็บไซต์นั้น ซึ่งได้แก่ข้อมูลทางวิชาการข้อมูลตามหลักทรัพย์ หรือข้อมูลสื่อต่างๆ ผู้ทาเว็บไซต์มี หลากหลายระดับ ตั้งแต่สร้าง เว็บไซต์ส่วนตัว จนถึงระดับเว็บไซต์ สาหรับธุรกิจหรือองค์กรต่างๆ การ เรียกดูเว็บไซต์โดยทั่วไปนิยมเรียกดู ผ่านซอฟต์แวร์ในลักษณะของ เว็บ บราวเซอร์ ภาพที่ 7 เว็บไซต์ (Web Site)
  • 20. โฮมเพจ โฮมเพจ (Home Page) คือ เว็บเพจหน้าแรกซึ่งเป็นทางเข้า หลักของเว็บไซต์ ปกติเว็บเพจทุกๆ หน้าในเว็บไซท์จะถูกลิงค์ (โดยตรง หรือโดยอ้อมก็ตาม) มาจากโฮมเพจ ดังนั้นบางครั้งจึงมีผู้ใช้คาว่า โฮมเพจโดยหมายถึงเว็บไซท์ทั้งหมด แต่ความจริงแล้วโฮมเพจหมายถึง หน้าแรกเท่านั้น ถ้าเปรียบกับร้านค้า โฮมเพจก็เป็นเสมือนหน้าร้าน นั่นเอง ดังนั้นจึงมักถูกออกแบบให้โดดเด่นและน่าสนใจมากที่สุด ภาพที่ 8 โฮมเพจ (Home Page) เว็บเพจ เว็บเพจ (Web Page) หมายถึง หน้าเอกสารของบริการ WWW ซึ่งตามปกติจะถูกเก็บอยู่ในรูปแบบไฟล์ HTML (Hyper Text Markup Language) โดยไฟล์ HTML 1 ไฟล์ ก็คือเว็บเพจ 1 หน้านั่นเอง ภายในเว็บเพจอาจประกอบไปด้ว ยข้อความ ภาพ เสียง วิดีโอ และภาพเคลื่อนไหวแบบมัลติมีเดีย นอกจากนี้เว็บเพจแต่ละหน้า
  • 21. จะมีการเชื่อมโยงหรือ “ลิงค์” (Link) กัน เพื่อให้ผู้ชมเรียกดูเอกสาร หน้าอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องได้สะดวกอีกด้วย ภาพที่ 9 เว็บเพจ (Web Page) ความสาคัญของเว็บไซต์ ในปัจจุบันเว็บไซต์ได้กลายเป็นสื่อที่มีความสาคัญ ซึ่งมี บทบาทอย่างมากในเรื่องของการโฆษณาและประชาสัมพันธ์ ทั้งนี้ เนื่องจากคุณสมบัติที่สามารถนาเสนอ เผยแพร่ ข้อมูลข่าวสารได้อย่าง ไร้ขีดจากัด ทั้งในเรื่องเวลาและระยะทาง ใครๆก็สามารถคลิกเข้ามา เปิดดูได้ตลอดเวลา 24 ชั่วโมง ไม่ว่าจะนั่งอยู่ส่วนใดๆของโลกก็ตาม ด้วยข้อดีดังกล่าว บริษัท ห้างร้าน สถานประกอบการเกือบทุกแห่งทั้ง ภาครัฐและเอกชน หรือแม้แต่บุคคลทั่วไป ต่างก็มีความต้องการจัดทา เว็บไซต์ขึ้นเพื่อเป็นช่องทางการสื่อสารรูปแบบใหม่ เพื่อประโยชน์ใน การเผยแพร่ข้อมูล ข่าวสาร ไปสู่กลุ่มเป้าหมาย เช่น การโฆษณาขาย
  • 22. สินค้าและบริการในรูปแบบต่างๆ ที่มีจุดมุ่งหมายในเชิงธุรกิจ หรือการ ใช้เว็บไซต์เป็นช่องทางเผยแพร่ข้อมูล ข่าวสารขององค์กร เพื่อ ประชาสัมพันธ์องค์กรให้เป็นที่รู้จักเพื่อหวังผลในการสร้างภาพลักษณ์ ขององค์กรให้เป็นที่ยอมรับ ซึ่งเว็บไซต์นั้นเป็นสื่อที่มีประสิทธิภาพเป็น อย่างมากในการสนองภารกิจ ประโยชน์ของเว็บไซต์ 1. เป็นสื่ออิเล็กทรอนิกส์ทางอินเตอร์เน็ต ที่ใช้เพื่อการโฆษณา ประชาสัมพันธ์ การตลาด ให้ข้อมูลข่าวสาร และสร้าง ภาพลักษณ์ที่ดี แก่ธุรกิจและองค์กร 2. สามารถนามาใช้เป็นร้านค้าออนไลน์เพื่อจาหน่ายสินค้า / บริการ 3. มีประสิทธิภาพเข้าถึงกลุ่มเป้าหมายได้ทั่วโลก 4. เสียค่าใช้จ่ายในการผลิตต่ากว่าสื่ออื่นๆ แต่มีอายุการใช้ งานยาวนานกว่า สามารถอัพเดทข้อมูลเปลี่ยนแปลงได้ง่าย 5. กลุ่มเป้าหมายสามารถเข้าถึงสื่อได้โดยสะดวกและรวดเร็ว ผ่านอินเตอร์เน็ตได้ทุกวัน ตลอด 24 ชั่วโมง ดังนั้น ในโลกยุคปัจจุบันที่มีความเจริญก้าวหน้าในเรื่อง เทคโนโลยีอย่างไม่หยุดยั้ง การใช้สื่อเว็บไซต์เพื่อเป็นช่องทางการ สื่อสาร เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการประชาสัมพันธ์ให้กับองค์กรของ ตน จึงเป็นเรื่องที่ไม่สามารถที่จะมอง ข้ามไปได้ ซึ่งสร้างเว็บไซต์นั้น นอกจากการจ้างบริษัทที่รับจ้างทั่วไปแล้ว เราสามารถที่จะสร้างเองได้ ไม่ยากจนเกินไปนัก
  • 23. บทที่ 4 การออกแบบและการพัฒนาเว็บไซต์ การสร้างเว็บไซต์ นอกจากจะมีความรู เกี่ยวกับภาษาและ เครื่องมือต่างๆ ที่ใช้พัฒนาแลว สิ่งสาคัญอีกอย่างหนึ่งที่ผู้ พัฒนาเว็บ ต้องทาความเข้าใจ คือหลักการออกแบบและพัฒนาเว็บ ไซต์ที่ถูกต้อง ซึ่งจะช่วยให้สามารถกาหนดทิศทางการทางานของเว็บไซต์ได้ตรงตาม เป้าหมาย มีประโยชน และให้ความสะดวกแก่ผู้ที่เข้ามาใช้บริการ ภาพที่ 10 โครงสร้างหน้าตาของเว็บไซต์
  • 24. ความสาคัญของการออกแบบเว็บไซต์ ปัจจุบันมีเว็บไซต์ เว็บเกิดขึ้นใหม่ทุกวัน (ket9, 2008. ที่มา : http://www.igetweb.com/www/ket9) การออกแบบ เว็บไซต์จึงเป็นส่วนสาคัญอย่างมาก ที่จะสร้างความประทับใจให้กับ ผู้ใช้บริการ และทาให้อยากกลับเข้ามาใช้อีกในอนาคต ซึ่งนอกจาก จะต้องพัฒนาเว็บให้ดีมีประโยชนแลว ยังต้องแข่งขันกับเว็บไซต์อื่น ที่ให้บริการแบบเดียวกัน รวมไป ถึงต้องสร้าง ความได เปรียบ ให้ เหนือกว่าเว็บไซต์ที่กาลังจะเกิดขึ้นใหม่ในอนาคตอีกด้วย ดังนั้น จึง ควรออกแบบ เว็บอย่างมีคุณภาพ เพื่อดึงดูด ผู้ใช้ให้อยู่ กับเว็บของ คุณตลอดไป การออกแบบโครงสร้างหน้าตาของเว็บไซต์ ปัจจุบันจะมีหลักการออกแบบโครงสร้างหน้าเว็บไซต์ จะไม แตกต่างกันมากนัก ซึ่งสามารถจาแนกออกไดเป็น 3 รูปแบบใหญ่ คือ (นันท์นภัส ลาวรี และสุเทพ ลิอุบล, 2008. ที่มา:http://wbi.wk.ac.th/users/web/unit1/page2.html) 1. ออกแบบหน้าเว็บไซต์ ที่เน้นการนาเสนอเนื้อหาเป็นหลัก จะเน้นการนาเสนอเนื้อหามากกว่ารูปภาพ ซึ่งใช้โครงสร้างของตาราง เป็นหลัก เพื่อใส่ข้อความแบบหน้าสารบัญ และรูปภาพประกอบที่มี ขนาดเล็กๆ 2. ออกแบบหน้าเว็บไซต์ที่เน้นภาพกราฟิกเป็นหลัก จะไม่เน้น ข้อความภายในเว็บเพจ แต่จะเน้นใช้ภาพกราฟิกเป็นหลัก และสร้าง
  • 25. ลิงค์ที่ภาพไปยังหน้าเว็บเพจอื่นๆ ซึ่งอาจสร้างมาจากโปรแกรมกราฟิก ต่างๆ เช่น Photoshop เป็นต้น 3. ออกแบบหน้าเว็บไซต์ที่มีทั้งภาพ และเนื้อหา เป็นลักษณะ ของการออกแบบเว็บไซต์ที่นารูปแบบทั้ง 2 ที่กล่าวข้างต้นมาผสมกัน โดยจะเน้นการจัดวางภาพและเนื้อหาให้เหมาะสม และสวยงาม ขั้นตอนการออกแบบเว็บไซต์ การออกแบบเว็บไซต์ให้มีประสิทธิภาพและตรงกับความ ต้องการมากที่สุด มีขั้นตอนดังต่อไปนี้ (ประเวศน์ วงษ์คาชัย และพิร พร หมุนสนิท, 2550 : 60-64) 1. การกาหนดขอบเขต การพัฒนาเว็บไซต์ไม่ได้มีหลักการหรือการกาหนดขอบเขตที่ ตายตัว แต่จะขึ้นอยู่กับเป้าหมายและความต้องการในการใช้งาน เว็บไซต์นั้นว่าสร้างเพื่ออะไร เช่น เพื่อประชาสัมพันธ์บริษัทหรือเพื่อ ขายสินค้า เป็นต้น ซึ่งผู้พัฒนาจะต้องศึกษาความต้องการของผู้ใช้อย่าง ละเอียดก่อน เพื่อใช้เป็นแนวทางในการสร้างเว็บไซต์ให้สามารถ ตอบสนองความต้องการของผู้ใช้ได้อย่างถูกต้อง โดยสามารถจาแนก ขั้นตอนการกาหนดขอบเขตที่ผู้พัฒนาเว็บไซต์ส่วนใหญ่ยึดถือเป็น หลักการ 2. กาหนดเป้าหมาย การกาหนดเป้าหมายหรือวัตถุประสงค์จะช่วยให้ผู้พัฒนา สามารถกาหนดทิศทางการดาเนินงานงบประมาณ รวมทั้งระยะเวลา ได้อย่างเหมาะสม ซึ่งถือได้ว่าเป็นขั้นตอนที่สาคัญที่สุดของการ
  • 26. ดาเนินงานทั้งหมดอย่างไรก็ตามเพื่อให้ผลงานตรงตามความต้องการ ของลูกค้ามากที่สุด จึงควรคานึงและให้ความสาคัญกับปัจจัย 3. กาหนดโครงสร้างข้อมูล การกาหนดโครงสร้างข้อมูลภายในเว็บไซต์จะช่วยให้ผู้พัฒนา สามารถกาหนดลาดับการทางานต่างๆ ภายในเว็บไซต์ได้ง่าย และ สะดวกยิ่งขึ้น รวมไปถึงทาให้ลูกค้าเห็นโครงสร้างของเว็บไซต์ แนว ทางการออกแบบ และรูปแบบของการทางานต่างๆ ซึ่งโดยส่วนใหญ่จะ เป็นงานบนกระดาษก่อนที่จะมีการพัฒนาจริง 4. กาหนดการสืบทอดข้อมูล การกาหนดโครงสร้างข้อมูลเว็บไซต์ดังกล่าวข้างต้น เพียง อย่างเดียวจะยังไม่สามารถมองเห็นความสัมพันธ์ของแต่ละเพจได้ ซึ่ง ผู้พัฒนาจะต้องทาการเปลี่ยนโครงสร้างข้อมูลไปเป็นการสืบทอดข้อมูล หรือรูปแบบโครงสร้างข้อมูลแบบต้นไม้ (Tree Structure) ก่อน ด้วย การแบ่งเนื้อหาที่ต้องการนามาเสนอบนเว็บไซต์ออกเป็นกลุ่มหรือ หมวดหมู่ โดยเริ่มต้นกาหนดกลุ่มหลักก่อน จากโครงสร้างข้อมูลที่ กาหนดไว้ข้างต้น สามารถนามาจัดกลุ่มเนื้อ 5. สร้างไซต์แม็ป (Site Map) การสร้างไซต์แม็ป (Site Map) เป็นการกาหนดโครงสร้างการ เชื่อมโยงของเพจในเว็บไซต์ เพื่อความสะดวกในการค้นหา หรือเป็น การนาองค์ประกอบทั้งหมดในเว็บไซต์ มาจัดลาดับเป็นลาดับชั้นที่เกี่ยวข้อง กัน จากการสืบทอดข้างต้นสามารถ นามาสร้างไซต์แม็ปของเว็บไซต์
  • 27. 6. แบ่งเฟรมพื้นที่การแสดงผล การสร้างไซต์แม็ป ข้างต้นยังไม่ใช่ขั้นตอนสุดท้ายในการ วางแผนเพื่อพัฒนาเว็บไซต์ ผู้พัฒนาจะต้องสร้างเพจสาหรับแสดง เนื้อหาของแต่ละส่วนด้วยการแบ่งเฟรม ซึ่งการแบ่งเฟรมเป็นการแบ่ง พื้นที่การแสดงเนื้อหาบนเพจมีรูปแบบที่แตกต่างกันออกไปตามความ ต้องการของผู้พัฒนาหรือลูกค้า 7. สร้างเว็บเพจแต่ละหน้าตามที่ออกแบบ หลังจากที่ได้ออกแบบเว็บเพจแต่ละหน้าเรียบร้อยแล้ว ขั้นตอนนี้จะเป็นการสร้างหน้าเว็บเพจตามที่ได้ออกแบบไว้ดังกล่าว ข้างต้น ด้วยภาษาหรือเครื่องมือต่างๆ ตามที่ผู้พัฒนาเว็บไซต์ต้องการ เช่น HTML, PHP, ASP หรือโปรแกรม Dreamweaver เป็นต้น 8. ลงทะเบียนขอพื้นที่เว็บไซต์ เมื่อสิ้นสุดขั้นตอนการพัฒนาเว็บไซต์ทั้งหมดเรียบร้อยแล้ว ขั้นตอนต่อไป คือ การนาเว็บไซต์นั้นไปเผยแพร่บนเครือข่า ย อินเทอร์เน็ต เพื่อให้ผู้คนสามารถเข้ามาชมเว็บไซต์ได้ โดยการนาขึ้นไป เก็บไว้ที่เว็บเซิร์ฟเวอร์องค์กร หรือขอพื้นที่เว็บไซต์กับผู้ให้บริการเว็บ โอสติ้ง (Web Hosting) ซึ่งมีทั้งฟรีและเสียค่าใช้จ่าย (ประชา พฤกษ์ ประเสริฐ,2550 : 11)
  • 28. 9. อัฟโหลดเว็บไซต์ เมื่อพัฒนาเว็บไซต์เสร็จสมบูรณ์ และมีพื้นที่สาหรับเก็บ เว็บไซต์ที่ต้องการนาไปเผยแพร่สู่อินเทอร์เน็ตเรียบร้อยแล้ว ขั้นตอน สุดท้ายคือการอั พโหลดไฟล์เว็บไซต์ทั้งหมดขึ้นไปเก็บไว้ในพื้นที่ที่ได้ จัดเตรียมไว้ด้วยโปรแกรม FTP หรือเครื่องมือที่ผู้ให้บริการได้ จัดเตรียมไว้ให้ สรุป การสร้างเว็บไซต์ที่ดีนั้น ต้องอาศัยหลักการออกแบบและการ จัดระบบข้อมูลอย่างเหมาะสมเพื่อให้เว็บไซต์ที่สร้างขึ้นมีความน่าสนใจ และสร้างความประทับใจให้กับผู้ใช้บริการ ทาให้อยากกลับเข้ามาใช้ อีกในอนาคต ซึ่งกาออกแบบเว็บไซต์ที่ดีนั้นนอกจากจะสร้างความ ประทับใจให้กับผู้ ใช้บริการแล้วยังทาให้ ได้เปรียบเหนือเว็บไซต์ของ คู่แข่ง หรือที่กาลังจะเกิดขึ้นในอนาคตได้ โดยการออกแบบเว็บไซต์ที่ดี นั้นไม่ได้หมายถึงเฉพาะการออกแบบหน้าตาของเว็บไซต์เพียงอย่าง เดียวเท่านั้น แต่จะเกี่ยวข้องตั้งแต่การเริ่มต้นกาหนดเป้าหมายของ เว็บไซต์ ระบุกลุ่มผู้ใช้ การจัดระบบข้อมูล การสร้างระบบเนวิเกชัน การออกแบบหน้าเว็บ รวมไปถึงการใช้กราฟิก การเลือกใช้สี และ รูปแบบตัวอักษรที่เหมาะสม ขั้นตอนการพัฒนาเว็บไซต์ กระบวนการพัฒนาเว็บไซต์แบ่งออกเป็นขั้นตอนต่างๆ ซึ่งมีอยู่ หลายแนวคิด หนังสือเล่มนี้จึงขอรวบรวมและสรุปมาเฉพาะประเด็น
  • 29. สาคัญๆ เพื่อให้เหมาะสาหรับผู้เริ่มต้นที่จะใช้เป็นแนวทางในการสร้าง เว็บไซต์ตั้งแต่ขนาดเล็กจนถึงขนาดกลาง กาหนดเป้าหมายและวางแผน (Site Definition and Planning) ในการพัฒนาเว็บไซต์คว รกาหนดเป้าหมายและวางแผนไว้ ล่วงหน้า เพื่อให้การทางานในขั้นต่อๆ ไปมีแนวทางที่ชัดเจน เรื่อง หลักๆ ที่คุณควรทาในขั้นตอนนี้ประกอบด้วย 1. กาหนดวัตถุประสงค์ของเว็บไซต์ 2. กาหนดกลุ่มผู้ชมเป้าหมาย 3. เตรียมแหล่งข้อมูล 4. เตรียมทักษะหรือบุคลากร 5. เตรียมทรัพยากรต่าง ๆ ที่จาเป็น วิเคราะห์และจัดโครงสร้างข้อมูล (Analysis and Information Architecture) การนาข้อมูลต่างๆ ที่รวบรวมได้จากขั้นแรก ไม่ว่าจะเป็น วัตถุประสงค์ของเว็บไซต์ คุณลักษณะและข้อจา กัดของกลุ่มผู้ชม เป้าหมาย รวมทั้งเนื้อหาหลักของเว็บไซต์ นามาประเมิน วิเคราะห์ และจัดระบบ เพื่อให้ได้โครงสร้างข้อมูลและข้อกาหนด ซึ่งจะใช้เป็น กรอบสาหรับการออกแบบและดาเนินการในขั้นต่อๆ ไป
  • 30. ออกแบบเว็บเพจและเตรียมข้อมูล (Page Design and Content Editing) เป็นขั้นตอนของการออกแบบเค้าโครง หน้าตา และลักษณะ ทางด้านกราฟิกของหน้าเว็บเพจ เพื่อให้ผู้ชมเกิดอารมณ์ความรับรู้ต่อ เว็บเพจตามที่คุณต้องการ ดังนั้นผู้ที่ทาหน้าที่นี้จึงควรมีความสามารถ ทางด้านศิลปะ โปรแกรมที่เหมาะจะใช้ในการออกแบบ คือ Adobe Photoshop หรือ Adobe Fireworks สาหรับผลลัพธ์ที่ได้จะ ประกอบด้วยไฟล์กราฟิกต่างๆ ที่ใช้บนเว็บเพจ เช่น โลโก้ภาพพื้นหลัง ปุ่มเมนู ไอคอนที่เป็นหัวคอลัมน์ และแบบเนอร์โฆษณา ในส่วนของเนื้อหา ขั้นตอนนี้จะเป็นการนาเอาเนื้อหาที่เลือก ไว้มาปรับแก้และตรวจทานความถูกต้อง เพื่อให้พร้อมสาหรับจะนาไป ใส่เว็บเพจแต่ละหน้าในขั้นตอนถัดไป ลงมือสร้างและทดสอบ (Construction and Testing) เป็นขั้นตอนสร้างเว็บเพจขั้นมาจริงโดยอาศัยเค้าโครงและ องค์ประกอบกราฟิกตามที่ออกแบบไว้ เนื้อหาต่างๆ จะถูกนามาใส่ และจัดรูปแบบลิงค์ ระบบนาทางถูกสร้างและองค์ประกอบเสริมต่างๆ ถูกวางเข้าที่ เว็บไซต์ที่สร้างขึ้นมาควรได้รับการทดสอบก่อนที่ จะออก เผยแพร่ ไม่ว่าจะเป็นในเรื่องความถูกต้องของเนื้อหา การทางานของ ลิงค์และระบบนาทางตรวจหาความผิดพลาดของโปรแกรมสคริปต์และ ฐานข้อมูล นอกจากนี้ก็ควรทดสอบโดยใช้สภาพแวดล้อมที่เหมือนกับ ของกลุ่มผู้ชมเป้าหมาย เช่น เวอร์ชั่นของบราวเซอร์ ความละเอียดของ
  • 31. จอภาพและความเร็วที่เชื่อมต่อกับอินเทอร์เน็ต เพื่อดูว่าผู้ชมเป้าหมาย สามารถชมเว็บไซต์ได้อย่างสมบูรณ์ และมีประสิทธิภาพหรือไม่ เผยแพร่และส่งเสริมให้เป็นที่รู้จัก (Publishing and Promotion) โดยทั่วไปการนาเว็บไซต์ขึ้นเผยแพร่บนอินเทอร์เน็ต จะทา ด้วยการอัพโหลดไฟล์ทั้งหมด คือ HTML และไฟล์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้องขึ้น ไปเก็บบนเว็บเซิร์ฟเวอร์ที่มีคุณเปิดบริการไว้ การอัพโหลดเว็บไซต์หรือ บางครั้ง เรียกว่า การ “พับบลิช” (publish) อาจทาด้วยโปรแกรม สร้างเว็บไซต์เอง ซึ่งมีคุณสมบัตินี้อยู่ในตัว หรืออาจใช้โปรแกรมยูทิลิตี้ ประเภท FTP เช่น FileZilla,CuteFTP หรือใช้เครื่องมืออื่นบนเว็บ เซิร์ฟเวอร์ก็ได้ ดูแลและพัฒนา (Maintenance and Innovation) เว็บไซต์ที่เผยแพร่ออกไปแล้วคุณไม่ควรทิ้งขว้าง แต่ควรดูแล โดยตลอด ซึ่งหน้าที่นี้ครอบคลุมหลายเรื่อง ตั้งแต่การตรวจสอบเว็บ เซิร์ฟเวอร์ว่าไม่หยุดทา งานบ่อยๆ ลิงค์ที่เชื่อมโยงไปภายนอกยังคง ใช้ได้ (เนื่องจากเว็บไซต์นั้นอาจปิดไป) คอยตอบอีเมล์หรือคาถามที่มีผู้ ฝากไว้บนเว็บเพจ ถ้าเป็นเว็บข่าวสารก็ต้องปรับปรุงข้อมูลให้ทันสมัย ตลอดเวลา ถ้ามีการใช้ฐานข้อมูลก็ต้องแบ็คอัพข้อมูลอย่างสม่าเสมอ ทีมงานพัฒนาเว็บไซต์ การพัฒนาเว็บไซต์สามารถทา เพียงคนเดียว หรือทาเป็นทีมก็ ได้ ขึ้นอยู่กับความจาเป็นที่แตกต่างกัน กล่าวคือ เป็นเว็บไซต์ขนาด ใหญ่หรือเล็ก เว็บไซต์ที่ส่วนตัว สาหรับประเภทของบุคลากรที่ต้องใช้ก็ จะขึ้นอยู่กับเนื้อหา ข้อมูล และเทคโนโลยี ที่ต้องการจะนาเสนอ โดย
  • 32. ในองค์กรขนาดใหญ่หรือบริษัทที่รับพัฒนาเว็บไซต์ อาจต้องมีการ แบ่งแยกหน้าที่อย่างชั ดเจนว่าใครทา อะไร ซึ่งแต่ละคนจะมีความ ชานาญเฉพาะเรื่องไป การศึกษาความต้องการของผู้ชมเว็บไซต์ วัตถุประสงค์หลักอย่างหนึ่งของการสร้างเว็บไซต์ก็คือ ให้มีผู้ มาชม ใช้บริการ และอยู่ในเว็บไซต์ให้นานที่สุด ดังนั้น คุณจึงจาเป็น ต้องใส่เนื้อหาและองค์ประกอบที่น่าสนใจหลายๆ อย่างเพื่อดึงดูด ซึ่ง ต้องศึกษาและเข้าใจถึงธรรมชาติของสิ่งที่ผู้ชมส่วนใหญ่คาดหวัง ว่าจะได้รับจากการเข้ามาในเว็บไซต์ของคุณ ว่ามีอะไรบ้าง ความ ต้องการของผู้ชมโดยทั่วไปแบ่งเป็นหัวข้อหลักๆ คือ 1. ข้อมูล (Content) 2. ข่าวสารความเคลื่อนไหว (News) 3. ของฟรี (Free Service) 4. การมีปฏิสัมพันธ์ (Interactive) 5. ความบันเทิง (Entertainment) เนื้อหาที่ควรมีในเว็บไซต์ การศึกษาตัวอย่างจากเว็บไซต์อื่นๆ และโดยเฉพาะที่เป็น ประเภทเดียวกัน จะช่วยให้มองเห็นว่าในเว็บไซต์ของคุณควรมีเนื้อหา อะไรบ้าง อย่างไรก็ตามเรื่องนี้ไม่ได้มีการกา หนดไว้เป็นมาตรฐาน ตายตัว แต่ขึ้นอยู่กับสิ่งที่จะนาเสนอและจุดเด่นที่คุณต้องการให้มี ซึ่ง จะทาให้รายละเอียดปลีกย่อยของแต่ละเว็บไซต์แตกต่างกันออกไป
  • 33. บทที่ 5 ส่วนประกอบของหน้าเว็บไซต์ เราสามารถจาแนกส่วนประกอบของหน้าเว็บเพจ เป็น 3 ส่วน คือ 1. ส่วนหัว (Page Header) น่าจะอยู่บริเวณบนสุดของหน้า เว็บเพจ เป็นส่วนที่แสดงชื่อเว็บไซต์ โลโก้ แบนเนอร์โฆษณาลิงก์ สาหรับข้ามไปยังหน้าเว็บอื่น ภาพที่ 11 ส่วนหัว (Page Header) 2. ส่วนเนื้อหา (Page Body) จะอยู่บริเวณตอนกลางของหน้า เว็บเพจ ซึ่งเป็นส่วนที่แสดงเนื้อหาภายในหน้าเว็บ เพจนั้น โดย ประกอบด้วยข้อความ ข้อมูล ภาพเคลื่อนไหว เป็นต้น
  • 34. ภาพที่ 12 ส่วนเนื้อหา (Page Body) 3. ส่วนท้าย (Page Footer) จะอยู่บริเวณด้านล่างสุดของ หน้าเว็บเพจ ส่วนมากใช้สาหรับลิงก์ข้อความสั้น ๆ เข้าใจง่าย หรือจะมี ชื่อเจ้าของเว็บไซต์ อีเมลแอดเดรสของผู้ดูแลเว็บไซต์สาหรับติดต่อกับ ทางเว็บไซต์ ภาพที่ 13 ส่วนท้าย (Page Footer)
  • 35. ส่วนประกอบของเว็บไซต์ที่ดี ภาพที่ 14 ส่วนประกอบของเว็บไซต์ที่ดี สาหรับคนที่เริ่มต้นออกแบบเว็บไซต์ในครั้งแรกไม่รู้ว่าจะเริ่ม อย่างไรดี บทความนี้จะแนะนาวิธีการในการออกแบบเว็บไซต์ที่เว็บ ทั่วไปควรมี ดังรูปที่เห็นด้านบนเป็นโครงสร้างของเว็บไซต์โดยจะมีส่วน หลักๆอยู่ด้วยกันทั้งหมด 6 ส่วนดังนี้ Containing block โดยปรกติเราจะเขียน <div> หรือ <table> ต่อจาก <body> เพื่อเอาไว้เก็บเนื้อหาทั้งหมดของเว็บไซต์ก่อน เพื่อเอาไว้เป็น กล่องในการเก็บเนื้อหาทั้งหมด โดยกล่องของเราจะมีข้อดีอยู่ตรงที่ สามารถทาให้ปรับเปลี่ยนขนาดในการแสดงผลของเนื้อหาได้ หรือ ตาแหน่งการแสดงผลของเว็บไซต์ได้เช่น จัดกลาง ชิดซ้าย หรือชิดขวา
  • 36. หากนึกภาพไม่ออก ลองเขียนเว็บไซต์โดยเริ่มที่ใส่ตัวหนังสือลงไปก่อน จากนั้นหากต้องการจัดตัวหนังสือเหล่านั้นจะทาได้ยากมาก ดังนั้นทุก ครั้งที่ออกแบบเว็บไซต์อย่างลืมที่จะสร้าง containing block เอาไว้ใส่ เนื้อหาทั้งหมดก่อน เพื่อความสะดวกของเราเอง Logo เป็นสัญลักษณ์ที่แสดงถึงตัวตนของเรา ทาให้ลูกค้าหรืผู้ใช้งาน จดจาเราได้ ด้วยเหตุนี้เองทาให้ การออกแบบเว็บไซต์นั้นจาเป็นต้อ งมี โลโก้ ของเว็บไซต์เป็นอย่างยิ่ง ส่ วนตาแหน่งที่ควรจะวางโลโก้ไว้ คือ ตาแหน่งที่เป็นสีม่วงทั้งหมดนั่นเอง จะสังเกตได้ว่าจะเป็นส่วนที่อยู่ด้าน บนของเว็บไซต์ทั้งหมด เพื่อให้ผู้ใช้งานจาได้ และสะดุดตา เรื่องที่ต้อง เตือนให้รู้กันก็คือ โลโก้ของเว็บไซต์เมื่อคลิกจะนาไปสู่หน้าแรกของ เว็บไซต์เสมอ Navigation เป็นส่วนที่จะนาผู้เข้าชมเว็บไซต์ไปยังส่วนต่างของเว็บไซต์ โดยสามารถทาให้อยู่ ในแนวนอน หรือแนวตั้งก็ได้ หากสังเกต hellomyweb.com เราจะทาทั้งแนวตั้งและแนวนอน โดยแนวนอน จะนาไปสู่เนื้อหาหน้าอื่นของเว็บไซต์ ส่วนแนวตั้งจะนาไปสู่เนื้อหาย่อย ในหน้านั้น ตาแหน่งที่ควรจะวาง navagation เอาไว้คือสีเขียวทั้งหมด ถ้าสังเกตดูจะพบว่าการวางตาแหน่งต้อ งพยายามให้อยู่ในส่วนด้านบน ของเว็บไซต์ หรือจะพูดอีกอย่างคือส่วนที่เมื่อผู้ใช้เปิดมาก็ต้องเจอได้ ทันที ไม่ควรวางไว้ในตาแหน่งที่ผู้ใช้จะต้องเลื่อนขึ้นลง ซ้ายขวา
  • 37. Content ส่วนเนื้อหาของเว็บไซต์ เป็นส่วนที่สาคัญมากที่สุด หากผู้ใช้ งานไม่สามารถเข้าถึงได้โดยง่ายผู้ใช้งานจะเปลี่ยนไปชมเว็บใหม่ทันที ตาแหน่งที่ควรวางเนื้อหาไว้คือสีแดง หรือตาแหน่งอื่นๆที่คิดว่าจะทา ให้ผู้หาเจอได้โดยไม่ลาบาก หากสังเกตดูจะพบว่าเว็บไซต์บางเว็บไซต์ มีโฆษณาที่มากจนเกินไป ทาให้ผู้ใช้งานหาเนื้อหาไม่เจอ นั่นถือเป็น การออกแบบที่ผิดพลาด Footer คือส่วนล่างสุดของหน้าเว็บไซต์ ส่วนใหญ่จะเก็บลิงก์ต่างๆ เอาไว้ หรือเป็นเนื้อหาที่เกี่ยวกับเ ว็บไซต์เช่นลิขสิทธิ์ต่างๆ ถามว่ า จาเป็นต้องมีหรือไม่ บอกได้ว่าจาเป็นอย่างยิ่ง footer จะเป็นตัวบอก ผู้ชมว่าส่วนนี้คือล่างสุดของหน้าที่กาลังแสดงอยู่แล้วนะ ไม่มีเนื้อหา เพิ่มเติมแล้ว ทาไม่ต้องบอกเนื่องจากการแสดงเว็บไซต์ในบางครั้งนั้น หน้านั้นอาจโหลดได้ไม่หมด อาจแสดงได้แค่เนื้อหาภายใน หากเรา ออกแบบให้มี footer ตั้งแต่แรกผู้ใช้งานก็จะรู้ได้ทันทีว่า หน้าที่แสดง ผลนี้อาจแสดงได้ไม่สมบูรณ์เพราะยังไม่เห็น footer และยังมีผลต่อ ภาพลักษณ์ของเว็บไซต์โดยตรง เราจะสังเกตได้ว่าเมื่อเข้าไปดูเว็บไซต์ ที่ไม่มี footer จะรู้สึกเหมือนกับว่าเว็บไซต์นั้นยังทาไม่เสร็จ หรือขาด อะไรบางอย่าง
  • 38. Whitespace พื้นที่ว่างในเว็บไซต์ คนส่วนใหญ่มักไม่เห็นความสาคัญของ การเว้นพื้นที่ว่างไว้ในเว็บไซต์ เรามักจะใส่ภาพหรือตัวหนังสือเข้าไปให้ มากที่สุดเพราะคิดว่าจะทาให้เว็บดูสวยงามขึ้น หรือใช้พื้นที่มีมีอยู่ให้ คุ้มค่าที่สุด หากเราออกแบบโดยไม่ได้คานึงว่าต้องมีพื้นที่ว่างอยู่ใน เว็บไซต์ จะทาให้เว็บของเรานั้นดูอึดอัดทันที การเว้นช่องว่างเอาไว้ ไม่ ว่าจะเป็นระยะห่างระหว่างตัวอักษร หรือช่องว่างระหว่างภาพ เนื้อหา ต่างๆ นอกจากจะทาให้เว็บของเราดูสบายตาขึ้นแล้ว ยังทาให้เรา สามารถกาหนดจุดที่จะให้ผู้ใช้งานเว็บรู้สึกสนใจในจุดนั้นได้อีกด้วย เช่น หากเราเว้นช่องว่ างเอาไว้ตรงกลาง และนาภาพหรือตัวหนังสือ เล็กๆไปวางไว้ ตรงจุดนั้นจะเป็นที่สนใจของผู้ใช้ทันที
  • 39. บทที่ 6 ทฤษฎีสีกับการออกแบบเว็บไซต์ ทฤษฎีสีกับการออกแบบเว็บไซต์ การสร้างสีสันบนหน้าเว็บเป็นสิ่งที่สื่อความหมายของเว็บไซต์ ได้อย่างชัดเจน การเลือกใช้สีให้เหมาะสม กลมกลืน ไม่เพียงแต่จะ สร้างความพึงพอใจให้กับผู้ใช้ แต่ยังสามารถทาให้เห็นถึงความแตกต่าง ระหว่างเว็บไซต์ได้ สีเป็นองค์ประกอบหลักสาหรับการตกแต่งเว็บ จึง จาเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องทาความเข้าใจเกี่ยวกับการใช้สี
  • 40. ระบบสีที่แสดงบนจอคอมพิว เตอร์ มีระบบการแสดงผลผ่าน หลอดลาแสงที่เรียกว่า CRT (Cathode ray tube) โดยมีลักษณะ ระบบสีแบบบวก อาศัยการผสมของของแสงสีแดง สีเขียว และสีน้า เงิน หรือระบบสี RGB สามารถกาหนดค่าสีจาก 0 ถึง 255 ได้ จากการ รวมสีของแม่สีหลักจะทาให้เกิดแสงสีขาว มีลักษณะเป็นจุดเล็ก ๆ บน หน้าจอไม่สามารถมองเห็นด้วยตาเปล่าได้ จะมองเห็นเป็นสีที่ถูกผสม เป็นเนื้อสีเดียวกันแล้ว จุดแต่ละจุดหรือพิกเซล (Pixel) เป็นส่วน ประกอบของภาพบนหน้าจอคอมพิวเตอร์ โดยจานวนบิตที่ใช้ในการ กาหนดความสามารถของการแสดงสีต่าง ๆ เพื่อสร้างภาพบนจอนั้น เรียกว่า บิตเด็ป (Bit-depth) ในภาษา HTML มีการกาหนดสีด้วย ระบบเลขฐานสิบหก ซึ่งมีเครื่องหมาย (#) อยู่ด้านหน้าและตามด้วย เลขฐานสิบหกจานวนอักษรอีก 6 หลัก โดยแต่ละไบต์ (byte) จะมี ตัวอักษรสองตัว แบ่งออกเป็น 3 กลุ่ม เช่น #FF12AC การใช้ตัวอักษร แต่ละไบต์นี้เพื่อกาหนดระดับความเข้มของแม่สีแต่ละสีของชุดสี RGB โดย 2 หลักแรก แสดงถึงความเข้มของสีแดง 2 หลักต่อมา แสดงถึง ความเข้มของสีเขียว 2 หลักสุดท้ายแสดงถึงความเข้มของสีน้าเงิน สีมีอิทธิพลในเรื่องของอารมณ์การสื่อความหมายที่เด่นชัด กระตุ้นการรับรู้ทางด้านจิตใจมนุษย์ สีแต่ละสีให้ความรู้สึก อารมณ์ที่ ไม่เหมือนกัน สีบางสีให้ความรู้สึกสงบ บางสีให้ความรู้สึกตื่นเต้น รุนแรง สีจึงเป็นปัจจัยสาคัญอย่างยิ่งต่อการออกแบบเว็บไซต์ ดังนั้น การเลือกใช้โทนสีภายในเว็บไซต์เป็นการแสดงถึงความแตกต่างของสีที่
  • 41. แสดงออกทางอารมณ์ มีชีวิตชีวาหรือเศร้าโศก รูปแบบของสีที่สายตา ของมนุษย์มองเห็น สามารถแบ่งออกเป็น 3 กลุ่ม คือ 1. สีโทนร้อน (Warm Colors) เป็นกลุ่มสีที่แสดงถึงความสุข ความปลอบโยน ความอบอุ่น และดึงดูดใจ สีกลุ่มนี้เป็นกลุ่มสีที่ช่วยให้ หายจากความเฉื่อยชา มีชีวิตชีวามากยิ่งขึ้น 2. สีโทนเย็น (Cool Colors) แสดงถึงความที่ดูสุภาพ อ่อนโยนเรียบร้อย เป็นกลุ่มสีที่มีคนชอบมากที่สุด สามารถโน้มนาวใน ระยะไกลได้ 3. สีโทนกลาง (Neutral Colors) สีที่เป็นกลาง ประกอบด้วย สีดา สีขาว สีเทา และสีน้าตาล กลุ่มสีเหล่านี้คือ สีกลางที่สามารถนา ไปผสมกับสีอื่น ๆ เพื่อให้เกิดสีกลางขึ้นมา สีโทนร้อน สีโทนเย็น
  • 42. สิ่งที่สาคัญต่อผู้ออกแบบเว็บคือการเลือกใช้สีสาหรับเว็บ นอก จากจะมีผลต่อการแสดงออกของเว็บแล้วยังเป็นการสร้างความรู้สึกที่ดี ต่อผู้ใช้บริการ ดังนั้นจะเห็นว่าสีแต่ละสีสามารถสื่อความหมายของเว็บ ได้อย่างชัดเจน ความแตกต่าง ความสัมพันธ์ที่เกิดขึ้นย่อมส่งผลให้เว็บ มีความน่าเชื่อถือมากยิ่งขึ้น ชุดสีแต่ละชุดมีความสาคัญต่อเว็บถ้าเลือก ใช้สีไม่ตรงกับวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายอาจจะทาให้เว็บไม่น่าสนใจ ผู้ใช้บริการจะไม่กลับมาใช้บริก ารอีกภายหลัง ฉะนั้นการใช้สีอย่า ง เหมาะสมเพื่อสื่อความหมายของเว็บต้องเลือกใช้สีที่มีความกลมกลืน กัน ทฤษฎีสี การใช้สีนั้นเป็นเรื่องที่สาคัญมากในการทาเว็บไซต์ การเลือกสี ให้เข้ากับเนื้อหาของเว็บไซต์ จะทาให้เว็บไซต์มีความน่าเชื่อถือยิ่งขึ้ น และยังส่งผลอย่างมากกับความสวยงามของเว็บไซต์ ถ้าเราออกแบบ โดยใช้สีที่ไม่เข้ากัน ก็จะทาให้เว็บของเราดูไม่สวยไปเลยก็ได้ จิตวิทยาเกี่ยวกับสี สีนั้นมีความสาคัญอย่างยิ่งในการออกแบบเว็บไซต์ การเลือก สีให้เข้ากับเนื้อหาของเว็บไซต์ จะทาให้เว็บไซต์มีความน่าเชื่อถือยิ่งขึ้น และยังส่งผลอย่างมากกับความสวยงามของเว็บไซต์ ความรู้สึกที่คนส่วนใหญ่มีต่อสีต่างๆ
  • 43. สีฟ้า ให้ความรู้สึกสงบ สุขุม สุภาพ หนักแน่น เคร่งขรึม เอาการเอา งาน ละเอียด รอบคอบ สง่างาม มีศักดิ์ศรี สูงศักดิ์ เป็นระเบียบถ่อม ตน สามารถลดความตื่นเต้น และช่วยทาให้มีสมาธิ แต่ถ้ามีสีน้าเงินเข้ม เกินไป ก็จะทาให้รู้สึกซึมเศร้าได้ สีเขียว เป็นสีในวรรณะเย็น จะสร้างความรู้สึกเย็นสบาย ใช้เป็นสีที่ ช่วยผ่อนคลายความเครียดได้ ให้ความรู้สึก สงบ เงียบ ร่มรื่น ร่มเย็น การพักผ่อน การผ่อนคลาย ธรรมชาติ ความปลอดภัย ปกติ ความสุข ความสุขุม เยือกเย็น สีเหลือง เป็นสีแห่งความเบิกบาน เร้าอารมณ์ และเรียกร้องความสนใจ ให้ความรู้สึกแจ่มใส ความสดใส ความร่าเริง ความเบิกบานสดชื่น ชีวิต ใหม่ ความสด ใหม่ ความสุกสว่าง การแผ่กระจาย อานาจบารมี ให้ ลองสังเกตดูว่า วันที่ท้องฟ้ามืดครึ้มปราศจากแสงแดด เราจะรู้สึก หงอยเหงา หดหู่ แต่พอมีแสงแดด ท้องฟ้าสว่าง มีสีเหลือง เราจะรู้สึก มีชีวิตชีวาขึ้น สีแดง เป็นสีที่สร้างความตื่นเต้น และกระตุ้นสมอง สีแดงปานกลาง แสดงถึงความมีสุขภาพดี ความมีชีวิต ความรัก ความสาคัญ ความอุดม
  • 44. สมบูรณ์ ความมั่งคั่ง สีแดงจัดมีความหมายแฝงด้านกามารมณ์ นอกจากนี้สีแดงยังสร้างความรู้สึกรุนแรง ให้ความรู้สึกร้อน กระตุ้น ท้า ทาย เคลื่อนไหว ตื่นเต้น เร้าใจ มีพลัง มันจะใช้กันกรณีที่เกี่ยวกับ ความตื่นเต้น หรืออันตราย สีม่วง ให้ความรู้สึก มีเสน่ห์ น่าติดตาม เร้นลับ ซ่อนเร้น มีอานาจ มี พลังแฝงอยู่ ความรัก ความเศร้า ความผิดหวัง ความสงบ ความสูง ศักดิ์ เป็นสีที่ปลอบโยน และช่วยลดความเครียด แต่เดิมสีม่วงได้มา จากสัตว์มีกระดอง,เปลือก ในทะเลเมดิเตอร์เรเนียน มีชื่อว่า Purpura จึงได้ชื่อภาษาอังกฤษว่า Purple สีส้ม ให้ความรู้สึก ร้อน ความอบอุ่น ความสดใส มีชีวิตชีวา วัยรุ่น ความคึกคะนอง การปลดปล่อย ความเปรี้ยว การระวัง เป็นสีที่เร้า ความรู้สึก ปรกติควรใช้แต่น้อยเมื่อเทียบกับสีอื่น สังเกตว่าคนที่อยู่ใน ห้องสีส้มจะอยู่ได้ไม่นาน สีน้าตาล ให้ความรู้สึกอบอุ่น ได้พักผ่อน แต่ควรใช้ร่วมกับสีส้ม เหลือง หรือสีทอง เพราะถ้าใช้สีน้าตาลเพียงสีเดียว อาจทาให้เกิดความรู้สึก หดหู่ได้
  • 45. สีเทา ให้ความรู้สึก เศร้า อาลัย ท้อแท้ ความลึกลับ ความหดหู่ ความชรา ความสงบ ความเงียบ สุภาพ สุขุม ถ่อมตน สีนี้มีข้อดีคือทา ให้เย็น แต่สร้างความสร้างความรู้สึกหม่นหมองได้ ควรใช้ร่วมกับสีที่มี ชีวิต โทนสว่างอย่างน้อยหนึ่งสี สีขาว ให้ความรู้สึก บริสุทธิ์ สะอาด สดใส เบาบาง อ่อนโยนเปิดเผย การเกิด ความรัก ความหวัง ความจริง ความเมตตา ความศรัทธา ความดีงาม ให้ความรู้สึกรื่นเริง โดยเฉพาะเมื่อใช้กับสีแดง เหลือง และ ส้ม ประโยชน์ของสีในเว็บไซต์ สีเป็นเครื่องมืออเนกประสงค์อย่างหนึ่งที่มีความสาคัญมากใน การออกแบบเว็บไซต์ เนื่องจากสีสามารถสื่อถึงความรู้สึกและอารมณ์ และยังช่วยสร้างความสัมพันธ์ระหว่างสถานที่กับเวลาอีกด้วยดังนั้นสีจึง เป็นปัจจัยสาคัญอย่างหนึ่งที่จะช่วยเสริมสร้างความหมายของ องค์ประกอบให้กับเว็บเพจได้ อย่างดี ประโยชน์ของสีในรูปแบบต่างๆ มีดังนี้ - สีสามารถชักนาสายตาผู้อ่านให้ไปยังทุกบริเวณในหน้าเว็บ เพจ - สีช่วยเชื่อมโยงบริเวณที่ได้รับการออกแบบเข้าด้วยกัน