SlideShare a Scribd company logo
คณะกรรมการจัดการ การประชุมวิชาการระดับชาติด้านการวางแผนภาคและเมือง
ครั้งที่ 8 ประจำ�ปี 2563/2564
(The 8 th National Conference on Urban and Regional Planning
Academic Symposium (URPAS 2020/2021))
คณะกรรมการอำ�นวยการจัดงาน
คณบดีคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์			 เป็นที่ปรึกษา
ผู้ช่วยศาสตราจารย์กฤตภัทร ถาปาลบุตร			 เป็นประธานกรรมการ
รองศาสตราจารย์มนสิชา เพชรานนท์			 เป็นกรรมการ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์นยทัต ตันมิตร				เป็นกรรมการ
นางสาวนิชา ตันติเวสส					เป็นกรรมการ
นางสาวดารารัตน์ คำ�เชียงตา				เป็นกรรมการ
นางสาวปัทมพร วงศ์วิริยะ				เป็นกรรมการและเลขานุการ
นางสาวกนิษฐา ประนม				 เป็นกรรมการและผู้ช่วยเลขานุการ
คณะกรรมการฝ่ายจัดการประชุม
ผู้ช่วยศาสตราจารย์กฤตภัทร ถาปาลบุตร			 เป็นประธานกรรมการ
นางมณีรัตน์ วีระกรพานิช					เป็นกรรมการ
นางพิมพ์ชนก ศรีสุริยะมาตย์				เป็นกรรมการ
นางสาวกรรณภัสส์ สิริเกียรติ				เป็นกรรมการ
นางสาวกนิษฐา ประนม				 	 เป็นกรรมการและเลขานุการ
คณะกรรมการฝ่ายโสตทัศนูปกรณ์ สถานที่ และยานพาหนะ
นางสาวปัทมพร วงศ์วิริยะ				เป็นประธานกรรมการ
นายศิริวุฒิ รสหอม					เป็นกรรมการ
นายจักริน เงินทอง					เป็นกรรมการ			
นายยุทธนา สุมามาลย์ 					 เป็นกรรมการ
นายนรศิษฏ์ เปล่งรัศมี 					เป็นกรรมการ
นายรวิภาส ภูแสง						เป็นกรรมการ
นางสาวกมลพร อรรคฮาต					เป็นกรรมการ
นายอนุพันธ์ พันธ์อมร					เป็นกรรมการและเลขานุการ
ในนามของสถาบันเจ้าภาพคือ หลักสูตรการวางแผนภาคและเมือง คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัย
ขอนแก่น ร่วมกับสถาบันเครือข่ายการวางแผนภาคและเมืองรวมจำ�นวน 8 สถาบัน มีความยินดีและรู้สึกเป็นเกียรติ
ที่ได้จัดการประชุมวิชาการระดับชาติด้านการวางแผนภาคและเมือง ครั้งที่ 8 ประจำ�ปี 2563-2564 หรือเรียกชื่อ
ย่อว่า URPAS 2020-2021
ยาวนานกว่า 2 ปี ที่เกิดการระบาดของโรคโคโรน่าไวรัส 2019 ในประเทศไทยและทั่วโลก ซึ่งส่งผลกระทบต่อการ
พัฒนาภูมิภาคและเมืองในหลายมิติ เช่น ด้านเศรษฐกิจเมือง ด้านสิ่งแวดล้อมเมือง และด้านที่อยู่อาศัย เป็นต้น Covid
19 เป็นความท้าท้าย ที่ทำ�ให้การดำ�เนินชีวิตของชาวเมืองต้องรับมือและปรับตัวในวิถีใหม่ ซึ่งเป็นที่มาของ Theme
การประชุมประจำ�ปีนีคือ “Urban Challenge for New Normal หรือความท้าทายของการพัฒนาเมืองในวิถี
ใหม่” การประชุมวิชาการ URPAS 2020-2021 ปรารถนาเป็นเวทีสำ�คัญที่จะนำ�เสนอองค์ความรู้ทั้งด้านวิชาชีพ
และด้านวิชาการ ทางการวางแผนภาคและเมืองต่อสังคม เพื่อร่วมหาทางออกและรับมือกับความท้าทายดังกล่าว
มหาวิทยาลัยขอนแก่นและคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ ในฐานะที่เป็นสถาบันการศึกษาชั้นนำ�ด้านการวางแผนภาคและ
เมือง ของภูมิภาคตะวันออกเฉียงเหนือและภูมิภาคลุ่มน้ำ�โขง มีพันธกิจหลักที่มุ่งอุทิศประโยชน์สู่สังคม ด้วยแนวคิด
คือ Social Devotion และ Devotion by Design จึงสนับสนุนการประชุมครั้งนี้ และยังเป็นโอกาสสำ�คัญที่จะ
เฉลิมฉลองความยินดี ในอากาสครบวาระการก่อตั้งคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ครบรอบ
33 ปี ในปีนี้อีกด้วย
ผมขอขอบคุณสถาบันเครือข่ายทุกแห่ง ผู้ร่วมนำ�เสนอบทความ ผู้เข้าร่วมประชุม และทีมงานของ UR-
PAS2020-2021 ทุกท่าน ที่มีส่วนสำ�คัญผลักดันให้การประชุมครั้งนี้เกิดขึ้นได้ ท่ามกลางข้อจำ�กัดจากสถานการณ์
ระบาดของโรคโควิด 2019 และคาดหวังเป็นอย่างยิ่งว่า URPAS จะมีการจัดประชุมอย่างต่อเนื่องและเติบโตเป็น
เวทีสำ�คัญของนักคิด นักปฏิบัติด้านการวางแผนภาคและเมืองในประเทศไทยและนานาชาติต่อไป
ขอแสดงความนับถือ
ผศ.ดร.กฤตภัทร ถาปาลบุตร
ประธานการประชุมวิชาการระดับชาติด้านการวางแผนภาคและเมือง ครั้งที่ 8 ประจำ�ปี 2563 / 2564
ผศ.ดร.ธราวุฒิ บุญเหลือ			 คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ ผังเมืองและนฤมิตศิลป์
					มหาวิทยาลัยมหาสารคาม
ผศ.ดร.สักรินทร์ แซ่ภู่			 คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ ผังเมืองและนฤมิตศิลป์
					มหาวิทยาลัยมหาสารคาม
ผศ.ดร.เพชรลัดดา เพ็ชรภักดี		 คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ ผังเมืองและนฤมิตศิลป์
					มหาวิทยาลัยมหาสารคาม
ผศ.ดร.กฤตภัทร ถาปาลบุตร		 คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
ผศ.ดร.นยทัต ตันมิตร			 คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
รศ.ดร.นพดล ตั้งสกุล			 คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
รศ.ดร.มนสิชา เพชรานนท์			 คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
ผศ.ดร.ธนะ จีระพิวัฒน์			 คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร
ผศ.ดร.สิงหนาท แสงสีหนาท		 คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร
อ.ดร.พีรียา บุญชัยพฤกษ์			 คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร
ผศ.ดร.คณิน หุตานุวัตร			คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์
					สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง
ผศ.ดร.ปนายุ ไชยรัตนานนท์		 คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์
					สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง
รศ.ดร.อมร กฤษณพันธุ์			คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์
					สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง
ผศ.ดร.กฤตพร ห้าวเจริญ			คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์และการผังเมือง
					มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
รศ.ดร.ภาวิณี เอี่ยมตระกูล		 คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์และการผังเมือง
					มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
ผศ.ดร.มานัส ศรีวณิช			คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์และการผังเมือง
					มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
ผศ.ดร.ลักษณา สัมมานิธิ			คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์และการออกแบบสิ่งแวดล้อม
				 	
มหาวิทยาลัยแม่โจ้
ผศ.ดร.นิกร มหาวัน			คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์และการออกแบบสิ่งแวดล้อม
					มหาวิทยาลัยแม่โจ้
รูปแบบให้บริการด้านแหล่งผลิตของระบบนิเวศป่าไม้ กรณี
สวนพฤกษศาสตร์ห้วยยาง-ดงหมากคาย เมืองไซทานี นครหลวง
เวียงจันทน์
นายคิดสะหวาด บุดดี
คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์และการออกแบบสิ่งแวดล้อม มหาวิทยาลัยแม่โจ้
การระบุเอกลักษณ์ละแวกกับการผังเมือง: กรณีศึกษาเทศบาล
นครอุดรธานี
นางสาวรสิตา ดาศรี
สถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโลโนยีราชมงคลศรีวิชัย สงขลา
สังคมผู้สูงอายุ: โอกาสของที่อยู่อาศัยที่ออกแบบมาเพื่อสนับสนุน
ด้านสุขภาพ
นายพสิษฐ์ นิติวรคุณาพันธุ์
คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
บทบาทของมหาวิทยาลัยขอนแก่น ต่อการขับเคลื่อนเศรษฐกิจ
เมือง ในภาคครัวเรือน
นายเพทาย ปิ่นทอง
คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
ปัจจัยทางกายภาพที่มีอิทธิพลต่อการพัฒนาย่านนวัตกรรม
นางสาวกณิตา พันธ์ละหาน
คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
การศึกษาการเปลี่ยนแปลงการใช้ที่ดินและรูปแบบการขยายตัวเชิงพื้นที่:
กรณีศึกษา ชุมชนเมืองนครพนม
นางสาววรัญญา ชอบใหญ่
คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
ความท้าทายในการพัฒนาระบบขนส่งสาธารณะเพื่อเชื่อมต่อสนามบิน
และพื้นที่เมือง กรณีศึกษาเมืองขอนแก่น
นายศุภกร ศรีระเริง
คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
1
12
28
54
70
107
122
ความเป็นเมืองยืดหยุ่น กรณีศึกษาการรับมือกับสถานการณ์ความ
ไม่สงบ ในเขตเทศบาลเมืองนราธิวาส
นายศิรสิทธิ์ ทองสินธุ์
คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
ปรากฏการณ์ของภัยพิบัติน้ำ�ท่วมในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
ประเทศไทย
นางสมชญา ศรีธรรม
คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
บทบาทของ Big Data ในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโควิด -19
ดร.ปานปั้น รองหานาม
วิทยาลัยการปกครองท้องถิ่น มหาวิทยาลัยขอนแก่น
กระบวนการเป็นเมืองอัจฉริยะ กรณีศึกษาด้านสิ่งแวดล้อมอัจฉริยะ
ประเด็นขยะเหลือศูนย์
ดร.สฤษดิ์ ติยะวงศ์สุวรรณ
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน จังหวัดนครราชสีมา
กระบวนการวางผังชุมชนเพื่อการพัฒนาและสร้างอัตลักษณ์ชุมชน
กรณีศึกษา บ้านศรีถาวร อ.ประโคนชัย จ.บุรีรัมย์
ผศ.ดร.พรณรงค์ ชาญนุวงศ์
คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
การวิเคราะห์ปัจจัยเชิงพื้นที่ที่สำ�คัญต่อการเติบโตของเมือง
นครราชสีมา
นางสาวพันทิวา ศรีศิลป์
สถาบันระบบรางแห่ง มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน
พฤติกรรมการใช้พื้นที่ภายในสถานีขนส่งผู้โดยสารสาธารณะขอนแก่น
แห่งที่ 3
นางสาวอรอนงค์ ไกรศวร
คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
217
210
232
253
274
290
146
232
กระบวนการเป็นเมืองอัจฉริยะ
กรณีศึกษาด้านสิ่งแวดล้อมอัจฉริยะ ประเด็นขยะเหลือศูนย์
Smart Citilization
A Case Study of Smart Environment in Zero Waste Approach
สฤษดิ์ ติยะวงศ์สุวรรณ1
ฉัตร พยุงวิวัฒนกุล2
ศิริพันธ์ ติยะวงศ์สุวรรณ3
ติณณ์ ถิรกุลโตมร4
ณัฐพงษ์ เพชรละออ5
พันทิวา ศรีศิลป์ 6
และ วรเมธ ศิริจินตนา7
E-mail: Sarit.ti@rmuti.ac.th
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน
บทคัดย่อ
การพัฒนากลไกระบบสารสนเทศเมืองเพื่อการวางแผนและพัฒนาเมืองโคราชอัจฉริยะ : กรณีศึกษา
สิ่งแวดล้อมอัจฉริยะด้านขยะเหลือศูนย์ เป็นประเด็นการศึกษาเพื่อได้ผลผลิตในการแก้ปัญหาระดับเมือง
กล่าวคือ ระบบรวบรวมข้อมูลและทันท่วงที (Real-time) สามารถแบ่งปันข้อมูลในระดับต่าง ๆ ได้ตั้งแต่ระดับ
ผู้ใช้ เจ้าหน้าที่ปฏิบัติการ นักวิจัย และผู้บริหารเมือง ผ่านการดาเนินการนาร่องโครงการด้านสิ่งแวดล้อม
อัจฉริยะที่เป็นเงื่อนไขหลักของการพิจารณาความเป็นเมืองอัจฉริยะในระดับประเทศ นอกจากนี้ประเด็น
รายละเอียดโครงการจาแนกเป็น 2 ประเด็นนาร่องเพื่อการสร้างความเข้าใจของแพลตฟอร์ม ได้แก่ 1) ด้าน
ขยะเหลือศูนย์ และ 2) ด้านการสร้างกรอบแนวคิดและกระบวนการจัดทาแผนพัฒนาเมืองด้านสิ่งแวดล้อม
อัจฉริยะเมืองโคราช ประเด็นโครงการวิจัยที่กล่าวมาคณะผู้วิจัยคาดหวังถึงผลผลิตที่เกิดขึ้นจะนาไปสู่ต้นแบบ
ของกลไกและระบบนิเวศที่สร้างความเป็นเมืองอัจฉริยะให้กับเมืองโคราชเพิ่มมากขึ้น นาไปสู่ผลลัพธ์ของการ
ขยายผล Platform ประยุกต์ใช้ในการแก้ปัญหาเมืองโคราชด้านต่าง ๆ อย่างครอบคลุมทั้ง 7 ด้านของความ
เป็นเมืองอัจฉริยะ และสามารถเกิดผลกระทบต่อการเปลี่ยนแปลงรูปแบบการบริหารจัดการเมืองได้อย่างมีการ
เชื่อมโยงระหว่างหน่วยงาน มีส่วนร่วมในการวางแผนและขับเคลื่อนดาเนินการร่วมกัน ผ่านกลไกที่เรียกว่า
ศูนย์วิทยาการสารสนเทศเพื่อการพัฒนาเมืองอัจฉริยะ (Urban Informatics Center for Smart City)
1 หัวหน้าชุดโครงการการพัฒนากลไกระบบสารสนเทศเมืองเพื่อการวางแผนและพัฒนาเมืองโคราชอัจฉริยะ กรณีศึกษาสิ่งแวดล้อมอัจฉริยะด้าน
ขยะเหลือศูนย์ งบประมาณด้านวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม โครงการริเริ่มสาคัญ (Flagship Project) ปีงบประมาณ 2563 โดย สังกัด
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน
2 นักวิจัยประจาโครงการ สังกัดมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน
3 นักวิจัยประจาโครงการ สังกัดมหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา
4 ผู้ช่วยวิจัย
5 ผู้ช่วยวิจัย
6 ผู้ช่วยวิจัย
7 ผู้ช่วยวิจัย
233
คำสำคัญ: เมืองอัจฉริยะ, วิทยำกำรสำรสนเทศเมือง, กำรวำงแผนและพัฒนำเมือง
Abstract:
Urban Informatics System Development for Urban Planning and Development to
KORAT Smart City: A Case Study of Smart Environment in Zero Waste Approach Project is
popular issues to solve urban problem. Namely, Real-time data collection systems can
categorize for variety users and lead to decision making together in urban solution. These
systems lead to Smart Citilization thourgh a case study of smart environment in zero waste
approach which Smart Environment indicators is core condition of Smart City Development in
Thailand. This project divive 2 issues namely 1) zero waste issue and 2) framework to urban
planning in zero waste approach. Product in this project lead to machinism and ecological
platform of Smart Citilization and platform can contribute to apply in any solution of other
smart city approach such as smart mobility, smart energy, etc. Moreover, outcome and impact
of project lead to core process as hub to connect among many stakeholders to driven urban
development. And this hub of process, we call, as urban informatics center for smart city
development.
Keyword: Smart City, Urban Informatics, Urban Planning and Development
บทนำ
นโยบาย Thailand 4.0 เป็นแผนงานที่มุ่งเน้นการใช้เทคโนโลยีและนวัตกรรมในการสร้างมูลค่าเพิ่ม
(Value-added Economy) จากต้นทุนและบริบทเชิงพื้นที่ที่เป็นลักษณะเฉพาะของแต่ละเมือง นาไปสู่
แผนงานและยุทธศาสตร์เมืองอัจฉริยะ ที่ขับเคลื่อนโดยสานักงานเศรษฐกิจดิจิทัล ซึ่งได้จาแนกตัวชี้วัดความ
เป็นเมืองอัจฉริยะไว้ 7 ด้าน ได้แก่ 1) ด้านสิ่งแวดล้อมอัจฉริยะ 2) ด้านเศรษฐกิจอัจฉริยะ 3) พลังงานอัจฉริยะ
4) การบริหารภาครัฐอัจฉริยะ 5) การดารงชีวิตอัจฉริยะ 6) การเดินทางและขนส่งอัจฉริยะ และ 7) พลเมือง
อัจฉริยะ มุ่งเน้นการพัฒนาเมืองเป็นเปรียบเสมือนกลไกการพัฒนาเศรษฐกิจและการอยู่อาศัยที่ดีและยกระดับ
ให้กับเมืองและพื้นที่โดยรอบ โดยมีเงื่อนไขของประกาศความเป็นเมืองอัจฉริยะของแต่ละพื้นที่จะต้องบรรลุ
ตัวชี้วัด 2 ใน 7 ด้าน ของความเป็นเมืองอัจฉริยะ และเงื่อนไขบังคับ 1 ใน 2 จะต้องเป็นตัวชี้วัดด้านสิ่งแวดล้อม
อัจฉริยะ (Smart Environment)
234
เมืองโคราชเป็น 1 ในเมืองที่มีการตื่นตัวเรื่องความเป็นเมืองอัจฉริยะที่ตอบรับต่อยุคสมัยเทคโนโลยี
ดิจิทัลและอินเตอร์เนต เมื่อปี พ.ศ.2560 ได้มีการรวมกลุ่มภาคเอกชนนาโดยสภาอุตสาหกรรมจังหวัด
นครราชสีมา สมาคมหอการค้าจังหวัดนครราชสีมาและสมาคมอสังหาริมทรัพย์จังหวัดนครราชสีมา ตลอดจน
สถาบันอุดมศึกษา มีการประชุมกันอย่างต่อเนื่องเพื่อค้นหาแนวทางนาไปสู่ความเป็นเมืองโคราชอัจฉริยะ
จนกระทั่งปี พ.ศ.2561 ได้รับการส่งเสริมจากสานักงานเศรษฐกิจดิจิตัลร่วมกับสานักงานจังหวัดนครราชสีมาได้
จัดตั้งสถาบันแม่ข่ายเมืองอัจฉริยะและคณะกรรมการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์เมืองอัจฉริยะจังหวัดนครราชสีมา
จนปี พ.ศ.2562 ได้ตกผลึกแนวคิดกลายเป็นแผนยุทธศาสตร์เมืองอัจฉริยะจังหวัดนครราชสีมา และได้กาหนด
แนวทางขับเคลื่อนด้านสิ่งแวดล้อมอัจฉริยะและด้านการเดินทางขนส่งอัจฉริยะ เป็นแผนงานนาร่อง จนได้
รับรองจากกระทรวงดิจิทัลประกาศเป็นพื้นที่ส่งเสริมเศรษฐกิจพิเศษด้านเมืองโคราชอัจฉริยะ และได้รับสิทธิ
พิเศษจาก BOI ในการส่งเสริมให้เกิดธุรกิจด้านดิจิทัลสู่ความเป็นเมืองอัจฉริยะ
อย่างไรก็ตามแม้ว่ามีการขับเคลื่อนจากทั้งภาครัฐส่วนกลางและท้องถิ่น ภาคเอกชน และภาค
การศึกษา ในสถานการณณ์ปัจจุบันแต่ละหน่วยงานยังไม่สามารถสร้างโครงการนาไปสู่เงื่อนไขหลักของความ
เป็นเมืองอัจฉริยะที่กาหนดโดยสานักงานเศรษฐกิจดิจิทัล ได้แก่ 1) การมี Urban Open Data 2) การมี
Platform ในการสร้างความสัมพันธ์ระหว่างภาคส่วนต่าง ๆ สาหรับการแก้ไขปัญหาของเมือง (Urban
Solution) จนเกิดการสร้างสรรค์ธุรกิจใหม่ให้เกิดขึ้น (Job Creation) และมีความยั่งยืนของธุรกิจ และ 3) มี
การเชื่อมโยงหน่วยงานต่าง ๆ และผู้ใช้ผ่านระบบ Application สิ่งเกิดขึ้นแต่ละหน่วยงานพยายามจะ
สร้างสรรค์เป็นตอบพันธกิจของหน่วยงานตนเอง และพยายามเป็นศูนย์กลางข้อมูล (IOC) ซึ่งยังไม่ไประดับของ
การเจรจารายละเอียดและเงื่อนไขของการเป็น Open Data ที่สามารถนาไปใช้ในการวางแผนและตัดสินใจ
ร่วมกันได้
กำรพัฒนำกลไกระบบสำรสนเทศเมืองเพื่อกำรวำงแผนและพัฒนำเมืองโครำชอัจฉริยะ :
กรณีศึกษำสิ่งแวดล้อมอัจฉริยะด้ำนขยะเหลือศูนย์ เป็นประเด็นการศึกษาเพื่อได้ผลผลิตในการเชื่อมโยง
ปัญหาดังกล่าว คือ ระบบรวบรวมข้อมูลและทันท่วงที (Real-time) สามารถแบ่งปันข้อมูลในระดับต่าง ๆ ได้
ตั้งแต่ระดับผู้ใช้ เจ้าหน้าที่ปฏิบัติการ นักวิจัย และผู้บริหารเมือง ผ่านการดาเนินการนาร่องโครงการด้าน
สิ่งแวดล้อมอัจฉริยะที่เป็นเงื่อนไขหลักของการพิจารณาความเป็นเมืองอัจฉริยะในระดับประเทศ นอกจากนี้
ประเด็นรายละเอียดโครงการจาแนกเป็น 2 ประเด็นนาร่องเพื่อการสร้างความเข้าใจของแพลตฟอร์ม ได้แก่
1. ด้านขยะเหลือศูนย์ ซึ่งประเด็นขยะล้นเมืองเป็นปัญหาพื้นฐานของเมืองขนาดใหญ่ทั่วโลก และ
เมืองโคราชก็มีปัญหาดังกล่าวเช่นกัน นอกจากนี้ความสาคัญของการพิจารณาประเด็นนี้ในการนาร่อง คือ มีผู้มี
ส่วนได้เสียหลักในการขับเคลื่อน ได้แก่ สมาคมอสังหาริมทรัพย์จังหวัดนครราชสีมา ที่ต้องการจะแก้ปัญหาการ
จัดการขยะภายในชุมชนหมู่บ้านจัดสรรในเมืองโคราช ที่เป็นกลุ่มชุมชนขนาดใหญ่และมีจานวนมากเป็นสัดส่วน
235
กว่าร้อยละ 30 ของเมือง ตลอดจนเป็นกลุ่มผู้ร่วมให้การสนับสนุนทั้งกระบวนการมีส่วนร่วมและการร่วมทุนใน
การวิจัยโครงการนี้ ร้อยละ 20 ของงบประมาณโครงการ
2. ด้านการสร้างกรอบแนวคิดและกระบวนการจัดทาแผนพัฒนาเมืองด้านสิ่งแวดล้อมอัจฉริยะเมือง
โคราช เพื่อเป็นกระบวนการเชิงบูรณาการแบบองค์รวมหลากหลายมิติแนวคิดให้หน่วยงานต่าง ๆ มีความ
เข้าใจมากขึ้นผ่านการนาเสนอชุดข้อมูลที่ได้จากระบบศูนย์วิทยาการสารสนเทศเพื่อการพัฒนาเมืองอัจฉริยะ
โดยเรียนรู้ผ่านกรณีศึกษาของแก้ปัญหาปริมาณขยะด้วยแนวคิดขยะเหลือศูนย์จากพื้นที่นาร่องหมู่บ้านจัดสรร
เพื่อนาไปสู่การขยายผลกับชุมชนต่าง ๆ ทั่วเมืองโคราชต่อไป ผ่านการร่วมมือในกระบวนการวางแผนแบบมี
ส่วนร่วมจากภาคส่วนต่าง ๆ อาทิ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น สานักงานจังหวัดนครราชสีมา นักลงทุน สมาคม
หอการค้าและสภาอุตสาหกรรมจังหวัดนครราชสีมา เป็นต้น โดยผลผลิตจะเป็นลักษณะของแผนพัฒนาเมือง
ด้านสิ่งแวดล้อมด้านขยะเหลือศูนย์
ประเด็นโครงการวิจัยที่กล่าวมาคณะผู้วิจัยคาดหวังถึงผลผลิตที่เกิดขึ้นจะนาไปสู่ต้นแบบของกลไกและ
ระบบนิเวศที่สร้างความเป็นเมืองอัจฉริยะให้กับเมืองโคราชเพิ่มมากขึ้น นาไปสู่ผลลัพธ์ของการขยายผล
Platform ประยุกต์ใช้ในการแก้ปัญหาเมืองโคราชด้านต่าง ๆ อย่างครอบคลุมทั้ง 7 ด้านของความเป็นเมือง
อัจฉริยะ และสามารถเกิดผลกระทบ (Impact) ต่อการเปลี่ยนแปลงรูปแบบการบริหารจัดการเมืองได้อย่างมี
การเชื่อมโยงระหว่างหน่วยงาน มีส่วนร่วมในการวางแผนและขับเคลื่อนดาเนินการร่วมกัน ผ่านกลไกที่เรียกว่า
ศูนย์วิทยาการสารสนเทศเพื่อการพัฒนาเมืองอัจฉริยะ (Urban Informatics Center for Smart City)
นิยำมคำศัพท์เฉพำะ
กลไกระบบสำรสนเทศ การทางานร่วมกันระหว่างระบบ องค์กรหรือหน่วยงานเพื่อให้เกิดชุดข้อมูล
ร่วมกันที่เชื่อได้และช่วยในการพิจารณาตัดสินใจเชิงนโยบาย แผนงาน และโครงการ
เมืองอัจฉริยะ คือ เมืองที่มีองค์ประกอบที่สาคัญ คือ ระบบการประเมินสถานการณ์และโต้ตอบด้วย
ระบบเองเพื่อนาไปสู่การสร้างนวัตกรรมให้กับเมืองต่อไป (Self-monitoring & Self-Response) จนกลายเป็น
ระบบแบบวนรอบ (Loop System) ที่สามารถแก้ไขปัญหาของเมืองได้ทุกสถานการณ์ท่ามกลางความเป็น
พลวัตของเมือง (Urban Dynamic)
วิทยำกำรสำรสนเทศเมือง คือ เทคนิควิธีการรวบรวม วิเคราะห์ และสังเคราะห์ชุดข้อมูลที่เกี่ยวข้อง
กับการพัฒนาเมืองอย่างเป็นระบบ และสามารถสร้างชุดข้อมูลย้อนกลับสู่กระบวนการตัดสินใจท่ามกลาง
ผู้เกี่ยวข้องต่อขับเคลื่อนการแก้ปัญหาและพัฒนาเมือง
236
วัตถุประสงค์ของบทควำม
1. อธิบายการรวบรวมและจัดระบบการจัดการข้อมูลเมืองในด้านสิ่งแวดล้อมอัจฉริยะของชุมชนเมือง
นครราชสีมา (Urban Informatics / Urban Open Data)
2. อธิบายพัฒนาระบบการจัดการขยะชุมชนเพื่อเป็นต้นแบบชุมชนเมืองโคราชขยะเหลือศูนย์ (Zero
Waste)
หมายเหตุ – การเขียนบทความนี้อยู่ในขณะดาเนินโครงการซึ่งจะมีเนื้อหาวัตถุประสงค์ทั้งสองข้อ แต่ในการ
ดาเนินโครงการวิจัยจะมีอีกวัตถุประสงค์ ได้แก่ การประเมินผลของข้อมูลวิจัยและการมีส่วนร่วมในการพัฒนา
สิ่งแวดล้อมอัจฉริยะเมือง (Participatory Urban Planning, Program, and Project Design to Job
Creation) ที่มีการทดลองดาเนินการใช้พื้นที่จริงต่อไป
วิธีกำรวิจัย หรือ เครื่องมือในกำรวิจัย หรือ ระเบียบวิธีวิจัย
กรอบการวิจัยโครงการพัฒนากลไกระบบสารสนเทศเมืองเพื่อการวางแผนและพัฒนาเมืองโคราช
อัจฉริยะ : กรณีศึกษาสิ่งแวดล้อมอัจฉริยะด้านขยะเหลือศูนย์ สามารถแบ่งได้เป็น 3 เฟส แต่สาหรับบทความนี้
จะอธิบายเพียง 2 เฟส เนื่องจากยังอยู่ในขณะดาเนินการวิจัยสรุปเฟสที่ 2 ไปสู่เฟสที่ 3 ทดลองใช้เชิงพื้นที่ ทั้งนี้
เพื่อความเข้าใจในภาพรวมผู้วิจัยจะอธิบายภาพรวมทั้งหมด
ทั้ง 3 เฟส เป็นภาพรวมของโครงการใหญ่ที่นิยามว่าเป็นกลไกระบบสารสนเทศเมือง (Urban
Informatics System : UIS) เป้ำหมำยของระบบ ได้แก่ การมีชุดข้อมูลด้านต่าง ๆ ของเมืองเพื่อช่วยแสดงถึง
ตัวชี้วัดของความเป็นเมืองอัจฉริยะทั้ง 7 ด้าน ตามกรอบแนวคิดของสานักงานส่งเสริมเศรษฐกิจดิจิทัล (DEPA)
สาหรับโครงการครั้งนี้ ผ่านกรณีศึกษาด้านสิ่งแวดล้อมอัจฉริยะ ด้านขยะเหลือศูนย์ ตัวชี้วัด ได้แก่ 1) Output
Data Interface คือ การแสดงผลของข้อมูลเพื่อแสดงปรากฎการณ์ของเมือง สาหรับโครงการนี้เป็นด้านขยะ
เหลือศูนย์ ซึ่งชุดข้อมูลนี้จะทาเป็น Urban Open Data ข้อมูลย้อนกลับสู่การรู้รับของผู้มีส่วนร่วมในระดับต่าง
ๆ ของโครงการตลอดจนชาวเมืองโคราชกับกลุ่มผู้มีส่วนได้เสีย และ 2) Urban Data Analytic คือ การ
วิเคราะห์ข้อมูลเมืองจากการแก้ปัญหาประเด็นที่ต้องการของเมือง (เฟส 1-2) ทั้งนี้ชุดข้อมูลจะนาไปสู่
กระบวนการวางแผนแบบมีส่วนร่วมกับผู้มีส่วนได้เสีย ตั้งแต่การสร้างวิสัยทัศน์หรือเป้าหมายร่วมกัน การ
วางแผนยุทธศาสตร์ การกาหนดแผนงานและโครงการ (Urban Solution) ทั้งนี้การประเมินผลการดาเนินการ
ของแผนจะสามารถนาไปสู่การสร้างตัวชี้วัดเฉพาะเชิงพื้นที่โดยอิงกรอบแนวคิดเชิงทฤษฎีในเนื้อหาสาระแต่ละ
ประเด็นเพื่อพัฒนาสมรรถนะฐานข้อมูลที่สาคัญของการวางแผนและดาเนินการให้บรรลุเป้าหมายที่ท้าทาย
ต่อไปได้
237
อธิบายรายละเอียดสัมพันธ์กับโครงการย่อยได้ดังภาพ
ภำพกรอบแนวคิดโครงการพัฒนากลไกระบบสารสนเทศเมืองเพื่อการวางแผนและพัฒนาเมืองโคราชอัจฉริยะ
: กรณีศึกษาสิ่งแวดล้อมอัจฉริยะด้านขยะเหลือศูนย์
สาหรับโครงการย่อยที่ 1 กลไกระบบสารสนเทศเพื่อการพัฒนาเมืองอัจฉริยะ อยู่ใน 1st fade มี
เป้ำหมำย คือ กระบวนกำรเตรียมโครงสร้ำงพื้นฐำนสำหรับชุดข้อมูลเปิดขนำดใหญ่ของเมือง (Urban
Big/Open Data) สาหรับงานวิจัยนี้เรียกว่า Urban Informatics Systems หรือ ระบบสารสนเทศเมืองเพื่อ
การพัฒนาเมืองอัจฉริยะ ที่ต้องสามารถเก็บข้อมูลและประมวลในระดับ Real Time ได้ เพื่อนาไปสู่การมอง
ภาพรวมเดียวกันของ Policy Maker ที่จะสามารถเจรจากลุ่ม Key Stakeholder ต่อรองในการแก้ปัญหาหรือ
สามารถ และตัดสินใจร่วมกัน ตลอดจนการดาเนินรายละเอียดโครงการได้อย่างเป็นรูปธรรม โดยมีตัวชี้วัด
ได้แก่ 1) ห้องปฏิบัติการระบบสารสนเทศเมือง และ 2) ชุดระบบแสดงผลข้อมูลของเมือง ที่สามารถตอบสนอง
ต่อผู้ความต้องการและความพึงพอใจของระบบได้ดีเพียงใด
โครงการย่อยที่ 2 ระบบขยะเหลือศูนย์สู่ความเป็นเมืองโคราชอัจฉริยะด้านสิ่งแวดล้อม: กรณีศึกษา
การจัดการขยะหมู่บ้านจัดสรรในเมืองโคราช อยู่ใน 2nd fade โดยมีเป้ำหมำยของกำรออกแบบชั้นข้อมูล
เมือง เก็บรวบรวมข้อมูลในด้ำนต่ำง ๆ ที่เรียกว่ำ Urban Solution ที่สามารถเชื่อมโยงกับกรอบแนวคิดของ
DEPA ทั้ง 7 ด้านเมืองอัจฉริยะได้ สาหรับงานวิจัยนี้มุ่งเน้น Urban Solution ด้าน Smart Environment ซึ่ง
เป็นด้านเงื่อนไขบังคับของ DEPA ของทุกเมืองในการขอประกาศความเป็นเมืองอัจฉริยะและสิทธิพิเศษในการ
ลงทุนจาก BOI สาหรับโครงการครั้งนี้ใช้การแก้ปัญหาด้านขยะของเมืองผ่านแนวคิดขยะเหลือศูนย์ เนื่องจากมี
การจัดประชุมกลุ่มย่อยของภาคส่วนต่าง ๆ อย่างต่อเนื่องเป็นระยะเวลากว่า 2 ปี จนสามารถระบุกลุ่มผู้มีส่วน
ได้เสียอย่างน้อย 3 ภาคส่วน (Triple Helix) ที่มีศักยภาพการขับเคลื่อนได้อย่างชัดเจน ได้แก่ สมาคม
238
อสังหาริมทรัพย์จังหวัดนครราชสีมา ต้องการแก้ปัญหาขยะให้กับสมาชิกแต่ละโครงการ (ชุมชน) ซึ่งมี
ความสัมพันธ์กับภาพรวมสาคัญของการจัดการขยะของเมือง 2) การประสานทางานร่วมกับภาครัฐทั้งระดับ
ท้องถิ่น ได้แก่ เทศบาลนครนครราชสีมาและองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นโดยรอบเมืองโคราช และภาครัฐ
ส่วนกลางของจังหวัดนครราชสีมา และ 3) สถาบันการศึกษาทั้งระดับอุดมศึกษา ได้แก่ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี
ราชมงคลอีสาน ที่เป็นแม่งานหลักด้านออกแบบภาพรวมองค์ความรู้และการวิจัย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุร
นารี ในการวิจัยเชิงลึกเกี่ยวกับเทคโนโลยีภายในกรอบแนวคิดนี้ และมหาวิทยาลัยราชภัฎนครราชสีมาช่วย
ขับเคลื่อนในระดับโรงเรียน โดยมีโรงเรียนสาธิตราชภัฎนครราชสีมา เป็นพื้นที่ทดลองนาร่อง ก่อนขยายผลไป
โรงเรียนต่าง ๆ ทั้งจังหวัดนครราชสีมา โดยตัวชี้วัด ได้แก่ 1) การมีส่วนร่วมแต่ละพื้นที่ของชุมชน 2) ปริมาณ
การคัดแยกขยะรีไซเคิล 3) มูลค่าทางเศรษฐกิจในการสร้างความยั่งยืนของระบบ 4) การกระจายมูลค่าทาง
เศรษฐกิจกลับสู่ชุมชน (Economic Sharing) และการสร้างเคมเปญการมีส่วนร่วมเพื่อสร้างแรงจูงใจเพิ่มขึ้น
จากผู้ประกอบด้านต่าง ๆ ภายในเมือง 5) จานวนเครือข่ายและหน่วยงานต่าง ๆ ที่เข้าร่วมโครงการเพิ่มมากขึ้น
และ 6) การบรรจุแผนและงบประมาณของหน่วยงานเครือข่ายที่เข้าร่วมภายใต้แพลตฟอร์มของโครงการนี้
และโครงการย่อยที่ 3 การจัดทาแผนพัฒนาเมืองโคราชอัจฉริยะด้านสิ่งแวดล้อม และประเมินผลการ
มีส่วนร่วมของผู้มีส่วนได้เสียในเมืองโคราช อยู่ใน 3rd fade มีเป้ำหมำย คือ กระบวนกำรจัดทำแผนพัฒนำ
แบบมีส่วนร่วมท่ำมกลำงผู้มีส่วนได้เสียระดับต่ำง ๆ ตลอดการเชื่อมโยงกับกลุ่มบริษัท partner หรือ
supplier ที่สามารถสนับสนุนโครงการจนเกิดระบบนิเวศองค์กรนวัตกรรม หรือ Job Creation ในลักษณะ
ของ Social Enterprise ให้กับเมืองได้ การเกิด Ecosystem ของ Job Creation ถือว่าเป็นความอย่างยืนแบบ
หนึ่งให้กับเมืองจากการจับประเด็นปัญหาแต่ละด้านนามาวางระบบอย่างเป็นรูปธรรม ผ่านการเชื่อมโยงด้วย
กระบวนการมีส่วนร่วมและการนาเสนอข้อมูลเดียวกันจากระบบสารสนเทศของเมือง โดยมีตัวชี้วัด ได้แก่ 1)
จานวนแผนพัฒนาเมืองด้านขยะเหลือศูนย์ในหน่วยงานต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง โดยเฉพาะอยู่ในแผนยุทธศาสตร์
เมืองอัจฉริยะจังหวัดนครราชสีมา และ 2) จานวนหน่วยงานที่มีส่วนร่วมในกระบวนการมีส่วนร่วมจัดทา
แผนพัฒนาเมืองด้านขยะเหลือศูนย์ และ 3) ผลการประเมินโครงการตั้งแต่โครงการย่อยที่ 1-3 จากกลุ่มผู้มี
ส่วนได้เสียระดับต่าง ๆ ของเมือง
ทั้งนี้สามารถสรุปวิธีดาเนินงานวิจัยเป็น 4 ขั้นตอน ดังนี้
1) การเตรียมระบบโครงสร้างพื้นฐานและระบบปฏิบัติการสารสนเทศเมือง
2) กระบวนการประชาสัมพันธ์โครงการกับภาคส่วนต่าง ๆ และการเตรียมการในทีมวิจัยกับ
เครือข่ายขับเคลื่อนโครงการในระดับเชิงพื้นที่ชุมชน และระดับจังหวัด ตลอดจนกระบวนการ
เริ่มต้นของการจัดทาแผนพัฒนาโคราชเมืองอัจฉริยะด้านสิ่งแวดล้อมอัจฉริยะ ประเด็นขยะเหลือ
ศูนย์
239
3) การติดตั้งเทคโนโลยีเพื่อสร้างระบบนิเวศขยะเหลือศูนย์ในพื้นที่นาร่อง 3-5 ชุมชน ทดลองระบบ
สารสนเทศเมืองด้านขยะเหลือศูนย์ ระยะเวลาไม่ต่ากว่า 6 เดือน ตลอดระยะเวลาจะมีการ
ประชุมกลุ่มผู้มีส่วนได้เสียร่วมพิจารณารายละเอียดอย่างต่อเนื่อง ทั้งด้านระบบสารสนเทศเมือง
และด้านขยะเหลือศูนย์ของพื้นที่นาร่อง โดยมีเป้าหมายของการเกิดแผนพัฒนาเมืองด้านขยะ
เหลือศูนย์ บรรจุเข้าแผนของหน่วยงานต่าง ๆ เพื่อการสร้างการมีส่วนร่วมของหน่วยงานให้
เกิดขึ้น
4) ประเมินผลภาพรวมทุกโครงการทั้งในมิติเชิงกระบวนการ เชิงเนื้อหาสาระขยะเหลือศูนย์ การ
ขยายผล และวิเคราะห์ SWOT ของระบบสารสนเทศเมือง เพื่อการพัฒนาสมรรถนะสาหรับการ
รองรับความเป็นเมืองอัจฉริยะแต่ละด้านต่อไป
หมายเหตุ – สาหรับบทความนี้อธิบายเพียงขั้นที่ 1-3 เนื่องจากอยู่ในขณะขั้นตอนดาเนินงาน
ผลกำรวิจัย
ผลการดาเนินการงานวิจัย แบ่งการอธิบายเป็น 6 หัวข้อหลัก ได้แก่ 1) JVIS & Scavenger
Application 2) Dashboard System 3) Urban Informatics Center 4) Zero Waste Systems & Smart
Recycle Bank และ 5) Pilot-Area Projects & Application มีรายละเอียดดังนี้
1) JVIS & Scavenger Application
การพัฒนากลไกระบบสารสนเทศเพื่อการพัฒนาเมืองอัจฉริยะ อยู่ในลักษณะของการร่วมทุนระหว่าง
โครงการฯ กับหุ้นส่วนภาคเอกชน โดยประเด็นเนื้อหาโครงการฯ ต้องเชื่อมโยงสู่การแก้ไขปัญหาร่วมระหว่าง
ภาคเอกชนกับภาครัฐ ตลอดจนการเจรจารายละเอียดการรับผิดชอบดาเนินการรวมถึงต้นทุนและเงื่อนไขต่าง
ๆ การตกผลึกกรอบแนวคิดสู่การดาเนินการระยะเวลา 6 เดือน มีรายละเอียด ได้แก่
โครงสร้างการบริหาร Application ด้วยต้นทุนที่จากัดของงบประมาณ และสามารถขับเคลื่อน
โครงการได้บรรลุเป้าหมาย Zero Waste Application ได้ถูกบรรจุเป็นส่วนหนึ่งของระบบการให้บริการที่
เรียกว่า JVIS ซึ่งเป็น Platform Application ขนาดใหญ่รวบรวม Module การให้บริการที่หลากหลายให้กับ
เมือง ส่วน Zero Waste Application ถือเป็น Module หนึ่งใน JVIS
ปัจจุบัน Zero Waste Application ถูกผลักดันอยู่ในรูปแบบ Social Enterprise ในรูปแบบบริษัท
ชื่อว่า Scavenger and City Development (SCD)8 วัตถุประสงค์เพื่อดาเนินกิจการขยะเหลือศูนย์ฯ ให้กับ
8 1 ในตัวชี้วัดความสาเร็จของโครงการวิจัยนี้
240
เมืองโคราช และขับเคลื่อนการพัฒนาเมือง ดังนั้น Zero Waste Application จะเป็น Module หนึ่งของ
ระบบ JVIS ที่เรียกว่า Scavenger
ภำพแอพพลิเคชัน Scavenger สาหรับบริหารจัดการภาพรวมโคราชเมืองอัจฉริยะขยะเหลือศูนย์
ปัจจัยสำคัญของกำรทำงำนแบบ Triple-Helix คือ กำรตกผลึกร่วมกันในระบบนิเวศ Zero
Waste Platform ซึ่งจะประกอบไปด้วย 4 ประเด็น มีรายละเอียดดังนี้
1 กรอบแนวคิดในกำรเชื่อมโยงกำรทำงำนแต่ละภำคส่วนเข้ำด้วยกัน แม้ว่ามีการเสนอกรอบแนวคิด
เบื้องต้นในข้อเสนอโครงการ เมื่อดาเนินการจริงพบว่ามีรายละเอียดจานวนมากที่กรอบแนวคิดอธิบายไว้ไม่
ครอบคลุม การดาเนินการจาเป็นต้องมีการปรับรายละเอียดเข้ากับงานจริง และต้องมีการเชื่อมโยงกับ
หน่วยงานต่าง ๆ ซึ่งเงื่อนไขของแต่ละหน่วยงานมีรายละเอียดที่ไม่เหมือนกัน ดังนั้นกระบวนการปรับ
รายละเอียดกรอบแนวคิดให้มีความเข้าใจตรงกัน เป็นประเด็นสาคัญและส่งผลต่อความล่าช้า ปัจจุบันได้
จาแนกรายละเอียดเฉพาะเนื้อหาด้านขยะเหลือศูนย์ฯ อัจฉริยะเป็น 3 องค์ประกอบ แต่ละประเด็นมี
รายละเอียดที่ซับซ้อนและแตกต่างกัน ได้แก่ Zero Waste Application, Zero Waste Management &
Logistics Systems, Village Recycle Waste Tank
2 Zero Waste Application ประเด็นเรื่องต้นทุนกับระยะเวลาพัฒนาระบบ Application จากการ
ประเมินระยะเวลาดาเนินการ 3 เดือน เมื่อดาเนินการจริงแล้วมีรายละเอียดประเด็นปัญหาต้องแก้ไข อาทิ การ
เจรจาค่าใช้จ่ายกับนักพัฒนาฯ ภายใต้งบประมาณที่ระบุไว้ ต้องครอบคลุมกับกรอบแนวคิด และระยะเวลาที่
กาหนด ทาให้ไม่สามารถดาเนินการได้ภายในระยะเวลา 3 เดือน อย่างไรก็ดีปัจจุบันต้นแบบได้ดาเนินการแล้ว
ดังรายละเอียดข้างต้น
3 Zero Waste Management & Logistics Systems แม้ว่าจะมีกรอบแนวคิดเบื้องต้นไว้ เมื่อ
ดาเนินการจริงการพิจารณาจุดเชื่อมโยงระหว่างระบบ Logistics กลุ่มผู้ใช้บริการ และการเชื่อมโยงระบบ IOT
กับ Application ตลอดจนรายละเอียดของชุดข้อมูล Interface เพื่อให้ได้ข้อมูลที่ต้องการยังมีหลายประเด็นที่
ต้องปรับแก้ และประเด็นเหล่านั้นไม่สามารถเบ็ดเสร็จได้กับทีมวิจัย ต้องประสานกับกลุ่มเอกชนเชิงพื้นที่ จึงใช้
241
เวลาในการทารายละเอียดและการตัดสินใจร่วมเป็นสาคัญ ปัจจุบันแนวทางการแก้ไขปัญหาอยู่ในรูปแบบ
Smart or Village Recycle Waste Bank
4 Smart or Village Recycle Bank ความคลาดเคลื่อนในความเข้าใจร่วมกันของกรอบแนวคิด กับ
การออกแบบ Application เมื่อขึ้นต้นแบบพบปัญหาด้าน Zero Waste Management & Logistics จึงสร้าง
แนวทางแก้ไขปัญหาเป็นถังรวบรวมขยะรีไซเคิล ซึ่งได้เขียนงบประมาณไว้ในโครงการ จึงได้พยายามเจรจาการ
ร่วมทุนเพื่อเติมกลายเป็นโครงการย่อย และเร่งพัฒนาต้นแบบให้สามารถดาเนินการทดลองใช้จริงภายใน
ระยะเวลาของโครงการ แม้ว่าปัจจุบันจะมีผู้ประกอบการดาเนินการตู้รับซื้อขยะรีไซเคิล เมื่อทบทวน
วรรณกรรมแล้วพบว่าเป็นเพียงตู้รับซื้อขวดน้าแบบขวดเพชรได้เพียงเท่านั้น แต่ไม่สามารถรับซื้อได้ครอบคลุม
ขยะรีไซเคิลทุกประเภท
2) Dashboard System
Dashboard Systems เป็นการประมวลผลผ่านระบบ Cloud แสดงผลกับ Browser ต่าง ๆ บน
คอมพิวเตอร์ หรือโน้สบุ๊คได้ ทั้งนี้ใช้สาหรับการแสดงผลเชื่อมโยงกับ Urban Informatics Center ที่ได้รับทุน
สนับสนุนจากสานักงบประมาณแผ่นดิน ปี พ.ศ.2564 ซึ่งจะอธิบายในหัวข้อถัดไป
ภำพ Interface แสดงผลการวิเคราะห์ข้อมูลภาพรวมในพื้นที่นาร่องโครงการทั้งหมดผ่านระบบ Scavenger
สาหรับใช้ประชุมพิจารณาข้อมูลและกาหนดนโยบายท่ามกลางผู้มีส่วนได้เสีย
3) Urban Informatics Center
พื้นที่วิจัยได้จาแนกเป็นสองมิติ ได้แก่ พื้นที่ออนไลน์ ซึ่งถือเป็นผลผลิตของโครงการวิจัยครั้งนี้ ครั้งนี้
การดาเนินโครงการได้มากกว่างบประมาณทาง บพท.สนับสนุน ได้รับงบประมาณจากสานักงบประมาณ
แผ่นดิน ปี พ.ศ.2564 โครงการศูนย์วิทยาการสารสนเทศเมืองเพื่อพัฒนาเมืองอัจฉริยะ การดาเนินการจะ
สามารถเชื่อมโยงจากพื้นที่ออนไลน์สู่พื้นที่กายภาพ สามารถเป็นเสมือนห้อง War Room หรือ Command
Room ที่มีชุดข้อมูลให้กลุ่มผู้มีส่วนได้เสียสาคัญได้ร่วมพิจารณาร่วมกัน เพื่อนาไปสู่การวางแผนเชิงปฏิบัติการ
ได้อย่างหลากหลายมิติ และเชื่อมโยงกันอย่างเป็นเครือข่ายของเมือง
242
ภำพ ห้อง Urban Informatics Center โครงสร้างทางกายภาพรองรับโครงสร้างระบบกลไกสารสนเทศเพื่อ
การพัฒนาเมืองอัจฉริยะ ทางานเชื่อมโยงกับหน่วยงานต่าง ๆ อาทิ สานักงานจังหวัดนครราชสีมา สมาคม
อสังหาริมทรัพย์ฯ หอการค้าฯ สภาอุตสาหกรรมฯ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น สถาบันอุดมศึกษา สานักงาน
เศรษฐกิจดิจิทัล และกลุ่มบริษัทพัฒนาเมืองหรือ Digital Provider
4) Zero Waste Systems & Smart Recycle Bank
ระบบบริหารจัดการคัดแยกขยะรีไซเคิลของโครงการได้ออกแบบเชื่อมโยงกับโครงการที่ 1 กลไกระบบ
สารสนเทศเพื่อพัฒนาเมืองอัจฉริยะ รับผิดชอบเนื้อหาด้านขยะเหลือศูนย์ ดาเนินการผ่าน 2 ระบบ ได้แก่ 1)
ชุด Zero Waste Application จาแนกรายพื้นที่นาร่อง ซึ่งแต่ละพื้นที่นาร่องจะมี Mobile Application ระดับ
ผู้ใช้ (User App) จะสามารถทราบข้อมูลการรวบรวมขยะรีไซเคิลรายบุคคลให้กับโครงการ ส่วนระบบการ
ควบคุมภาพรวมของเมืองจะผ่าน Application Platform ชื่อว่า Scavenger (Admin App & Web) ซึ่ง
สามารถวิเคราะห์การประมวลผลภาพรวมของระบบได้ทั้ง Mobile Application และ Web Browser
ตลอดจนมีการออกแบบ Database Systems รวบรวมข้อมูลสาคัญทั้งสองระดับ เพื่อนาผลวิเคราะห์ข้อมูลสู่
การทบทวนนโยบาย แผนงาน และโครงการ และสามารถสร้างการมีส่วนร่วมในรูปแบบต่าง ๆ และทุกระดับ
ของกลุ่มผู้มีส่วนได้เสียแต่ละฝ่ายได้ อาทิ การร่วมทุนธุรกิจ การจ้างงานในระบบ หรือการนับเครดิตรวบรวม
ขยะรีไซเคิล เป็นต้น นอกจากนี้ฐานข้อมูลยังสามารถนาออก (Export) ในรูปแบบไฟล์ Excel เพื่อสามารถ
นาไปวิเคราะห์ทางสถิติขั้นสูงได้ต่อไป
ภำพการออกแบบระบบขยะเหลือศูนย์ในการวิจัยครั้งนี้
243
ภำพการเชื่อมโยงระบบขยะเหลือศูนย์ระหว่างพื้นที่นาร่อง ธนาคารขยะรีไซเคิลอัจฉริยะ Scavenger
Application และฐานข้อมูล
ภำพแสดงผลชุดฐานข้อมูลและปุ่มส่งออก (Export) ฐานข้อมูลเพื่อการวิเคราะห์ทางสถิติขั้นสูง
Smart Recycle Bank หรือ ธนาคารขยะรีไซเคิลอัจฉริยะ คือ ผลผลิตโครงการเชิงนวัตกรรม โดย
บูรณาการระหว่างแนวคิดด้านธนาคารขยะ กับ การบริหารจัดการชุดข้อมูลด้วย IoT (Internet of Think)
ด้วยชุด Platform ผ่าน Mobile Application และ Web Browser ตลอดจนการออกแบบเชื่อมโยงกับระบบ
ต่าง ๆ ผ่านชุด Platform นี้ อาทิ เครดิตการรวบรวมขยะรีไซเคิล การมีส่วนร่วมในกิจกรรม ฯลฯ
244
ภำพกรอบแนวคิดขยะเหลือศูนย์ในระดับหมู่บ้านเชื่อมโยงทั้งระดับครัวเรือน และระดับเมือง ผ่าน Zero
Waste Application
อย่างไรก็ดี แม้ว่าแนวคิดในการสร้าง Smart Recycle Bank จะมุ่งเน้นการรวบรวมขยะรีไซเคิลมี
รายงานอยู่ในเฉพาะโครงการวิจัยชุดนี้ แต่การขับเคลื่อนโครงการโคราชขยะเหลือศูนย์ในระดับเมือง มีอีกทีม
ด้านสมาคมอสังหาริมทรัพย์จังหวัดนครราชสีมา ภาคเอกชนท้องถิ่น และมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี
ร่วมกันวิจัยและประดิษฐ์ถังย่อยสลายขยะอินทรีย์ ภายในโครงการ Korat Compost Bin ดังภาพประกอบ
ด้านบนฝั่งซ้าย
ทั้งนี้การออกแบบ Smart Recycle Bank พบว่าการจาแนกรับขยะรีไซเคิลกับการวางแผนธุรกิจการ
ขนส่งรับซื้อขาย ตลอดจนกระบวนกาธุรกิจแปรรูป มีชุดแนวคิดหรือตรรกะที่มีความขัดแย้งอยู่บ้าง อย่างไรก็ดี
ในมุมมองของการวิจัยครั้งนี้การออกแบบผลิต Smart Recycle Bank ต้นแบบแม้ว่าจะมีการผิดพลาดลองผิด
ลองถูกอยู่บ้าง คณะผู้วิจัยได้สรุปการวิจัยเพื่อผลผลผลิตต้นแบบ Smart Recycle Bank ให้ครอบคลุมการรับ
ขยะรีไซเคิลทุกประเภทเพื่อการเก็บรวบรวมข้อมูลปริมาณประเภทขยะรีไซเคิลที่เกิดขึ้น ในแต่ละพื้นที่ทดลอง
อาทิ กลุ่มสถานที่การศึกษา กลุ่มสถานที่ราชการ และกลุ่มสถานที่อยู่อาศัย เพื่อสามารถนาข้อมูลดังกล่าวสรุป
นาไปสู่การลงรายละเอียดของโมเดลธุรกิจอีกครั้ง (BMC: Business Model Canvas)
จากการศึกษาการรับซื้อขยะของบริษัทวงษ์พาณิชย์ อินเตอร์เนชั่นเนล จากัด (วันที่ 28 พฤษภาคม
2564) ได้มีการรับซื้อ ประเภทขยะรีไซเคิลแบ่งออก เป็น 7 ประเภท ได้แก่
1) ประเภทเศษเหล็ก รับซื้อราคาระหว่าง 4.6 – 11.8 บาท/กก.
2) ประเภทเศษกระดาษ รับซื้อราคาระหว่าง 3.6 – 5.8 บาท/กก.
3) ประเภทขวดแก้ว รับซื้อราคาระหว่าง 0.3 – 1 บาท/กก.
4) ประเภทพลาสติก รับซื้อราคาระหว่าง 1 – 14 บาท/กก.
5) ประเภทโลหะมูลค่าสูง รับซื้อราคาระหว่าง 18 – 279 บาท/กก.
245
6) ประเภทเครื่องใช้สานักงานและเครื่องใช้ไฟฟ้า รับซื้อราคาระหว่าง 0.5 – 200 บาท/กก.
7) ประเภท ยางรถยนต์ ยางนอก ยางใน รับซื้อราคาระหว่าง 0.15 บาท/กก.
จากตลาดรับซื้อขยะรีไซเคิลใน 7 ประเภท พบว่ามีขยะที่มีศักยภาพในการขนส่งแล้วมีกาไรมีทั้งสิ้น 5
ประเภท ได้แก่ เศษเหล็ก เศษกระดาษ พลาสติก โลหะมูลค่าสูง และเครื่องใช้สานักงาน/เครื่องไฟฟ้า ซึ่งนาไปสู่
การวางแผนการจัดเก็บขยะรีไซเคิลที่มีศักยภาพในการทากาไรในการขนส่งเป็นอันดับต้นก่อน ส่วนขยะรีไซเคิล
ที่ไม่ทากาไรจะจัดเก็บในลาดับหลังเมื่อมีพื้นที่ว่างในการการขนส่งจากขยะรีไซเคิลที่มีกาไร อย่างไรก็ดีข้อมูล
การรับซื้อขยะรีไซเคิลของโครงการนี้จะมีการออกแบบช่องรับจานวน 7 ประเภท สอดคล้องกับกลไกมูลค่าทาง
การตลาด เพื่อทดลองเชิงพื้นที่โดยอธิบายรายละเอียดในหัวข้อถัดไป และดาเนินการรวบรวมข้อมูลนาไปสู่การ
วิเคราะห์และวางแผนมิติต่าง ๆ ต่อไป
ภำพการทดลองเขียน Code บรรจุลง Mainboard สาหรับติดตั้งกับ Smart Recycle Bank
สถานการณ์ปัจจุบันติดปัญหาการเชื่อมโยงกับระบบกลไกสารสนเทศด้วย IoT
5) Pilot-Area Projects & Application
การประสานความร่วมมือของกลุ่มหมู่บ้านจัดสรรโดยนายกสมาคมอสังหาริมทรัพย์จังหวัด
นครราชสีมา ในความร่วมมือกิจกรรมของโครงการเพื่อเชื่อมโยงพฤติกรรมการคัดแยกขยะในระดับชุมชน
เชื่อมโยงกับระดับพฤติกรรมครัวเรือน และดาเนินการทดลองระบบนิเวศของโครงการผ่านการเชื่อมโยงด้วย
เทคโนโลยี สาหรับการดาเนินงานได้มีการประชุมร่วมหารือภาคส่วนที่เกี่ยวข้องเพื่อเกิดการนาร่องสูงสุด ได้มี
246
การลงมติปรับพื้นที่นาร่อง ได้แก่ สานักงานจังหวัดนครราชสีมา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน
มหาวิทยาลัยราชภัฎนครราชสีมา หมู่บ้านเซ็กเนเจอร์ และหมู่บ้านเดอะโฟร์เรส
ทั้งการพิจารณาพื้นที่นาร่อง 2 ประเด็นสาคัญ ได้แก่ 1) ทีมดาเนินงาน เป็นผู้มีความสัมพันธ์ในการ
สร้างการมีส่วนร่วมทางสังคมในแต่พื้นที่นาร่องเป็นอย่างดี และ 2) ภาพรวมพื้นที่นาร่องทั้ง 5 พื้นที่ มีความ
หลากหลายของประเภทสถานที่ติดตั้งธนาคารขยะรีไซเคิลอัจฉริยะ ได้แก่ สถานศึกษา สถานราชการ และ
หมู่บ้านจัดสรรเอกชน ในมุมมองเชิงวิจัยถือว่ามีความหลากหลายของพฤติกรรมผู้ใช้ธนาคารขยะรีไซเคิล
อัจฉริยะและพฤติกรรมการมีส่วนร่วมกิจกรรมขยะเหลือศูนย์ จะสามารถวิเคราะห์เปรียบเทียบระหว่าง
ประเภทสถานที่ เพื่อนาไปสู่การกาหนดรายละเอียดนโยบาย แผนงาน และโครงการ ระหว่างหน่วยงานที่
เกี่ยวข้องได้
ภำพตาแหน่งพื้นที่นาร่องทดลองติดตั้งธนาคารขยะรีไซเคิลอัจฉริยะ 5 พื้นที่ของเมืองโคราช
Application สาหรับการเชื่อมโยงพฤติกรรมการมีส่วนร่วมรวบรวมขยะรีไซเคิลกับธนาคารขยะรี
ไซเคิลอัจฉริยะ ผ่านระบบการประมวลข้อมูลสาคัญระหว่างผู้ให้บริการกับผู้ใช้ ด้วย Application กับพื้นที่นา
ร่อง (Pilot-Area Project) ทั้ง 5 โครงการ ได้แก่ พื้นที่ศาลากลางจังหวัดนครราชสีมา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี
ราชมงคลอีสาน มหาวิทยาลัยราชภัฎนครราชสีมา หมู่บ้านซิกเนเจอร์ และหมู่บ้านเดอะฟอร์เรส
มีรายละเอียดขอ Link การดาวโหลดผ่าน Mobile Application ทั้งระบบ iOS และ Android มี
รายละเอียด ดังนี้
247
ภำพการดาวโหลด Mobile Application ใน 5 พื้นที่นาร่องเมืองโคราช ผ่ำนระบบ iOS (ซ้ำย) และ ระบบ
Android (ขวำ)
กำรอภิปรำยผล หรือ กำรวิจำรณ์และสรุป หรือ ข้อเสนอแนะ:
การดาเนินของชุดโครงการมีทั้งสิ้น 3 โครงการ ในขั้นแรกจาเป็นต้องมีผลผลิตของโครงการที่ 1-2
เชื่อมโยงกับทางานร่วมกัน เพื่อนาผลการทดลองเชิงระบบร่วมกัน นาไปสู่การรายงานผล ประสิทธิภาพของ
การดาเนินการเชิงระบบ เพื่อจัดกิจกรรมการร่างแผนพัฒนาเมืองอัจฉริยะแบบมีส่วนร่วมท่ามกลางกลุ่มผู้มีส่วน
ได้เสียสาคัญในการขับเคลื่อนการพัฒนาเมือง
ปัจจุบันการดาเนินการผลผลิตของโครงการที่ 1 เป็นที่เรียบร้อย สามารถดาเนินการดาวโหลด Mobile
Application หรือเข้าระบบ Dashboard จากรายงานในบทที่ 4 แต่มีปัญหาการเชื่อมโยงระบบ IoT ของ
Smart Recycle Bank ที่เป็นผลผลิตของโครงการที่ 2 ส่งข้อมูลเข้า Server ในระบบ Cloud ทั้งนี้กาลังแก้ไข
ปัญหา Code คาดว่าจะเสร็จสิ้นในเดือนที่ 7 และพัฒนา Smart Recycle Bank ติดตั้งพื้นที่นาร่องในช่วง
เดือนที่ 8-10 เพื่อนาผลข้อมูลทดลองกิจกรรมช่วง 3 เดือน นาไปสู่การร่างแผนพัฒนาเมืองด้านขยะเหลือศูนย์
ต่อไป
248
ภำพความสัมพันธ์ระหว่าง 3 โครงการวิจัยย่อย
กิจกรรมที่จะดำเนินกำรระยะต่อไป
แก้ปัญหาการเชื่อมโยงระบบระหว่างโครงการที่ 1-2 แล้วสิ้น พัฒนาออกแบบ Smart Recycle Bank
มิติของความสวยงาม น่าลงทุนทางธุรกิจ การออกแบบโมเดลธุรกิจเพื่อการเพิ่มจานวนพื้นที่นาร่องทดลอง
ระบบ และนาผลพิจารณาวางแผนในระดับต่าง ๆ ทั้งทีมเอกชนร่วมทุน ภาครัฐกาหนดนโยบาย แผนงาน และ
โครงการ ตลอดจนการวางแผนเชิงปปฏิบัติร่วมกับชุมชนเป้าหมาย
เป็นการชี้แจงผลการวิจัยว่าตรงกับวัตถุประสงค์/สมมติฐานของการวิจัย สอดคล้องหรือขัดแย้งกับ
ผลการวิจัยของผู้อื่นที่มีอยู่ก่อนหรือไม่อย่างไร เหตุผลใดจึงเป็นเช่นนั้น และให้จบด้วยข้อเสนอแนะที่จะนา
ผลงานวิจัยไปใช้ประโยชน์ หรือทิ้งประเด็นคาถามการวิจัย ซึ่งเป็นแนวทางสาหรับการทาวิจัยต่อไป
เป้ำหมำยที่จะได้หลังจำกเสร็จโครงกำรวิจัย โปรดระบุจำก 3 หัวข้อต่อไปนี้
1.เกิดกลไกการพัฒนาระดับพื้นที่
• ต้นแบบศูนย์ระบบสำรสนเทศเพื่อกำรพัฒนำเมืองอัจฉริยะ ประกอบด้วยระบบ Software Platform
ต้นแบบแสดงระบบเชื่อมโยงทั้งระบบการบริหารสารสนเทศเชื่อมโยงกับ Mobile Application มีการ
ออกแบบวิธีการรวบรวมข้อมูลกลุ่มผู้ใช้อย่างเป็นระบบ และสามารถแสดงผลข้อมูลสถิติเชิงพรรณา
และสามารถดึงชุดข้อมูลในรูปแบบไฟล์ Excel เพื่อสามารถวิเคราะห์ทางสถิติวิจัยขั้นสูงต่อไป
นอกจากนี้สามารถเพิ่มขึ้น Module รายละเอียดต่าง ๆ ได้ เนื่องจากได้มีการออกแบบโครงสร้างหลัก
ของระบบไว้แล้ว
• ต้นแบบกำรเชื่อมโยงระบบนวัตกรรมเชิงกระบวนกำรหน่วยงำนที่เกี่ยวข้องในกำรขับเคลื่อนควำม
เป็นเมืองอัจฉริยะ เป็นการสรุปวิธีทางาน 3 หน่วยงานประสาน (เป็นอย่างน้อย) ได้แก่ 1) ภาครัฐทั้ง
249
ส่วนกลางและท้องถิ่น 2) ภาคเอกชนและนักลงทุน และ 3) สถาบันอุดมศึกษา ซึ่งทั้ง 3 องค์ประกอบ
จะมีหน้าที่ บทบาท วิธีคิดและวิธีทางาน ที่ช่วยกันเสริมแรงระหว่างกันจนสามารถขับเคลื่อนจนเกิด
นวัตกรรมเพื่อส่งเสริมความเป็นเมืองอัจฉริยะได้อย่างเป็นรูปธรรม
2.องค์ความรู้ข้อมูลเพื่อพัฒนากลไกตรวจสอบเชิงพื้นที่เพื่อการขับเคลื่อนเมือง
• กำรประยุกต์ระบบสำรสนเทศเชื่อมโยงกับกำรพัฒนำเมืองอัจฉริยะด้ำนอื่น ๆ การออกแบบ
Platform ดังกล่าวถือเป็นโครงสร้างเชิงระบบของ Application ที่สามารถใช้ระบบเทคโนโลยี
ด้านต่าง ๆ ที่ตอบสนองตัวชี้วัดเมืองอัจฉริยะมาประกอบเข้ากับระบบ City Dashboard
สามารถแสดงผลได้ทั้งในเชิงพื้นที่และเชิงสถิติ ทั้งนี้ก่อนนามาประกอบเข้าระบบจาเป็นต้องมี
การประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อออกแบบรายละเอียดร่วมกันก่อนดาเนินการ
• กำรออกแบบองค์ประกอบระบบนวัตกรรมระหว่ำงหน่วยงำนเพื่อขับเคลื่อนโครงกำรต่ำง ๆ
เพื่อตอบตัวชี้วัดควำมเป็นเมืองอัจฉริยะ จากประสบการณ์ในการดาเนินโครงการใหญ่ของ
เมืองอัจฉริยะ พบว่าการขับเคลื่อนอย่างเป็นรูปธรรมจาเป็นต้องมี 3 ภาคส่วนงาน (เป็นอย่าง
น้อย) ร่วมดาเนินการ ได้แก่ 1) ภาครัฐทั้งส่วนกลางและท้องถิ่น 2) ภาคเอกชนและนักลงทุน
และ 3) สถาบันอุดมศึกษา ดังนั้นสาหรับการประยุกต์การดาเนินโครงการเมืองอัจฉริยะด้านอื่น
ๆ จะเป็นในลักษณะของการ Matching Team ทั้ง 3 หน่วยงานเข้าด้วยกัน ทั้งนี้สาหรับจังหวัด
นครราชสีมา ได้มีการร่างยุทธศาสตร์เมืองอัจฉริยะจังหวัดนครราชสีมา ได้มีการแต่งตั้ง
หน่วยงานภายในสานักงานจังหวัดนครราชสีมา ดูแลแต่ละด้านของเมืองอัจฉริยะ ดังนั้นการจัด
ทีมจะต้องมีบุคลากรสถาบันอุดมศึกษา เป็นแกนหลักสาคัญสาหรับการประสานการทางาน
ระหว่างภาครัฐ กับภาคเอกชนเข้าด้วยกัน และบุคลากรสถาบันการศึกษาควรจะมี
ความสามารถในการบริหารโครงการและมีความเข้าใจเกี่ยวกับเนื้อหาเมืองอัจฉริยะด้านนั้นเป็น
สาคัญ
3.ชุดความรู้ด้านการพัฒนาเมืองเพื่อขยายผลเชิงพื้นที่และนาเสนอนโยบายเชิงพื้นที่
• วิทยำกำรสำรสนเทศเมืองเพื่อกำรพัฒนำเมืองอัจฉริยะ Platform สาหรับการประยุกต์ใช้ในเมือง
อื่น ๆ สามารถนาไปใช้ได้ อาทิ ศูนย์วิทยาการสารสนเทศเมืองในการเป็น IOC เพื่อการบูรณาการการ
ทางานด้านต่างๆ
• กำรออกแบบระบบฐำนข้อมูลสำหรับกำรขับเคลื่อนเมืองอัจฉริยะ ปัจจุบันการทางานของเมือง
มักจะเป็นองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ซึ่งพบว่าระหว่างหน่วยงานก็ยังไม่มีการเชื่อมโยงชุดข้อมูลเข้า
ไว้ด้วยกัน สาหรับโครงการนี้จะเป็นตัวอย่างต้นแบบให้หน่วยงานต่าง ๆ ได้เรียนรู้ต้นแบบและวิธีการ
กระบวนการเป็นเมืองอัจฉริยะ กรณีศึกษาด้านสิ่งแวดล้อมอัจฉริยะ ประเด็นขยะเหลือศูนย์
กระบวนการเป็นเมืองอัจฉริยะ กรณีศึกษาด้านสิ่งแวดล้อมอัจฉริยะ ประเด็นขยะเหลือศูนย์
กระบวนการเป็นเมืองอัจฉริยะ กรณีศึกษาด้านสิ่งแวดล้อมอัจฉริยะ ประเด็นขยะเหลือศูนย์
กระบวนการเป็นเมืองอัจฉริยะ กรณีศึกษาด้านสิ่งแวดล้อมอัจฉริยะ ประเด็นขยะเหลือศูนย์

More Related Content

What's hot

ใบความรู้เรื่องคำซ้อน
ใบความรู้เรื่องคำซ้อนใบความรู้เรื่องคำซ้อน
ใบความรู้เรื่องคำซ้อน
Kroo R WaraSri
 
คำกล่าวต้อนรับคณะกรรมการประเมิน
คำกล่าวต้อนรับคณะกรรมการประเมินคำกล่าวต้อนรับคณะกรรมการประเมิน
คำกล่าวต้อนรับคณะกรรมการประเมิน
pupphawittayacom
 
การเป็นพิธีการมืออาชีพ
การเป็นพิธีการมืออาชีพการเป็นพิธีการมืออาชีพ
การเป็นพิธีการมืออาชีพ
Yaowaluck Promdee
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจจำหน่ายจักรยานยนต์ไฟฟ้า
ตัวอย่างแผนธุรกิจจำหน่ายจักรยานยนต์ไฟฟ้าตัวอย่างแผนธุรกิจจำหน่ายจักรยานยนต์ไฟฟ้า
ตัวอย่างแผนธุรกิจจำหน่ายจักรยานยนต์ไฟฟ้าNattakorn Sunkdon
 
Ppt ปัจจัยการผลิต
Ppt ปัจจัยการผลิตPpt ปัจจัยการผลิต
Ppt ปัจจัยการผลิต1707253417072534
 
2ใบกิจกรรม
2ใบกิจกรรม2ใบกิจกรรม
2ใบกิจกรรมkrupornpana55
 
แผ่นพับ
แผ่นพับแผ่นพับ
แผ่นพับ
Supada Phuluang
 
03 Urban Aesthetics Perception
03 Urban Aesthetics Perception03 Urban Aesthetics Perception
03 Urban Aesthetics Perception
Sarit Tiyawongsuwan
 
งานนำเสนอวิสัยทัศน์ในการปฏิบัติราชการเพื่อแต่งตั้งเป็นปลัดองค์การบริหารส่วนตำ...
งานนำเสนอวิสัยทัศน์ในการปฏิบัติราชการเพื่อแต่งตั้งเป็นปลัดองค์การบริหารส่วนตำ...งานนำเสนอวิสัยทัศน์ในการปฏิบัติราชการเพื่อแต่งตั้งเป็นปลัดองค์การบริหารส่วนตำ...
งานนำเสนอวิสัยทัศน์ในการปฏิบัติราชการเพื่อแต่งตั้งเป็นปลัดองค์การบริหารส่วนตำ...
อบต. เหล่าโพนค้อ
 
กัญชา...ชัวร์ก่อนแชร์
กัญชา...ชัวร์ก่อนแชร์กัญชา...ชัวร์ก่อนแชร์
กัญชา...ชัวร์ก่อนแชร์
Thira Woratanarat
 
การวิจารย์งานศิลปะและศิลปะตะวันออก ครูรัตติยา คำประชา
การวิจารย์งานศิลปะและศิลปะตะวันออก ครูรัตติยา  คำประชาการวิจารย์งานศิลปะและศิลปะตะวันออก ครูรัตติยา  คำประชา
การวิจารย์งานศิลปะและศิลปะตะวันออก ครูรัตติยา คำประชา
kkrunuch
 
กิตติกรรมประกาศ
กิตติกรรมประกาศกิตติกรรมประกาศ
กิตติกรรมประกาศ
maerimwittayakom school
 
การนำเสนองานวิจัย
การนำเสนองานวิจัยการนำเสนองานวิจัย
การนำเสนองานวิจัย
วิทยาลัยเทคนิคราชบุรี
 
สารบัญภาษาไทย
สารบัญภาษาไทยสารบัญภาษาไทย
สารบัญภาษาไทยPoppy Nana
 
ผังเมืองกับการจัดการเมืองยะลา
ผังเมืองกับการจัดการเมืองยะลาผังเมืองกับการจัดการเมืองยะลา
ผังเมืองกับการจัดการเมืองยะลา
FURD_RSU
 
สังคมโลก และ ลักษณะพื้นฐานของสังคมระหว่างประเทศ
สังคมโลก และ ลักษณะพื้นฐานของสังคมระหว่างประเทศสังคมโลก และ ลักษณะพื้นฐานของสังคมระหว่างประเทศ
สังคมโลก และ ลักษณะพื้นฐานของสังคมระหว่างประเทศ
Chainarong Maharak
 
การจัดการในศตวรรษที่ 21
การจัดการในศตวรรษที่ 21การจัดการในศตวรรษที่ 21
การจัดการในศตวรรษที่ 21
Development Science College Puey Ungphakorn,Thammasat University
 
แบบทดสอบ ภาษาไทย(หลักภาษา) ม.6
แบบทดสอบ  ภาษาไทย(หลักภาษา) ม.6แบบทดสอบ  ภาษาไทย(หลักภาษา) ม.6
แบบทดสอบ ภาษาไทย(หลักภาษา) ม.6teerachon
 

What's hot (20)

ใบความรู้เรื่องคำซ้อน
ใบความรู้เรื่องคำซ้อนใบความรู้เรื่องคำซ้อน
ใบความรู้เรื่องคำซ้อน
 
คำกล่าวต้อนรับคณะกรรมการประเมิน
คำกล่าวต้อนรับคณะกรรมการประเมินคำกล่าวต้อนรับคณะกรรมการประเมิน
คำกล่าวต้อนรับคณะกรรมการประเมิน
 
การเป็นพิธีการมืออาชีพ
การเป็นพิธีการมืออาชีพการเป็นพิธีการมืออาชีพ
การเป็นพิธีการมืออาชีพ
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจจำหน่ายจักรยานยนต์ไฟฟ้า
ตัวอย่างแผนธุรกิจจำหน่ายจักรยานยนต์ไฟฟ้าตัวอย่างแผนธุรกิจจำหน่ายจักรยานยนต์ไฟฟ้า
ตัวอย่างแผนธุรกิจจำหน่ายจักรยานยนต์ไฟฟ้า
 
Ppt ปัจจัยการผลิต
Ppt ปัจจัยการผลิตPpt ปัจจัยการผลิต
Ppt ปัจจัยการผลิต
 
2ใบกิจกรรม
2ใบกิจกรรม2ใบกิจกรรม
2ใบกิจกรรม
 
แผ่นพับ
แผ่นพับแผ่นพับ
แผ่นพับ
 
03 Urban Aesthetics Perception
03 Urban Aesthetics Perception03 Urban Aesthetics Perception
03 Urban Aesthetics Perception
 
งานนำเสนอวิสัยทัศน์ในการปฏิบัติราชการเพื่อแต่งตั้งเป็นปลัดองค์การบริหารส่วนตำ...
งานนำเสนอวิสัยทัศน์ในการปฏิบัติราชการเพื่อแต่งตั้งเป็นปลัดองค์การบริหารส่วนตำ...งานนำเสนอวิสัยทัศน์ในการปฏิบัติราชการเพื่อแต่งตั้งเป็นปลัดองค์การบริหารส่วนตำ...
งานนำเสนอวิสัยทัศน์ในการปฏิบัติราชการเพื่อแต่งตั้งเป็นปลัดองค์การบริหารส่วนตำ...
 
กัญชา...ชัวร์ก่อนแชร์
กัญชา...ชัวร์ก่อนแชร์กัญชา...ชัวร์ก่อนแชร์
กัญชา...ชัวร์ก่อนแชร์
 
การวิจารย์งานศิลปะและศิลปะตะวันออก ครูรัตติยา คำประชา
การวิจารย์งานศิลปะและศิลปะตะวันออก ครูรัตติยา  คำประชาการวิจารย์งานศิลปะและศิลปะตะวันออก ครูรัตติยา  คำประชา
การวิจารย์งานศิลปะและศิลปะตะวันออก ครูรัตติยา คำประชา
 
กิตติกรรมประกาศ
กิตติกรรมประกาศกิตติกรรมประกาศ
กิตติกรรมประกาศ
 
การนำเสนองานวิจัย
การนำเสนองานวิจัยการนำเสนองานวิจัย
การนำเสนองานวิจัย
 
GIS Presentation
GIS PresentationGIS Presentation
GIS Presentation
 
สารบัญภาษาไทย
สารบัญภาษาไทยสารบัญภาษาไทย
สารบัญภาษาไทย
 
ตัวอย่าง 5 บท โครงงานคอมฯ
ตัวอย่าง 5 บท โครงงานคอมฯตัวอย่าง 5 บท โครงงานคอมฯ
ตัวอย่าง 5 บท โครงงานคอมฯ
 
ผังเมืองกับการจัดการเมืองยะลา
ผังเมืองกับการจัดการเมืองยะลาผังเมืองกับการจัดการเมืองยะลา
ผังเมืองกับการจัดการเมืองยะลา
 
สังคมโลก และ ลักษณะพื้นฐานของสังคมระหว่างประเทศ
สังคมโลก และ ลักษณะพื้นฐานของสังคมระหว่างประเทศสังคมโลก และ ลักษณะพื้นฐานของสังคมระหว่างประเทศ
สังคมโลก และ ลักษณะพื้นฐานของสังคมระหว่างประเทศ
 
การจัดการในศตวรรษที่ 21
การจัดการในศตวรรษที่ 21การจัดการในศตวรรษที่ 21
การจัดการในศตวรรษที่ 21
 
แบบทดสอบ ภาษาไทย(หลักภาษา) ม.6
แบบทดสอบ  ภาษาไทย(หลักภาษา) ม.6แบบทดสอบ  ภาษาไทย(หลักภาษา) ม.6
แบบทดสอบ ภาษาไทย(หลักภาษา) ม.6
 

Similar to กระบวนการเป็นเมืองอัจฉริยะ กรณีศึกษาด้านสิ่งแวดล้อมอัจฉริยะ ประเด็นขยะเหลือศูนย์

คู่มือการใช้แอพพลิเคชันธนาคารขยะรีไซเคิลอัจฉริยะ
คู่มือการใช้แอพพลิเคชันธนาคารขยะรีไซเคิลอัจฉริยะคู่มือการใช้แอพพลิเคชันธนาคารขยะรีไซเคิลอัจฉริยะ
คู่มือการใช้แอพพลิเคชันธนาคารขยะรีไซเคิลอัจฉริยะ
Sarit Tiyawongsuwan
 
คอมพิว
คอมพิวคอมพิว
คอมพิวpeenullt
 
Smart city กับการขับเคลื่อนเศรษฐกิจ
Smart city กับการขับเคลื่อนเศรษฐกิจSmart city กับการขับเคลื่อนเศรษฐกิจ
Smart city กับการขับเคลื่อนเศรษฐกิจ
Sarit Tiyawongsuwan
 
เมืองอัจฉริยะกับการขับเคลื่อนเศรษฐกิจ
เมืองอัจฉริยะกับการขับเคลื่อนเศรษฐกิจเมืองอัจฉริยะกับการขับเคลื่อนเศรษฐกิจ
เมืองอัจฉริยะกับการขับเคลื่อนเศรษฐกิจ
Sarit Tiyawongsuwan
 
presentation 2
presentation 2presentation 2
presentation 2
GanokwanBaitoey
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์peenullt
 
10 นวัตกรรมการพัฒนาเมืองอย่างยั่งยืนประจำปี 2015
10 นวัตกรรมการพัฒนาเมืองอย่างยั่งยืนประจำปี 201510 นวัตกรรมการพัฒนาเมืองอย่างยั่งยืนประจำปี 2015
10 นวัตกรรมการพัฒนาเมืองอย่างยั่งยืนประจำปี 2015
Klangpanya
 
Kick off nrct
Kick off nrctKick off nrct
Kick off nrctrattapol
 
2560 project แอพพลิเคชัน Smart CHIANGMAI
2560 project แอพพลิเคชัน Smart CHIANGMAI 2560 project แอพพลิเคชัน Smart CHIANGMAI
2560 project แอพพลิเคชัน Smart CHIANGMAI
เซฟ หัวเกรียน
 
นโยบายสาธารณะเพื่อการพัฒนาเมืองอย่างเหมาะสมและมีสุขภาวะ
นโยบายสาธารณะเพื่อการพัฒนาเมืองอย่างเหมาะสมและมีสุขภาวะนโยบายสาธารณะเพื่อการพัฒนาเมืองอย่างเหมาะสมและมีสุขภาวะ
นโยบายสาธารณะเพื่อการพัฒนาเมืองอย่างเหมาะสมและมีสุขภาวะ
FURD_RSU
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เกาะแสมสาร
โครงงานคอมพิวเตอร์ เกาะแสมสารโครงงานคอมพิวเตอร์ เกาะแสมสาร
โครงงานคอมพิวเตอร์ เกาะแสมสาร
Izezjk
 
ใบงานที่ 8 โครงงานประเภท การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์
ใบงานที่ 8 โครงงานประเภท การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์ใบงานที่ 8 โครงงานประเภท การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์
ใบงานที่ 8 โครงงานประเภท การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์Mintra Pudprom
 
ใบงานที่ 8 โครงงานประเภท การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์
ใบงานที่ 8 โครงงานประเภท การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์ใบงานที่ 8 โครงงานประเภท การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์
ใบงานที่ 8 โครงงานประเภท การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์KaRn Tik Tok
 
ใบงานที่ 8 โครงงานประเภท การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์
ใบงานที่ 8 โครงงานประเภท การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์ใบงานที่ 8 โครงงานประเภท การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์
ใบงานที่ 8 โครงงานประเภท การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์Soldic Kalayanee
 
ปักกิ่ง "นครแห่งอนาคต"
ปักกิ่ง "นครแห่งอนาคต"ปักกิ่ง "นครแห่งอนาคต"
ปักกิ่ง "นครแห่งอนาคต"
Klangpanya
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เกาะแสมสาร
โครงงานคอมพิวเตอร์ เกาะแสมสารโครงงานคอมพิวเตอร์ เกาะแสมสาร
โครงงานคอมพิวเตอร์ เกาะแสมสาร
Izezjk
 
121120 ผลกระทบของประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนต่อวิชาชีพบรรณารักษ์
121120 ผลกระทบของประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนต่อวิชาชีพบรรณารักษ์121120 ผลกระทบของประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนต่อวิชาชีพบรรณารักษ์
121120 ผลกระทบของประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนต่อวิชาชีพบรรณารักษ์
Preaw Adisaun
 
กรอบแนวคิดการวิจัยกับตัวแปร
กรอบแนวคิดการวิจัยกับตัวแปรกรอบแนวคิดการวิจัยกับตัวแปร
กรอบแนวคิดการวิจัยกับตัวแปร
Prachyanun Nilsook
 
วิชา เทคโนโลยีสารสนเทศ 2 รหัสวิชา ง32101 แก้ไขแล้ว
วิชา เทคโนโลยีสารสนเทศ 2 รหัสวิชา ง32101 แก้ไขแล้ววิชา เทคโนโลยีสารสนเทศ 2 รหัสวิชา ง32101 แก้ไขแล้ว
วิชา เทคโนโลยีสารสนเทศ 2 รหัสวิชา ง32101 แก้ไขแล้วThank Chiro
 
การกระจายตัวของความเป็นเมือง เทศบาลนครและเทศบาลเมืองที่ติดชายแดน
การกระจายตัวของความเป็นเมือง เทศบาลนครและเทศบาลเมืองที่ติดชายแดนการกระจายตัวของความเป็นเมือง เทศบาลนครและเทศบาลเมืองที่ติดชายแดน
การกระจายตัวของความเป็นเมือง เทศบาลนครและเทศบาลเมืองที่ติดชายแดน
FURD_RSU
 

Similar to กระบวนการเป็นเมืองอัจฉริยะ กรณีศึกษาด้านสิ่งแวดล้อมอัจฉริยะ ประเด็นขยะเหลือศูนย์ (20)

คู่มือการใช้แอพพลิเคชันธนาคารขยะรีไซเคิลอัจฉริยะ
คู่มือการใช้แอพพลิเคชันธนาคารขยะรีไซเคิลอัจฉริยะคู่มือการใช้แอพพลิเคชันธนาคารขยะรีไซเคิลอัจฉริยะ
คู่มือการใช้แอพพลิเคชันธนาคารขยะรีไซเคิลอัจฉริยะ
 
คอมพิว
คอมพิวคอมพิว
คอมพิว
 
Smart city กับการขับเคลื่อนเศรษฐกิจ
Smart city กับการขับเคลื่อนเศรษฐกิจSmart city กับการขับเคลื่อนเศรษฐกิจ
Smart city กับการขับเคลื่อนเศรษฐกิจ
 
เมืองอัจฉริยะกับการขับเคลื่อนเศรษฐกิจ
เมืองอัจฉริยะกับการขับเคลื่อนเศรษฐกิจเมืองอัจฉริยะกับการขับเคลื่อนเศรษฐกิจ
เมืองอัจฉริยะกับการขับเคลื่อนเศรษฐกิจ
 
presentation 2
presentation 2presentation 2
presentation 2
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
10 นวัตกรรมการพัฒนาเมืองอย่างยั่งยืนประจำปี 2015
10 นวัตกรรมการพัฒนาเมืองอย่างยั่งยืนประจำปี 201510 นวัตกรรมการพัฒนาเมืองอย่างยั่งยืนประจำปี 2015
10 นวัตกรรมการพัฒนาเมืองอย่างยั่งยืนประจำปี 2015
 
Kick off nrct
Kick off nrctKick off nrct
Kick off nrct
 
2560 project แอพพลิเคชัน Smart CHIANGMAI
2560 project แอพพลิเคชัน Smart CHIANGMAI 2560 project แอพพลิเคชัน Smart CHIANGMAI
2560 project แอพพลิเคชัน Smart CHIANGMAI
 
นโยบายสาธารณะเพื่อการพัฒนาเมืองอย่างเหมาะสมและมีสุขภาวะ
นโยบายสาธารณะเพื่อการพัฒนาเมืองอย่างเหมาะสมและมีสุขภาวะนโยบายสาธารณะเพื่อการพัฒนาเมืองอย่างเหมาะสมและมีสุขภาวะ
นโยบายสาธารณะเพื่อการพัฒนาเมืองอย่างเหมาะสมและมีสุขภาวะ
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เกาะแสมสาร
โครงงานคอมพิวเตอร์ เกาะแสมสารโครงงานคอมพิวเตอร์ เกาะแสมสาร
โครงงานคอมพิวเตอร์ เกาะแสมสาร
 
ใบงานที่ 8 โครงงานประเภท การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์
ใบงานที่ 8 โครงงานประเภท การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์ใบงานที่ 8 โครงงานประเภท การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์
ใบงานที่ 8 โครงงานประเภท การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์
 
ใบงานที่ 8 โครงงานประเภท การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์
ใบงานที่ 8 โครงงานประเภท การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์ใบงานที่ 8 โครงงานประเภท การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์
ใบงานที่ 8 โครงงานประเภท การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์
 
ใบงานที่ 8 โครงงานประเภท การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์
ใบงานที่ 8 โครงงานประเภท การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์ใบงานที่ 8 โครงงานประเภท การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์
ใบงานที่ 8 โครงงานประเภท การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์
 
ปักกิ่ง "นครแห่งอนาคต"
ปักกิ่ง "นครแห่งอนาคต"ปักกิ่ง "นครแห่งอนาคต"
ปักกิ่ง "นครแห่งอนาคต"
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เกาะแสมสาร
โครงงานคอมพิวเตอร์ เกาะแสมสารโครงงานคอมพิวเตอร์ เกาะแสมสาร
โครงงานคอมพิวเตอร์ เกาะแสมสาร
 
121120 ผลกระทบของประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนต่อวิชาชีพบรรณารักษ์
121120 ผลกระทบของประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนต่อวิชาชีพบรรณารักษ์121120 ผลกระทบของประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนต่อวิชาชีพบรรณารักษ์
121120 ผลกระทบของประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนต่อวิชาชีพบรรณารักษ์
 
กรอบแนวคิดการวิจัยกับตัวแปร
กรอบแนวคิดการวิจัยกับตัวแปรกรอบแนวคิดการวิจัยกับตัวแปร
กรอบแนวคิดการวิจัยกับตัวแปร
 
วิชา เทคโนโลยีสารสนเทศ 2 รหัสวิชา ง32101 แก้ไขแล้ว
วิชา เทคโนโลยีสารสนเทศ 2 รหัสวิชา ง32101 แก้ไขแล้ววิชา เทคโนโลยีสารสนเทศ 2 รหัสวิชา ง32101 แก้ไขแล้ว
วิชา เทคโนโลยีสารสนเทศ 2 รหัสวิชา ง32101 แก้ไขแล้ว
 
การกระจายตัวของความเป็นเมือง เทศบาลนครและเทศบาลเมืองที่ติดชายแดน
การกระจายตัวของความเป็นเมือง เทศบาลนครและเทศบาลเมืองที่ติดชายแดนการกระจายตัวของความเป็นเมือง เทศบาลนครและเทศบาลเมืองที่ติดชายแดน
การกระจายตัวของความเป็นเมือง เทศบาลนครและเทศบาลเมืองที่ติดชายแดน
 

More from Sarit Tiyawongsuwan

Urban-Transport Planning_20221208.pdf
Urban-Transport Planning_20221208.pdfUrban-Transport Planning_20221208.pdf
Urban-Transport Planning_20221208.pdf
Sarit Tiyawongsuwan
 
08-09 กฎหมายการผังเมือง.pdf
08-09 กฎหมายการผังเมือง.pdf08-09 กฎหมายการผังเมือง.pdf
08-09 กฎหมายการผังเมือง.pdf
Sarit Tiyawongsuwan
 
06-07 กฎหมายว่าด้วยจัดรูปที่ดินเพื่อการพัฒนาพื้นที่.pdf
06-07 กฎหมายว่าด้วยจัดรูปที่ดินเพื่อการพัฒนาพื้นที่.pdf06-07 กฎหมายว่าด้วยจัดรูปที่ดินเพื่อการพัฒนาพื้นที่.pdf
06-07 กฎหมายว่าด้วยจัดรูปที่ดินเพื่อการพัฒนาพื้นที่.pdf
Sarit Tiyawongsuwan
 
04-05 พรบ การจัดสรรที่ดิน.pdf
04-05 พรบ การจัดสรรที่ดิน.pdf04-05 พรบ การจัดสรรที่ดิน.pdf
04-05 พรบ การจัดสรรที่ดิน.pdf
Sarit Tiyawongsuwan
 
03 ภาพรวมและลำดับศักดิ์กฎหมาย.pdf
03 ภาพรวมและลำดับศักดิ์กฎหมาย.pdf03 ภาพรวมและลำดับศักดิ์กฎหมาย.pdf
03 ภาพรวมและลำดับศักดิ์กฎหมาย.pdf
Sarit Tiyawongsuwan
 
02 ภาพรวมและลำดับศักดิ์กฎหมาย 20191113.pdf
02 ภาพรวมและลำดับศักดิ์กฎหมาย 20191113.pdf02 ภาพรวมและลำดับศักดิ์กฎหมาย 20191113.pdf
02 ภาพรวมและลำดับศักดิ์กฎหมาย 20191113.pdf
Sarit Tiyawongsuwan
 
แผนแม่บท TOD ประเทศไทย (2563).pdf
แผนแม่บท TOD ประเทศไทย (2563).pdfแผนแม่บท TOD ประเทศไทย (2563).pdf
แผนแม่บท TOD ประเทศไทย (2563).pdf
Sarit Tiyawongsuwan
 
หลักสูตรการจัดการบัณฑิต สาขาวิชานวัตกรรมการพัฒนาเมืองและพื้นที่รอบสถานีขนส่งม...
หลักสูตรการจัดการบัณฑิต สาขาวิชานวัตกรรมการพัฒนาเมืองและพื้นที่รอบสถานีขนส่งม...หลักสูตรการจัดการบัณฑิต สาขาวิชานวัตกรรมการพัฒนาเมืองและพื้นที่รอบสถานีขนส่งม...
หลักสูตรการจัดการบัณฑิต สาขาวิชานวัตกรรมการพัฒนาเมืองและพื้นที่รอบสถานีขนส่งม...
Sarit Tiyawongsuwan
 
กระบวนการวางแผนแบบมีส่วนร่วมในการพัฒนาเมืองอัจฉริยะ
กระบวนการวางแผนแบบมีส่วนร่วมในการพัฒนาเมืองอัจฉริยะกระบวนการวางแผนแบบมีส่วนร่วมในการพัฒนาเมืองอัจฉริยะ
กระบวนการวางแผนแบบมีส่วนร่วมในการพัฒนาเมืองอัจฉริยะ
Sarit Tiyawongsuwan
 
ระบบแพลตฟอร์มข้อมูลเมืองเพื่อพัฒนาเมืองอัจฉริยะ
ระบบแพลตฟอร์มข้อมูลเมืองเพื่อพัฒนาเมืองอัจฉริยะระบบแพลตฟอร์มข้อมูลเมืองเพื่อพัฒนาเมืองอัจฉริยะ
ระบบแพลตฟอร์มข้อมูลเมืองเพื่อพัฒนาเมืองอัจฉริยะ
Sarit Tiyawongsuwan
 
ระบบขยะเหลือศูนย์และถังธนาคารขยะรีไซเคิลอัจฉริยะ
ระบบขยะเหลือศูนย์และถังธนาคารขยะรีไซเคิลอัจฉริยะระบบขยะเหลือศูนย์และถังธนาคารขยะรีไซเคิลอัจฉริยะ
ระบบขยะเหลือศูนย์และถังธนาคารขยะรีไซเคิลอัจฉริยะ
Sarit Tiyawongsuwan
 
01 กลไกระบบสารสนเทศเพื่อการพัฒนาเมืองอัจฉริยะ
01 กลไกระบบสารสนเทศเพื่อการพัฒนาเมืองอัจฉริยะ01 กลไกระบบสารสนเทศเพื่อการพัฒนาเมืองอัจฉริยะ
01 กลไกระบบสารสนเทศเพื่อการพัฒนาเมืองอัจฉริยะ
Sarit Tiyawongsuwan
 
CHIANG RAI ZERO WASTE
CHIANG RAI ZERO WASTE CHIANG RAI ZERO WASTE
CHIANG RAI ZERO WASTE
Sarit Tiyawongsuwan
 
คู่มือแนวทางการลดคัดแยก และใช้ประโยชน์ขยะมูลฝอย
คู่มือแนวทางการลดคัดแยก และใช้ประโยชน์ขยะมูลฝอยคู่มือแนวทางการลดคัดแยก และใช้ประโยชน์ขยะมูลฝอย
คู่มือแนวทางการลดคัดแยก และใช้ประโยชน์ขยะมูลฝอย
Sarit Tiyawongsuwan
 
06 Questionnaire Analysis
06 Questionnaire Analysis06 Questionnaire Analysis
06 Questionnaire Analysis
Sarit Tiyawongsuwan
 
05 Questionnaire for Aesthetics Evaluation
05 Questionnaire for Aesthetics Evaluation05 Questionnaire for Aesthetics Evaluation
05 Questionnaire for Aesthetics Evaluation
Sarit Tiyawongsuwan
 
04 Tool for Urban Aesthetics Evaluation
04 Tool for Urban Aesthetics Evaluation04 Tool for Urban Aesthetics Evaluation
04 Tool for Urban Aesthetics Evaluation
Sarit Tiyawongsuwan
 
02 Townscape and Image of City
02 Townscape and Image of City02 Townscape and Image of City
02 Townscape and Image of City
Sarit Tiyawongsuwan
 
01 Introduction to Aesthetics
01 Introduction to Aesthetics01 Introduction to Aesthetics
01 Introduction to Aesthetics
Sarit Tiyawongsuwan
 
Urban Housing Management : A Case Study of Pattaya City, Thailand
Urban Housing Management : A Case Study of Pattaya City, ThailandUrban Housing Management : A Case Study of Pattaya City, Thailand
Urban Housing Management : A Case Study of Pattaya City, Thailand
Sarit Tiyawongsuwan
 

More from Sarit Tiyawongsuwan (20)

Urban-Transport Planning_20221208.pdf
Urban-Transport Planning_20221208.pdfUrban-Transport Planning_20221208.pdf
Urban-Transport Planning_20221208.pdf
 
08-09 กฎหมายการผังเมือง.pdf
08-09 กฎหมายการผังเมือง.pdf08-09 กฎหมายการผังเมือง.pdf
08-09 กฎหมายการผังเมือง.pdf
 
06-07 กฎหมายว่าด้วยจัดรูปที่ดินเพื่อการพัฒนาพื้นที่.pdf
06-07 กฎหมายว่าด้วยจัดรูปที่ดินเพื่อการพัฒนาพื้นที่.pdf06-07 กฎหมายว่าด้วยจัดรูปที่ดินเพื่อการพัฒนาพื้นที่.pdf
06-07 กฎหมายว่าด้วยจัดรูปที่ดินเพื่อการพัฒนาพื้นที่.pdf
 
04-05 พรบ การจัดสรรที่ดิน.pdf
04-05 พรบ การจัดสรรที่ดิน.pdf04-05 พรบ การจัดสรรที่ดิน.pdf
04-05 พรบ การจัดสรรที่ดิน.pdf
 
03 ภาพรวมและลำดับศักดิ์กฎหมาย.pdf
03 ภาพรวมและลำดับศักดิ์กฎหมาย.pdf03 ภาพรวมและลำดับศักดิ์กฎหมาย.pdf
03 ภาพรวมและลำดับศักดิ์กฎหมาย.pdf
 
02 ภาพรวมและลำดับศักดิ์กฎหมาย 20191113.pdf
02 ภาพรวมและลำดับศักดิ์กฎหมาย 20191113.pdf02 ภาพรวมและลำดับศักดิ์กฎหมาย 20191113.pdf
02 ภาพรวมและลำดับศักดิ์กฎหมาย 20191113.pdf
 
แผนแม่บท TOD ประเทศไทย (2563).pdf
แผนแม่บท TOD ประเทศไทย (2563).pdfแผนแม่บท TOD ประเทศไทย (2563).pdf
แผนแม่บท TOD ประเทศไทย (2563).pdf
 
หลักสูตรการจัดการบัณฑิต สาขาวิชานวัตกรรมการพัฒนาเมืองและพื้นที่รอบสถานีขนส่งม...
หลักสูตรการจัดการบัณฑิต สาขาวิชานวัตกรรมการพัฒนาเมืองและพื้นที่รอบสถานีขนส่งม...หลักสูตรการจัดการบัณฑิต สาขาวิชานวัตกรรมการพัฒนาเมืองและพื้นที่รอบสถานีขนส่งม...
หลักสูตรการจัดการบัณฑิต สาขาวิชานวัตกรรมการพัฒนาเมืองและพื้นที่รอบสถานีขนส่งม...
 
กระบวนการวางแผนแบบมีส่วนร่วมในการพัฒนาเมืองอัจฉริยะ
กระบวนการวางแผนแบบมีส่วนร่วมในการพัฒนาเมืองอัจฉริยะกระบวนการวางแผนแบบมีส่วนร่วมในการพัฒนาเมืองอัจฉริยะ
กระบวนการวางแผนแบบมีส่วนร่วมในการพัฒนาเมืองอัจฉริยะ
 
ระบบแพลตฟอร์มข้อมูลเมืองเพื่อพัฒนาเมืองอัจฉริยะ
ระบบแพลตฟอร์มข้อมูลเมืองเพื่อพัฒนาเมืองอัจฉริยะระบบแพลตฟอร์มข้อมูลเมืองเพื่อพัฒนาเมืองอัจฉริยะ
ระบบแพลตฟอร์มข้อมูลเมืองเพื่อพัฒนาเมืองอัจฉริยะ
 
ระบบขยะเหลือศูนย์และถังธนาคารขยะรีไซเคิลอัจฉริยะ
ระบบขยะเหลือศูนย์และถังธนาคารขยะรีไซเคิลอัจฉริยะระบบขยะเหลือศูนย์และถังธนาคารขยะรีไซเคิลอัจฉริยะ
ระบบขยะเหลือศูนย์และถังธนาคารขยะรีไซเคิลอัจฉริยะ
 
01 กลไกระบบสารสนเทศเพื่อการพัฒนาเมืองอัจฉริยะ
01 กลไกระบบสารสนเทศเพื่อการพัฒนาเมืองอัจฉริยะ01 กลไกระบบสารสนเทศเพื่อการพัฒนาเมืองอัจฉริยะ
01 กลไกระบบสารสนเทศเพื่อการพัฒนาเมืองอัจฉริยะ
 
CHIANG RAI ZERO WASTE
CHIANG RAI ZERO WASTE CHIANG RAI ZERO WASTE
CHIANG RAI ZERO WASTE
 
คู่มือแนวทางการลดคัดแยก และใช้ประโยชน์ขยะมูลฝอย
คู่มือแนวทางการลดคัดแยก และใช้ประโยชน์ขยะมูลฝอยคู่มือแนวทางการลดคัดแยก และใช้ประโยชน์ขยะมูลฝอย
คู่มือแนวทางการลดคัดแยก และใช้ประโยชน์ขยะมูลฝอย
 
06 Questionnaire Analysis
06 Questionnaire Analysis06 Questionnaire Analysis
06 Questionnaire Analysis
 
05 Questionnaire for Aesthetics Evaluation
05 Questionnaire for Aesthetics Evaluation05 Questionnaire for Aesthetics Evaluation
05 Questionnaire for Aesthetics Evaluation
 
04 Tool for Urban Aesthetics Evaluation
04 Tool for Urban Aesthetics Evaluation04 Tool for Urban Aesthetics Evaluation
04 Tool for Urban Aesthetics Evaluation
 
02 Townscape and Image of City
02 Townscape and Image of City02 Townscape and Image of City
02 Townscape and Image of City
 
01 Introduction to Aesthetics
01 Introduction to Aesthetics01 Introduction to Aesthetics
01 Introduction to Aesthetics
 
Urban Housing Management : A Case Study of Pattaya City, Thailand
Urban Housing Management : A Case Study of Pattaya City, ThailandUrban Housing Management : A Case Study of Pattaya City, Thailand
Urban Housing Management : A Case Study of Pattaya City, Thailand
 

Recently uploaded

ความสุจริตทางวิชาการ “เชื่อมไทยเชื่อมโลก”.pdf
ความสุจริตทางวิชาการ “เชื่อมไทยเชื่อมโลก”.pdfความสุจริตทางวิชาการ “เชื่อมไทยเชื่อมโลก”.pdf
ความสุจริตทางวิชาการ “เชื่อมไทยเชื่อมโลก”.pdf
Pattie Pattie
 
bio62สอวน.ชีววิทยา-ชีววิทยาปี62-ข้อสอบแข่งกัน
bio62สอวน.ชีววิทยา-ชีววิทยาปี62-ข้อสอบแข่งกันbio62สอวน.ชีววิทยา-ชีววิทยาปี62-ข้อสอบแข่งกัน
bio62สอวน.ชีววิทยา-ชีววิทยาปี62-ข้อสอบแข่งกัน
CholapruekSangkamane1
 
เรียนภาษาจีนด้วยตนเอง ฟรี ๒๔ ชั่วโมง.pdf
เรียนภาษาจีนด้วยตนเอง ฟรี ๒๔ ชั่วโมง.pdfเรียนภาษาจีนด้วยตนเอง ฟรี ๒๔ ชั่วโมง.pdf
เรียนภาษาจีนด้วยตนเอง ฟรี ๒๔ ชั่วโมง.pdf
ssuser0ffe4b
 
ส่วนหน้า สมฐ. วิทยาศาสตร์ ม.1 เล่ม 1.docx
ส่วนหน้า สมฐ. วิทยาศาสตร์ ม.1 เล่ม 1.docxส่วนหน้า สมฐ. วิทยาศาสตร์ ม.1 เล่ม 1.docx
ส่วนหน้า สมฐ. วิทยาศาสตร์ ม.1 เล่ม 1.docx
ArnonTonsaipet
 
Artificial Intelligence in Education2.pdf
Artificial Intelligence in Education2.pdfArtificial Intelligence in Education2.pdf
Artificial Intelligence in Education2.pdf
Prachyanun Nilsook
 
ภาษาอังกฤษ สำหรับนักวิปัสสนา เพื่อฝึกปฎิบัติ
ภาษาอังกฤษ สำหรับนักวิปัสสนา เพื่อฝึกปฎิบัติภาษาอังกฤษ สำหรับนักวิปัสสนา เพื่อฝึกปฎิบัติ
ภาษาอังกฤษ สำหรับนักวิปัสสนา เพื่อฝึกปฎิบัติ
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 

Recently uploaded (6)

ความสุจริตทางวิชาการ “เชื่อมไทยเชื่อมโลก”.pdf
ความสุจริตทางวิชาการ “เชื่อมไทยเชื่อมโลก”.pdfความสุจริตทางวิชาการ “เชื่อมไทยเชื่อมโลก”.pdf
ความสุจริตทางวิชาการ “เชื่อมไทยเชื่อมโลก”.pdf
 
bio62สอวน.ชีววิทยา-ชีววิทยาปี62-ข้อสอบแข่งกัน
bio62สอวน.ชีววิทยา-ชีววิทยาปี62-ข้อสอบแข่งกันbio62สอวน.ชีววิทยา-ชีววิทยาปี62-ข้อสอบแข่งกัน
bio62สอวน.ชีววิทยา-ชีววิทยาปี62-ข้อสอบแข่งกัน
 
เรียนภาษาจีนด้วยตนเอง ฟรี ๒๔ ชั่วโมง.pdf
เรียนภาษาจีนด้วยตนเอง ฟรี ๒๔ ชั่วโมง.pdfเรียนภาษาจีนด้วยตนเอง ฟรี ๒๔ ชั่วโมง.pdf
เรียนภาษาจีนด้วยตนเอง ฟรี ๒๔ ชั่วโมง.pdf
 
ส่วนหน้า สมฐ. วิทยาศาสตร์ ม.1 เล่ม 1.docx
ส่วนหน้า สมฐ. วิทยาศาสตร์ ม.1 เล่ม 1.docxส่วนหน้า สมฐ. วิทยาศาสตร์ ม.1 เล่ม 1.docx
ส่วนหน้า สมฐ. วิทยาศาสตร์ ม.1 เล่ม 1.docx
 
Artificial Intelligence in Education2.pdf
Artificial Intelligence in Education2.pdfArtificial Intelligence in Education2.pdf
Artificial Intelligence in Education2.pdf
 
ภาษาอังกฤษ สำหรับนักวิปัสสนา เพื่อฝึกปฎิบัติ
ภาษาอังกฤษ สำหรับนักวิปัสสนา เพื่อฝึกปฎิบัติภาษาอังกฤษ สำหรับนักวิปัสสนา เพื่อฝึกปฎิบัติ
ภาษาอังกฤษ สำหรับนักวิปัสสนา เพื่อฝึกปฎิบัติ
 

กระบวนการเป็นเมืองอัจฉริยะ กรณีศึกษาด้านสิ่งแวดล้อมอัจฉริยะ ประเด็นขยะเหลือศูนย์

  • 1.
  • 2. คณะกรรมการจัดการ การประชุมวิชาการระดับชาติด้านการวางแผนภาคและเมือง ครั้งที่ 8 ประจำ�ปี 2563/2564 (The 8 th National Conference on Urban and Regional Planning Academic Symposium (URPAS 2020/2021)) คณะกรรมการอำ�นวยการจัดงาน คณบดีคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ เป็นที่ปรึกษา ผู้ช่วยศาสตราจารย์กฤตภัทร ถาปาลบุตร เป็นประธานกรรมการ รองศาสตราจารย์มนสิชา เพชรานนท์ เป็นกรรมการ ผู้ช่วยศาสตราจารย์นยทัต ตันมิตร เป็นกรรมการ นางสาวนิชา ตันติเวสส เป็นกรรมการ นางสาวดารารัตน์ คำ�เชียงตา เป็นกรรมการ นางสาวปัทมพร วงศ์วิริยะ เป็นกรรมการและเลขานุการ นางสาวกนิษฐา ประนม เป็นกรรมการและผู้ช่วยเลขานุการ คณะกรรมการฝ่ายจัดการประชุม ผู้ช่วยศาสตราจารย์กฤตภัทร ถาปาลบุตร เป็นประธานกรรมการ นางมณีรัตน์ วีระกรพานิช เป็นกรรมการ นางพิมพ์ชนก ศรีสุริยะมาตย์ เป็นกรรมการ นางสาวกรรณภัสส์ สิริเกียรติ เป็นกรรมการ นางสาวกนิษฐา ประนม เป็นกรรมการและเลขานุการ คณะกรรมการฝ่ายโสตทัศนูปกรณ์ สถานที่ และยานพาหนะ นางสาวปัทมพร วงศ์วิริยะ เป็นประธานกรรมการ นายศิริวุฒิ รสหอม เป็นกรรมการ นายจักริน เงินทอง เป็นกรรมการ นายยุทธนา สุมามาลย์ เป็นกรรมการ นายนรศิษฏ์ เปล่งรัศมี เป็นกรรมการ นายรวิภาส ภูแสง เป็นกรรมการ นางสาวกมลพร อรรคฮาต เป็นกรรมการ นายอนุพันธ์ พันธ์อมร เป็นกรรมการและเลขานุการ
  • 3. ในนามของสถาบันเจ้าภาพคือ หลักสูตรการวางแผนภาคและเมือง คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัย ขอนแก่น ร่วมกับสถาบันเครือข่ายการวางแผนภาคและเมืองรวมจำ�นวน 8 สถาบัน มีความยินดีและรู้สึกเป็นเกียรติ ที่ได้จัดการประชุมวิชาการระดับชาติด้านการวางแผนภาคและเมือง ครั้งที่ 8 ประจำ�ปี 2563-2564 หรือเรียกชื่อ ย่อว่า URPAS 2020-2021 ยาวนานกว่า 2 ปี ที่เกิดการระบาดของโรคโคโรน่าไวรัส 2019 ในประเทศไทยและทั่วโลก ซึ่งส่งผลกระทบต่อการ พัฒนาภูมิภาคและเมืองในหลายมิติ เช่น ด้านเศรษฐกิจเมือง ด้านสิ่งแวดล้อมเมือง และด้านที่อยู่อาศัย เป็นต้น Covid 19 เป็นความท้าท้าย ที่ทำ�ให้การดำ�เนินชีวิตของชาวเมืองต้องรับมือและปรับตัวในวิถีใหม่ ซึ่งเป็นที่มาของ Theme การประชุมประจำ�ปีนีคือ “Urban Challenge for New Normal หรือความท้าทายของการพัฒนาเมืองในวิถี ใหม่” การประชุมวิชาการ URPAS 2020-2021 ปรารถนาเป็นเวทีสำ�คัญที่จะนำ�เสนอองค์ความรู้ทั้งด้านวิชาชีพ และด้านวิชาการ ทางการวางแผนภาคและเมืองต่อสังคม เพื่อร่วมหาทางออกและรับมือกับความท้าทายดังกล่าว มหาวิทยาลัยขอนแก่นและคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ ในฐานะที่เป็นสถาบันการศึกษาชั้นนำ�ด้านการวางแผนภาคและ เมือง ของภูมิภาคตะวันออกเฉียงเหนือและภูมิภาคลุ่มน้ำ�โขง มีพันธกิจหลักที่มุ่งอุทิศประโยชน์สู่สังคม ด้วยแนวคิด คือ Social Devotion และ Devotion by Design จึงสนับสนุนการประชุมครั้งนี้ และยังเป็นโอกาสสำ�คัญที่จะ เฉลิมฉลองความยินดี ในอากาสครบวาระการก่อตั้งคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ครบรอบ 33 ปี ในปีนี้อีกด้วย ผมขอขอบคุณสถาบันเครือข่ายทุกแห่ง ผู้ร่วมนำ�เสนอบทความ ผู้เข้าร่วมประชุม และทีมงานของ UR- PAS2020-2021 ทุกท่าน ที่มีส่วนสำ�คัญผลักดันให้การประชุมครั้งนี้เกิดขึ้นได้ ท่ามกลางข้อจำ�กัดจากสถานการณ์ ระบาดของโรคโควิด 2019 และคาดหวังเป็นอย่างยิ่งว่า URPAS จะมีการจัดประชุมอย่างต่อเนื่องและเติบโตเป็น เวทีสำ�คัญของนักคิด นักปฏิบัติด้านการวางแผนภาคและเมืองในประเทศไทยและนานาชาติต่อไป ขอแสดงความนับถือ ผศ.ดร.กฤตภัทร ถาปาลบุตร ประธานการประชุมวิชาการระดับชาติด้านการวางแผนภาคและเมือง ครั้งที่ 8 ประจำ�ปี 2563 / 2564
  • 4. ผศ.ดร.ธราวุฒิ บุญเหลือ คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ ผังเมืองและนฤมิตศิลป์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ผศ.ดร.สักรินทร์ แซ่ภู่ คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ ผังเมืองและนฤมิตศิลป์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ผศ.ดร.เพชรลัดดา เพ็ชรภักดี คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ ผังเมืองและนฤมิตศิลป์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ผศ.ดร.กฤตภัทร ถาปาลบุตร คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ผศ.ดร.นยทัต ตันมิตร คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น รศ.ดร.นพดล ตั้งสกุล คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น รศ.ดร.มนสิชา เพชรานนท์ คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ผศ.ดร.ธนะ จีระพิวัฒน์ คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ผศ.ดร.สิงหนาท แสงสีหนาท คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร อ.ดร.พีรียา บุญชัยพฤกษ์ คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ผศ.ดร.คณิน หุตานุวัตร คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง ผศ.ดร.ปนายุ ไชยรัตนานนท์ คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง รศ.ดร.อมร กฤษณพันธุ์ คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง ผศ.ดร.กฤตพร ห้าวเจริญ คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์และการผังเมือง มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ รศ.ดร.ภาวิณี เอี่ยมตระกูล คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์และการผังเมือง มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ผศ.ดร.มานัส ศรีวณิช คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์และการผังเมือง มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ผศ.ดร.ลักษณา สัมมานิธิ คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์และการออกแบบสิ่งแวดล้อม มหาวิทยาลัยแม่โจ้ ผศ.ดร.นิกร มหาวัน คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์และการออกแบบสิ่งแวดล้อม มหาวิทยาลัยแม่โจ้
  • 5. รูปแบบให้บริการด้านแหล่งผลิตของระบบนิเวศป่าไม้ กรณี สวนพฤกษศาสตร์ห้วยยาง-ดงหมากคาย เมืองไซทานี นครหลวง เวียงจันทน์ นายคิดสะหวาด บุดดี คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์และการออกแบบสิ่งแวดล้อม มหาวิทยาลัยแม่โจ้ การระบุเอกลักษณ์ละแวกกับการผังเมือง: กรณีศึกษาเทศบาล นครอุดรธานี นางสาวรสิตา ดาศรี สถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโลโนยีราชมงคลศรีวิชัย สงขลา สังคมผู้สูงอายุ: โอกาสของที่อยู่อาศัยที่ออกแบบมาเพื่อสนับสนุน ด้านสุขภาพ นายพสิษฐ์ นิติวรคุณาพันธุ์ คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น บทบาทของมหาวิทยาลัยขอนแก่น ต่อการขับเคลื่อนเศรษฐกิจ เมือง ในภาคครัวเรือน นายเพทาย ปิ่นทอง คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ปัจจัยทางกายภาพที่มีอิทธิพลต่อการพัฒนาย่านนวัตกรรม นางสาวกณิตา พันธ์ละหาน คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น การศึกษาการเปลี่ยนแปลงการใช้ที่ดินและรูปแบบการขยายตัวเชิงพื้นที่: กรณีศึกษา ชุมชนเมืองนครพนม นางสาววรัญญา ชอบใหญ่ คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ความท้าทายในการพัฒนาระบบขนส่งสาธารณะเพื่อเชื่อมต่อสนามบิน และพื้นที่เมือง กรณีศึกษาเมืองขอนแก่น นายศุภกร ศรีระเริง คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น 1 12 28 54 70 107 122
  • 6. ความเป็นเมืองยืดหยุ่น กรณีศึกษาการรับมือกับสถานการณ์ความ ไม่สงบ ในเขตเทศบาลเมืองนราธิวาส นายศิรสิทธิ์ ทองสินธุ์ คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ปรากฏการณ์ของภัยพิบัติน้ำ�ท่วมในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ประเทศไทย นางสมชญา ศรีธรรม คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น บทบาทของ Big Data ในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโควิด -19 ดร.ปานปั้น รองหานาม วิทยาลัยการปกครองท้องถิ่น มหาวิทยาลัยขอนแก่น กระบวนการเป็นเมืองอัจฉริยะ กรณีศึกษาด้านสิ่งแวดล้อมอัจฉริยะ ประเด็นขยะเหลือศูนย์ ดร.สฤษดิ์ ติยะวงศ์สุวรรณ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน จังหวัดนครราชสีมา กระบวนการวางผังชุมชนเพื่อการพัฒนาและสร้างอัตลักษณ์ชุมชน กรณีศึกษา บ้านศรีถาวร อ.ประโคนชัย จ.บุรีรัมย์ ผศ.ดร.พรณรงค์ ชาญนุวงศ์ คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น การวิเคราะห์ปัจจัยเชิงพื้นที่ที่สำ�คัญต่อการเติบโตของเมือง นครราชสีมา นางสาวพันทิวา ศรีศิลป์ สถาบันระบบรางแห่ง มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน พฤติกรรมการใช้พื้นที่ภายในสถานีขนส่งผู้โดยสารสาธารณะขอนแก่น แห่งที่ 3 นางสาวอรอนงค์ ไกรศวร คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น 217 210 232 253 274 290 146
  • 7. 232 กระบวนการเป็นเมืองอัจฉริยะ กรณีศึกษาด้านสิ่งแวดล้อมอัจฉริยะ ประเด็นขยะเหลือศูนย์ Smart Citilization A Case Study of Smart Environment in Zero Waste Approach สฤษดิ์ ติยะวงศ์สุวรรณ1 ฉัตร พยุงวิวัฒนกุล2 ศิริพันธ์ ติยะวงศ์สุวรรณ3 ติณณ์ ถิรกุลโตมร4 ณัฐพงษ์ เพชรละออ5 พันทิวา ศรีศิลป์ 6 และ วรเมธ ศิริจินตนา7 E-mail: Sarit.ti@rmuti.ac.th มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน บทคัดย่อ การพัฒนากลไกระบบสารสนเทศเมืองเพื่อการวางแผนและพัฒนาเมืองโคราชอัจฉริยะ : กรณีศึกษา สิ่งแวดล้อมอัจฉริยะด้านขยะเหลือศูนย์ เป็นประเด็นการศึกษาเพื่อได้ผลผลิตในการแก้ปัญหาระดับเมือง กล่าวคือ ระบบรวบรวมข้อมูลและทันท่วงที (Real-time) สามารถแบ่งปันข้อมูลในระดับต่าง ๆ ได้ตั้งแต่ระดับ ผู้ใช้ เจ้าหน้าที่ปฏิบัติการ นักวิจัย และผู้บริหารเมือง ผ่านการดาเนินการนาร่องโครงการด้านสิ่งแวดล้อม อัจฉริยะที่เป็นเงื่อนไขหลักของการพิจารณาความเป็นเมืองอัจฉริยะในระดับประเทศ นอกจากนี้ประเด็น รายละเอียดโครงการจาแนกเป็น 2 ประเด็นนาร่องเพื่อการสร้างความเข้าใจของแพลตฟอร์ม ได้แก่ 1) ด้าน ขยะเหลือศูนย์ และ 2) ด้านการสร้างกรอบแนวคิดและกระบวนการจัดทาแผนพัฒนาเมืองด้านสิ่งแวดล้อม อัจฉริยะเมืองโคราช ประเด็นโครงการวิจัยที่กล่าวมาคณะผู้วิจัยคาดหวังถึงผลผลิตที่เกิดขึ้นจะนาไปสู่ต้นแบบ ของกลไกและระบบนิเวศที่สร้างความเป็นเมืองอัจฉริยะให้กับเมืองโคราชเพิ่มมากขึ้น นาไปสู่ผลลัพธ์ของการ ขยายผล Platform ประยุกต์ใช้ในการแก้ปัญหาเมืองโคราชด้านต่าง ๆ อย่างครอบคลุมทั้ง 7 ด้านของความ เป็นเมืองอัจฉริยะ และสามารถเกิดผลกระทบต่อการเปลี่ยนแปลงรูปแบบการบริหารจัดการเมืองได้อย่างมีการ เชื่อมโยงระหว่างหน่วยงาน มีส่วนร่วมในการวางแผนและขับเคลื่อนดาเนินการร่วมกัน ผ่านกลไกที่เรียกว่า ศูนย์วิทยาการสารสนเทศเพื่อการพัฒนาเมืองอัจฉริยะ (Urban Informatics Center for Smart City) 1 หัวหน้าชุดโครงการการพัฒนากลไกระบบสารสนเทศเมืองเพื่อการวางแผนและพัฒนาเมืองโคราชอัจฉริยะ กรณีศึกษาสิ่งแวดล้อมอัจฉริยะด้าน ขยะเหลือศูนย์ งบประมาณด้านวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม โครงการริเริ่มสาคัญ (Flagship Project) ปีงบประมาณ 2563 โดย สังกัด มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน 2 นักวิจัยประจาโครงการ สังกัดมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน 3 นักวิจัยประจาโครงการ สังกัดมหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา 4 ผู้ช่วยวิจัย 5 ผู้ช่วยวิจัย 6 ผู้ช่วยวิจัย 7 ผู้ช่วยวิจัย
  • 8. 233 คำสำคัญ: เมืองอัจฉริยะ, วิทยำกำรสำรสนเทศเมือง, กำรวำงแผนและพัฒนำเมือง Abstract: Urban Informatics System Development for Urban Planning and Development to KORAT Smart City: A Case Study of Smart Environment in Zero Waste Approach Project is popular issues to solve urban problem. Namely, Real-time data collection systems can categorize for variety users and lead to decision making together in urban solution. These systems lead to Smart Citilization thourgh a case study of smart environment in zero waste approach which Smart Environment indicators is core condition of Smart City Development in Thailand. This project divive 2 issues namely 1) zero waste issue and 2) framework to urban planning in zero waste approach. Product in this project lead to machinism and ecological platform of Smart Citilization and platform can contribute to apply in any solution of other smart city approach such as smart mobility, smart energy, etc. Moreover, outcome and impact of project lead to core process as hub to connect among many stakeholders to driven urban development. And this hub of process, we call, as urban informatics center for smart city development. Keyword: Smart City, Urban Informatics, Urban Planning and Development บทนำ นโยบาย Thailand 4.0 เป็นแผนงานที่มุ่งเน้นการใช้เทคโนโลยีและนวัตกรรมในการสร้างมูลค่าเพิ่ม (Value-added Economy) จากต้นทุนและบริบทเชิงพื้นที่ที่เป็นลักษณะเฉพาะของแต่ละเมือง นาไปสู่ แผนงานและยุทธศาสตร์เมืองอัจฉริยะ ที่ขับเคลื่อนโดยสานักงานเศรษฐกิจดิจิทัล ซึ่งได้จาแนกตัวชี้วัดความ เป็นเมืองอัจฉริยะไว้ 7 ด้าน ได้แก่ 1) ด้านสิ่งแวดล้อมอัจฉริยะ 2) ด้านเศรษฐกิจอัจฉริยะ 3) พลังงานอัจฉริยะ 4) การบริหารภาครัฐอัจฉริยะ 5) การดารงชีวิตอัจฉริยะ 6) การเดินทางและขนส่งอัจฉริยะ และ 7) พลเมือง อัจฉริยะ มุ่งเน้นการพัฒนาเมืองเป็นเปรียบเสมือนกลไกการพัฒนาเศรษฐกิจและการอยู่อาศัยที่ดีและยกระดับ ให้กับเมืองและพื้นที่โดยรอบ โดยมีเงื่อนไขของประกาศความเป็นเมืองอัจฉริยะของแต่ละพื้นที่จะต้องบรรลุ ตัวชี้วัด 2 ใน 7 ด้าน ของความเป็นเมืองอัจฉริยะ และเงื่อนไขบังคับ 1 ใน 2 จะต้องเป็นตัวชี้วัดด้านสิ่งแวดล้อม อัจฉริยะ (Smart Environment)
  • 9. 234 เมืองโคราชเป็น 1 ในเมืองที่มีการตื่นตัวเรื่องความเป็นเมืองอัจฉริยะที่ตอบรับต่อยุคสมัยเทคโนโลยี ดิจิทัลและอินเตอร์เนต เมื่อปี พ.ศ.2560 ได้มีการรวมกลุ่มภาคเอกชนนาโดยสภาอุตสาหกรรมจังหวัด นครราชสีมา สมาคมหอการค้าจังหวัดนครราชสีมาและสมาคมอสังหาริมทรัพย์จังหวัดนครราชสีมา ตลอดจน สถาบันอุดมศึกษา มีการประชุมกันอย่างต่อเนื่องเพื่อค้นหาแนวทางนาไปสู่ความเป็นเมืองโคราชอัจฉริยะ จนกระทั่งปี พ.ศ.2561 ได้รับการส่งเสริมจากสานักงานเศรษฐกิจดิจิตัลร่วมกับสานักงานจังหวัดนครราชสีมาได้ จัดตั้งสถาบันแม่ข่ายเมืองอัจฉริยะและคณะกรรมการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์เมืองอัจฉริยะจังหวัดนครราชสีมา จนปี พ.ศ.2562 ได้ตกผลึกแนวคิดกลายเป็นแผนยุทธศาสตร์เมืองอัจฉริยะจังหวัดนครราชสีมา และได้กาหนด แนวทางขับเคลื่อนด้านสิ่งแวดล้อมอัจฉริยะและด้านการเดินทางขนส่งอัจฉริยะ เป็นแผนงานนาร่อง จนได้ รับรองจากกระทรวงดิจิทัลประกาศเป็นพื้นที่ส่งเสริมเศรษฐกิจพิเศษด้านเมืองโคราชอัจฉริยะ และได้รับสิทธิ พิเศษจาก BOI ในการส่งเสริมให้เกิดธุรกิจด้านดิจิทัลสู่ความเป็นเมืองอัจฉริยะ อย่างไรก็ตามแม้ว่ามีการขับเคลื่อนจากทั้งภาครัฐส่วนกลางและท้องถิ่น ภาคเอกชน และภาค การศึกษา ในสถานการณณ์ปัจจุบันแต่ละหน่วยงานยังไม่สามารถสร้างโครงการนาไปสู่เงื่อนไขหลักของความ เป็นเมืองอัจฉริยะที่กาหนดโดยสานักงานเศรษฐกิจดิจิทัล ได้แก่ 1) การมี Urban Open Data 2) การมี Platform ในการสร้างความสัมพันธ์ระหว่างภาคส่วนต่าง ๆ สาหรับการแก้ไขปัญหาของเมือง (Urban Solution) จนเกิดการสร้างสรรค์ธุรกิจใหม่ให้เกิดขึ้น (Job Creation) และมีความยั่งยืนของธุรกิจ และ 3) มี การเชื่อมโยงหน่วยงานต่าง ๆ และผู้ใช้ผ่านระบบ Application สิ่งเกิดขึ้นแต่ละหน่วยงานพยายามจะ สร้างสรรค์เป็นตอบพันธกิจของหน่วยงานตนเอง และพยายามเป็นศูนย์กลางข้อมูล (IOC) ซึ่งยังไม่ไประดับของ การเจรจารายละเอียดและเงื่อนไขของการเป็น Open Data ที่สามารถนาไปใช้ในการวางแผนและตัดสินใจ ร่วมกันได้ กำรพัฒนำกลไกระบบสำรสนเทศเมืองเพื่อกำรวำงแผนและพัฒนำเมืองโครำชอัจฉริยะ : กรณีศึกษำสิ่งแวดล้อมอัจฉริยะด้ำนขยะเหลือศูนย์ เป็นประเด็นการศึกษาเพื่อได้ผลผลิตในการเชื่อมโยง ปัญหาดังกล่าว คือ ระบบรวบรวมข้อมูลและทันท่วงที (Real-time) สามารถแบ่งปันข้อมูลในระดับต่าง ๆ ได้ ตั้งแต่ระดับผู้ใช้ เจ้าหน้าที่ปฏิบัติการ นักวิจัย และผู้บริหารเมือง ผ่านการดาเนินการนาร่องโครงการด้าน สิ่งแวดล้อมอัจฉริยะที่เป็นเงื่อนไขหลักของการพิจารณาความเป็นเมืองอัจฉริยะในระดับประเทศ นอกจากนี้ ประเด็นรายละเอียดโครงการจาแนกเป็น 2 ประเด็นนาร่องเพื่อการสร้างความเข้าใจของแพลตฟอร์ม ได้แก่ 1. ด้านขยะเหลือศูนย์ ซึ่งประเด็นขยะล้นเมืองเป็นปัญหาพื้นฐานของเมืองขนาดใหญ่ทั่วโลก และ เมืองโคราชก็มีปัญหาดังกล่าวเช่นกัน นอกจากนี้ความสาคัญของการพิจารณาประเด็นนี้ในการนาร่อง คือ มีผู้มี ส่วนได้เสียหลักในการขับเคลื่อน ได้แก่ สมาคมอสังหาริมทรัพย์จังหวัดนครราชสีมา ที่ต้องการจะแก้ปัญหาการ จัดการขยะภายในชุมชนหมู่บ้านจัดสรรในเมืองโคราช ที่เป็นกลุ่มชุมชนขนาดใหญ่และมีจานวนมากเป็นสัดส่วน
  • 10. 235 กว่าร้อยละ 30 ของเมือง ตลอดจนเป็นกลุ่มผู้ร่วมให้การสนับสนุนทั้งกระบวนการมีส่วนร่วมและการร่วมทุนใน การวิจัยโครงการนี้ ร้อยละ 20 ของงบประมาณโครงการ 2. ด้านการสร้างกรอบแนวคิดและกระบวนการจัดทาแผนพัฒนาเมืองด้านสิ่งแวดล้อมอัจฉริยะเมือง โคราช เพื่อเป็นกระบวนการเชิงบูรณาการแบบองค์รวมหลากหลายมิติแนวคิดให้หน่วยงานต่าง ๆ มีความ เข้าใจมากขึ้นผ่านการนาเสนอชุดข้อมูลที่ได้จากระบบศูนย์วิทยาการสารสนเทศเพื่อการพัฒนาเมืองอัจฉริยะ โดยเรียนรู้ผ่านกรณีศึกษาของแก้ปัญหาปริมาณขยะด้วยแนวคิดขยะเหลือศูนย์จากพื้นที่นาร่องหมู่บ้านจัดสรร เพื่อนาไปสู่การขยายผลกับชุมชนต่าง ๆ ทั่วเมืองโคราชต่อไป ผ่านการร่วมมือในกระบวนการวางแผนแบบมี ส่วนร่วมจากภาคส่วนต่าง ๆ อาทิ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น สานักงานจังหวัดนครราชสีมา นักลงทุน สมาคม หอการค้าและสภาอุตสาหกรรมจังหวัดนครราชสีมา เป็นต้น โดยผลผลิตจะเป็นลักษณะของแผนพัฒนาเมือง ด้านสิ่งแวดล้อมด้านขยะเหลือศูนย์ ประเด็นโครงการวิจัยที่กล่าวมาคณะผู้วิจัยคาดหวังถึงผลผลิตที่เกิดขึ้นจะนาไปสู่ต้นแบบของกลไกและ ระบบนิเวศที่สร้างความเป็นเมืองอัจฉริยะให้กับเมืองโคราชเพิ่มมากขึ้น นาไปสู่ผลลัพธ์ของการขยายผล Platform ประยุกต์ใช้ในการแก้ปัญหาเมืองโคราชด้านต่าง ๆ อย่างครอบคลุมทั้ง 7 ด้านของความเป็นเมือง อัจฉริยะ และสามารถเกิดผลกระทบ (Impact) ต่อการเปลี่ยนแปลงรูปแบบการบริหารจัดการเมืองได้อย่างมี การเชื่อมโยงระหว่างหน่วยงาน มีส่วนร่วมในการวางแผนและขับเคลื่อนดาเนินการร่วมกัน ผ่านกลไกที่เรียกว่า ศูนย์วิทยาการสารสนเทศเพื่อการพัฒนาเมืองอัจฉริยะ (Urban Informatics Center for Smart City) นิยำมคำศัพท์เฉพำะ กลไกระบบสำรสนเทศ การทางานร่วมกันระหว่างระบบ องค์กรหรือหน่วยงานเพื่อให้เกิดชุดข้อมูล ร่วมกันที่เชื่อได้และช่วยในการพิจารณาตัดสินใจเชิงนโยบาย แผนงาน และโครงการ เมืองอัจฉริยะ คือ เมืองที่มีองค์ประกอบที่สาคัญ คือ ระบบการประเมินสถานการณ์และโต้ตอบด้วย ระบบเองเพื่อนาไปสู่การสร้างนวัตกรรมให้กับเมืองต่อไป (Self-monitoring & Self-Response) จนกลายเป็น ระบบแบบวนรอบ (Loop System) ที่สามารถแก้ไขปัญหาของเมืองได้ทุกสถานการณ์ท่ามกลางความเป็น พลวัตของเมือง (Urban Dynamic) วิทยำกำรสำรสนเทศเมือง คือ เทคนิควิธีการรวบรวม วิเคราะห์ และสังเคราะห์ชุดข้อมูลที่เกี่ยวข้อง กับการพัฒนาเมืองอย่างเป็นระบบ และสามารถสร้างชุดข้อมูลย้อนกลับสู่กระบวนการตัดสินใจท่ามกลาง ผู้เกี่ยวข้องต่อขับเคลื่อนการแก้ปัญหาและพัฒนาเมือง
  • 11. 236 วัตถุประสงค์ของบทควำม 1. อธิบายการรวบรวมและจัดระบบการจัดการข้อมูลเมืองในด้านสิ่งแวดล้อมอัจฉริยะของชุมชนเมือง นครราชสีมา (Urban Informatics / Urban Open Data) 2. อธิบายพัฒนาระบบการจัดการขยะชุมชนเพื่อเป็นต้นแบบชุมชนเมืองโคราชขยะเหลือศูนย์ (Zero Waste) หมายเหตุ – การเขียนบทความนี้อยู่ในขณะดาเนินโครงการซึ่งจะมีเนื้อหาวัตถุประสงค์ทั้งสองข้อ แต่ในการ ดาเนินโครงการวิจัยจะมีอีกวัตถุประสงค์ ได้แก่ การประเมินผลของข้อมูลวิจัยและการมีส่วนร่วมในการพัฒนา สิ่งแวดล้อมอัจฉริยะเมือง (Participatory Urban Planning, Program, and Project Design to Job Creation) ที่มีการทดลองดาเนินการใช้พื้นที่จริงต่อไป วิธีกำรวิจัย หรือ เครื่องมือในกำรวิจัย หรือ ระเบียบวิธีวิจัย กรอบการวิจัยโครงการพัฒนากลไกระบบสารสนเทศเมืองเพื่อการวางแผนและพัฒนาเมืองโคราช อัจฉริยะ : กรณีศึกษาสิ่งแวดล้อมอัจฉริยะด้านขยะเหลือศูนย์ สามารถแบ่งได้เป็น 3 เฟส แต่สาหรับบทความนี้ จะอธิบายเพียง 2 เฟส เนื่องจากยังอยู่ในขณะดาเนินการวิจัยสรุปเฟสที่ 2 ไปสู่เฟสที่ 3 ทดลองใช้เชิงพื้นที่ ทั้งนี้ เพื่อความเข้าใจในภาพรวมผู้วิจัยจะอธิบายภาพรวมทั้งหมด ทั้ง 3 เฟส เป็นภาพรวมของโครงการใหญ่ที่นิยามว่าเป็นกลไกระบบสารสนเทศเมือง (Urban Informatics System : UIS) เป้ำหมำยของระบบ ได้แก่ การมีชุดข้อมูลด้านต่าง ๆ ของเมืองเพื่อช่วยแสดงถึง ตัวชี้วัดของความเป็นเมืองอัจฉริยะทั้ง 7 ด้าน ตามกรอบแนวคิดของสานักงานส่งเสริมเศรษฐกิจดิจิทัล (DEPA) สาหรับโครงการครั้งนี้ ผ่านกรณีศึกษาด้านสิ่งแวดล้อมอัจฉริยะ ด้านขยะเหลือศูนย์ ตัวชี้วัด ได้แก่ 1) Output Data Interface คือ การแสดงผลของข้อมูลเพื่อแสดงปรากฎการณ์ของเมือง สาหรับโครงการนี้เป็นด้านขยะ เหลือศูนย์ ซึ่งชุดข้อมูลนี้จะทาเป็น Urban Open Data ข้อมูลย้อนกลับสู่การรู้รับของผู้มีส่วนร่วมในระดับต่าง ๆ ของโครงการตลอดจนชาวเมืองโคราชกับกลุ่มผู้มีส่วนได้เสีย และ 2) Urban Data Analytic คือ การ วิเคราะห์ข้อมูลเมืองจากการแก้ปัญหาประเด็นที่ต้องการของเมือง (เฟส 1-2) ทั้งนี้ชุดข้อมูลจะนาไปสู่ กระบวนการวางแผนแบบมีส่วนร่วมกับผู้มีส่วนได้เสีย ตั้งแต่การสร้างวิสัยทัศน์หรือเป้าหมายร่วมกัน การ วางแผนยุทธศาสตร์ การกาหนดแผนงานและโครงการ (Urban Solution) ทั้งนี้การประเมินผลการดาเนินการ ของแผนจะสามารถนาไปสู่การสร้างตัวชี้วัดเฉพาะเชิงพื้นที่โดยอิงกรอบแนวคิดเชิงทฤษฎีในเนื้อหาสาระแต่ละ ประเด็นเพื่อพัฒนาสมรรถนะฐานข้อมูลที่สาคัญของการวางแผนและดาเนินการให้บรรลุเป้าหมายที่ท้าทาย ต่อไปได้
  • 12. 237 อธิบายรายละเอียดสัมพันธ์กับโครงการย่อยได้ดังภาพ ภำพกรอบแนวคิดโครงการพัฒนากลไกระบบสารสนเทศเมืองเพื่อการวางแผนและพัฒนาเมืองโคราชอัจฉริยะ : กรณีศึกษาสิ่งแวดล้อมอัจฉริยะด้านขยะเหลือศูนย์ สาหรับโครงการย่อยที่ 1 กลไกระบบสารสนเทศเพื่อการพัฒนาเมืองอัจฉริยะ อยู่ใน 1st fade มี เป้ำหมำย คือ กระบวนกำรเตรียมโครงสร้ำงพื้นฐำนสำหรับชุดข้อมูลเปิดขนำดใหญ่ของเมือง (Urban Big/Open Data) สาหรับงานวิจัยนี้เรียกว่า Urban Informatics Systems หรือ ระบบสารสนเทศเมืองเพื่อ การพัฒนาเมืองอัจฉริยะ ที่ต้องสามารถเก็บข้อมูลและประมวลในระดับ Real Time ได้ เพื่อนาไปสู่การมอง ภาพรวมเดียวกันของ Policy Maker ที่จะสามารถเจรจากลุ่ม Key Stakeholder ต่อรองในการแก้ปัญหาหรือ สามารถ และตัดสินใจร่วมกัน ตลอดจนการดาเนินรายละเอียดโครงการได้อย่างเป็นรูปธรรม โดยมีตัวชี้วัด ได้แก่ 1) ห้องปฏิบัติการระบบสารสนเทศเมือง และ 2) ชุดระบบแสดงผลข้อมูลของเมือง ที่สามารถตอบสนอง ต่อผู้ความต้องการและความพึงพอใจของระบบได้ดีเพียงใด โครงการย่อยที่ 2 ระบบขยะเหลือศูนย์สู่ความเป็นเมืองโคราชอัจฉริยะด้านสิ่งแวดล้อม: กรณีศึกษา การจัดการขยะหมู่บ้านจัดสรรในเมืองโคราช อยู่ใน 2nd fade โดยมีเป้ำหมำยของกำรออกแบบชั้นข้อมูล เมือง เก็บรวบรวมข้อมูลในด้ำนต่ำง ๆ ที่เรียกว่ำ Urban Solution ที่สามารถเชื่อมโยงกับกรอบแนวคิดของ DEPA ทั้ง 7 ด้านเมืองอัจฉริยะได้ สาหรับงานวิจัยนี้มุ่งเน้น Urban Solution ด้าน Smart Environment ซึ่ง เป็นด้านเงื่อนไขบังคับของ DEPA ของทุกเมืองในการขอประกาศความเป็นเมืองอัจฉริยะและสิทธิพิเศษในการ ลงทุนจาก BOI สาหรับโครงการครั้งนี้ใช้การแก้ปัญหาด้านขยะของเมืองผ่านแนวคิดขยะเหลือศูนย์ เนื่องจากมี การจัดประชุมกลุ่มย่อยของภาคส่วนต่าง ๆ อย่างต่อเนื่องเป็นระยะเวลากว่า 2 ปี จนสามารถระบุกลุ่มผู้มีส่วน ได้เสียอย่างน้อย 3 ภาคส่วน (Triple Helix) ที่มีศักยภาพการขับเคลื่อนได้อย่างชัดเจน ได้แก่ สมาคม
  • 13. 238 อสังหาริมทรัพย์จังหวัดนครราชสีมา ต้องการแก้ปัญหาขยะให้กับสมาชิกแต่ละโครงการ (ชุมชน) ซึ่งมี ความสัมพันธ์กับภาพรวมสาคัญของการจัดการขยะของเมือง 2) การประสานทางานร่วมกับภาครัฐทั้งระดับ ท้องถิ่น ได้แก่ เทศบาลนครนครราชสีมาและองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นโดยรอบเมืองโคราช และภาครัฐ ส่วนกลางของจังหวัดนครราชสีมา และ 3) สถาบันการศึกษาทั้งระดับอุดมศึกษา ได้แก่ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี ราชมงคลอีสาน ที่เป็นแม่งานหลักด้านออกแบบภาพรวมองค์ความรู้และการวิจัย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุร นารี ในการวิจัยเชิงลึกเกี่ยวกับเทคโนโลยีภายในกรอบแนวคิดนี้ และมหาวิทยาลัยราชภัฎนครราชสีมาช่วย ขับเคลื่อนในระดับโรงเรียน โดยมีโรงเรียนสาธิตราชภัฎนครราชสีมา เป็นพื้นที่ทดลองนาร่อง ก่อนขยายผลไป โรงเรียนต่าง ๆ ทั้งจังหวัดนครราชสีมา โดยตัวชี้วัด ได้แก่ 1) การมีส่วนร่วมแต่ละพื้นที่ของชุมชน 2) ปริมาณ การคัดแยกขยะรีไซเคิล 3) มูลค่าทางเศรษฐกิจในการสร้างความยั่งยืนของระบบ 4) การกระจายมูลค่าทาง เศรษฐกิจกลับสู่ชุมชน (Economic Sharing) และการสร้างเคมเปญการมีส่วนร่วมเพื่อสร้างแรงจูงใจเพิ่มขึ้น จากผู้ประกอบด้านต่าง ๆ ภายในเมือง 5) จานวนเครือข่ายและหน่วยงานต่าง ๆ ที่เข้าร่วมโครงการเพิ่มมากขึ้น และ 6) การบรรจุแผนและงบประมาณของหน่วยงานเครือข่ายที่เข้าร่วมภายใต้แพลตฟอร์มของโครงการนี้ และโครงการย่อยที่ 3 การจัดทาแผนพัฒนาเมืองโคราชอัจฉริยะด้านสิ่งแวดล้อม และประเมินผลการ มีส่วนร่วมของผู้มีส่วนได้เสียในเมืองโคราช อยู่ใน 3rd fade มีเป้ำหมำย คือ กระบวนกำรจัดทำแผนพัฒนำ แบบมีส่วนร่วมท่ำมกลำงผู้มีส่วนได้เสียระดับต่ำง ๆ ตลอดการเชื่อมโยงกับกลุ่มบริษัท partner หรือ supplier ที่สามารถสนับสนุนโครงการจนเกิดระบบนิเวศองค์กรนวัตกรรม หรือ Job Creation ในลักษณะ ของ Social Enterprise ให้กับเมืองได้ การเกิด Ecosystem ของ Job Creation ถือว่าเป็นความอย่างยืนแบบ หนึ่งให้กับเมืองจากการจับประเด็นปัญหาแต่ละด้านนามาวางระบบอย่างเป็นรูปธรรม ผ่านการเชื่อมโยงด้วย กระบวนการมีส่วนร่วมและการนาเสนอข้อมูลเดียวกันจากระบบสารสนเทศของเมือง โดยมีตัวชี้วัด ได้แก่ 1) จานวนแผนพัฒนาเมืองด้านขยะเหลือศูนย์ในหน่วยงานต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง โดยเฉพาะอยู่ในแผนยุทธศาสตร์ เมืองอัจฉริยะจังหวัดนครราชสีมา และ 2) จานวนหน่วยงานที่มีส่วนร่วมในกระบวนการมีส่วนร่วมจัดทา แผนพัฒนาเมืองด้านขยะเหลือศูนย์ และ 3) ผลการประเมินโครงการตั้งแต่โครงการย่อยที่ 1-3 จากกลุ่มผู้มี ส่วนได้เสียระดับต่าง ๆ ของเมือง ทั้งนี้สามารถสรุปวิธีดาเนินงานวิจัยเป็น 4 ขั้นตอน ดังนี้ 1) การเตรียมระบบโครงสร้างพื้นฐานและระบบปฏิบัติการสารสนเทศเมือง 2) กระบวนการประชาสัมพันธ์โครงการกับภาคส่วนต่าง ๆ และการเตรียมการในทีมวิจัยกับ เครือข่ายขับเคลื่อนโครงการในระดับเชิงพื้นที่ชุมชน และระดับจังหวัด ตลอดจนกระบวนการ เริ่มต้นของการจัดทาแผนพัฒนาโคราชเมืองอัจฉริยะด้านสิ่งแวดล้อมอัจฉริยะ ประเด็นขยะเหลือ ศูนย์
  • 14. 239 3) การติดตั้งเทคโนโลยีเพื่อสร้างระบบนิเวศขยะเหลือศูนย์ในพื้นที่นาร่อง 3-5 ชุมชน ทดลองระบบ สารสนเทศเมืองด้านขยะเหลือศูนย์ ระยะเวลาไม่ต่ากว่า 6 เดือน ตลอดระยะเวลาจะมีการ ประชุมกลุ่มผู้มีส่วนได้เสียร่วมพิจารณารายละเอียดอย่างต่อเนื่อง ทั้งด้านระบบสารสนเทศเมือง และด้านขยะเหลือศูนย์ของพื้นที่นาร่อง โดยมีเป้าหมายของการเกิดแผนพัฒนาเมืองด้านขยะ เหลือศูนย์ บรรจุเข้าแผนของหน่วยงานต่าง ๆ เพื่อการสร้างการมีส่วนร่วมของหน่วยงานให้ เกิดขึ้น 4) ประเมินผลภาพรวมทุกโครงการทั้งในมิติเชิงกระบวนการ เชิงเนื้อหาสาระขยะเหลือศูนย์ การ ขยายผล และวิเคราะห์ SWOT ของระบบสารสนเทศเมือง เพื่อการพัฒนาสมรรถนะสาหรับการ รองรับความเป็นเมืองอัจฉริยะแต่ละด้านต่อไป หมายเหตุ – สาหรับบทความนี้อธิบายเพียงขั้นที่ 1-3 เนื่องจากอยู่ในขณะขั้นตอนดาเนินงาน ผลกำรวิจัย ผลการดาเนินการงานวิจัย แบ่งการอธิบายเป็น 6 หัวข้อหลัก ได้แก่ 1) JVIS & Scavenger Application 2) Dashboard System 3) Urban Informatics Center 4) Zero Waste Systems & Smart Recycle Bank และ 5) Pilot-Area Projects & Application มีรายละเอียดดังนี้ 1) JVIS & Scavenger Application การพัฒนากลไกระบบสารสนเทศเพื่อการพัฒนาเมืองอัจฉริยะ อยู่ในลักษณะของการร่วมทุนระหว่าง โครงการฯ กับหุ้นส่วนภาคเอกชน โดยประเด็นเนื้อหาโครงการฯ ต้องเชื่อมโยงสู่การแก้ไขปัญหาร่วมระหว่าง ภาคเอกชนกับภาครัฐ ตลอดจนการเจรจารายละเอียดการรับผิดชอบดาเนินการรวมถึงต้นทุนและเงื่อนไขต่าง ๆ การตกผลึกกรอบแนวคิดสู่การดาเนินการระยะเวลา 6 เดือน มีรายละเอียด ได้แก่ โครงสร้างการบริหาร Application ด้วยต้นทุนที่จากัดของงบประมาณ และสามารถขับเคลื่อน โครงการได้บรรลุเป้าหมาย Zero Waste Application ได้ถูกบรรจุเป็นส่วนหนึ่งของระบบการให้บริการที่ เรียกว่า JVIS ซึ่งเป็น Platform Application ขนาดใหญ่รวบรวม Module การให้บริการที่หลากหลายให้กับ เมือง ส่วน Zero Waste Application ถือเป็น Module หนึ่งใน JVIS ปัจจุบัน Zero Waste Application ถูกผลักดันอยู่ในรูปแบบ Social Enterprise ในรูปแบบบริษัท ชื่อว่า Scavenger and City Development (SCD)8 วัตถุประสงค์เพื่อดาเนินกิจการขยะเหลือศูนย์ฯ ให้กับ 8 1 ในตัวชี้วัดความสาเร็จของโครงการวิจัยนี้
  • 15. 240 เมืองโคราช และขับเคลื่อนการพัฒนาเมือง ดังนั้น Zero Waste Application จะเป็น Module หนึ่งของ ระบบ JVIS ที่เรียกว่า Scavenger ภำพแอพพลิเคชัน Scavenger สาหรับบริหารจัดการภาพรวมโคราชเมืองอัจฉริยะขยะเหลือศูนย์ ปัจจัยสำคัญของกำรทำงำนแบบ Triple-Helix คือ กำรตกผลึกร่วมกันในระบบนิเวศ Zero Waste Platform ซึ่งจะประกอบไปด้วย 4 ประเด็น มีรายละเอียดดังนี้ 1 กรอบแนวคิดในกำรเชื่อมโยงกำรทำงำนแต่ละภำคส่วนเข้ำด้วยกัน แม้ว่ามีการเสนอกรอบแนวคิด เบื้องต้นในข้อเสนอโครงการ เมื่อดาเนินการจริงพบว่ามีรายละเอียดจานวนมากที่กรอบแนวคิดอธิบายไว้ไม่ ครอบคลุม การดาเนินการจาเป็นต้องมีการปรับรายละเอียดเข้ากับงานจริง และต้องมีการเชื่อมโยงกับ หน่วยงานต่าง ๆ ซึ่งเงื่อนไขของแต่ละหน่วยงานมีรายละเอียดที่ไม่เหมือนกัน ดังนั้นกระบวนการปรับ รายละเอียดกรอบแนวคิดให้มีความเข้าใจตรงกัน เป็นประเด็นสาคัญและส่งผลต่อความล่าช้า ปัจจุบันได้ จาแนกรายละเอียดเฉพาะเนื้อหาด้านขยะเหลือศูนย์ฯ อัจฉริยะเป็น 3 องค์ประกอบ แต่ละประเด็นมี รายละเอียดที่ซับซ้อนและแตกต่างกัน ได้แก่ Zero Waste Application, Zero Waste Management & Logistics Systems, Village Recycle Waste Tank 2 Zero Waste Application ประเด็นเรื่องต้นทุนกับระยะเวลาพัฒนาระบบ Application จากการ ประเมินระยะเวลาดาเนินการ 3 เดือน เมื่อดาเนินการจริงแล้วมีรายละเอียดประเด็นปัญหาต้องแก้ไข อาทิ การ เจรจาค่าใช้จ่ายกับนักพัฒนาฯ ภายใต้งบประมาณที่ระบุไว้ ต้องครอบคลุมกับกรอบแนวคิด และระยะเวลาที่ กาหนด ทาให้ไม่สามารถดาเนินการได้ภายในระยะเวลา 3 เดือน อย่างไรก็ดีปัจจุบันต้นแบบได้ดาเนินการแล้ว ดังรายละเอียดข้างต้น 3 Zero Waste Management & Logistics Systems แม้ว่าจะมีกรอบแนวคิดเบื้องต้นไว้ เมื่อ ดาเนินการจริงการพิจารณาจุดเชื่อมโยงระหว่างระบบ Logistics กลุ่มผู้ใช้บริการ และการเชื่อมโยงระบบ IOT กับ Application ตลอดจนรายละเอียดของชุดข้อมูล Interface เพื่อให้ได้ข้อมูลที่ต้องการยังมีหลายประเด็นที่ ต้องปรับแก้ และประเด็นเหล่านั้นไม่สามารถเบ็ดเสร็จได้กับทีมวิจัย ต้องประสานกับกลุ่มเอกชนเชิงพื้นที่ จึงใช้
  • 16. 241 เวลาในการทารายละเอียดและการตัดสินใจร่วมเป็นสาคัญ ปัจจุบันแนวทางการแก้ไขปัญหาอยู่ในรูปแบบ Smart or Village Recycle Waste Bank 4 Smart or Village Recycle Bank ความคลาดเคลื่อนในความเข้าใจร่วมกันของกรอบแนวคิด กับ การออกแบบ Application เมื่อขึ้นต้นแบบพบปัญหาด้าน Zero Waste Management & Logistics จึงสร้าง แนวทางแก้ไขปัญหาเป็นถังรวบรวมขยะรีไซเคิล ซึ่งได้เขียนงบประมาณไว้ในโครงการ จึงได้พยายามเจรจาการ ร่วมทุนเพื่อเติมกลายเป็นโครงการย่อย และเร่งพัฒนาต้นแบบให้สามารถดาเนินการทดลองใช้จริงภายใน ระยะเวลาของโครงการ แม้ว่าปัจจุบันจะมีผู้ประกอบการดาเนินการตู้รับซื้อขยะรีไซเคิล เมื่อทบทวน วรรณกรรมแล้วพบว่าเป็นเพียงตู้รับซื้อขวดน้าแบบขวดเพชรได้เพียงเท่านั้น แต่ไม่สามารถรับซื้อได้ครอบคลุม ขยะรีไซเคิลทุกประเภท 2) Dashboard System Dashboard Systems เป็นการประมวลผลผ่านระบบ Cloud แสดงผลกับ Browser ต่าง ๆ บน คอมพิวเตอร์ หรือโน้สบุ๊คได้ ทั้งนี้ใช้สาหรับการแสดงผลเชื่อมโยงกับ Urban Informatics Center ที่ได้รับทุน สนับสนุนจากสานักงบประมาณแผ่นดิน ปี พ.ศ.2564 ซึ่งจะอธิบายในหัวข้อถัดไป ภำพ Interface แสดงผลการวิเคราะห์ข้อมูลภาพรวมในพื้นที่นาร่องโครงการทั้งหมดผ่านระบบ Scavenger สาหรับใช้ประชุมพิจารณาข้อมูลและกาหนดนโยบายท่ามกลางผู้มีส่วนได้เสีย 3) Urban Informatics Center พื้นที่วิจัยได้จาแนกเป็นสองมิติ ได้แก่ พื้นที่ออนไลน์ ซึ่งถือเป็นผลผลิตของโครงการวิจัยครั้งนี้ ครั้งนี้ การดาเนินโครงการได้มากกว่างบประมาณทาง บพท.สนับสนุน ได้รับงบประมาณจากสานักงบประมาณ แผ่นดิน ปี พ.ศ.2564 โครงการศูนย์วิทยาการสารสนเทศเมืองเพื่อพัฒนาเมืองอัจฉริยะ การดาเนินการจะ สามารถเชื่อมโยงจากพื้นที่ออนไลน์สู่พื้นที่กายภาพ สามารถเป็นเสมือนห้อง War Room หรือ Command Room ที่มีชุดข้อมูลให้กลุ่มผู้มีส่วนได้เสียสาคัญได้ร่วมพิจารณาร่วมกัน เพื่อนาไปสู่การวางแผนเชิงปฏิบัติการ ได้อย่างหลากหลายมิติ และเชื่อมโยงกันอย่างเป็นเครือข่ายของเมือง
  • 17. 242 ภำพ ห้อง Urban Informatics Center โครงสร้างทางกายภาพรองรับโครงสร้างระบบกลไกสารสนเทศเพื่อ การพัฒนาเมืองอัจฉริยะ ทางานเชื่อมโยงกับหน่วยงานต่าง ๆ อาทิ สานักงานจังหวัดนครราชสีมา สมาคม อสังหาริมทรัพย์ฯ หอการค้าฯ สภาอุตสาหกรรมฯ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น สถาบันอุดมศึกษา สานักงาน เศรษฐกิจดิจิทัล และกลุ่มบริษัทพัฒนาเมืองหรือ Digital Provider 4) Zero Waste Systems & Smart Recycle Bank ระบบบริหารจัดการคัดแยกขยะรีไซเคิลของโครงการได้ออกแบบเชื่อมโยงกับโครงการที่ 1 กลไกระบบ สารสนเทศเพื่อพัฒนาเมืองอัจฉริยะ รับผิดชอบเนื้อหาด้านขยะเหลือศูนย์ ดาเนินการผ่าน 2 ระบบ ได้แก่ 1) ชุด Zero Waste Application จาแนกรายพื้นที่นาร่อง ซึ่งแต่ละพื้นที่นาร่องจะมี Mobile Application ระดับ ผู้ใช้ (User App) จะสามารถทราบข้อมูลการรวบรวมขยะรีไซเคิลรายบุคคลให้กับโครงการ ส่วนระบบการ ควบคุมภาพรวมของเมืองจะผ่าน Application Platform ชื่อว่า Scavenger (Admin App & Web) ซึ่ง สามารถวิเคราะห์การประมวลผลภาพรวมของระบบได้ทั้ง Mobile Application และ Web Browser ตลอดจนมีการออกแบบ Database Systems รวบรวมข้อมูลสาคัญทั้งสองระดับ เพื่อนาผลวิเคราะห์ข้อมูลสู่ การทบทวนนโยบาย แผนงาน และโครงการ และสามารถสร้างการมีส่วนร่วมในรูปแบบต่าง ๆ และทุกระดับ ของกลุ่มผู้มีส่วนได้เสียแต่ละฝ่ายได้ อาทิ การร่วมทุนธุรกิจ การจ้างงานในระบบ หรือการนับเครดิตรวบรวม ขยะรีไซเคิล เป็นต้น นอกจากนี้ฐานข้อมูลยังสามารถนาออก (Export) ในรูปแบบไฟล์ Excel เพื่อสามารถ นาไปวิเคราะห์ทางสถิติขั้นสูงได้ต่อไป ภำพการออกแบบระบบขยะเหลือศูนย์ในการวิจัยครั้งนี้
  • 18. 243 ภำพการเชื่อมโยงระบบขยะเหลือศูนย์ระหว่างพื้นที่นาร่อง ธนาคารขยะรีไซเคิลอัจฉริยะ Scavenger Application และฐานข้อมูล ภำพแสดงผลชุดฐานข้อมูลและปุ่มส่งออก (Export) ฐานข้อมูลเพื่อการวิเคราะห์ทางสถิติขั้นสูง Smart Recycle Bank หรือ ธนาคารขยะรีไซเคิลอัจฉริยะ คือ ผลผลิตโครงการเชิงนวัตกรรม โดย บูรณาการระหว่างแนวคิดด้านธนาคารขยะ กับ การบริหารจัดการชุดข้อมูลด้วย IoT (Internet of Think) ด้วยชุด Platform ผ่าน Mobile Application และ Web Browser ตลอดจนการออกแบบเชื่อมโยงกับระบบ ต่าง ๆ ผ่านชุด Platform นี้ อาทิ เครดิตการรวบรวมขยะรีไซเคิล การมีส่วนร่วมในกิจกรรม ฯลฯ
  • 19. 244 ภำพกรอบแนวคิดขยะเหลือศูนย์ในระดับหมู่บ้านเชื่อมโยงทั้งระดับครัวเรือน และระดับเมือง ผ่าน Zero Waste Application อย่างไรก็ดี แม้ว่าแนวคิดในการสร้าง Smart Recycle Bank จะมุ่งเน้นการรวบรวมขยะรีไซเคิลมี รายงานอยู่ในเฉพาะโครงการวิจัยชุดนี้ แต่การขับเคลื่อนโครงการโคราชขยะเหลือศูนย์ในระดับเมือง มีอีกทีม ด้านสมาคมอสังหาริมทรัพย์จังหวัดนครราชสีมา ภาคเอกชนท้องถิ่น และมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี ร่วมกันวิจัยและประดิษฐ์ถังย่อยสลายขยะอินทรีย์ ภายในโครงการ Korat Compost Bin ดังภาพประกอบ ด้านบนฝั่งซ้าย ทั้งนี้การออกแบบ Smart Recycle Bank พบว่าการจาแนกรับขยะรีไซเคิลกับการวางแผนธุรกิจการ ขนส่งรับซื้อขาย ตลอดจนกระบวนกาธุรกิจแปรรูป มีชุดแนวคิดหรือตรรกะที่มีความขัดแย้งอยู่บ้าง อย่างไรก็ดี ในมุมมองของการวิจัยครั้งนี้การออกแบบผลิต Smart Recycle Bank ต้นแบบแม้ว่าจะมีการผิดพลาดลองผิด ลองถูกอยู่บ้าง คณะผู้วิจัยได้สรุปการวิจัยเพื่อผลผลผลิตต้นแบบ Smart Recycle Bank ให้ครอบคลุมการรับ ขยะรีไซเคิลทุกประเภทเพื่อการเก็บรวบรวมข้อมูลปริมาณประเภทขยะรีไซเคิลที่เกิดขึ้น ในแต่ละพื้นที่ทดลอง อาทิ กลุ่มสถานที่การศึกษา กลุ่มสถานที่ราชการ และกลุ่มสถานที่อยู่อาศัย เพื่อสามารถนาข้อมูลดังกล่าวสรุป นาไปสู่การลงรายละเอียดของโมเดลธุรกิจอีกครั้ง (BMC: Business Model Canvas) จากการศึกษาการรับซื้อขยะของบริษัทวงษ์พาณิชย์ อินเตอร์เนชั่นเนล จากัด (วันที่ 28 พฤษภาคม 2564) ได้มีการรับซื้อ ประเภทขยะรีไซเคิลแบ่งออก เป็น 7 ประเภท ได้แก่ 1) ประเภทเศษเหล็ก รับซื้อราคาระหว่าง 4.6 – 11.8 บาท/กก. 2) ประเภทเศษกระดาษ รับซื้อราคาระหว่าง 3.6 – 5.8 บาท/กก. 3) ประเภทขวดแก้ว รับซื้อราคาระหว่าง 0.3 – 1 บาท/กก. 4) ประเภทพลาสติก รับซื้อราคาระหว่าง 1 – 14 บาท/กก. 5) ประเภทโลหะมูลค่าสูง รับซื้อราคาระหว่าง 18 – 279 บาท/กก.
  • 20. 245 6) ประเภทเครื่องใช้สานักงานและเครื่องใช้ไฟฟ้า รับซื้อราคาระหว่าง 0.5 – 200 บาท/กก. 7) ประเภท ยางรถยนต์ ยางนอก ยางใน รับซื้อราคาระหว่าง 0.15 บาท/กก. จากตลาดรับซื้อขยะรีไซเคิลใน 7 ประเภท พบว่ามีขยะที่มีศักยภาพในการขนส่งแล้วมีกาไรมีทั้งสิ้น 5 ประเภท ได้แก่ เศษเหล็ก เศษกระดาษ พลาสติก โลหะมูลค่าสูง และเครื่องใช้สานักงาน/เครื่องไฟฟ้า ซึ่งนาไปสู่ การวางแผนการจัดเก็บขยะรีไซเคิลที่มีศักยภาพในการทากาไรในการขนส่งเป็นอันดับต้นก่อน ส่วนขยะรีไซเคิล ที่ไม่ทากาไรจะจัดเก็บในลาดับหลังเมื่อมีพื้นที่ว่างในการการขนส่งจากขยะรีไซเคิลที่มีกาไร อย่างไรก็ดีข้อมูล การรับซื้อขยะรีไซเคิลของโครงการนี้จะมีการออกแบบช่องรับจานวน 7 ประเภท สอดคล้องกับกลไกมูลค่าทาง การตลาด เพื่อทดลองเชิงพื้นที่โดยอธิบายรายละเอียดในหัวข้อถัดไป และดาเนินการรวบรวมข้อมูลนาไปสู่การ วิเคราะห์และวางแผนมิติต่าง ๆ ต่อไป ภำพการทดลองเขียน Code บรรจุลง Mainboard สาหรับติดตั้งกับ Smart Recycle Bank สถานการณ์ปัจจุบันติดปัญหาการเชื่อมโยงกับระบบกลไกสารสนเทศด้วย IoT 5) Pilot-Area Projects & Application การประสานความร่วมมือของกลุ่มหมู่บ้านจัดสรรโดยนายกสมาคมอสังหาริมทรัพย์จังหวัด นครราชสีมา ในความร่วมมือกิจกรรมของโครงการเพื่อเชื่อมโยงพฤติกรรมการคัดแยกขยะในระดับชุมชน เชื่อมโยงกับระดับพฤติกรรมครัวเรือน และดาเนินการทดลองระบบนิเวศของโครงการผ่านการเชื่อมโยงด้วย เทคโนโลยี สาหรับการดาเนินงานได้มีการประชุมร่วมหารือภาคส่วนที่เกี่ยวข้องเพื่อเกิดการนาร่องสูงสุด ได้มี
  • 21. 246 การลงมติปรับพื้นที่นาร่อง ได้แก่ สานักงานจังหวัดนครราชสีมา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน มหาวิทยาลัยราชภัฎนครราชสีมา หมู่บ้านเซ็กเนเจอร์ และหมู่บ้านเดอะโฟร์เรส ทั้งการพิจารณาพื้นที่นาร่อง 2 ประเด็นสาคัญ ได้แก่ 1) ทีมดาเนินงาน เป็นผู้มีความสัมพันธ์ในการ สร้างการมีส่วนร่วมทางสังคมในแต่พื้นที่นาร่องเป็นอย่างดี และ 2) ภาพรวมพื้นที่นาร่องทั้ง 5 พื้นที่ มีความ หลากหลายของประเภทสถานที่ติดตั้งธนาคารขยะรีไซเคิลอัจฉริยะ ได้แก่ สถานศึกษา สถานราชการ และ หมู่บ้านจัดสรรเอกชน ในมุมมองเชิงวิจัยถือว่ามีความหลากหลายของพฤติกรรมผู้ใช้ธนาคารขยะรีไซเคิล อัจฉริยะและพฤติกรรมการมีส่วนร่วมกิจกรรมขยะเหลือศูนย์ จะสามารถวิเคราะห์เปรียบเทียบระหว่าง ประเภทสถานที่ เพื่อนาไปสู่การกาหนดรายละเอียดนโยบาย แผนงาน และโครงการ ระหว่างหน่วยงานที่ เกี่ยวข้องได้ ภำพตาแหน่งพื้นที่นาร่องทดลองติดตั้งธนาคารขยะรีไซเคิลอัจฉริยะ 5 พื้นที่ของเมืองโคราช Application สาหรับการเชื่อมโยงพฤติกรรมการมีส่วนร่วมรวบรวมขยะรีไซเคิลกับธนาคารขยะรี ไซเคิลอัจฉริยะ ผ่านระบบการประมวลข้อมูลสาคัญระหว่างผู้ให้บริการกับผู้ใช้ ด้วย Application กับพื้นที่นา ร่อง (Pilot-Area Project) ทั้ง 5 โครงการ ได้แก่ พื้นที่ศาลากลางจังหวัดนครราชสีมา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี ราชมงคลอีสาน มหาวิทยาลัยราชภัฎนครราชสีมา หมู่บ้านซิกเนเจอร์ และหมู่บ้านเดอะฟอร์เรส มีรายละเอียดขอ Link การดาวโหลดผ่าน Mobile Application ทั้งระบบ iOS และ Android มี รายละเอียด ดังนี้
  • 22. 247 ภำพการดาวโหลด Mobile Application ใน 5 พื้นที่นาร่องเมืองโคราช ผ่ำนระบบ iOS (ซ้ำย) และ ระบบ Android (ขวำ) กำรอภิปรำยผล หรือ กำรวิจำรณ์และสรุป หรือ ข้อเสนอแนะ: การดาเนินของชุดโครงการมีทั้งสิ้น 3 โครงการ ในขั้นแรกจาเป็นต้องมีผลผลิตของโครงการที่ 1-2 เชื่อมโยงกับทางานร่วมกัน เพื่อนาผลการทดลองเชิงระบบร่วมกัน นาไปสู่การรายงานผล ประสิทธิภาพของ การดาเนินการเชิงระบบ เพื่อจัดกิจกรรมการร่างแผนพัฒนาเมืองอัจฉริยะแบบมีส่วนร่วมท่ามกลางกลุ่มผู้มีส่วน ได้เสียสาคัญในการขับเคลื่อนการพัฒนาเมือง ปัจจุบันการดาเนินการผลผลิตของโครงการที่ 1 เป็นที่เรียบร้อย สามารถดาเนินการดาวโหลด Mobile Application หรือเข้าระบบ Dashboard จากรายงานในบทที่ 4 แต่มีปัญหาการเชื่อมโยงระบบ IoT ของ Smart Recycle Bank ที่เป็นผลผลิตของโครงการที่ 2 ส่งข้อมูลเข้า Server ในระบบ Cloud ทั้งนี้กาลังแก้ไข ปัญหา Code คาดว่าจะเสร็จสิ้นในเดือนที่ 7 และพัฒนา Smart Recycle Bank ติดตั้งพื้นที่นาร่องในช่วง เดือนที่ 8-10 เพื่อนาผลข้อมูลทดลองกิจกรรมช่วง 3 เดือน นาไปสู่การร่างแผนพัฒนาเมืองด้านขยะเหลือศูนย์ ต่อไป
  • 23. 248 ภำพความสัมพันธ์ระหว่าง 3 โครงการวิจัยย่อย กิจกรรมที่จะดำเนินกำรระยะต่อไป แก้ปัญหาการเชื่อมโยงระบบระหว่างโครงการที่ 1-2 แล้วสิ้น พัฒนาออกแบบ Smart Recycle Bank มิติของความสวยงาม น่าลงทุนทางธุรกิจ การออกแบบโมเดลธุรกิจเพื่อการเพิ่มจานวนพื้นที่นาร่องทดลอง ระบบ และนาผลพิจารณาวางแผนในระดับต่าง ๆ ทั้งทีมเอกชนร่วมทุน ภาครัฐกาหนดนโยบาย แผนงาน และ โครงการ ตลอดจนการวางแผนเชิงปปฏิบัติร่วมกับชุมชนเป้าหมาย เป็นการชี้แจงผลการวิจัยว่าตรงกับวัตถุประสงค์/สมมติฐานของการวิจัย สอดคล้องหรือขัดแย้งกับ ผลการวิจัยของผู้อื่นที่มีอยู่ก่อนหรือไม่อย่างไร เหตุผลใดจึงเป็นเช่นนั้น และให้จบด้วยข้อเสนอแนะที่จะนา ผลงานวิจัยไปใช้ประโยชน์ หรือทิ้งประเด็นคาถามการวิจัย ซึ่งเป็นแนวทางสาหรับการทาวิจัยต่อไป เป้ำหมำยที่จะได้หลังจำกเสร็จโครงกำรวิจัย โปรดระบุจำก 3 หัวข้อต่อไปนี้ 1.เกิดกลไกการพัฒนาระดับพื้นที่ • ต้นแบบศูนย์ระบบสำรสนเทศเพื่อกำรพัฒนำเมืองอัจฉริยะ ประกอบด้วยระบบ Software Platform ต้นแบบแสดงระบบเชื่อมโยงทั้งระบบการบริหารสารสนเทศเชื่อมโยงกับ Mobile Application มีการ ออกแบบวิธีการรวบรวมข้อมูลกลุ่มผู้ใช้อย่างเป็นระบบ และสามารถแสดงผลข้อมูลสถิติเชิงพรรณา และสามารถดึงชุดข้อมูลในรูปแบบไฟล์ Excel เพื่อสามารถวิเคราะห์ทางสถิติวิจัยขั้นสูงต่อไป นอกจากนี้สามารถเพิ่มขึ้น Module รายละเอียดต่าง ๆ ได้ เนื่องจากได้มีการออกแบบโครงสร้างหลัก ของระบบไว้แล้ว • ต้นแบบกำรเชื่อมโยงระบบนวัตกรรมเชิงกระบวนกำรหน่วยงำนที่เกี่ยวข้องในกำรขับเคลื่อนควำม เป็นเมืองอัจฉริยะ เป็นการสรุปวิธีทางาน 3 หน่วยงานประสาน (เป็นอย่างน้อย) ได้แก่ 1) ภาครัฐทั้ง
  • 24. 249 ส่วนกลางและท้องถิ่น 2) ภาคเอกชนและนักลงทุน และ 3) สถาบันอุดมศึกษา ซึ่งทั้ง 3 องค์ประกอบ จะมีหน้าที่ บทบาท วิธีคิดและวิธีทางาน ที่ช่วยกันเสริมแรงระหว่างกันจนสามารถขับเคลื่อนจนเกิด นวัตกรรมเพื่อส่งเสริมความเป็นเมืองอัจฉริยะได้อย่างเป็นรูปธรรม 2.องค์ความรู้ข้อมูลเพื่อพัฒนากลไกตรวจสอบเชิงพื้นที่เพื่อการขับเคลื่อนเมือง • กำรประยุกต์ระบบสำรสนเทศเชื่อมโยงกับกำรพัฒนำเมืองอัจฉริยะด้ำนอื่น ๆ การออกแบบ Platform ดังกล่าวถือเป็นโครงสร้างเชิงระบบของ Application ที่สามารถใช้ระบบเทคโนโลยี ด้านต่าง ๆ ที่ตอบสนองตัวชี้วัดเมืองอัจฉริยะมาประกอบเข้ากับระบบ City Dashboard สามารถแสดงผลได้ทั้งในเชิงพื้นที่และเชิงสถิติ ทั้งนี้ก่อนนามาประกอบเข้าระบบจาเป็นต้องมี การประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อออกแบบรายละเอียดร่วมกันก่อนดาเนินการ • กำรออกแบบองค์ประกอบระบบนวัตกรรมระหว่ำงหน่วยงำนเพื่อขับเคลื่อนโครงกำรต่ำง ๆ เพื่อตอบตัวชี้วัดควำมเป็นเมืองอัจฉริยะ จากประสบการณ์ในการดาเนินโครงการใหญ่ของ เมืองอัจฉริยะ พบว่าการขับเคลื่อนอย่างเป็นรูปธรรมจาเป็นต้องมี 3 ภาคส่วนงาน (เป็นอย่าง น้อย) ร่วมดาเนินการ ได้แก่ 1) ภาครัฐทั้งส่วนกลางและท้องถิ่น 2) ภาคเอกชนและนักลงทุน และ 3) สถาบันอุดมศึกษา ดังนั้นสาหรับการประยุกต์การดาเนินโครงการเมืองอัจฉริยะด้านอื่น ๆ จะเป็นในลักษณะของการ Matching Team ทั้ง 3 หน่วยงานเข้าด้วยกัน ทั้งนี้สาหรับจังหวัด นครราชสีมา ได้มีการร่างยุทธศาสตร์เมืองอัจฉริยะจังหวัดนครราชสีมา ได้มีการแต่งตั้ง หน่วยงานภายในสานักงานจังหวัดนครราชสีมา ดูแลแต่ละด้านของเมืองอัจฉริยะ ดังนั้นการจัด ทีมจะต้องมีบุคลากรสถาบันอุดมศึกษา เป็นแกนหลักสาคัญสาหรับการประสานการทางาน ระหว่างภาครัฐ กับภาคเอกชนเข้าด้วยกัน และบุคลากรสถาบันการศึกษาควรจะมี ความสามารถในการบริหารโครงการและมีความเข้าใจเกี่ยวกับเนื้อหาเมืองอัจฉริยะด้านนั้นเป็น สาคัญ 3.ชุดความรู้ด้านการพัฒนาเมืองเพื่อขยายผลเชิงพื้นที่และนาเสนอนโยบายเชิงพื้นที่ • วิทยำกำรสำรสนเทศเมืองเพื่อกำรพัฒนำเมืองอัจฉริยะ Platform สาหรับการประยุกต์ใช้ในเมือง อื่น ๆ สามารถนาไปใช้ได้ อาทิ ศูนย์วิทยาการสารสนเทศเมืองในการเป็น IOC เพื่อการบูรณาการการ ทางานด้านต่างๆ • กำรออกแบบระบบฐำนข้อมูลสำหรับกำรขับเคลื่อนเมืองอัจฉริยะ ปัจจุบันการทางานของเมือง มักจะเป็นองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ซึ่งพบว่าระหว่างหน่วยงานก็ยังไม่มีการเชื่อมโยงชุดข้อมูลเข้า ไว้ด้วยกัน สาหรับโครงการนี้จะเป็นตัวอย่างต้นแบบให้หน่วยงานต่าง ๆ ได้เรียนรู้ต้นแบบและวิธีการ