SlideShare a Scribd company logo
1
ดร. วัชรพงษ์ สุกิจจานนท์
นศ. เข้าใจว่า
อย่างไร?
PA 501 Module1
มหาวิทยาลัยเฉลิมกาญจนา
 Module1: สถาบันทางการเมือง พรรคการเมืองและกลุ่มผลประโยชน
สื่อมวลชนกับการเมือง
 Module2: สถาบันทางการเมืองของไทยกับการบริหารปกครอง ที่มา
หลักการ รูปแบบ และความสาคัญของรัฐธรรมนูญ ความสัมพันธ์ระหว่าง
รัฐธรรมนูญกับสถาบันทางการเมือง
 Module3: วิวัฒนาการของรัฐธรรมนูญไทย ที่มาและหลักการของรัฐธรรมนูญ
แห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2550 ดุลแห่งอานาจ การควบคุมและการตรวจสอบ
การใช้อานาจอธิปไตย
 Module4: การเข้าสู่อานาจทางการเมือง การสืบต่ออานาจทางการเมือง
ความก้าวหน้าของรัฐธรรมนูญไทย การวิเคราะห์แนวโน้มการเข้าสู่อานาจทาง
การเมือง การใช้อานาจทางการเมือง และการสืบต่ออานาจทางการเมืองตาม
รัฐธรรมนูญของไทย
2
ขอให้ นศ. หาความสัมพันธ์ของเนื้อหาทั้ง 4 modules
 บทนาเบื้องต้นเกี่ยวกับสถาบันทางการเมือง
 พรรคการเมืองและกลุ่มผลประโยชน์
 สื่อมวลชนกับการเมือง
3
ขอให้ นศ. หาบทบาท/หน้าที่ของ 4 ประเด็นที่มีต่อระบบการเมือง
การจัดสรรสิ่งที่มีคุณค่าเพื่อ
สังคม โดยที่มีอานาจบังคับให้มี
การปฏิบัติการจัดสรรนั้น
 ความหมายของสถาบันทางการเมือง
4
สถาบัน : บรรทัดฐานของพฤติกรรมที่สร้างขึ้น และมีการปฏิบัติสืบทอดกันมาจนกระทั่งเป็นที่ยอมรับในสังคม โดยที่พฤติกรรมดังกล่าวมี
ลักษณะของพฤติกรรมที่มีโครงสร้างแน่นอนและสามารถศึกษาได้
สถาบันทางการเมือง
(Political
Institution)
เป็นสถาบันที่
*แสดงถึงความสัมพันธ์ระหว่างการเมืองและสมาชิกของสังคม และระหว่างสมาชิก
ของสังคมด้วยกันเอง
*มีหน้าที่ในการปฏิบัติกิจกรรมทางการเมืองอย่างต่อเนื่อง
*เป็นแบบแผนของสังคมในเรื่องเกี่ยวกับพฤติกรรมทางการเมืองซึ่งประชาชนทั่วไปให้
ความยอมรับในแบบแผนนั้นๆ
เป็นสถาบันที่มีโครงสร้างแน่นอนและสามารถศึกษาได้
 ลักษณะของสถาบันทางการเมือง
5
เป็นสถาบันที่มีโครงสร้างแน่นอนและสามารถศึกษาได้
มีหน้าที่ในการปฏิบัติกิจกรรมทางการเมืองอย่างต่อเนื่อง
มีลักษณะเป็นแบบแผนอย่างใดอย่างหนึ่งของพฤติกรรมทางการเมือง ซึ่งประชาชนทั่วไปยอมรับและมีการปฏิบัติตามแบบ
แผนนั้น
เป็นสถาบันที่มีลักษณะแสดงถึงความสัมพันธ์ทางการเมืองระหว่างสมาชิกของสังคม
 ประเภทของสถาบันทางการเมือง
6
สถาบันทางการเมืองต้องมีลักษณะเป็นสถาบัน คือ มีการปฏิบัติสืบต่อกันมาอย่างเนื่อง มีโครงสร้างที่แน่นอน สามารถศึกษาได้
รัฐธรรมนูญ : กฎหมายสูงสุดของการปกครองประเทศ เป็นแม่บทของกฎหมายทั้งหลายทั้งปวงในประเทศ กฎหมายใดขัดรัฐธรรมนูญถือว่าเป็น
โมฆะใช้บังคับไม่ได้ โดยทั่วไปรัฐธรรมนูญจะบัญญัติหลักการที่สาคัญเกี่ยวกับการบริหารประเทศไว้
สถาบันฝ่ายนิติบัญญัติ : มีหน้าที่ในการออกกฎหมายซึ่งเป็นกลไกและเครื่องมือในการบริหารและการปกครองประเทศ ทาหน้าที่คุ้มครองรักษา
สิทธิเสรีภาพของประชาชน
สถาบันฝ่ายบริหาร : มีหน้าที่บังคับใช้กฎหมายและรับผิดชอบในการปกครองทั่วไป
สถาบันฝ่ายตุลาการ : มีหน้าที่ป้ องกันเสรีภาพและการศึกษาสิทธิของประชาชน ให้ความยุติธรรม โดยการใช้กฎหมายของรัฐเป็นเครื่องมือใน
การตัดสินใจและในบางประเทศมีอานาจในการตีความว่ากฎหมายฉบับใดขัดแย้งต่อรัฐธรรมนูญหรือไม่ ตามหลักปฏิบัติของประเทศที่มีการปกครอง
ระบอบประชาธิปไตยถือว่าสถาบันฝ่ายตุลาการจะต้องเป็นอิสระจากฝ่ายนิติบัญญัติและฝ่ายบริหาร ในทางปฏิบัติมิใช่ว่าเป็นไม่มีความสัมพันธ์กับอีก
สองสถาบันเลย แต่ตามทฤษฎีเป็นความสัมพันธ์แบบคานอานาจซึ่งกันและกัน
 ความหมายของพรรคการเมือง
7
พรรคการเมือง
(Political
Party)
มีรากศัพท์มาจากภาษาลาตินว่า Par ซึ่งแปลว่า “ส่วน”
พรรคการเมือง หมายถึง
: การที่แยกประชากรออกเป็นส่วน ๆ ตามความคิดเห็นและประโยชน์ได้เสียทางการเมือง
: ส่วนของประชาชนที่มีแนวคิดเหมือนกันและมีผลประโยชน์ร่วมกันในประเทศทั้งหมด ที่รวมกลุ่มกัน
เป็นพรรคการเมืองขึ้นมา โดยมีแนวความคิดที่จะเข้าไปมีบทบาทในการบริหารประเทศ เพื่อแก้ปัญหาที่
เกิดขึ้นในทางการเมืองการปกครองร่วมกัน
พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยพรรคการเมือง พ.ศ.2550 มาตรา ๔ ได้ให้นิยามไว้ว่า
“พรรคการเมือง” หมายความว่า คณะบุคคลที่รวมกันจัดตั้งเป็นพรรคการเมือง โดยได้รับการจดแจ้งการ
จัดตั้งตามพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญนี้เพื่อสร้างเจตนารมณ์ทางการเมืองของประชาชนตาม
วิถีทางการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข โดยมุ่งที่จะส่งสมาชิกเข้า
สมัครรับเลือกตั้งเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร และมีการดาเนินกิจกรรมทางการเมืองอื่นอย่างต่อเนื่อง
ประเด็นความหมายที่สาคัญ
1. พรรคการเมืองเป็นกลุ่มหรือคณะบุคคลหรือสมาคมที่มีความคิดเห็นสอดคล้องกัน และมี
ผลประโยชน์พื้นฐานร่วมกัน ปรารถนารวมตัวกันเพื่อแสวงหาอานาจในการปกครองประเทศในที่สุด
2. พรรคการเมืองเป็นกลไกที่รัฐธรรมนูญยอมรับให้เข้ามาทาการควบคุมดูแลกิจการของประชาชนซึ่ง
รัฐบาลดาเนินการอยู่เพื่อให้เกิดผลประโยชน์ร่วมกันของประชาชน
3. พรรคการเมืองเป็นองค์การที่มีการจัดระบบที่ดีในการควบคุม โดยมีคณะผู้บริหารพรรคและมีสมาชิก
พรรค
 การแบ่งประเภทของระบบพรรค
8
แบ่งตามพรรคที่มีการแข่งขัน หรือ ไม่มีการแข่งขัน ตามด้วยจานวนพรรคที่สาคัญต่อการ
ดาเนินการของระบบการเมือง และ ความเข้มข้นทางอุดมการณ์
ไม่มีการแข่งขัน: พรรคเดียว พรรคหลักครอบงา
มีการแข่งขัน: พรรคหลักโดยการแข่งขัน สองพรรค หลายพรรคอุดมการณ์กลางๆ หลายพรรค
สุดโต่ง หลายพรรคไม่เชื่อมโยงกัน (สองแบบหลังประเทศยังมีปัญหาการจัดการระบบการเมืองให้มี
เสถียรภาพ)
ขอให้ นศ. พิจารณาว่าระบบพรรคของประเทศไทยเป็นแบบใด
 การทาหน้าที่รวบรวมประโยชน์ในระบบพรรคการเมือง
9
พรรคการเมืองเป็นองค์การที่แข่งขันกันทางอุดมการณ์ เป็นเรื่องที่เกี่ยวกับการรวบรวม
ผลประโยชน์
อุดมการณ์ คือ หลักที่พรรคการเมืองยึดถือในการกาหนดนโยบายพรรค
พรรคจะใช้นโยบายของพรรคในการแข่งขันของความสนับสนุนจากประชาชนกลุ่มต่างๆเพื่อมี
บทบาทในการปกครอง ดังนั้นนโยบายพรรคจึงสร้างขึ้นด้วยความหวังที่จะตอบสนองความต้องการ
หรือผลประโยชน์ของประชาชนต่างๆ
การแข่งขันทางอุดมการณ์คือการแข่งขันกันในการเสนอนโยบายต่อประชาชน
พรรคต้องทาการสารวจวิจัยตลาดการเมือง ว่าประชาชนมีความคิดเห็น หรือ มติมหาชนอย่างไร
มีการกระจายของมติมหาชนอย่างไร เป็นต้น
ขอให้ นศ. เปรียบเทียบ ประชานิยม กับ นโยบายที่ตอบมติมหาชน
 ลักษณะของพรรคการเมือง
10
พรรคการเมืองไทยจะคึกคักมีบทบาทเฉพาะคราวที่มีการเลือกตั้งเท่านั้น
พรรคการเมืองไทยต้องใช้เงินมหาศาลในการบริหารพรรค
พรรคการเมืองไทยจะมีบทบาทในการรักษาผลประโยชน์ของพรรค มากกว่าผลประโยชน์ของชาติหรือประชาชน
การคัดเลือกสมาชิกพรรคการเมือง โดยทั่วไปพรรคการเมืองจะไม่ค่อยคานึงเพ่งเล็งถึงอุดมการณ์และคุณธรรมของผู้ยื่นความจานง แต่เพ่งเล็งว่าผู้นั้นมีเงิน
มีชื่อเสียงที่จะเอาชนะการเลือกตั้ง เมื่อเป็นเช่นนั้นพรรคการเมืองจึงไม่ค่อยจะได้คนดีมีคุณธรรมและมีอุดมการณ์เข้าสังกัดพรรค
พรรคการเมืองไทยรวบรวมสมาชิกเพื่อหวังชนะการเลือกตั้งมากกว่าเพ่งเล็งอุดมการณ์ จะเห็นได้จากการเปลี่ยนพรรคเป็นไปอย่างกว้างขวาง
สมาชิกพรรคบางส่วนขาดอุดมการณ์และไม่เชื่อมั่นในอุดมการณ์ของพรรค จึงทาให้สมาชิกพรรคแยกตัวออกจากพรรคหนี่งไปเข้ากับอีกพรรคหนึ่ง หรือ
แยกไปตั้งพรรคใหม่
?พรรคการเมืองไทยยังไม่เป็นที่สนใจของประชาชน โดยเฉพาะประชาชนส่วนมากในชนบทเลือกคนมากกว่าพรรค พรรคการเมืองขาดพื้นฐานการรองรับ
จากประชาชนส่วนใหญ่ของประเทศ
?พรรคการเมืองไทยยังหย่อนยานในเรื่องระเบียบวินัยในการควบคุมสมาชิกพรรค จึงทาให้เกิดปัญหาการควบคุมสมาชิกพรรคในสภา คือ ไม่ทาตามมติ
ของพรรค
?รัฐธรรมนูญของไทย ให้โอกาสแก่ประชาชนในการจัดตั้งพรรคการเมืองอย่างกว้างขวาง จึงทาให้มีพรรคการเมืองจานวนมาก เมื่อมีการเลือกตั้งจึงทาให้
สมาชิกพรรคการเมืองหลายพรรคได้รับการเลือกตั้ง ไม่มีพรรคใดได้เสียงเด็ดขาด ทาให้ต้องมีรัฐบาลผสม
?แม้จะมีพรรคการเมืองหลายพรรคในประเทศไทย แต่นโยบายของพรรคมีลักษณะคล้ายคลึงกัน แต่ก็ไม่สามารถจะรวมพรรคการเมืองเข้าด้วยกันได้ เพราะ
นักการเมืองส่วนมากมีความต้องการจะได้ตาแหน่งที่สาคัญในพรรค
?พรรคการเมืองไทยยังขาดความมั่นคงเนื่องจากสาเหตุหลายประการ เช่น ไม่มีอุดมการณ์ ต้องใช้เงินจานวนมาก ประชาชนขาดความสนใจสนับสนุน
 ประเภทของพรรคการเมือง
11
แยกประเภทตามวัตถุประสงค์ และที่มาของพรรคการเมืองไทย ได้ 5 ประเภท คือ
พรรครัฐบาลเดิม : พรรคการเมืองที่ตั้งขึ้นโดยกลุ่มบุคคลที่บริหารประเทศก่อนที่จะมีการเลือกตั้ง เพื่อหวัง
ผลประโยชน์ในการที่จะให้พรรคการเมืองนั้นได้มีโอกาสรับเลือกตั้งเข้ามามากที่สุดและได้จัดตั้งรัฐบาลต่อไป
พรรคฝ่ายค้าน : พรรคการเมืองที่จัดตั้งขึ้นโดยกลุ่มบุคคลที่มีความคิดเห็นตรงกันข้ามกับพรรคการเมืองที่เป็น
รัฐบาลอยู่เดิม
พรรคสนับสนุนรัฐบาล : พรรคการเมืองที่จัดตั้งขึ้นเพื่อสนับสนุนรัฐบาล
พรรคเป็นกลาง: พรรคการเมืองที่ตั้งในลักษณะเป็นกลาง คือ มีความเห็นหรือแนวดาเนินการในลักษณะที่
ยืดหยุ่นได้
พรรคการเมืองที่ตั้งขึ้นเพื่อแสวงหาผลประโยชน์ : ไม่มีอุดมการณ์ หากฝ่ายใดให้ประโยชน์ก็จะช่วยเหลือฝ่าย
นั้น
 บทบาทและหน้าที่ของพรรคการเมือง
12
ประกาศหรือแถลงนโยบายหลักของพรรคการเมือง
* ค้นหามติมหาชน ชี้แจ้งนโยบายแก่ประชาชน ลดความขัดแย้ง ทาให้ประชาชนสนับสนุนนโยบาย ส่งเสริม
ความยินยอมพร้อมใจในปัญหาต่าง ๆ
ปลุกเร้าและแสดงความคิดเห็นทางการเมือง
* เป็นเครื่องเชื่อมโยงกลุ่มต่าง ๆ ในสังคม กระตุ้นให้ประชาชนสนใจ ให้การศึกษา
ส่งผู้แทนเข้าสมัครรับเลือกตั้ง
* แสวงหาผู้สมัคร และฝึกอบรมเพื่อเป็นผู้แทนราษฎร ทาให้การเลือกตั้งเป็นไปด้วยดีมีประสิทธิภาพ
จัดตั้งรัฐบาล
* กาหนดนโยบาย พื้นฐานหรือหลักเกณฑ์ในการที่จะทาให้กลุ่มต่าง ๆร่วมมือปฏิบัติงานเพื่อประโยชน์ส่วนรวม
ควบคุมรัฐบาล ทาหน้าที่พรรคฝ่ายค้าน ตรวจสอบมติสาธารณะ
ประสานระหว่างกลุ่มผลประโยชน์กับรัฐบาล
 พรรคการเมืองในประเทศไทย
13
ประวัติความเป็นมา
: มีพรรคการเมืองที่ถูกต้องตามกฎหมายเป็นครั้งแรกปี พ.ศ.2489
: มีการปฏิวัติรัฐประหารบ่อยครั้ง ทาให้พรรคการเมืองไม่สามารถจะดาเนินการทางการเมืองไปต่อเนื่อง
: พรรคการเมืองไทยได้พัฒนาตนเองมาโดยตลอดตามโครงสร้างรัฐธรรมนูญการปกครองแห่งราชอาณาจักรไทย
ยึดหลักกฎหมายเกี่ยวกับพรรคการเมืองเป็นเครื่องมือในการบริหารพรรค
มีลักษณะกลุ่มเดียวครองอานาจ : เท่าที่ผ่านมา ในช่วงเวลาใดเวลาหนึ่ง จะมีกลุ่มการเมืองเพียงกลุ่มเดียวที่
ครองอานาจในรัฐสภา
ปราศจากอุดมการณ์ : นโยบายต่าง ๆ ที่พรรคการเมืองไทยได้ร่างไว้ มักสร้างขึ้นเพื่อใช้ในการจดทะเบียนพรรค
มากกว่า ในทางปฏิบัติแล้วเราจะหาพรรคการเมืองที่อุดมการณ์เป็นเรื่องสาคัญก็หาได้ไม่
กาเนิดและสลายตัวเร็ว : พรรคการเมืองส่วนใหญ่ถือกาเนิดในนามของบุคคล ไม่ได้เป็นพรรคมหาชน ด้วยเหตุนี้
จึงไม่มีการสืบทอด ไม่มีเจตนารมย์ เมื่ออานาจของผู้นาหมดลง พรรคต่าง ๆ เหล่านี้ จึงสลายไปได้อย่างรวดเร็ว ด้วย
เหตุนี้ ปัจจุบันจึงมีพรรคการเมืองที่อายุยืนยาวจริง ๆ เพียงไม่กี่พรรค
 ความหมายของกลุ่มผลประโยชน์
14
กลุ่มผลประโยชน์
(Interest
Group)
*การรวมตัวกันของผู้มีผลประโยชน์ร่วมกัน
*กลุ่มที่จัดตั้งเพื่อภารกิจหรือผลประโยชน์เฉพาะอย่าง เมื่อมีการเรียกร้อง
ข้อเสนอของกลุ่มผ่านสถาบันของรัฐจะกลายเป็นกลุ่มผลประโยชน์ทาง
การเมือง และหากมีการปฏิบัติในระดับการเมืองก็จะเป็นกลุ่มผลักดัน ซึ่ง
เป็นกลุ่มที่มีเป้ าหมายที่จะมีอิทธิพลเหนือเจ้าหน้าที่ของรัฐหรือรัฐบาลใน
การตัดสินใจ โดยอาจใช้วิธีการขอมติ ขอความร่วมมือหรือการบีบบังคับ
การเรียกร้องผลประโยชน์ คือ กระบวนการที่ปัจเจก หรือ กลุ่มบุคคลแสดงออกซึ่งข้อ
เรียกร้องต่อผู้ตัดสินใจทางการเมือง ซึ่งถือได้ว่าเป็นขั้นตอนแรกที่ทาหน้าที่แปรสภาพ
ปัจจัยนาเข้าเป็นปัจจัยนาออก
 ประเภทของกลุ่มผลประโยชน์
15
Gabiel A. Almond นักรัฐศาสตร์ได้ศึกษาเรื่องของกลุ่ม โดยจาแนกประเภทกลุ่มเป็น 4 กลุ่ม ดังนี้
Institutional Interest Group (Officer Government)
เป็นกลุ่มที่เป็นสถาบัน มีโครงสร้างที่เป็นทางการอย่างชัดเจน มีผลประโยชน์เฉพาะกลุ่มตน จะทาหน้าที่ที่ได้รับมอบหมายจากสังคมให้ปฏิบัติการอย่างใดอย่างหนึ่ง ได้แก่
กลุ่มข้าราชการ ทหารพลเรือน ส.ส. พรรคการเมือง ตารวจ มีหน้าที่เฉพาะอย่างอื่นที่ไม่ใช่การเรียกร้องผลประโยชน์ อาจเรียกร้องผลประโยชน์ของกลุ่มเอง หรือทา
หน้าที่ตัวแทนเรียกร้องผลประโยชน์ของกลุ่มอื่นในสังคม
Associational Interest Group
เป็นกลุ่มที่เป็นทางการ จะมีการรวมตัวและดาเนินงานอย่างเป็นระเบียบ มีกฎเกณฑ์(ค่าสมาชิก, ค่าลงทะเบียน) มีเป้ าหมายที่จะดาเนินการ เช่น กลุ่มพวกพ่อค้าธุรกิจต่าง
ๆ กลุ่มสหพันธ์แรงงาน เป็ นกลุ่มที่จัดตั้งมาเพื่อเป็นปากเสียงแทนผลประโยชน์ของกลุ่ม มีระเบียบวิธีการที่จะเรียกร้องผลประโยชน์และนาข้อเสนอต่อระบบ
การเมือง
Non-Associational Interest Group
เป็นกลุ่มที่ไม่มีการจัดตั้ง จะมีการรวมตัวกันเพราะมีความเกี่ยวพันทางด้านเชื้อชาติ ศาสนา เครือญาติและตระกูล มักจะไม่มีโครงสร้างที่เป็นทางการ การรวมตัวกันก็มักจะ
เป็นไปอย่างหลวมๆ ไม่มีค่าสมาชิก ไม่มีคนทางานเพื่อกิจการโดยเฉพาะ เช่น การรวมตัวของศาสนาอิสลาม สมาคมประจาแซ่ต่าง ๆ อาจไม่ได้พบประกันอย่างสม่าเสมอ
แต่มีความรู้สึกร่วมกัน มีความเชื่อมโยงกันทางจิตใจ ทางวัฒนธรรม ซึ่งอาจเรียกร้องผลประโยชน์ของเขาเป็นครั้งคราวผ่านบุคลหรือผู้นา
Anomic Interest Group
เป็นกลุ่มที่รวมตัวกัน โดยมิได้นัดหมาย เกิดขึ้นอย่างรวดเร็ว มีความรุนแรง และสลายตัวไปในระยะเวลาอันสั้นเมื่อหมดภารกิจ ไร้ระเบียบ อาจเกิดจากการถูกกดดันทาง
จิตใจ เช่น กลุ่มประท้วง การรวมตัวแบบนี้ จะมีการรุนแรงมากเพียงใดจะขึ้นอยู่กับปัจจัย “ด้านเงินทุน” “สภาพทางการเมืองในช่วงนั้น”
3-4 มาครั้งเดียวแล้วไป
 บทบาทและหน้าที่ของกลุ่มผลประโยชน์
16
*ทาให้นโยบายของชาติเป็นของประชาชนอย่างแท้จริง
*กลุ่มผลประโยชน์พยายามมีอิทธิพลในทางการเมือง
*พยายามเข้าถึงองค์การที่กาหนดนโยบายของชาติ
*ติดตามและประเมินผลงานบทบาทของรัฐบาล
กลุ่มผลประโยชน์ คือ กลุ่มคนที่รวมตัวกันด้วยความสมัครใจเพื่อรักษาผลประโยชน์อย่างใดอย่างหนึ่งร่วมกัน
โดยมุ่งหวังจะมีอิทธิพลผลักดันให้รัฐกระทาตามข้อเรียกร้องของกลุ่มตน ไม่มุ่งหวังจะเข้าไปเป็นรัฐบาล
กลุ่มผลประโยชน์ สนใจที่จะมีอิทธิพลโน้มน้าวผู้ที่ทาการปกครอง แต่ไม่สนใจที่จะเข้ามาปกครอง
พรรคการเมือง สนใจที่จะมีอานาจการปกครอง และแข่งขันกันเพื่อให้ได้มาซึ่งอานาจทางการเมือง
กลุ่มผลประโยชน์อาจพัฒนาไปเป็นพรรคการเมืองได้
 ปัจจัยกาหนดอิทธิพลของกลุ่มผลประโยชน์
17
*ช่องทางที่เหมาะสมในการเข้าหาผู้ตัดสินใจ
*ความต้องการของกลุ่มสอดคล้องกับค่านิยมของสังคม
*มีทรัพยากร เช่น การสนับสนุนจากกลุ่ม กาลังคน การจัดองค์การ กลุ่มได้รับการ
สนับสนุน
*ความเชี่ยวชาญ
ไม่ได้เป็นจริงเสมอไปว่ากลุ่มธุรกิจจะรวมหัวกันเพื่อผลประโยชน์ร่วมเสมอไป เพราะอุตสาหกรรมต่างๆ อาจมีผลประโยชน์ต่างๆ กัน
 ลักษณะของกลุ่มผลประโยชน์
18
ลักษณะของกลุ่มผลประโยชน์ในประเทศไทย
เชิดชูคนมีอานาจ : เพราะธรรมชาติของวัฒนธรรมการเมืองไทยก็คือระบบอุปถัมภ์ ดังนั้นหากได้เข้าเป็น
พรรคพวกกับคนมีอานาจก็จะมีแนวโน้มที่สมาชิกของกลุ่มจะได้รับผลประโยชน์จากตาแหน่ง และอานาจของผู้
มีอิทธิพลนั้น
ขาดเอกภาพ : ขาดการรวมตัวกันที่ดี ทาให้มีการแยกออกเป็นกลุ่มเล็กกลุ่มน้อย ขาดการมอง
ผลประโยชน์ส่วนรวม ทาให้กลุ่มผลประโยชน์ในประเทศไทยไม่เข้มแข็ง
ขาดอุดมการณ์ : กลุ่มผลประโยชน์ในประเทศไทย ไม่ได้รวมตัวกันเพื่ออุดมการณ์ของส่วนรวม แต่เป็น
การรวมตัวกันเพื่อปกป้ องผลประโยชน์ หรือเป็นการรวมกันเฉพาะกิจยามวิกฤติเท่านั้น และขาดการติดตาม
ผลการเรียกร้อง ทาให้มีกลุ่มหลากหลาย ขาดเอกภาพ ขาดการเรียกร้องที่เป็นรูปธรรม ขาดการสร้างประเด็น
ให้กลายเป็นประเด็นระดับชาติและระดับโลก ทาให้ไม่มีแรงกดดันที่จะทาให้รัฐบาลทาตามข้อเรียกร้อง
 ความหมายของสื่อมวลชน
19
สื่อมวลชน
*พาหนะหรือเครื่องมือทั้งหลายที่มนุษย์ประดิษฐ์และคิดค้นขึ้นมาเพื่อนาไปใช้
ประโยชน์ ในการนาข่าวสารหรือข้อมูลต่าง ๆ จากผู้ส่งสารไปสู่ยังมวลชน หรือ
ประชาชนโดยทั่ว ๆ ไป ซึ่งอาจจะมองในแง่ของกลุ่มผู้ชม ผู้ดู ผู้ฟังและผู้อ่านใน
กระบวนการสื่อสารมวลชน หรืออาจจะเป็นกลุ่มผู้บริโภค ในกระบวนการทาง
การตลาดซึ่งกลุ่มผู้บริโภคนี้ ก็คือประชาชนทุก ๆ คนนั่นเอง เพราะทุก ๆ คนมีความ
จาเป็นต้องบริโภคด้วยกันทั้งนั้น ไม่ว่าจะเป็นสินค้าประเภทอุปโภคหรือบริโภคก็ตาม
หรืออาจจะเป็นผู้มีสิทธิออกเสียงเลือกตั้งในกระบวนการทางการเมือง ซึ่งเป็น
ประชากรที่มีจานวนมากมายและต่างก็กระจัดกระจายกันอยู่เช่นกัน
 ลักษณะของสื่อมวลชน
20
ผู้ส่งหรือแหล่งผลิตข่าวมีลักษณะซับซ้อน เป็นองค์การ หรือสถาบัน (ส่วนมาก
มักจะแสวงหากาไร)
ผู้รับมีจานวนมาก (บางรายการอาจจะมีผู้ชม เป็นร้อยล้านคนก็ได้) และมีภูมิหลัง
ที่หลากหลาย อยู่ต่าง เวลาและต่างสถานที่กัน
การสร้างรหัส และ การถอดรหัสต้องอาศัยเทคโนโลยีและความชานาญเป็นพิเศษ
สื่อมวลชนอาจถูกใช้เป็นเครื่องมือในการที่จะกระตุ้นกลุ่มผลประโยชน์ให้มามีส่วนร่วมทางการเมือง หรือ
อาจถูกใช้ในการครอบงาเพื่อเปลี่ยนแปลงทัศนคติของประชาชนให้เป็นไปตามที่ผู้นาต้องการได้
 ประเภทของสื่อมวลชน
21
ศาสตราจารย์ ดร.ชัยยงค์ พรหมวงศ์ จาแนกสื่อมวลชนไว้ครอบคลุมสื่อ 6 ประเภท คือ ( ชัยยงค์ พรหมวงศ์
2525 : 270 )
 สิ่งพิมพ์ ได้แก่ หนังสือพิมพ์ วารสาร นิตยสาร หนังสือ และสิ่งตีพิมพ์ประเภทอื่นๆ
 ภาพยนตร์ ทั้งภาพยนตร์เรื่อง ภาพยนตร์สารคดี และภาพยนตร์ทางการศึกษาบางประเภท
 วิทยุกระจายเสียง ได้แก่วิทยุที่ส่งรายการออกอากาศ ทั้งระบบ AM และ FM รวมไปถึงระบบเสียง
ตามสาย
วิทยุโทรทัศน์ เป็นสื่อทางภาพและทางเสียงที่เผยแพร่ออกไป ทั้งประเภทออกอากาศและส่งตามสาย
สื่อสารโทรคมนาคม เป็นผลจากความก้าวหน้าด้านเทคโนโลยี มีการส่งข้อความ เสียง ภาพ ตัวพิมพ์
สัญลักษณ์ต่างๆ ได้หลากหลาย ครอบคลุมกิจการสื่อสารผ่านดาวเทียม โทรภาพ โทรพิมพ์
สื่อวัสดุบันทึก ได้แก่เทปบันทึกเสียง เทปบันทึกภาพ แผ่นบันทึกเสียง แผ่นบันทึกภาพ ซึ่งกลายเป็นสื่อมวลชน
เพราะเทคโนโลยีที่ก้าวหน้าทาให้สามารถผลิตเผยแพร่ได้มากและรวดเร็ว
 บทบาทและหน้าที่ของสื่อมวลชน
22
บทบาทของสื่อมวลชนในทางการเมือง
*เผยแพร่ข้อมูลตามหลักความจริง ทัศนคติ และความคิดเห็น
*เปิดโปงเรื่องราวความจริงที่อาจเป็นประโยชน์ต่อสังคม
*ตรวจสอบการทางานของรัฐบาล
*สร้างอุดมการณ์ ค่านิยม
*เป็นตัวกลางในการแสดงความคิดเห็นร่วมของประชาชน
*เป็นตัวกลางในการร้องเรียนความผิดพลาดต่าง ๆ
*ส่งต่อความคิดเห็นไปยังรัฐบาล
*ช่วยประชาสัมพันธ์การทางานของรัฐบาล
ขอให้ นศ. พิจารณาถึงการเปลี่ยนแปลงของสื่อมวลชนในด้าน
การเมืองในช่วงตั้งแต่ปี 2544 เป็นต้นมา
23
24
Gabriel A. Almond 1966
25
Gabriel A. Almond & G Bingham Powell 1980
26
 การกล่อมเกลา คือ การขัดเกลาให้สมาชิกสังคมได้เรียนรู้วิถีทางการดาเนิน
ชีวิตในสังคมนั้นๆ เพื่อที่จะสามารถมีส่วนร่วมในฐานะสมาชิกที่มี
ประสิทธิภาพตามสมควรของกลุ่ม
 การกล่อมเกลาทางการเมือง คือ การขัดเกลาทางสังคมที่มีผลต่อพฤติกรรม
ทางการเมือง
 การกล่อมเกลาทางการเมืองในวัยผู้ใหญ่: จาพวกในสังคม กลุ่มทุติยภูมิที่เขา
สังกัด ประสบการณ์ทางการเมือง สื่อมวลชน
27
ขอให้ นศ. เปรียบเทียบการกล่อมเกลาของกลุ่มเสื้อเหลือง กับ เสื้อแดง
 หมายถึง ลักษณะการกระจายของความโน้มเอียง ความรู้ ความรู้สึก และการ
ประเมินต่อวัตถุทางการเมือง (องค์ประกอบทางการเมือง และ ทัศนคติต่อ
ตนเองและผู้อื่น) ที่มีอยู่ในบรรดาสมาชิกของสังคมนั้น
 วัฒนธรรมประเภทคับแคบ แทบจะไม่รู้จัก ไม่รู้สึก ไม่ประเมินค่า ไม่มี
ความสัมพันธ์กับการเมืองเลย ไม่คิดว่าระดับชาติจะกระทบเขาได้
 วัฒนธรรมไพร่ฟ้ า รับรู้ แต่มองว่าตัวเองแทบไม่มีอิทธิพล ไม่รู้จะเข้าไปมีส่วน
ร่วมอย่างไร
 วัฒนธรรมมีส่วนร่วม กระตือรือร้นที่จะเข้าไปมีบทบาททางการเมือง
 คับแคบ – ไพร่ฟ้ า
 ไพร่ฟ้ า – มีส่วนร่วม
 คับแคบ - มีส่วนร่วม
28
ขอให้ นศ. พิจารณาว่าประเทศไทยก่อนทักษิณเป็น
แบบไหน หลังทักษิณ เป็นแบบไหน
29
 เมื่อความต้องการจากกลุ่มต่างๆ ได้รับการเรียกร้องแล้ว จะต้องได้รับการ
รวบรวมผสมผสานกันเป็นหมวดหมู่หรือนามากลั่นกรองประนีประนอมกัน
ให้มีรูปแบบซึ่งเป็นทางเลือกในการกาหนดนโยบาย สาหรับผู้มีอานาจาง
การเมืองที่จะตัดสินใจกาหนดนโยบายหรือออกเป็ นข้อบังคับในขั้นสุดท้าย
 ต้องมีการสรรหาบุคคลที่มีความสามารถในการเข้าถึงประเด็นเกี่ยวข้องกับ
ผลประโยชน์ของกลุ่มต่างๆ ในสังคมและสามารถคิดค้นหาสูตรของการ
ตอบสนองผลประโยชน์
30
 โครงสร้างที่ทาหน้าที่รวบรวมผลประโยชน์
◦ บุคคลที่มีเครือข่าย ลูกน้องบริวารอยู่ในการอุปถัมป์
◦ ระบบราชการ
◦ พรรคการเมือง
31
 เป็นกระบวนการแลกเปลี่ยนข้อเท็จจริง ทัศนะ และความคิดเห็น ตลอดจน
ประสบการณ์ต่างๆทางการเมือง ระหว่างบุคคล กลุ่มบุคคล เพื่อให้เกิดความ
เข้าใจร่วมกันทางการเมือง และทาให้ระบบการเมืองทาหน้าที่อื่นๆ ต่อไปได้
อย่างเหมาะสม
 การสื่อสารแบบพบหน้า
 การสื่อสารแบบสังคมจารีตประเพณี
 การสื่อสารในปัจจัยนาเข้าของระบบการเมือง
 การสื่อสารในปัจจัยส่งออกของระบบการเมือง
 การสื่อสารมวลชน
32
33

More Related Content

What's hot

อารยธรรมตะวันตก
อารยธรรมตะวันตกอารยธรรมตะวันตก
อารยธรรมตะวันตก
Chanapa Youngmang
 
ประวัติศาสตร์ไทยสมัยธนบุรี
ประวัติศาสตร์ไทยสมัยธนบุรีประวัติศาสตร์ไทยสมัยธนบุรี
ประวัติศาสตร์ไทยสมัยธนบุรี
ครูพัฒวิทย์ ครูพัฒวิทย์
 
รายงานการศึกษาค้นคว้า
รายงานการศึกษาค้นคว้ารายงานการศึกษาค้นคว้า
รายงานการศึกษาค้นคว้าtanakit pintong
 
การเขียนบทที่ 1 บทนำของปริญญานิพนธ์ วิทยานิพนธ์ และงานวิจัย (Introduction)
การเขียนบทที่ 1 บทนำของปริญญานิพนธ์ วิทยานิพนธ์ และงานวิจัย (Introduction)การเขียนบทที่ 1 บทนำของปริญญานิพนธ์ วิทยานิพนธ์ และงานวิจัย (Introduction)
การเขียนบทที่ 1 บทนำของปริญญานิพนธ์ วิทยานิพนธ์ และงานวิจัย (Introduction)
Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
10บรรณานุกรม
10บรรณานุกรม10บรรณานุกรม
10บรรณานุกรมkrupornpana55
 
วิเคราะห์การเมืองกับการศึกษา
วิเคราะห์การเมืองกับการศึกษาวิเคราะห์การเมืองกับการศึกษา
วิเคราะห์การเมืองกับการศึกษา
ธนกร ทองแก้ว
 
บทที่ 4สิ่งที่มีอิทธิพลต่อการบริหารราชการไทย
บทที่ 4สิ่งที่มีอิทธิพลต่อการบริหารราชการไทยบทที่ 4สิ่งที่มีอิทธิพลต่อการบริหารราชการไทย
บทที่ 4สิ่งที่มีอิทธิพลต่อการบริหารราชการไทยSaiiew
 
โครงงานวิชาคอมพิวเตอร์ เรื่อง แอปพลิเคชั่นตัดคะแนนนักเรียน
โครงงานวิชาคอมพิวเตอร์ เรื่อง แอปพลิเคชั่นตัดคะแนนนักเรียนโครงงานวิชาคอมพิวเตอร์ เรื่อง แอปพลิเคชั่นตัดคะแนนนักเรียน
โครงงานวิชาคอมพิวเตอร์ เรื่อง แอปพลิเคชั่นตัดคะแนนนักเรียน
yudohappyday
 
ระบบต่างที่มีอิทธิพลต่อระบบราชการ
ระบบต่างที่มีอิทธิพลต่อระบบราชการระบบต่างที่มีอิทธิพลต่อระบบราชการ
ระบบต่างที่มีอิทธิพลต่อระบบราชการSaiiew
 
การเขียนรายงานโครงงานการใช้โปรแกรม Gsp ออกแบบลายไทย
การเขียนรายงานโครงงานการใช้โปรแกรม Gsp ออกแบบลายไทยการเขียนรายงานโครงงานการใช้โปรแกรม Gsp ออกแบบลายไทย
การเขียนรายงานโครงงานการใช้โปรแกรม Gsp ออกแบบลายไทยThanawat Spdf Wongnang
 
วิทยาการคำนวณ ม.5 - บทที่ 2 การเก็บรวบรวมและสำรวจข้อมูล
วิทยาการคำนวณ ม.5 - บทที่ 2 การเก็บรวบรวมและสำรวจข้อมูลวิทยาการคำนวณ ม.5 - บทที่ 2 การเก็บรวบรวมและสำรวจข้อมูล
วิทยาการคำนวณ ม.5 - บทที่ 2 การเก็บรวบรวมและสำรวจข้อมูล
Coco Tan
 
แนะนำตัวเอง10 สไลด์
แนะนำตัวเอง10 สไลด์แนะนำตัวเอง10 สไลด์
แนะนำตัวเอง10 สไลด์
098108120511
 
หนังสือขอเขียนแบบโดม
หนังสือขอเขียนแบบโดมหนังสือขอเขียนแบบโดม
หนังสือขอเขียนแบบโดม
prakasit srisaard
 
ตัวอย่างสารบัญ เล่มโปรเจ็ค
ตัวอย่างสารบัญ เล่มโปรเจ็คตัวอย่างสารบัญ เล่มโปรเจ็ค
ตัวอย่างสารบัญ เล่มโปรเจ็ค
tumetr1
 
ประวัติการศึกษาไทย
ประวัติการศึกษาไทยประวัติการศึกษาไทย
ประวัติการศึกษาไทยSuwanan Nonsrikham
 
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาประวัติศาสตร์ ม.1 หน่วยที่ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาประวัติศาสตร์ ม.1 หน่วยที่ 1แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาประวัติศาสตร์ ม.1 หน่วยที่ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาประวัติศาสตร์ ม.1 หน่วยที่ 1Sokoy_jj
 
ประวัติศาสตร์สุโขทัย
ประวัติศาสตร์สุโขทัยประวัติศาสตร์สุโขทัย
ประวัติศาสตร์สุโขทัย
chatsawat265
 

What's hot (20)

อารยธรรมตะวันตก
อารยธรรมตะวันตกอารยธรรมตะวันตก
อารยธรรมตะวันตก
 
ประวัติศาสตร์ไทยสมัยธนบุรี
ประวัติศาสตร์ไทยสมัยธนบุรีประวัติศาสตร์ไทยสมัยธนบุรี
ประวัติศาสตร์ไทยสมัยธนบุรี
 
ทฤษฎีทางการเมือง (Political theory)
ทฤษฎีทางการเมือง (Political theory)ทฤษฎีทางการเมือง (Political theory)
ทฤษฎีทางการเมือง (Political theory)
 
รายงานการศึกษาค้นคว้า
รายงานการศึกษาค้นคว้ารายงานการศึกษาค้นคว้า
รายงานการศึกษาค้นคว้า
 
การเขียนบทที่ 1 บทนำของปริญญานิพนธ์ วิทยานิพนธ์ และงานวิจัย (Introduction)
การเขียนบทที่ 1 บทนำของปริญญานิพนธ์ วิทยานิพนธ์ และงานวิจัย (Introduction)การเขียนบทที่ 1 บทนำของปริญญานิพนธ์ วิทยานิพนธ์ และงานวิจัย (Introduction)
การเขียนบทที่ 1 บทนำของปริญญานิพนธ์ วิทยานิพนธ์ และงานวิจัย (Introduction)
 
10บรรณานุกรม
10บรรณานุกรม10บรรณานุกรม
10บรรณานุกรม
 
วิเคราะห์การเมืองกับการศึกษา
วิเคราะห์การเมืองกับการศึกษาวิเคราะห์การเมืองกับการศึกษา
วิเคราะห์การเมืองกับการศึกษา
 
บทที่ 4สิ่งที่มีอิทธิพลต่อการบริหารราชการไทย
บทที่ 4สิ่งที่มีอิทธิพลต่อการบริหารราชการไทยบทที่ 4สิ่งที่มีอิทธิพลต่อการบริหารราชการไทย
บทที่ 4สิ่งที่มีอิทธิพลต่อการบริหารราชการไทย
 
โครงงานวิชาคอมพิวเตอร์ เรื่อง แอปพลิเคชั่นตัดคะแนนนักเรียน
โครงงานวิชาคอมพิวเตอร์ เรื่อง แอปพลิเคชั่นตัดคะแนนนักเรียนโครงงานวิชาคอมพิวเตอร์ เรื่อง แอปพลิเคชั่นตัดคะแนนนักเรียน
โครงงานวิชาคอมพิวเตอร์ เรื่อง แอปพลิเคชั่นตัดคะแนนนักเรียน
 
ระบบต่างที่มีอิทธิพลต่อระบบราชการ
ระบบต่างที่มีอิทธิพลต่อระบบราชการระบบต่างที่มีอิทธิพลต่อระบบราชการ
ระบบต่างที่มีอิทธิพลต่อระบบราชการ
 
การเขียนรายงานโครงงานการใช้โปรแกรม Gsp ออกแบบลายไทย
การเขียนรายงานโครงงานการใช้โปรแกรม Gsp ออกแบบลายไทยการเขียนรายงานโครงงานการใช้โปรแกรม Gsp ออกแบบลายไทย
การเขียนรายงานโครงงานการใช้โปรแกรม Gsp ออกแบบลายไทย
 
วิทยาการคำนวณ ม.5 - บทที่ 2 การเก็บรวบรวมและสำรวจข้อมูล
วิทยาการคำนวณ ม.5 - บทที่ 2 การเก็บรวบรวมและสำรวจข้อมูลวิทยาการคำนวณ ม.5 - บทที่ 2 การเก็บรวบรวมและสำรวจข้อมูล
วิทยาการคำนวณ ม.5 - บทที่ 2 การเก็บรวบรวมและสำรวจข้อมูล
 
แนะนำตัวเอง10 สไลด์
แนะนำตัวเอง10 สไลด์แนะนำตัวเอง10 สไลด์
แนะนำตัวเอง10 สไลด์
 
หนังสือขอเขียนแบบโดม
หนังสือขอเขียนแบบโดมหนังสือขอเขียนแบบโดม
หนังสือขอเขียนแบบโดม
 
ตัวอย่างสารบัญ เล่มโปรเจ็ค
ตัวอย่างสารบัญ เล่มโปรเจ็คตัวอย่างสารบัญ เล่มโปรเจ็ค
ตัวอย่างสารบัญ เล่มโปรเจ็ค
 
ประวัติการศึกษาไทย
ประวัติการศึกษาไทยประวัติการศึกษาไทย
ประวัติการศึกษาไทย
 
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาประวัติศาสตร์ ม.1 หน่วยที่ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาประวัติศาสตร์ ม.1 หน่วยที่ 1แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาประวัติศาสตร์ ม.1 หน่วยที่ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาประวัติศาสตร์ ม.1 หน่วยที่ 1
 
ประวัติศาสตร์สุโขทัย
ประวัติศาสตร์สุโขทัยประวัติศาสตร์สุโขทัย
ประวัติศาสตร์สุโขทัย
 
บทที่ 3 แนวคิดทฤษฎีเกี่ยวกับภาวะผู้นำ
บทที่ 3  แนวคิดทฤษฎีเกี่ยวกับภาวะผู้นำบทที่ 3  แนวคิดทฤษฎีเกี่ยวกับภาวะผู้นำ
บทที่ 3 แนวคิดทฤษฎีเกี่ยวกับภาวะผู้นำ
 
แผ่นพับโครงงาน
แผ่นพับโครงงานแผ่นพับโครงงาน
แผ่นพับโครงงาน
 

Viewers also liked

การเมืองการปกครอง
การเมืองการปกครองการเมืองการปกครอง
การเมืองการปกครองkroobannakakok
 
สถาบันนิยมใหม่กับการศึกษารัฐธรรมนูญ (New Institutionalism and Constitution)
สถาบันนิยมใหม่กับการศึกษารัฐธรรมนูญ (New Institutionalism and Constitution)สถาบันนิยมใหม่กับการศึกษารัฐธรรมนูญ (New Institutionalism and Constitution)
สถาบันนิยมใหม่กับการศึกษารัฐธรรมนูญ (New Institutionalism and Constitution)
Weera Wongsatjachock
 
การมีส่วนร่วมทางการเมือง
การมีส่วนร่วมทางการเมืองการมีส่วนร่วมทางการเมือง
การมีส่วนร่วมทางการเมือง
Akaraphon Kaewkhamthong
 
พัฒนาทางการเมือง
พัฒนาทางการเมืองพัฒนาทางการเมือง
พัฒนาทางการเมืองpailinsarn
 
โครงสร้างสังคม
โครงสร้างสังคมโครงสร้างสังคม
โครงสร้างสังคมthnaporn999
 
พลเมืองที่ดี
พลเมืองที่ดีพลเมืองที่ดี
พลเมืองที่ดีkroobannakakok
 
ปัญหาสังคมไทยในปัจจุบันและแนวทางการแก้ปัญหาโดยสันติวิธี
ปัญหาสังคมไทยในปัจจุบันและแนวทางการแก้ปัญหาโดยสันติวิธีปัญหาสังคมไทยในปัจจุบันและแนวทางการแก้ปัญหาโดยสันติวิธี
ปัญหาสังคมไทยในปัจจุบันและแนวทางการแก้ปัญหาโดยสันติวิธี
พระอภิชัช ธมฺมโชโต
 
การปกครองคณะสงฆ์
การปกครองคณะสงฆ์การปกครองคณะสงฆ์
การปกครองคณะสงฆ์
พระอภิชัช ธมฺมโชโต
 
ประวัติศาสตร์การเมืองการปกครองของไทย
ประวัติศาสตร์การเมืองการปกครองของไทยประวัติศาสตร์การเมืองการปกครองของไทย
ประวัติศาสตร์การเมืองการปกครองของไทย
Padvee Academy
 
ประวัติศาสตร์ ม.2
ประวัติศาสตร์ ม.2ประวัติศาสตร์ ม.2
ประวัติศาสตร์ ม.2Arom Chumchoengkarn
 

Viewers also liked (11)

การเมืองการปกครอง
การเมืองการปกครองการเมืองการปกครอง
การเมืองการปกครอง
 
สถาบันนิยมใหม่กับการศึกษารัฐธรรมนูญ (New Institutionalism and Constitution)
สถาบันนิยมใหม่กับการศึกษารัฐธรรมนูญ (New Institutionalism and Constitution)สถาบันนิยมใหม่กับการศึกษารัฐธรรมนูญ (New Institutionalism and Constitution)
สถาบันนิยมใหม่กับการศึกษารัฐธรรมนูญ (New Institutionalism and Constitution)
 
การมีส่วนร่วมทางการเมือง
การมีส่วนร่วมทางการเมืองการมีส่วนร่วมทางการเมือง
การมีส่วนร่วมทางการเมือง
 
พัฒนาทางการเมือง
พัฒนาทางการเมืองพัฒนาทางการเมือง
พัฒนาทางการเมือง
 
ประชาธิปไตย
ประชาธิปไตย ประชาธิปไตย
ประชาธิปไตย
 
โครงสร้างสังคม
โครงสร้างสังคมโครงสร้างสังคม
โครงสร้างสังคม
 
พลเมืองที่ดี
พลเมืองที่ดีพลเมืองที่ดี
พลเมืองที่ดี
 
ปัญหาสังคมไทยในปัจจุบันและแนวทางการแก้ปัญหาโดยสันติวิธี
ปัญหาสังคมไทยในปัจจุบันและแนวทางการแก้ปัญหาโดยสันติวิธีปัญหาสังคมไทยในปัจจุบันและแนวทางการแก้ปัญหาโดยสันติวิธี
ปัญหาสังคมไทยในปัจจุบันและแนวทางการแก้ปัญหาโดยสันติวิธี
 
การปกครองคณะสงฆ์
การปกครองคณะสงฆ์การปกครองคณะสงฆ์
การปกครองคณะสงฆ์
 
ประวัติศาสตร์การเมืองการปกครองของไทย
ประวัติศาสตร์การเมืองการปกครองของไทยประวัติศาสตร์การเมืองการปกครองของไทย
ประวัติศาสตร์การเมืองการปกครองของไทย
 
ประวัติศาสตร์ ม.2
ประวัติศาสตร์ ม.2ประวัติศาสตร์ ม.2
ประวัติศาสตร์ ม.2
 

Similar to รัฐธรรมนูญและสถาบันการเมืองขั้นสูง

ยุทธศาสตร์การพัฒนาของสิงคโปร์ในยุคบูรพาภิวัฒน์ : บทเรียนต่อประเทศไทย
ยุทธศาสตร์การพัฒนาของสิงคโปร์ในยุคบูรพาภิวัฒน์ : บทเรียนต่อประเทศไทยยุทธศาสตร์การพัฒนาของสิงคโปร์ในยุคบูรพาภิวัฒน์ : บทเรียนต่อประเทศไทย
ยุทธศาสตร์การพัฒนาของสิงคโปร์ในยุคบูรพาภิวัฒน์ : บทเรียนต่อประเทศไทย
Klangpanya
 
แนวข้อสอบ Comprehensive 2
แนวข้อสอบ Comprehensive 2แนวข้อสอบ Comprehensive 2
แนวข้อสอบ Comprehensive 2
ประพันธ์ เวารัมย์
 
U5 regime of government
U5 regime of governmentU5 regime of government
U5 regime of government
KatawutPK
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
ความดี
ความดีความดี
ความดีroh1109
 
คู่มือ นวัตกรสังคม เนื้อหาหลักสูตร
คู่มือ นวัตกรสังคม เนื้อหาหลักสูตรคู่มือ นวัตกรสังคม เนื้อหาหลักสูตร
คู่มือ นวัตกรสังคม เนื้อหาหลักสูตรDental Faculty,Phayao University.
 
more then
more thenmore then
more then
ghkiotdbmnui
 
ยุทธศาสตร์การเมืองภาคพลเมือง ดร.อรัญ
ยุทธศาสตร์การเมืองภาคพลเมือง ดร.อรัญยุทธศาสตร์การเมืองภาคพลเมือง ดร.อรัญ
ยุทธศาสตร์การเมืองภาคพลเมือง ดร.อรัญ
Niran Kultanan
 
“ธรรมกาย” กับพุทธศาสนาและการเมืองในประเทศไทย
“ธรรมกาย” กับพุทธศาสนาและการเมืองในประเทศไทย“ธรรมกาย” กับพุทธศาสนาและการเมืองในประเทศไทย
“ธรรมกาย” กับพุทธศาสนาและการเมืองในประเทศไทย
Yaowaluk Chaobanpho
 
Lesson 3 constitutionalism and sovereignty
Lesson 3 constitutionalism and sovereigntyLesson 3 constitutionalism and sovereignty
Lesson 3 constitutionalism and sovereignty
KatawutPK
 
ยุทธศาสตร์การพัฒนาของสิงคโปร์ในยุคบูรพาภิวัตน์ : บทเรียนต่อประเทศไทย
ยุทธศาสตร์การพัฒนาของสิงคโปร์ในยุคบูรพาภิวัตน์ : บทเรียนต่อประเทศไทยยุทธศาสตร์การพัฒนาของสิงคโปร์ในยุคบูรพาภิวัตน์ : บทเรียนต่อประเทศไทย
ยุทธศาสตร์การพัฒนาของสิงคโปร์ในยุคบูรพาภิวัตน์ : บทเรียนต่อประเทศไทย
Klangpanya
 
kpi_journal,+61-1-11.pdf
kpi_journal,+61-1-11.pdfkpi_journal,+61-1-11.pdf
kpi_journal,+61-1-11.pdf
LulochLambeLoch
 
Lesson 4 constitutional political institutions
Lesson 4 constitutional political institutionsLesson 4 constitutional political institutions
Lesson 4 constitutional political institutions
KatawutPK
 

Similar to รัฐธรรมนูญและสถาบันการเมืองขั้นสูง (20)

ยุทธศาสตร์การพัฒนาของสิงคโปร์ในยุคบูรพาภิวัฒน์ : บทเรียนต่อประเทศไทย
ยุทธศาสตร์การพัฒนาของสิงคโปร์ในยุคบูรพาภิวัฒน์ : บทเรียนต่อประเทศไทยยุทธศาสตร์การพัฒนาของสิงคโปร์ในยุคบูรพาภิวัฒน์ : บทเรียนต่อประเทศไทย
ยุทธศาสตร์การพัฒนาของสิงคโปร์ในยุคบูรพาภิวัฒน์ : บทเรียนต่อประเทศไทย
 
Soc
SocSoc
Soc
 
แนวข้อสอบ Comprehensive 2
แนวข้อสอบ Comprehensive 2แนวข้อสอบ Comprehensive 2
แนวข้อสอบ Comprehensive 2
 
U5 regime of government
U5 regime of governmentU5 regime of government
U5 regime of government
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๙
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๙แผนการจัดการเรียนรู้ที่๙
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๙
 
ธรรมชาติ
ธรรมชาติธรรมชาติ
ธรรมชาติ
 
123456
123456123456
123456
 
387442 1
387442 1387442 1
387442 1
 
ความดี
ความดีความดี
ความดี
 
คู่มือ นวัตกรสังคม เนื้อหาหลักสูตร
คู่มือ นวัตกรสังคม เนื้อหาหลักสูตรคู่มือ นวัตกรสังคม เนื้อหาหลักสูตร
คู่มือ นวัตกรสังคม เนื้อหาหลักสูตร
 
Ps0005584
Ps0005584Ps0005584
Ps0005584
 
more then
more thenmore then
more then
 
ยุทธศาสตร์การเมืองภาคพลเมือง ดร.อรัญ
ยุทธศาสตร์การเมืองภาคพลเมือง ดร.อรัญยุทธศาสตร์การเมืองภาคพลเมือง ดร.อรัญ
ยุทธศาสตร์การเมืองภาคพลเมือง ดร.อรัญ
 
“ธรรมกาย” กับพุทธศาสนาและการเมืองในประเทศไทย
“ธรรมกาย” กับพุทธศาสนาและการเมืองในประเทศไทย“ธรรมกาย” กับพุทธศาสนาและการเมืองในประเทศไทย
“ธรรมกาย” กับพุทธศาสนาและการเมืองในประเทศไทย
 
Lesson 3 constitutionalism and sovereignty
Lesson 3 constitutionalism and sovereigntyLesson 3 constitutionalism and sovereignty
Lesson 3 constitutionalism and sovereignty
 
ยุทธศาสตร์การพัฒนาของสิงคโปร์ในยุคบูรพาภิวัตน์ : บทเรียนต่อประเทศไทย
ยุทธศาสตร์การพัฒนาของสิงคโปร์ในยุคบูรพาภิวัตน์ : บทเรียนต่อประเทศไทยยุทธศาสตร์การพัฒนาของสิงคโปร์ในยุคบูรพาภิวัตน์ : บทเรียนต่อประเทศไทย
ยุทธศาสตร์การพัฒนาของสิงคโปร์ในยุคบูรพาภิวัตน์ : บทเรียนต่อประเทศไทย
 
kpi_journal,+61-1-11.pdf
kpi_journal,+61-1-11.pdfkpi_journal,+61-1-11.pdf
kpi_journal,+61-1-11.pdf
 
Lesson 4 constitutional political institutions
Lesson 4 constitutional political institutionsLesson 4 constitutional political institutions
Lesson 4 constitutional political institutions
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๑๐
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๑๐แผนการจัดการเรียนรู้ที่๑๐
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๑๐
 

รัฐธรรมนูญและสถาบันการเมืองขั้นสูง

  • 1. 1 ดร. วัชรพงษ์ สุกิจจานนท์ นศ. เข้าใจว่า อย่างไร? PA 501 Module1 มหาวิทยาลัยเฉลิมกาญจนา
  • 2.  Module1: สถาบันทางการเมือง พรรคการเมืองและกลุ่มผลประโยชน สื่อมวลชนกับการเมือง  Module2: สถาบันทางการเมืองของไทยกับการบริหารปกครอง ที่มา หลักการ รูปแบบ และความสาคัญของรัฐธรรมนูญ ความสัมพันธ์ระหว่าง รัฐธรรมนูญกับสถาบันทางการเมือง  Module3: วิวัฒนาการของรัฐธรรมนูญไทย ที่มาและหลักการของรัฐธรรมนูญ แห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2550 ดุลแห่งอานาจ การควบคุมและการตรวจสอบ การใช้อานาจอธิปไตย  Module4: การเข้าสู่อานาจทางการเมือง การสืบต่ออานาจทางการเมือง ความก้าวหน้าของรัฐธรรมนูญไทย การวิเคราะห์แนวโน้มการเข้าสู่อานาจทาง การเมือง การใช้อานาจทางการเมือง และการสืบต่ออานาจทางการเมืองตาม รัฐธรรมนูญของไทย 2 ขอให้ นศ. หาความสัมพันธ์ของเนื้อหาทั้ง 4 modules
  • 3.  บทนาเบื้องต้นเกี่ยวกับสถาบันทางการเมือง  พรรคการเมืองและกลุ่มผลประโยชน์  สื่อมวลชนกับการเมือง 3 ขอให้ นศ. หาบทบาท/หน้าที่ของ 4 ประเด็นที่มีต่อระบบการเมือง การจัดสรรสิ่งที่มีคุณค่าเพื่อ สังคม โดยที่มีอานาจบังคับให้มี การปฏิบัติการจัดสรรนั้น
  • 4.  ความหมายของสถาบันทางการเมือง 4 สถาบัน : บรรทัดฐานของพฤติกรรมที่สร้างขึ้น และมีการปฏิบัติสืบทอดกันมาจนกระทั่งเป็นที่ยอมรับในสังคม โดยที่พฤติกรรมดังกล่าวมี ลักษณะของพฤติกรรมที่มีโครงสร้างแน่นอนและสามารถศึกษาได้ สถาบันทางการเมือง (Political Institution) เป็นสถาบันที่ *แสดงถึงความสัมพันธ์ระหว่างการเมืองและสมาชิกของสังคม และระหว่างสมาชิก ของสังคมด้วยกันเอง *มีหน้าที่ในการปฏิบัติกิจกรรมทางการเมืองอย่างต่อเนื่อง *เป็นแบบแผนของสังคมในเรื่องเกี่ยวกับพฤติกรรมทางการเมืองซึ่งประชาชนทั่วไปให้ ความยอมรับในแบบแผนนั้นๆ เป็นสถาบันที่มีโครงสร้างแน่นอนและสามารถศึกษาได้
  • 5.  ลักษณะของสถาบันทางการเมือง 5 เป็นสถาบันที่มีโครงสร้างแน่นอนและสามารถศึกษาได้ มีหน้าที่ในการปฏิบัติกิจกรรมทางการเมืองอย่างต่อเนื่อง มีลักษณะเป็นแบบแผนอย่างใดอย่างหนึ่งของพฤติกรรมทางการเมือง ซึ่งประชาชนทั่วไปยอมรับและมีการปฏิบัติตามแบบ แผนนั้น เป็นสถาบันที่มีลักษณะแสดงถึงความสัมพันธ์ทางการเมืองระหว่างสมาชิกของสังคม
  • 6.  ประเภทของสถาบันทางการเมือง 6 สถาบันทางการเมืองต้องมีลักษณะเป็นสถาบัน คือ มีการปฏิบัติสืบต่อกันมาอย่างเนื่อง มีโครงสร้างที่แน่นอน สามารถศึกษาได้ รัฐธรรมนูญ : กฎหมายสูงสุดของการปกครองประเทศ เป็นแม่บทของกฎหมายทั้งหลายทั้งปวงในประเทศ กฎหมายใดขัดรัฐธรรมนูญถือว่าเป็น โมฆะใช้บังคับไม่ได้ โดยทั่วไปรัฐธรรมนูญจะบัญญัติหลักการที่สาคัญเกี่ยวกับการบริหารประเทศไว้ สถาบันฝ่ายนิติบัญญัติ : มีหน้าที่ในการออกกฎหมายซึ่งเป็นกลไกและเครื่องมือในการบริหารและการปกครองประเทศ ทาหน้าที่คุ้มครองรักษา สิทธิเสรีภาพของประชาชน สถาบันฝ่ายบริหาร : มีหน้าที่บังคับใช้กฎหมายและรับผิดชอบในการปกครองทั่วไป สถาบันฝ่ายตุลาการ : มีหน้าที่ป้ องกันเสรีภาพและการศึกษาสิทธิของประชาชน ให้ความยุติธรรม โดยการใช้กฎหมายของรัฐเป็นเครื่องมือใน การตัดสินใจและในบางประเทศมีอานาจในการตีความว่ากฎหมายฉบับใดขัดแย้งต่อรัฐธรรมนูญหรือไม่ ตามหลักปฏิบัติของประเทศที่มีการปกครอง ระบอบประชาธิปไตยถือว่าสถาบันฝ่ายตุลาการจะต้องเป็นอิสระจากฝ่ายนิติบัญญัติและฝ่ายบริหาร ในทางปฏิบัติมิใช่ว่าเป็นไม่มีความสัมพันธ์กับอีก สองสถาบันเลย แต่ตามทฤษฎีเป็นความสัมพันธ์แบบคานอานาจซึ่งกันและกัน
  • 7.  ความหมายของพรรคการเมือง 7 พรรคการเมือง (Political Party) มีรากศัพท์มาจากภาษาลาตินว่า Par ซึ่งแปลว่า “ส่วน” พรรคการเมือง หมายถึง : การที่แยกประชากรออกเป็นส่วน ๆ ตามความคิดเห็นและประโยชน์ได้เสียทางการเมือง : ส่วนของประชาชนที่มีแนวคิดเหมือนกันและมีผลประโยชน์ร่วมกันในประเทศทั้งหมด ที่รวมกลุ่มกัน เป็นพรรคการเมืองขึ้นมา โดยมีแนวความคิดที่จะเข้าไปมีบทบาทในการบริหารประเทศ เพื่อแก้ปัญหาที่ เกิดขึ้นในทางการเมืองการปกครองร่วมกัน พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยพรรคการเมือง พ.ศ.2550 มาตรา ๔ ได้ให้นิยามไว้ว่า “พรรคการเมือง” หมายความว่า คณะบุคคลที่รวมกันจัดตั้งเป็นพรรคการเมือง โดยได้รับการจดแจ้งการ จัดตั้งตามพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญนี้เพื่อสร้างเจตนารมณ์ทางการเมืองของประชาชนตาม วิถีทางการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข โดยมุ่งที่จะส่งสมาชิกเข้า สมัครรับเลือกตั้งเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร และมีการดาเนินกิจกรรมทางการเมืองอื่นอย่างต่อเนื่อง ประเด็นความหมายที่สาคัญ 1. พรรคการเมืองเป็นกลุ่มหรือคณะบุคคลหรือสมาคมที่มีความคิดเห็นสอดคล้องกัน และมี ผลประโยชน์พื้นฐานร่วมกัน ปรารถนารวมตัวกันเพื่อแสวงหาอานาจในการปกครองประเทศในที่สุด 2. พรรคการเมืองเป็นกลไกที่รัฐธรรมนูญยอมรับให้เข้ามาทาการควบคุมดูแลกิจการของประชาชนซึ่ง รัฐบาลดาเนินการอยู่เพื่อให้เกิดผลประโยชน์ร่วมกันของประชาชน 3. พรรคการเมืองเป็นองค์การที่มีการจัดระบบที่ดีในการควบคุม โดยมีคณะผู้บริหารพรรคและมีสมาชิก พรรค
  • 8.  การแบ่งประเภทของระบบพรรค 8 แบ่งตามพรรคที่มีการแข่งขัน หรือ ไม่มีการแข่งขัน ตามด้วยจานวนพรรคที่สาคัญต่อการ ดาเนินการของระบบการเมือง และ ความเข้มข้นทางอุดมการณ์ ไม่มีการแข่งขัน: พรรคเดียว พรรคหลักครอบงา มีการแข่งขัน: พรรคหลักโดยการแข่งขัน สองพรรค หลายพรรคอุดมการณ์กลางๆ หลายพรรค สุดโต่ง หลายพรรคไม่เชื่อมโยงกัน (สองแบบหลังประเทศยังมีปัญหาการจัดการระบบการเมืองให้มี เสถียรภาพ) ขอให้ นศ. พิจารณาว่าระบบพรรคของประเทศไทยเป็นแบบใด
  • 9.  การทาหน้าที่รวบรวมประโยชน์ในระบบพรรคการเมือง 9 พรรคการเมืองเป็นองค์การที่แข่งขันกันทางอุดมการณ์ เป็นเรื่องที่เกี่ยวกับการรวบรวม ผลประโยชน์ อุดมการณ์ คือ หลักที่พรรคการเมืองยึดถือในการกาหนดนโยบายพรรค พรรคจะใช้นโยบายของพรรคในการแข่งขันของความสนับสนุนจากประชาชนกลุ่มต่างๆเพื่อมี บทบาทในการปกครอง ดังนั้นนโยบายพรรคจึงสร้างขึ้นด้วยความหวังที่จะตอบสนองความต้องการ หรือผลประโยชน์ของประชาชนต่างๆ การแข่งขันทางอุดมการณ์คือการแข่งขันกันในการเสนอนโยบายต่อประชาชน พรรคต้องทาการสารวจวิจัยตลาดการเมือง ว่าประชาชนมีความคิดเห็น หรือ มติมหาชนอย่างไร มีการกระจายของมติมหาชนอย่างไร เป็นต้น ขอให้ นศ. เปรียบเทียบ ประชานิยม กับ นโยบายที่ตอบมติมหาชน
  • 10.  ลักษณะของพรรคการเมือง 10 พรรคการเมืองไทยจะคึกคักมีบทบาทเฉพาะคราวที่มีการเลือกตั้งเท่านั้น พรรคการเมืองไทยต้องใช้เงินมหาศาลในการบริหารพรรค พรรคการเมืองไทยจะมีบทบาทในการรักษาผลประโยชน์ของพรรค มากกว่าผลประโยชน์ของชาติหรือประชาชน การคัดเลือกสมาชิกพรรคการเมือง โดยทั่วไปพรรคการเมืองจะไม่ค่อยคานึงเพ่งเล็งถึงอุดมการณ์และคุณธรรมของผู้ยื่นความจานง แต่เพ่งเล็งว่าผู้นั้นมีเงิน มีชื่อเสียงที่จะเอาชนะการเลือกตั้ง เมื่อเป็นเช่นนั้นพรรคการเมืองจึงไม่ค่อยจะได้คนดีมีคุณธรรมและมีอุดมการณ์เข้าสังกัดพรรค พรรคการเมืองไทยรวบรวมสมาชิกเพื่อหวังชนะการเลือกตั้งมากกว่าเพ่งเล็งอุดมการณ์ จะเห็นได้จากการเปลี่ยนพรรคเป็นไปอย่างกว้างขวาง สมาชิกพรรคบางส่วนขาดอุดมการณ์และไม่เชื่อมั่นในอุดมการณ์ของพรรค จึงทาให้สมาชิกพรรคแยกตัวออกจากพรรคหนี่งไปเข้ากับอีกพรรคหนึ่ง หรือ แยกไปตั้งพรรคใหม่ ?พรรคการเมืองไทยยังไม่เป็นที่สนใจของประชาชน โดยเฉพาะประชาชนส่วนมากในชนบทเลือกคนมากกว่าพรรค พรรคการเมืองขาดพื้นฐานการรองรับ จากประชาชนส่วนใหญ่ของประเทศ ?พรรคการเมืองไทยยังหย่อนยานในเรื่องระเบียบวินัยในการควบคุมสมาชิกพรรค จึงทาให้เกิดปัญหาการควบคุมสมาชิกพรรคในสภา คือ ไม่ทาตามมติ ของพรรค ?รัฐธรรมนูญของไทย ให้โอกาสแก่ประชาชนในการจัดตั้งพรรคการเมืองอย่างกว้างขวาง จึงทาให้มีพรรคการเมืองจานวนมาก เมื่อมีการเลือกตั้งจึงทาให้ สมาชิกพรรคการเมืองหลายพรรคได้รับการเลือกตั้ง ไม่มีพรรคใดได้เสียงเด็ดขาด ทาให้ต้องมีรัฐบาลผสม ?แม้จะมีพรรคการเมืองหลายพรรคในประเทศไทย แต่นโยบายของพรรคมีลักษณะคล้ายคลึงกัน แต่ก็ไม่สามารถจะรวมพรรคการเมืองเข้าด้วยกันได้ เพราะ นักการเมืองส่วนมากมีความต้องการจะได้ตาแหน่งที่สาคัญในพรรค ?พรรคการเมืองไทยยังขาดความมั่นคงเนื่องจากสาเหตุหลายประการ เช่น ไม่มีอุดมการณ์ ต้องใช้เงินจานวนมาก ประชาชนขาดความสนใจสนับสนุน
  • 11.  ประเภทของพรรคการเมือง 11 แยกประเภทตามวัตถุประสงค์ และที่มาของพรรคการเมืองไทย ได้ 5 ประเภท คือ พรรครัฐบาลเดิม : พรรคการเมืองที่ตั้งขึ้นโดยกลุ่มบุคคลที่บริหารประเทศก่อนที่จะมีการเลือกตั้ง เพื่อหวัง ผลประโยชน์ในการที่จะให้พรรคการเมืองนั้นได้มีโอกาสรับเลือกตั้งเข้ามามากที่สุดและได้จัดตั้งรัฐบาลต่อไป พรรคฝ่ายค้าน : พรรคการเมืองที่จัดตั้งขึ้นโดยกลุ่มบุคคลที่มีความคิดเห็นตรงกันข้ามกับพรรคการเมืองที่เป็น รัฐบาลอยู่เดิม พรรคสนับสนุนรัฐบาล : พรรคการเมืองที่จัดตั้งขึ้นเพื่อสนับสนุนรัฐบาล พรรคเป็นกลาง: พรรคการเมืองที่ตั้งในลักษณะเป็นกลาง คือ มีความเห็นหรือแนวดาเนินการในลักษณะที่ ยืดหยุ่นได้ พรรคการเมืองที่ตั้งขึ้นเพื่อแสวงหาผลประโยชน์ : ไม่มีอุดมการณ์ หากฝ่ายใดให้ประโยชน์ก็จะช่วยเหลือฝ่าย นั้น
  • 12.  บทบาทและหน้าที่ของพรรคการเมือง 12 ประกาศหรือแถลงนโยบายหลักของพรรคการเมือง * ค้นหามติมหาชน ชี้แจ้งนโยบายแก่ประชาชน ลดความขัดแย้ง ทาให้ประชาชนสนับสนุนนโยบาย ส่งเสริม ความยินยอมพร้อมใจในปัญหาต่าง ๆ ปลุกเร้าและแสดงความคิดเห็นทางการเมือง * เป็นเครื่องเชื่อมโยงกลุ่มต่าง ๆ ในสังคม กระตุ้นให้ประชาชนสนใจ ให้การศึกษา ส่งผู้แทนเข้าสมัครรับเลือกตั้ง * แสวงหาผู้สมัคร และฝึกอบรมเพื่อเป็นผู้แทนราษฎร ทาให้การเลือกตั้งเป็นไปด้วยดีมีประสิทธิภาพ จัดตั้งรัฐบาล * กาหนดนโยบาย พื้นฐานหรือหลักเกณฑ์ในการที่จะทาให้กลุ่มต่าง ๆร่วมมือปฏิบัติงานเพื่อประโยชน์ส่วนรวม ควบคุมรัฐบาล ทาหน้าที่พรรคฝ่ายค้าน ตรวจสอบมติสาธารณะ ประสานระหว่างกลุ่มผลประโยชน์กับรัฐบาล
  • 13.  พรรคการเมืองในประเทศไทย 13 ประวัติความเป็นมา : มีพรรคการเมืองที่ถูกต้องตามกฎหมายเป็นครั้งแรกปี พ.ศ.2489 : มีการปฏิวัติรัฐประหารบ่อยครั้ง ทาให้พรรคการเมืองไม่สามารถจะดาเนินการทางการเมืองไปต่อเนื่อง : พรรคการเมืองไทยได้พัฒนาตนเองมาโดยตลอดตามโครงสร้างรัฐธรรมนูญการปกครองแห่งราชอาณาจักรไทย ยึดหลักกฎหมายเกี่ยวกับพรรคการเมืองเป็นเครื่องมือในการบริหารพรรค มีลักษณะกลุ่มเดียวครองอานาจ : เท่าที่ผ่านมา ในช่วงเวลาใดเวลาหนึ่ง จะมีกลุ่มการเมืองเพียงกลุ่มเดียวที่ ครองอานาจในรัฐสภา ปราศจากอุดมการณ์ : นโยบายต่าง ๆ ที่พรรคการเมืองไทยได้ร่างไว้ มักสร้างขึ้นเพื่อใช้ในการจดทะเบียนพรรค มากกว่า ในทางปฏิบัติแล้วเราจะหาพรรคการเมืองที่อุดมการณ์เป็นเรื่องสาคัญก็หาได้ไม่ กาเนิดและสลายตัวเร็ว : พรรคการเมืองส่วนใหญ่ถือกาเนิดในนามของบุคคล ไม่ได้เป็นพรรคมหาชน ด้วยเหตุนี้ จึงไม่มีการสืบทอด ไม่มีเจตนารมย์ เมื่ออานาจของผู้นาหมดลง พรรคต่าง ๆ เหล่านี้ จึงสลายไปได้อย่างรวดเร็ว ด้วย เหตุนี้ ปัจจุบันจึงมีพรรคการเมืองที่อายุยืนยาวจริง ๆ เพียงไม่กี่พรรค
  • 14.  ความหมายของกลุ่มผลประโยชน์ 14 กลุ่มผลประโยชน์ (Interest Group) *การรวมตัวกันของผู้มีผลประโยชน์ร่วมกัน *กลุ่มที่จัดตั้งเพื่อภารกิจหรือผลประโยชน์เฉพาะอย่าง เมื่อมีการเรียกร้อง ข้อเสนอของกลุ่มผ่านสถาบันของรัฐจะกลายเป็นกลุ่มผลประโยชน์ทาง การเมือง และหากมีการปฏิบัติในระดับการเมืองก็จะเป็นกลุ่มผลักดัน ซึ่ง เป็นกลุ่มที่มีเป้ าหมายที่จะมีอิทธิพลเหนือเจ้าหน้าที่ของรัฐหรือรัฐบาลใน การตัดสินใจ โดยอาจใช้วิธีการขอมติ ขอความร่วมมือหรือการบีบบังคับ การเรียกร้องผลประโยชน์ คือ กระบวนการที่ปัจเจก หรือ กลุ่มบุคคลแสดงออกซึ่งข้อ เรียกร้องต่อผู้ตัดสินใจทางการเมือง ซึ่งถือได้ว่าเป็นขั้นตอนแรกที่ทาหน้าที่แปรสภาพ ปัจจัยนาเข้าเป็นปัจจัยนาออก
  • 15.  ประเภทของกลุ่มผลประโยชน์ 15 Gabiel A. Almond นักรัฐศาสตร์ได้ศึกษาเรื่องของกลุ่ม โดยจาแนกประเภทกลุ่มเป็น 4 กลุ่ม ดังนี้ Institutional Interest Group (Officer Government) เป็นกลุ่มที่เป็นสถาบัน มีโครงสร้างที่เป็นทางการอย่างชัดเจน มีผลประโยชน์เฉพาะกลุ่มตน จะทาหน้าที่ที่ได้รับมอบหมายจากสังคมให้ปฏิบัติการอย่างใดอย่างหนึ่ง ได้แก่ กลุ่มข้าราชการ ทหารพลเรือน ส.ส. พรรคการเมือง ตารวจ มีหน้าที่เฉพาะอย่างอื่นที่ไม่ใช่การเรียกร้องผลประโยชน์ อาจเรียกร้องผลประโยชน์ของกลุ่มเอง หรือทา หน้าที่ตัวแทนเรียกร้องผลประโยชน์ของกลุ่มอื่นในสังคม Associational Interest Group เป็นกลุ่มที่เป็นทางการ จะมีการรวมตัวและดาเนินงานอย่างเป็นระเบียบ มีกฎเกณฑ์(ค่าสมาชิก, ค่าลงทะเบียน) มีเป้ าหมายที่จะดาเนินการ เช่น กลุ่มพวกพ่อค้าธุรกิจต่าง ๆ กลุ่มสหพันธ์แรงงาน เป็ นกลุ่มที่จัดตั้งมาเพื่อเป็นปากเสียงแทนผลประโยชน์ของกลุ่ม มีระเบียบวิธีการที่จะเรียกร้องผลประโยชน์และนาข้อเสนอต่อระบบ การเมือง Non-Associational Interest Group เป็นกลุ่มที่ไม่มีการจัดตั้ง จะมีการรวมตัวกันเพราะมีความเกี่ยวพันทางด้านเชื้อชาติ ศาสนา เครือญาติและตระกูล มักจะไม่มีโครงสร้างที่เป็นทางการ การรวมตัวกันก็มักจะ เป็นไปอย่างหลวมๆ ไม่มีค่าสมาชิก ไม่มีคนทางานเพื่อกิจการโดยเฉพาะ เช่น การรวมตัวของศาสนาอิสลาม สมาคมประจาแซ่ต่าง ๆ อาจไม่ได้พบประกันอย่างสม่าเสมอ แต่มีความรู้สึกร่วมกัน มีความเชื่อมโยงกันทางจิตใจ ทางวัฒนธรรม ซึ่งอาจเรียกร้องผลประโยชน์ของเขาเป็นครั้งคราวผ่านบุคลหรือผู้นา Anomic Interest Group เป็นกลุ่มที่รวมตัวกัน โดยมิได้นัดหมาย เกิดขึ้นอย่างรวดเร็ว มีความรุนแรง และสลายตัวไปในระยะเวลาอันสั้นเมื่อหมดภารกิจ ไร้ระเบียบ อาจเกิดจากการถูกกดดันทาง จิตใจ เช่น กลุ่มประท้วง การรวมตัวแบบนี้ จะมีการรุนแรงมากเพียงใดจะขึ้นอยู่กับปัจจัย “ด้านเงินทุน” “สภาพทางการเมืองในช่วงนั้น” 3-4 มาครั้งเดียวแล้วไป
  • 16.  บทบาทและหน้าที่ของกลุ่มผลประโยชน์ 16 *ทาให้นโยบายของชาติเป็นของประชาชนอย่างแท้จริง *กลุ่มผลประโยชน์พยายามมีอิทธิพลในทางการเมือง *พยายามเข้าถึงองค์การที่กาหนดนโยบายของชาติ *ติดตามและประเมินผลงานบทบาทของรัฐบาล กลุ่มผลประโยชน์ คือ กลุ่มคนที่รวมตัวกันด้วยความสมัครใจเพื่อรักษาผลประโยชน์อย่างใดอย่างหนึ่งร่วมกัน โดยมุ่งหวังจะมีอิทธิพลผลักดันให้รัฐกระทาตามข้อเรียกร้องของกลุ่มตน ไม่มุ่งหวังจะเข้าไปเป็นรัฐบาล กลุ่มผลประโยชน์ สนใจที่จะมีอิทธิพลโน้มน้าวผู้ที่ทาการปกครอง แต่ไม่สนใจที่จะเข้ามาปกครอง พรรคการเมือง สนใจที่จะมีอานาจการปกครอง และแข่งขันกันเพื่อให้ได้มาซึ่งอานาจทางการเมือง กลุ่มผลประโยชน์อาจพัฒนาไปเป็นพรรคการเมืองได้
  • 17.  ปัจจัยกาหนดอิทธิพลของกลุ่มผลประโยชน์ 17 *ช่องทางที่เหมาะสมในการเข้าหาผู้ตัดสินใจ *ความต้องการของกลุ่มสอดคล้องกับค่านิยมของสังคม *มีทรัพยากร เช่น การสนับสนุนจากกลุ่ม กาลังคน การจัดองค์การ กลุ่มได้รับการ สนับสนุน *ความเชี่ยวชาญ ไม่ได้เป็นจริงเสมอไปว่ากลุ่มธุรกิจจะรวมหัวกันเพื่อผลประโยชน์ร่วมเสมอไป เพราะอุตสาหกรรมต่างๆ อาจมีผลประโยชน์ต่างๆ กัน
  • 18.  ลักษณะของกลุ่มผลประโยชน์ 18 ลักษณะของกลุ่มผลประโยชน์ในประเทศไทย เชิดชูคนมีอานาจ : เพราะธรรมชาติของวัฒนธรรมการเมืองไทยก็คือระบบอุปถัมภ์ ดังนั้นหากได้เข้าเป็น พรรคพวกกับคนมีอานาจก็จะมีแนวโน้มที่สมาชิกของกลุ่มจะได้รับผลประโยชน์จากตาแหน่ง และอานาจของผู้ มีอิทธิพลนั้น ขาดเอกภาพ : ขาดการรวมตัวกันที่ดี ทาให้มีการแยกออกเป็นกลุ่มเล็กกลุ่มน้อย ขาดการมอง ผลประโยชน์ส่วนรวม ทาให้กลุ่มผลประโยชน์ในประเทศไทยไม่เข้มแข็ง ขาดอุดมการณ์ : กลุ่มผลประโยชน์ในประเทศไทย ไม่ได้รวมตัวกันเพื่ออุดมการณ์ของส่วนรวม แต่เป็น การรวมตัวกันเพื่อปกป้ องผลประโยชน์ หรือเป็นการรวมกันเฉพาะกิจยามวิกฤติเท่านั้น และขาดการติดตาม ผลการเรียกร้อง ทาให้มีกลุ่มหลากหลาย ขาดเอกภาพ ขาดการเรียกร้องที่เป็นรูปธรรม ขาดการสร้างประเด็น ให้กลายเป็นประเด็นระดับชาติและระดับโลก ทาให้ไม่มีแรงกดดันที่จะทาให้รัฐบาลทาตามข้อเรียกร้อง
  • 19.  ความหมายของสื่อมวลชน 19 สื่อมวลชน *พาหนะหรือเครื่องมือทั้งหลายที่มนุษย์ประดิษฐ์และคิดค้นขึ้นมาเพื่อนาไปใช้ ประโยชน์ ในการนาข่าวสารหรือข้อมูลต่าง ๆ จากผู้ส่งสารไปสู่ยังมวลชน หรือ ประชาชนโดยทั่ว ๆ ไป ซึ่งอาจจะมองในแง่ของกลุ่มผู้ชม ผู้ดู ผู้ฟังและผู้อ่านใน กระบวนการสื่อสารมวลชน หรืออาจจะเป็นกลุ่มผู้บริโภค ในกระบวนการทาง การตลาดซึ่งกลุ่มผู้บริโภคนี้ ก็คือประชาชนทุก ๆ คนนั่นเอง เพราะทุก ๆ คนมีความ จาเป็นต้องบริโภคด้วยกันทั้งนั้น ไม่ว่าจะเป็นสินค้าประเภทอุปโภคหรือบริโภคก็ตาม หรืออาจจะเป็นผู้มีสิทธิออกเสียงเลือกตั้งในกระบวนการทางการเมือง ซึ่งเป็น ประชากรที่มีจานวนมากมายและต่างก็กระจัดกระจายกันอยู่เช่นกัน
  • 20.  ลักษณะของสื่อมวลชน 20 ผู้ส่งหรือแหล่งผลิตข่าวมีลักษณะซับซ้อน เป็นองค์การ หรือสถาบัน (ส่วนมาก มักจะแสวงหากาไร) ผู้รับมีจานวนมาก (บางรายการอาจจะมีผู้ชม เป็นร้อยล้านคนก็ได้) และมีภูมิหลัง ที่หลากหลาย อยู่ต่าง เวลาและต่างสถานที่กัน การสร้างรหัส และ การถอดรหัสต้องอาศัยเทคโนโลยีและความชานาญเป็นพิเศษ สื่อมวลชนอาจถูกใช้เป็นเครื่องมือในการที่จะกระตุ้นกลุ่มผลประโยชน์ให้มามีส่วนร่วมทางการเมือง หรือ อาจถูกใช้ในการครอบงาเพื่อเปลี่ยนแปลงทัศนคติของประชาชนให้เป็นไปตามที่ผู้นาต้องการได้
  • 21.  ประเภทของสื่อมวลชน 21 ศาสตราจารย์ ดร.ชัยยงค์ พรหมวงศ์ จาแนกสื่อมวลชนไว้ครอบคลุมสื่อ 6 ประเภท คือ ( ชัยยงค์ พรหมวงศ์ 2525 : 270 )  สิ่งพิมพ์ ได้แก่ หนังสือพิมพ์ วารสาร นิตยสาร หนังสือ และสิ่งตีพิมพ์ประเภทอื่นๆ  ภาพยนตร์ ทั้งภาพยนตร์เรื่อง ภาพยนตร์สารคดี และภาพยนตร์ทางการศึกษาบางประเภท  วิทยุกระจายเสียง ได้แก่วิทยุที่ส่งรายการออกอากาศ ทั้งระบบ AM และ FM รวมไปถึงระบบเสียง ตามสาย วิทยุโทรทัศน์ เป็นสื่อทางภาพและทางเสียงที่เผยแพร่ออกไป ทั้งประเภทออกอากาศและส่งตามสาย สื่อสารโทรคมนาคม เป็นผลจากความก้าวหน้าด้านเทคโนโลยี มีการส่งข้อความ เสียง ภาพ ตัวพิมพ์ สัญลักษณ์ต่างๆ ได้หลากหลาย ครอบคลุมกิจการสื่อสารผ่านดาวเทียม โทรภาพ โทรพิมพ์ สื่อวัสดุบันทึก ได้แก่เทปบันทึกเสียง เทปบันทึกภาพ แผ่นบันทึกเสียง แผ่นบันทึกภาพ ซึ่งกลายเป็นสื่อมวลชน เพราะเทคโนโลยีที่ก้าวหน้าทาให้สามารถผลิตเผยแพร่ได้มากและรวดเร็ว
  • 22.  บทบาทและหน้าที่ของสื่อมวลชน 22 บทบาทของสื่อมวลชนในทางการเมือง *เผยแพร่ข้อมูลตามหลักความจริง ทัศนคติ และความคิดเห็น *เปิดโปงเรื่องราวความจริงที่อาจเป็นประโยชน์ต่อสังคม *ตรวจสอบการทางานของรัฐบาล *สร้างอุดมการณ์ ค่านิยม *เป็นตัวกลางในการแสดงความคิดเห็นร่วมของประชาชน *เป็นตัวกลางในการร้องเรียนความผิดพลาดต่าง ๆ *ส่งต่อความคิดเห็นไปยังรัฐบาล *ช่วยประชาสัมพันธ์การทางานของรัฐบาล ขอให้ นศ. พิจารณาถึงการเปลี่ยนแปลงของสื่อมวลชนในด้าน การเมืองในช่วงตั้งแต่ปี 2544 เป็นต้นมา
  • 23. 23
  • 25. 25 Gabriel A. Almond & G Bingham Powell 1980
  • 26. 26
  • 27.  การกล่อมเกลา คือ การขัดเกลาให้สมาชิกสังคมได้เรียนรู้วิถีทางการดาเนิน ชีวิตในสังคมนั้นๆ เพื่อที่จะสามารถมีส่วนร่วมในฐานะสมาชิกที่มี ประสิทธิภาพตามสมควรของกลุ่ม  การกล่อมเกลาทางการเมือง คือ การขัดเกลาทางสังคมที่มีผลต่อพฤติกรรม ทางการเมือง  การกล่อมเกลาทางการเมืองในวัยผู้ใหญ่: จาพวกในสังคม กลุ่มทุติยภูมิที่เขา สังกัด ประสบการณ์ทางการเมือง สื่อมวลชน 27 ขอให้ นศ. เปรียบเทียบการกล่อมเกลาของกลุ่มเสื้อเหลือง กับ เสื้อแดง
  • 28.  หมายถึง ลักษณะการกระจายของความโน้มเอียง ความรู้ ความรู้สึก และการ ประเมินต่อวัตถุทางการเมือง (องค์ประกอบทางการเมือง และ ทัศนคติต่อ ตนเองและผู้อื่น) ที่มีอยู่ในบรรดาสมาชิกของสังคมนั้น  วัฒนธรรมประเภทคับแคบ แทบจะไม่รู้จัก ไม่รู้สึก ไม่ประเมินค่า ไม่มี ความสัมพันธ์กับการเมืองเลย ไม่คิดว่าระดับชาติจะกระทบเขาได้  วัฒนธรรมไพร่ฟ้ า รับรู้ แต่มองว่าตัวเองแทบไม่มีอิทธิพล ไม่รู้จะเข้าไปมีส่วน ร่วมอย่างไร  วัฒนธรรมมีส่วนร่วม กระตือรือร้นที่จะเข้าไปมีบทบาททางการเมือง  คับแคบ – ไพร่ฟ้ า  ไพร่ฟ้ า – มีส่วนร่วม  คับแคบ - มีส่วนร่วม 28 ขอให้ นศ. พิจารณาว่าประเทศไทยก่อนทักษิณเป็น แบบไหน หลังทักษิณ เป็นแบบไหน
  • 29. 29
  • 30.  เมื่อความต้องการจากกลุ่มต่างๆ ได้รับการเรียกร้องแล้ว จะต้องได้รับการ รวบรวมผสมผสานกันเป็นหมวดหมู่หรือนามากลั่นกรองประนีประนอมกัน ให้มีรูปแบบซึ่งเป็นทางเลือกในการกาหนดนโยบาย สาหรับผู้มีอานาจาง การเมืองที่จะตัดสินใจกาหนดนโยบายหรือออกเป็ นข้อบังคับในขั้นสุดท้าย  ต้องมีการสรรหาบุคคลที่มีความสามารถในการเข้าถึงประเด็นเกี่ยวข้องกับ ผลประโยชน์ของกลุ่มต่างๆ ในสังคมและสามารถคิดค้นหาสูตรของการ ตอบสนองผลประโยชน์ 30
  • 31.  โครงสร้างที่ทาหน้าที่รวบรวมผลประโยชน์ ◦ บุคคลที่มีเครือข่าย ลูกน้องบริวารอยู่ในการอุปถัมป์ ◦ ระบบราชการ ◦ พรรคการเมือง 31
  • 32.  เป็นกระบวนการแลกเปลี่ยนข้อเท็จจริง ทัศนะ และความคิดเห็น ตลอดจน ประสบการณ์ต่างๆทางการเมือง ระหว่างบุคคล กลุ่มบุคคล เพื่อให้เกิดความ เข้าใจร่วมกันทางการเมือง และทาให้ระบบการเมืองทาหน้าที่อื่นๆ ต่อไปได้ อย่างเหมาะสม  การสื่อสารแบบพบหน้า  การสื่อสารแบบสังคมจารีตประเพณี  การสื่อสารในปัจจัยนาเข้าของระบบการเมือง  การสื่อสารในปัจจัยส่งออกของระบบการเมือง  การสื่อสารมวลชน 32
  • 33. 33