SlideShare a Scribd company logo
1 of 70
Download to read offline
กรณีศึกษาปัญหาในสามจังหวัดภาคใต้
มองสามจังหวัดภาคใต้
KPI             ด้านภูมิรัฐศาสตร์



      1200 กม.จากกรุงเทพฯ




                                    ชายแดนติดมาเลเซีย


                                                Kpi.ac.th
KPI          จานวนประชากรในสามจังหวัดภาคใต้



 จานวนประชากร ประมาณ 1,800,000 คน
 เป็นลักษณะพหุวัฒนธรรม : มุสลิม 80 % พุทธ และคริสต์ 20%




                                                       Kpi.ac.th
                                                       www.kpi.ac.th
Mosque : 1750   Temple: 280
KPI




                              Kpi.ac.th
การแต่งตั้งจุฬาราชมนตรี โดยการโปรดเกล้า เป็นที่ปรึกษา
      KPI
                      ด้านการศาสนาอิสลาม

 ปัจจุบันนายอาศิส พิทกษ์คุมพล เป็นจุฬาราชมนตรี
                      ั
 เกิดตาบลหัวเขา อาเภอสิงหนคร จังหวัดสงขลา
  การศึกษา สถาบันการศึกษาปอเนาะในจังหวัดสงขลาและ
  ปัตตานี
 อดีตประธานคณะกรรมการอิสลามประจาจังหวัดสงขลา
 รองประธานคณะกรรมการกลางอิสลามแห่งประเทศไทย
 สมาชิกสภาที่ปรึกษาเสริมสร้างสันติสุขจังหวัดชายแดนภาคใต้
 ประธานคณะกรรมการยุติธรรม ความเสมอภาค และความ
  มั่นคง


                                                                 Kpi.ac.th
KPI   อาชีพหลักเกษตรกร และประมง




                                  Kpi.ac.th
KPI   Career: Agriculture, Fishing, other




                                        Kpi.ac.th
KPI        Problem and Root Cause of the problem
                                   Structure of
Feeling they did not               The Local Government
receive a fair

                                         Not Trust
Lack of space
involvement
and listen to voice                    development does not
of the people.
                                       Comply with Identity
                       Memories of historical      12
                       trauma.
                                                 Kpi.ac.th
                                                 www.kpi.ac.th
KPI        The root cause of the problem.


History
Education, inefficient and low quality.
Bad behavior of Local government officials in the
 past.
The failure of the state in policy implementation
 mechanisms into action.
Don’t fair in law enforcement.
Policy and social development plans in areas that do
 not meet local needs.
                                            Kpi.ac.th
                                            www.kpi.ac.th
KPI   Who conflict with anyone.

                                         Anti-government
                                         groups.


                           Movement
      Government           against the
                           Pattani

                                          The
                                          influence
               The exploitation           illegal.
               of the budget.


                                                           10
                                                       Kpi.ac.th
                                                       www.kpi.ac.th
The Office of Peace and Governance

Strategy
 KPI                                   King Prajadhipok’s Institute




  Peace Dialogue/                            Peace
    Peace Talk                            Communication



                                   Decentralization
                     PEACE
                    BUILDING       Find out the truth
                                   Strong Community
                                   Islam Law
                    PeaceNet       Local Language

                                   Cancel Special Laws
                                             Kpi.ac.th
วัตถุประสงค์และหลักการของสหประชาชาติ
  KPI



กาหนดไว้ในหมวดที่ ๑ มาตราที่ ๑ เพื่อบรรลุความร่วมมือ
 ระหว่างนานาชาติในการแก้ปัญหาประชาชาติในด้านเศรษฐกิจ
 วัฒนธรรม มนุษยธรรม และการส่งเสริม/กระตุ้นการเคารพใน
 สิทธิมนุษยชน (Human rights) และเสรีภาพพื้นฐาน
 (fundamental freedoms) โดยไม่มีการแบ่งแยกเผ่าพันธุ์
 เพศ ภาษา ศาสนา


                                                    Kpi.ac.th
KPI         องค์กรระหว่างประเทศด้านมนุษยชน


เข้าติดตามตรวจสอบ
การแบ่งแยกดินแดนเป็นเรื่องที่แทบจะเป็นไปไม่ได้ในปัจจุบัน หาก
 รัฐไม่สร้างเงื่อนไข
เงื่อนไขที่หล่อเลี้ยงความขัดแย้งและความรุนแรง
การละเมิดสิทธิมนุษยชนโดยเจ้าหน้าที่รัฐบางส่วน
การรับรู้สะสมจากในอดีตสู่ปัจจุบัน ทาให้ประชาชนหวาดกลัวและไม่
 ไว้ใจเจ้าหน้าที่รัฐ ทั้งยังเป็นการเปิดโอกาสให้
กลุ่มผู้ไม่หวังดีนามาใช้ในการตอกย้าบาดแผลความไม่เป็นธรรม
 ทางประวัติศาสตร์และการอานวยความยุติธรรม              Kpi.ac.th
KPI       สิทธิมนุษยชน กับสันติวิธี


  ทหารและตารวจในระดับปฏิบัติการส่วนใหญ่มี
  แนวโน้มที่จะปฏิบัติหน้าที่ให้อยู่ภายใต้กรอบของ
  กฎหมาย
  สันติวิธีไม่ได้ปฏิเสธการใช้กาลังทหาร ปฏิบัติการทาง
  ทหารนั้นยังคงมีความจาเป็นต้องใช้ต่อไปเพื่อคุมความ
  รุนแรง

                                             Kpi.ac.th
บทบัญญัติที่กาหนดในกฎบัตรสหประชาชาติ
KPI        หมวดที่ ๑ Article 2 ข้อ 7

“Nothing contained in the present charter shall
authorize the UN to intervene in matters which
are essentially within the domestic jurisdiction
of any state or shall require the member to
submit such matters to settlement under the
present charter; But this principle shall not
prejudice the application of enforcement
measures under chapter 7”


                                                   Kpi.ac.th
                       www.kpi.ac.th
กระบวนการสันติภาพ
KPI
          กับปัญหาความขัดแย้งภายในประเทศ
                         ปัญหาความขัดแย้งภายในชาติใดชาติหนึ่ง
           อาจมีสาเหตุจากเงื่อนไขหนึ่งหรือหลายประการประกอบกัน
 • ความไม่เป็นธรรมในสังคม
 • ความแตกต่างทางเชื้อชาติ ศาสนา เผ่าพันธุ์
 • การรักษาการปกครองของรัฐ
 • กฎหมายหรือองค์กรบังคับใช้กฎหมาย อ่อนแอ
 • ภูมิรัฐศาสตร์ที่ไม่เอื้ออานวยให้อานาจการปกครองของ
 รัฐบาลกลางสถาปนาครอบคลุมพื้นที่อย่างเต็ม
 ประสิทธิภาพ
                                                  Kpi.ac.th
                     www.kpi.ac.th
KPI   ใครขัดแย้งกับใคร?




                              10
                          Kpi.ac.th
                          www.kpi.ac.th
เงื่อนไขที่หล่อเลี้ยงความรุนแรงคืออะไร? ปัญหารากเหง้า
  KPI


การเลือกปฏิบัติ
การซ้อมทรมาน
การใช้วิธีการนอกกฎหมายในการจับกุม
การจับผิดตัว
การอุ้มฆ่าหะยีสุหลง
การหายตัวไปของทนายสมชาย นีละไพจิตร
เหตุการณ์ที่มัสยิดกรือเซะ
ตากใบ
การเสียชีวิตของอิหม่ามยะผา กาเซ็ง                       Kpi.ac.th
KPI   บทสรุป : กุญแจสู่สันติภาพ




                                 81
                             Kpi.ac.th
                             www.kpi.ac.th
KPI           ปัญหาใจกลางของความไม่สงบ
การต่อสู้โดยอ้างถึงอุดมการณ์แบ่งแยกดินแดนของขบวนการ
 ต่อสู้ที่ปาตานี
   กลุ่มบีอาร์เอ็น โคออร์ดิเนตและพูโลเป็นแกนหลัก

   กลุ่มต่อต้านอานาจรัฐที่ต้องการตอบโต้การกระทาของเจ้าหน้าที่รัฐ

   กลุ่มที่รู้สึกว่าไม่ได้รับความเป็นธรรม

   ประชาชนส่วนใหญ่ที่เป็นผู้ได้รับผลกระทบ

   ท่ามกลางบรรยากาศของความไม่ไว้เนื้อเชื่อใจระหว่างรัฐกับ

    ประชาชน รวมทั้งประชาชนกับประชาชนด้วยกันเอง
                                                        Kpi.ac.th
                                                        www.kpi.ac.th
KPI                       รากเหง้าของปัญหา
                                         โครงสร้างการการปกครอง
  ความรู้สึกว่าไม่ได้รับความเป็นธรรม

                                              ขาดพื้นที่การมีส่วนร่วม
                                              และรับฟังเสียงประชาชน

ความไม่ไว้เนื้อเชื่อใจ

                                         การพัฒนาที่ไม่สอดคล้องกับอัตลักษณ์
                         ความทรงจาในบาดแผลทางประวัติศาสตร์
                                                                 12
                                                             Kpi.ac.th
                                                             www.kpi.ac.th
KPI         รากเหง้าของปัญหา

ความขัดแย้งทางการเมืองที่เกี่ยวเนื่องกับมิติทางวัฒนธรรม
ความรู้สึกว่าไม่ได้รับความเป็นธรรมของประชาชนในพื้นที่จากการ
 กระทาและทัศนคติของ จนท.รัฐบางส่วน
การเลือกปฏิบัติและไม่ยอมรับตัวตนของคนในท้องถิ่นอย่างสนิทใจ
ความไม่เข้าใจกันอย่างแท้จริงและหวาดระแวงว่าความแตกต่าง
 ในอัตลักษณ์จะเป็นภัยต่อความสงบและสันติสุขของสังคมไทย
ความไม่ไว้เนื้อเชื่อใจระหว่างกลุ่มคนต่างๆทั้งในพื้นทีและนอก
                                                      ่
 พื้นที่
                                                   Kpi.ac.th
                                                   www.kpi.ac.th
KPI         รากเหง้าของปัญหา

 ความทรงจาในบาดแผลทางประวัติศาสตร์จากการกระทาของรัฐ
 สยามในอดีตต่อรัฐปัตตานีที่เคยรุ่งเรือง
 โครงสร้างการจัดการบริหารปกครอง ทั้งในด้านกฎหมาย และ
 นโยบายทางการเมือง เศรษฐกิจ และสังคมวัฒนธรรม ที่ยังมี
 บางส่วนไม่สอดคล้องกับอัตลักษณ์และวิถีชีวิตของคนในพื้นที่
 ตลอดจนไม่เอื้อต่อการมีส่วนร่วมโดยตรงของประชาชนในระดับที่
 สามารถสร้างความรู้สึกเป็นเจ้าของได้อย่างแท้จริงและเท่าเทียม

                                                    Kpi.ac.th
                                                    www.kpi.ac.th
KPI         ความเป็นคนมลายู

      ความเป็นคนมลายูปาตานี
      กลุ่มที่ใช้ความรุนแรงรู้สึกว่าไม่สามารถเป็นส่วนหนึ่งของ
       สังคมไทยได้อย่างมีเกียรติและมีคุณค่า
      ผู้เกี่ยวข้องกับการแก้ไขปัญหาทุกภาคส่วนจะต้อง
       ตระหนักถึงปัญหาใจกลางและรากเหง้าดังกล่าว โดยรวม
       ศูนย์ความสนใจไว้ที่ประเด็นเหล่านี้ ไม่เช่นนั้นจะไม่
       สามารถกาหนดทิศทางแก้ปัญหาที่ถูกต้องได้

                                                     Kpi.ac.th
                                                     www.kpi.ac.th
KPI         สาเหตุรากเหง้าของปัญหา

 การจัดการศึกษาที่ไร้ประสิทธิภาพและด้อยคุณภาพ
 การแพร่ระบาดของสิ่งเสพติด
 พฤติกรรมที่ไม่เหมาะสมของเจ้าหน้าที่รัฐ
 ความล้มเหลวของกลไกรัฐในการนานโยบายไปสู่การปฏิบัติ
 ความไม่ยุติธรรมในการบังคับใช้กฎหมาย
 การค้าขายสิ่งผิดกฎหมาย
 นโยบายและการจัดทาแผนพัฒนาสังคมในพื้นทีที่ไม่สอดคล้อง
                                            ่
 กับความจาเป็นของท้องถิ่น                        Kpi.ac.th
                                                 www.kpi.ac.th
KPI           สาเหตุรากเหง้าของปัญหา
การกาหนดกฎเกณฑ์ ทางสังคมและการบังคับใช้กฎหมายที่ไม่สอดคล้องกับ
 วิถีชีวิตของประชาชน
ความรู้สึกว่าไม่ได้รับความเป็นธรรม
ทัศนคติของเจ้าหน้าที่รัฐบางส่วนในอดีตที่เลือกปฏิบัติ
เกิดความรู้สึกว่าไม่สามารถดารงอยู่อย่างมีเกียรติและมีคุณค่าในสังคมไทย
ไม่เอื้อต่อการให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมโดยตรงในระดับที่สามารถสร้าง
 ความรู้สึกเป็นเจ้าของได้อย่างแท้จริง
อานาจมืดและอิทธิพลท้องถิ่น
การแย่งชิงผลประโยชน์ของกลุ่มการเมืองระดับต่างๆ
                                                             Kpi.ac.th
                                                             www.kpi.ac.th
KPI            โจทย์สาคัญต่อการแก้ปัญหา
ทาให้ประชาชน รวมถึงผู้ที่เห็นต่างจากรัฐมีส่วนร่วมทางการเมืองในการแก้ไข
 ปัญหา ขับเคลื่อนกิจกรรม นโยบายเกี่ยวข้องกับการดาเนินชีวิตอย่างแท้จริง
 ผ่านโครงสร้างการจัดการบริหารปกครอง และนโยบายที่เป็นธรรมและ
 สอดคล้องกับอัตลักษณ์ของคนในพื้นที่
ให้ชุมชนในพื้นที่มีความเข้มแข็งและมีความพร้อมในการเข้ามามีส่วนร่วมด้วย
 ความรู้สึกว่ามีความเท่าเทียมและด้วยความคิดอิสระ
ทาอย่างไรที่จะขจัดความไม่ไว้เนื้อเชื่อใจระหว่างกันให้หมดสิ้นโดยเร็ว โดยที่
 เจ้าหน้าที่รัฐ ประชาชนในสังคมใหญ่และในจังหวัดชายแดนภาคใต้ จะเกิด
 ความเข้าใจ ยอมรับ และเห็นคุณค่าความหลากหลายทางวัฒนธรรมและอัต
 ลักษณ์ของคนในพื้นที่อย่างเพียงพอที่ไม่รู้สึกหวาดระแวงว่าความแตกต่า
สร้างความเชื่อมั่นศรัทธาที่ประชาชนต่อรัฐ โดยเฉพาะเรื่องความเป็นธรรม
 อันจะนาไปสู่การให้ความร่วมมือในการแก้ไขปัญหา                   Kpi.ac.th
KPI       กรอบคิดทิศทางในการแก้ปัญหา


                      “การเมือง”
 สันติวิธี              ..นา..
  ---------            การทหาร
                                    26
                                Kpi.ac.th
                                www.kpi.ac.th
KPI                   อุปสรรคต่อการใช้สันติวิธีในการแก้ไขปัญหา?
                                 ความเข้าใจความหมายสันติวิธีไม่ตรงกัน

                                การแปลงนโยบายสู่การปฏิบัติยังมีช่องว่าง

                               การเมืองยังไม่อาจนาการทหารได้อย่างแท้จริง

                                    การละเมิดสิทธิมนุษยชนในพื้นที่
อุปสรรคต่อการใช้สันติวิธี
                                    แต่ละฝ่ายต่างมีความจริงคนละชุด

                                 ภาคประชาสังคมส่วนใหญ่ยังไม่เข้มแข็ง

                                     กลุ่มขบวนการไม่มีพื้นที่การเมือง
                                                                               26
                                      เจ้าหน้าที่รัฐขาดขวัญกาลังใจ
                                                                           Kpi.ac.th
                                                                           www.kpi.ac.th
KPI                                   แนวโน้มเชิงบวก
                                  1.   นโยบายของรัฐโดยรวมนั้นเป็นไปในทิศทางที่มุ่งใช้สันติวิธีเป็นหลัก


               2.   ทหารและตารวจในระดับนโยบายเริ่มเข้าใจและเห็นความสาคัญ ของการใช้สันติวธีมากขึ้น
                                                                                        ิ


       3.   ทหารและตารวจในระดับปฏิบติการส่วนใหญ่พยายามปฏิบัตหน้าที่ให้อยู่ภายใต้กรอบของกฎหมาย
                                   ั                        ิ


                                  4.   การจัดตั้งสานักบริหารจังหวัดชายแดนภาคใต้ (สบ.ชต.)


5.   ความพยายามที่จะเรียนรู้ประสบการณ์การแก้ไขปัญหาความขัดแย้ง จากกรณีศึกษาอื่นๆในต่างประเทศด้วยสันติวิธี
                                                                                                35
                                                                                            Kpi.ac.th
                                                                                            www.kpi.ac.th
KPI   หลักการของสันติวิธีเพื่อการแก้ไขปัญหา




                                       41
                                   Kpi.ac.th
                                   www.kpi.ac.th
KPI




      รูปธรรมของการใช้สันติวิธี


                                      46
                                  Kpi.ac.th
                                  www.kpi.ac.th
KPI          ส่วนที่ 4


         ข้อเสนอแนะเชิงรุก
      ต่อการแก้ปัญหาที่ยั่งยืน
             ด้วยสันติวิธี
                                     55
                                 Kpi.ac.th
                                 www.kpi.ac.th
KPI          ข้อเสนอแนะงานการเมืองเชิงรุก
         1. จัดการพูดคุยสันติภาพ (Peace Talk) กับกลุ่มขบวนการที่เห็นต่างจากรัฐ

           2. ร่วมสร้างเครือข่ายสันติภาพชายแดนใต้ (Peace Net)
            3. กาหนดยุทธศาสตร์สื่อสารสังคม(Peace Communication)

  9       4. ผลักดันให้มีการจัดตั้งคณะกรรมการร่วมแสวงหาความจริงและสมานฉันท์

ประการ         5. เสริมสร้างความเข้มแข็งและความพร้อมแก่ชุมชนและภาคประชาสังคมในพื้นที่

              6. ศึกษาและพัฒนาการจัดการบริหารปกครอง

             7. ส่งเสริมการศึกษาความเป็นไปได้ในการจัดตังศาลกฎหมายอิสลามว่าด้วยครอบครัวและมรดก
                                                       ้
            8. ส่งเสริมให้รัฐกาหนดการใช้ภาษามลายูเป็นภาษาทางาน (Working Language)

          9. ส่งเสริมให้มีการตรวจสอบการบังคับใช้กฎหมายพิเศษของเจ้าหน้าที่รัฐที่เกี่ยวข้อง
             ให้เป็นไปตามหลักนิติธรรมและไม่เลือกปฏิบัติ รวมทั้งประเมินผลกระทบต่อประชาชน
                                                                                                 55
                                                                                 Kpi.ac.th
                                                                                 www.kpi.ac.th
KPI




      Kpi.ac.th
      www.kpi.ac.th
KPI




      Kpi.ac.th
      www.kpi.ac.th
KPI




      Kpi.ac.th
KPI          ยุทธศาสตร์ในการจัดการปัญหา

       1.               2.                3.



การพูดคุยสันติภาพ                     สื่อสารสังคม
                    สร้างเครือข่าย
   Peace Talk                         พหุวัฒนธรรม
                     Peace Net
                                        Peace
                                     Communication




                                           Kpi.ac.th
                                           www.kpi.ac.th
KPI

จัดการพูดคุยสันติภาพ (Peace Talk) กับกลุ่มขบวนการที่เห็นต่างจากรัฐ
เสริมสร้างความเข้มแข็งและความพร้อมแก่ชุมชน
และภาคประชาสังคมในพื้นที่ร่วมสร้างเครือข่ายสันติภาพชายแดนใต้ (Peace
 Net)
ร่วมสร้างเครือข่ายสันติภาพชายแดนใต้ (Peace Net) วัตถุประสงค์ของการ
 สร้างเครือข่ายจากต่างคนต่างทามาทางานร่วมกัน
ติดตามการแก้ปัญหาของรัฐ
เชื่อมโยงข้อมูลระหว่างกัน
ร่วมเป็นกระบอกเสียงเสนอความคิด
สนับสนุนระหว่างกันให้ทางานต่อเนื่อง
                                                             Kpi.ac.th
KPI


 ศึกษาและพัฒนาการจัดการบริหารปกครอง
 เปิดเวทีรับฟังความต้องการของประชาชน
 ส่งเสริมการศึกษาความเป็นไปได้ในการจัดตั้ง
 ศาลกฎหมายอิสลามว่าด้วยครอบครัวและมรดกภายใต้โครงสร้างสานักงานศาลยุติธรรม
  ไทย
 ประชาชนหลายส่วนในพื้นที่ขาดทักษะ
 ในการใช้ภาษาไทยส่งเสริมให้รัฐกาหนดการใช้ภาษามลายูเป็นภาษา
 ทางาน ในจังหวัดชายแดนภาคใต้อกภาษาหนึ่ง
                                 ี
 ส่งเสริมให้มีการตรวจสอบการบังคับใช้กฎหมายพิเศษ
 ของเจ้าหน้าที่รัฐทีเกี่ยวข้อง
                     ่
 ให้เป็นไปตามหลักนิติธรรมและไม่เลือกปฏิบัติ
                                                                Kpi.ac.th
 รวมทั้งประเมินผลกระทบต่อประชาชน
KPI



ปัญหาในเรื่องของสิทธิมนุษยชนในภาคใต้นน ผู้เขียนจะขอแบ่งเป็น
                                      ั้
 รายละเอียดดังนี้
1.การเพิ่มกาลังทหารและสนับสนุนการใช้อาวุธ
2. การปิดล้อมจับกุมและการคุมขังโดยพลการ
3.วิสามัญฆาตกรรม
4.การทรมาน
5. บุคลลสูญหาย
6.การคุกคามต่อผู้พิทักษ์สิทธิมนุษยชน
                                                    Kpi.ac.th
KPI




      Kpi.ac.th
KPI


       ทาไมสองสามวันนี.้ .เหตุการณ์ความรุนแรงที่เกิดถี่ขึ้น..เหมือนมีการ
        แลกหมัดโต้ตอบไปมาหรือปล่าวครับ..ใครทราบ..หรือมีความคิดเห็น
        อย่างไรช่วยกรุณาเสนอเพือแลกเปลี่ยนด้วยครับ
                                ่

       การเรียกร้องประชาธิปไตยจะบรรลุผลสาเร็จได้ ถ้าเราร่วมกันสร้าง
        การเมืองทีถูกต้อง เป็นการเมืองที่ "เป้าหมาย" และ "วิธีการ" ต้องเป็น
                  ่
        ธรรมะ หรือเป็นการเมืองที่มศีลธรรม และเป็นไปเพือประโยชน์สุขของ
                                   ี                     ่
        ประชาชนทั้งมวลอย่างแท้จริง และนักต่อสู้เพือประชาธิปไตยไม่พึง
                                                   ่
        รังเกียจคาว่า "ธรรมะ" หรือ "ศีลธรรม" หากแต่ควรทาความเข้าใจ
        ความหมายที่ถูกต้องของคาดังกล่าวนี้ และใช้มันอย่างไม่บิดเบือน




                                                              Kpi.ac.th
KPI


       "จริงๆ แล้วทั้งพี่น้องไทยพุทธและมุสลิมไม่มีใครต้องการให้เกิดเหตุการณ์ลักษณะนี้ขึ้น
        แต่ที่สาคัญคือมีคนคิดแทน จุดนี้เป็นปัญหาใหญ่ เพราะญาติหรือบุตรหลานของผู้สญเสีย       ู
        อาจจะไม่ได้คิดอะไร คือรู้สึกเสียใจแต่ก็อโหสิกรรม แต่ขณะเดียวกันกลับมีคนคิดแทน
        พวกเขา และผมเชื่อว่านีคือสิ่งที่เกิดขึ้นอยู่ทุกวันนี้ในสามจังหวัดชายแดนภาคใต้"
                                  ่
      
        "เหตุการณ์ที่เกิดกับพระ แม้จะยังไม่มีใครยืนยันว่าเกี่ยวข้องกับการแก้แค้นเชิงสัญลักษณ์
        หรือไม่ หรือเกี่ยวเนื่องกับเหตุการณ์ร้ายอื่นๆ หรือเปล่า แต่ก็เห็นได้ชัดว่าก่อนเกิดเหตุครั้ง
        นี้เพิ่งมีการปะทะในพื้นที่อาเภอยะหา (เจ้าหน้าที่วิสามัญฆาตกรรมผู้ค้ายาเสพติดซึง    ่
        เกี่ยวพันกับกลุ่มก่อความไม่สงบ) และยังมีเหตุการณ์กราดยิงสามแม่ลกที่ตาบลปูยุด
                                                                               ู
        อาเภอยะรัง จังหวัดปัตตานี รวมทั้งเหตุการณ์กราดยิงร้านน้าชาที่บ้านกาโสด อาเภอ
        บันนังสตา จังหวัดยะลา ซึ่งหลังจากกราดยิงร้านน้าชาก็มีการฆ่าเผาสองสามีภรรยาไทย
        พุทธด้วย" นายอนุศาสตร์ กล่าว และว่าอยากให้ทุกฝ่ายออกมาช่วยกันประณามการกระทา
        รุนแรงในลักษณะนี้ เพื่อใช้กระแสและพลังของภาคประชาชนกดดันไม่ให้เกิดเหตุร้ายอีก
        ต่อไป...




                                                                                  Kpi.ac.th
“รายงานปัญหาความไม่สงบในจังหวัดชายแดนภาคใต้:
      บทวิเคราะห์และแนวทางการแก้ปัญหาด้วยสันติวิธี”
                            โดย
นักศึกษาหลักสูตรประกาศนียบัตรชั้นสูง “การเสริมสร้างสังคม
                      สันติสุข” รุ่นที่ ๑
      สานักสันติวธีและธรรมาภิบาล สถาบันพระปกเกล้า
                 ิ
KPI          ปัญหาใจกลาง

ปัญหาใจกลางของความไม่สงบในจังหวัดชายแดนภาคใต้คือการ
 ต่อสู้โดยอ้างถึงอุดมการณ์แบ่งแยกดินแดนของขบวนการต่อสู้ที่ปา
 ตานีซึ่งมีกลุ่มบีอาร์เอ็น โคออร์ดิเนตและพูโลเป็นแกนหลัก ผสม
 เข้ากับกลุ่มต่อต้านอานาจรัฐที่ต้องการตอบโต้การกระทาของ
 เจ้าหน้าที่รัฐบางส่วนที่ทางกลุ่มรู้สึกว่าไม่ได้รับความเป็นธรรม โดย
 มีประชาชนส่วนใหญ่เป็นผูได้รับผลกระทบท่ามกลางบรรยากาศ
                             ้
 ของความไม่ไว้เนื้อเชื่อใจระหว่างรัฐกับประชาชน รวมทั้งประชาชน
 กับประชาชนด้วยกันเอง

                                                          Kpi.ac.th
KPI              รากเหง้าของปัญหา:

 ความรุนแรงที่เกิดขึ้นในพื้นที่เป็นเพียงอาการของความขัดแย้งทางการเมืองที่
  เกี่ยวเนื่องกับมิติทางวัฒนธรรม ซึ่งมีรากเหง้ามาจาก
 ความรู้สกว่าไม่ได้รับความเป็นธรรมของประชาชนในพื้นที่จากการกระทาและทัศนคติ
             ึ
  ของเจ้าหน้าที่รัฐบางส่วนตั้งแต่ในอดีตที่เลือกปฏิบัติและไม่ยอมรับตัวตนของคนใน
  ท้องถิ่นอย่างสนิทใจ อันเนื่องมาจากความไม่เข้าใจกันอย่างแท้จริงและหวาดระแวงว่า
  ความแตกต่างในอัตลักษณ์จะเป็นภัยต่อความสงบและสันติสุขของสังคมไทย
 ความไม่ไว้เนื้อเชื่อใจระหว่างกลุ่มคนต่างๆทั้งในพื้นที่และนอกพื้นที่
 ความทรงจาในบาดแผลทางประวัติศาสตร์จากการกระทาของรัฐสยามในอดีตต่อรัฐ
  ปัตตานีที่เคยรุ่งเรือง
 โครงสร้างการจัดการบริหารปกครอง ทั้งในด้านกฎหมาย และนโยบายทางการเมือง
  เศรษฐกิจ และสังคมวัฒนธรรมที่ยังมีบางส่วนไม่สอดคล้องกับอัตลักษณ์และวิถีชีวิต
  ของคนในพื้นที่ ตลอดจนไม่เอื้อต่อการมีส่วนร่วมโดยตรงของประชาชนในระดับที่
                                                                         Kpi.ac.th
  สามารถสร้างความรู้สึกเป็นเจ้าของได้อย่างแท้จริงและเท่าเทียม
KPI



ทั้งหมดนี้ทาให้คนมลายูปาตานีโดยเฉพาะกลุ่มที่ใช้ความ
 รุนแรงรู้สึกว่าไม่สามารถเป็นส่วนหนึ่งของสังคมไทยได้
 อย่างมีเกียรติและมีคุณค่า ผู้เกี่ยวข้องกับการแก้ไข
 ปัญหาทุกภาคส่วนจะต้องตระหนักถึงปัญหาใจกลางและ
 รากเหง้าดังกล่าว โดยรวมศูนย์ความสนใจไว้ที่ประเด็น
 เหล่านี้ ไม่เช่นนั้นจะไม่สามารถกาหนดทิศทางแก้ปัญหาที่
 ถูกต้องได้

                                              Kpi.ac.th
KPI              โจทย์สาคัญต่อการแก้ปัญหา
 มาตรการสาคัญ ๒ ข้อที่เชื่อมโยงกับรากเหง้าของปัญหาตามที่กล่าวไป คือ
 ทาอย่างไรที่จะให้ประชาชนรวมถึงผู้ที่เห็นต่างจากรัฐได้มีส่วนร่วมทางการเมืองในการ
  แก้ไขปัญหาและขับเคลื่อนกิจกรรมหรือนโยบายที่เกี่ยวข้องกับการดาเนินชีวิตอย่าง
  แท้จริง ผ่านโครงสร้างการจัดการบริหารปกครอง และนโยบายที่เป็นธรรมและ
  สอดคล้องกับอัตลักษณ์ของคนในพื้นที่ รวมทั้งให้ชุมชนในพื้นที่มีความเข้มแข็งและมี
  ความพร้อมในการเข้ามามีส่วนร่วมด้วยความรู้สึกว่ามีความเท่าเทียมและด้วยความคิด
  อิสระ
 ทาอย่างไรที่จะขจัดความไม่ไว้เนื้อเชื่อใจระหว่างกันให้หมดสิ้นโดยเร็ว โดยที่เจ้าหน้าที่
  รัฐ ประชาชนในสังคมใหญ่และในจังหวัดชายแดนภาคใต้ จะเกิดความเข้าใจ ยอมรับ
  และเห็นคุณค่าความหลากหลายทางวัฒนธรรมและอัตลักษณ์ของคนในพื้นที่อย่าง
  เพียงพอที่ไม่รู้สึกหวาดระแวงว่าความแตกต่างดังกล่าวจะเป็นภัยต่อความสงบและสันติ
  สุข หากแต่เป็นพลังทางบวกต่อสังคมไทย รวมทั้งสร้างความเชื่อมั่นศรัทธาที่ประชาชน
  มีต่อรัฐ โดยเฉพาะเรื่องความเป็นธรรม อันจะนาไปสู่การให้ความร่วมมือในการแก้ไข
  ปัญหา
                                                                          Kpi.ac.th
KPI          กรอบคิดทิศทางในการแก้ปญหา
                                    ั

การแก้ไขปัญหาต้องอยู่ในกรอบของสันติวิธีโดยใช้การเมืองนา
 การทหารอย่างแท้จริง สันติวิธีมิได้ปฏิเสธการใช้การทหาร หากแต่
 ต้องใช้การทหารในส่วนที่เกี่ยวข้องกับการบังคับใช้กฎหมายที่ต้อง
 อยู่ภายใต้หลักนิตธรรมในลักษณะที่คุมความรุนแรงมิให้ขยายตัว
                   ิ
 และต้องสนับสนุนและตอบสนองต่อเป้าหมายของงานการเมือง
 เท่านั้น โดยนอกจากรัฐจะใช้งานการเมืองในการพัฒนาคุณภาพ
 ชีวิตของคนในพื้นที่แล้ว รัฐยังจาเป็นต้องใช้งานการเมืองในเชิงรุก
 ต่อกลุ่มแนวคิดที่เห็นต่างกันในสังคมท้องถิ่นให้สามารถยอมรับกัน
 ได้ในระดับทีจะอยู่ร่วมกันอย่างมีศักดิ์ศรี เท่าเทียมกัน
              ่
                                                       Kpi.ac.th
KPI           ข้อเสนอแนะงานการเมืองเชิงรุก

  ข้อเสนอแนะ ๙ ข้อนี้เป็นการใช้งานการเมืองเชิงรุกสู่การแก้ไขปัญหา
   ความไม่สงบในจังหวัดชายแดนภาคใต้ที่ยั่งยืนบนหลักการ
         สร้างความไว้เนื้อเชื่อใจ
         สร้างความเป็นธรรม
         เปิดพื้นที/มีส่วนร่วม
                    ่
         รับฟังเสียง
         สร้างความเข้าใจ
         สอดคล้องอัตลักษณ์”

                                                         Kpi.ac.th
KPI         จัดการพูดคุยสันติภาพ (Peace Talk)



 กับกลุ่มขบวนการที่เห็นต่างจากรัฐ ด้วยกระบวนการที่เป็น
  ระบบตามลาดับขั้นตอนทีเหมาะสมและมีผลให้เกิดความ
                            ่
  ไว้วางใจที่จะพูดคุยกันได้ในเชิงลึก และหาทางออกร่วมกัน
  อย่างสันติแบบยั่งยืนได้เพื่อการแก้ปัญหาที่ตรงจุด อันจะ
  นาไปสู่การยุติความสูญเสียของทุกฝ่ายให้เร็วที่สุด ทั้งนี้ ต้อง
  ย้าว่าการพูดคุยดังกล่าวไม่ใช่การเจรจา (Negotiation)
  แต่เป็นการเน้นทาความเข้าใจระหว่างกัน

                                                      Kpi.ac.th
KPI        จัดการพูดคุยสันติภาพ (Peace Talk)


กับกลุ่มขบวนการที่เห็นต่างจากรัฐ ด้วยกระบวนการที่เป็น
 ระบบตามลาดับขั้นตอนที่เหมาะสมและมีผลให้เกิดความ
 ไว้วางใจที่จะพูดคุยกันได้ในเชิงลึก และหาทางออกร่วมกัน
 อย่างสันติแบบยั่งยืนได้เพื่อการแก้ปัญหาที่ตรงจุด อันจะ
 นาไปสู่การยุติความสูญเสียของทุกฝ่ายให้เร็วที่สุด ทั้งนี้
 ต้องย้าว่าการพูดคุยดังกล่าวไม่ใช่การเจรจา
 (Negotiation) แต่เป็นการเน้นทาความเข้าใจระหว่าง
 กัน
                                                  Kpi.ac.th
KPI



เสริมสร้างความเข้มแข็งและความพร้อมแก่ชุมชนและภาค
 ประชาสังคมในพื้นที่ เพื่อให้สามารถเข้าถึงกระบวนการยุติธรรม
 และสวัสดิการของรัฐอย่างเท่าเทียม และเปิดพื้นที่ที่จะใช้สนติวิธี
                                                         ั
 สามารถร่วมกันริเริ่มกิจกรรมที่เป็นประโยชน์ต่อการแก้ไขปัญหา
 ความไม่สงบและสร้างสันติสุขที่ยั่งยืนด้วยตนเองบนฐานของการ
 มีส่วนร่วมอย่างกว้างขวางจากประชาชนในพื้นที่ โดยข้อเสนอนี้
 ตั้งอยู่บนฐานคิดที่ว่าปัญหาในท้องถิ่นต้องแก้ไขโดยคนใน
 ท้องถิ่นเอง

                                                       Kpi.ac.th
ร่วมสร้างเครือข่ายสันติภาพชายแดนใต้
KPI
           (PeaceNet)

ที่มุ่งเน้นการมีส่วนร่วมของภาคส่วนต่างๆในการ
 แลกเปลี่ยนเรียนรู้ข้อมูลและประสบการณ์การแก้ไข
 ปัญหาและการใช้สันติวิธีร่วมกัน ตลอดจนสนับสนุน
 ช่วยเหลือกันในแง่ขององค์ความรู้ ทรัพยากร และกาลังใจ
 ในการทางานเพื่อให้เกิดพลังในการแก้ไขปัญหาร่วมกัน



                                                 Kpi.ac.th
KPI



ผลักดันให้มีการจัดตั้งคณะกรรมการร่วมแสวงหาความจริงและ
 สมานฉันท์ (Truth and Reconciliation
 Commission) เพื่อเป็นกลไกขับเคลื่อนให้เกิดความ
 ยุติธรรมและความไว้วางใจในพื้นที่ ซึ่งประกอบด้วยตัวแทนจาก
 ทุกภาคส่วนที่เกี่ยวข้อง โดยร่วมกันแสวงหาและเปิดเผยความ
 จริงเกี่ยวกับเหตุการณ์ความรุนแรงและข่าวลือต่างๆที่เกิดขึ้นใน
 พื้นที่ โดยมีเป้าหมายในการค้นหาข้อเท็จจริงและสร้างความ
 เข้าใจทีถูกต้องตรงกันของทุกภาคส่วน อันจะนาไปสู่ความเป็น
          ่
 ธรรมและความไว้วางใจระหว่างกันในพื้นที่
                                                    Kpi.ac.th
KPI          กาหนดยุทธศาสตร์สื่อสารสังคม

เพื่อสร้างความเข้าใจในสถานการณ์และความจริงของพื้นที่และการส่ง
 สัญญาณแห่งการอยู่ร่วมกันอย่างสันติสุขระหว่างคนในสังคมใหญ่กับใน
 พื้นที่ในฐานะพลเมืองไทยบนความหลากหลายของสังคมพหุวัฒนธรรม
ศึกษาและพัฒนาการจัดการบริหารปกครองที่เหมาะสมและเป็นไปได้โดย
 เน้นการมีส่วนร่วมโดยตรงของประชาชนและสอดคล้องกับอัตลักษณ์และ
 วัฒนธรรมในพื้นที่ตามกรอบของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย
ส่งเสริมการศึกษาความเป็นไปได้ในการจัดตั้งศาลกฎหมายอิสลามว่าด้วย
 ครอบครัวและมรดกภายใต้โครงสร้างสานักงานศาลยุติธรรมไทย


                                                       Kpi.ac.th
KPI   Working Language


      ส่งเสริมให้รัฐกาหนดการใช้ภาษามลายูเป็นภาษา
       ทางาน ในจังหวัดชายแดนภาคใต้อีกภาษาหนึ่ง
       ควบคู่กับภาษาไทย
      ส่งเสริมให้มการตรวจสอบการบังคับใช้กฎหมาย
                    ี
       พิเศษของเจ้าหน้าที่รัฐที่เกี่ยวข้องให้เป็นไปตาม
       หลักนิติธรรมและไม่เลือกปฏิบัติ รวมทั้ง
       ประเมินผลกระทบต่อประชาชนอย่างสม่าเสมอ


                                              Kpi.ac.th
KPI            ข้อเสนอที่ ๑ – ๖ เป็นข้อเสนอหลัก
ข้อเสนอที่ ๑
เป็นการส่งสัญญาณที่จะใช้สันติวิธีเป็นแนวทางหลักในการยุติความรุนแรง
ข้อเสนอที่ ๒ และ ๓
เป็นข้อเสนอเชิงกระบวนการเพื่อให้มีเวทีพบปะแลกเปลี่ยนซึ่งเชื่อมถึงฐาน
รากในการเปิดพื้นที่การมีส่วนร่วมของประชาชนอย่างกว้างขวาง
ข้อเสนอที่ ๔
เป็นกลไกขับเคลื่อนให้เกิดความเป็นธรรมและความไว้วางใจในพื้นที่
ข้อเสนอที่ ๕
การสื่อสารเน้นสร้างความเข้าใจกับสังคมใหญ่ให้เห็นประโยชน์ของสันติวิธีและเกิด
ทัศนคติที่เห็นคุณค่าของการอยู่ร่วมกันอย่างสันติภายใต้สังคมพหุวัฒนธรรม
                                                                 Kpi.ac.th
KPI             ข้อเสนอที่ ๑ – ๖ เป็นข้อเสนอหลัก
ข้อเสนอที่ ๖
โครงสร้างบริหารการปกครองปรับให้สอดคล้องกับอัตลักษณ์และวัฒนธรรมของ
คนในพื้นที่ตามกรอบของรัฐธรรมนูญและเอื้อต่อการมีส่วนร่วมของประชาชน
ข้อเสนอที่ ๗ – ๙
เป็นข้อเสนอรองที่สนับสนุนส่งเสริมให้ผู้เกี่ยวข้องดาเนินการเพิ่มเติม
จากเดิมอย่างจริงจังและต่อเนื่อง อันจะทาให้ได้ใจคนมลายูปาตานี ทาให้เขารู้สึกว่า
รัฐและสังคมใหญ่ยอมรับ เคารพ และเห็นคุณค่าในอัตลักษณ์อย่างจริงจังและ
จริงใจ สามารถดาเนินชีวิตได้อย่างมีเกียรติมีศักดิ์ศรี ไม่รู้สึกแปลกแยก และมี
ความภาคภูมิใจที่เกิดเป็นพลเมืองไทยเชื้อสายมลายูในสังคมไทยที่หลากหลายและ
เป็นธรรม
                                                                 Kpi.ac.th
POPULATION
     KPI
World         6,372,797,742

China         1,341,335,000    1         Germany       82,431,390    16
India         1,224,614,000    2            Egypt      77,505,756    17
EU             456,285,839     3         Ethiopia      73,053,286    18
USA            310,384,000     4           Turkey      69,660,559    19
Indonesia      239,781,000     5             Iran      68,017,860    20
Brasil         134,946,000     6         Thailand      65,444,371     21
Pakistan       173,593,000     7           France      60,656,178    22
Bangladesh     144,319,628     8   United Kingdom      60,441,457    23
Russia         143,420,309     9           Congo       58,317,930    24
Nigeria        158,432,000    10             Italy     58,103,033    25
Japan          127,417,244    11            Korea      48,422,644    26
Mexico         106,202,903    12          Ukraine      47,425,336    27
Philippines     87,857,473    13      South Africa     44,344,136    28
Vietnam         83,535,576    14        Colombia       42,954,279
                                                            Kpi.ac.th 29
                              15           Burma       42,909,464    30
คนต่างชาติในประเทศไทย
 KPI

 China ดั้งเดิม KMT แก๊งต่างๆ หลบหนีโทษมาพัก
 พิง
 Russia /New State
 Myanmar/Ethnic
 North Korea
 South Africa
 Iran
 คนคืนถิ่น
                                        Kpi.ac.th
World Muslim Population
 KPI
General & Islamic Source
  Continent        Population in            Muslim              Muslim
                       2003               Population in        Percentage
                                             2003
Africa                          861.20              461.77               53.62
Asia                           3830.10             1178.89               30.78
Europe                          727.40               52.92                7.28
North America                   323.10                6.78                2.10
South America                   539.75                3.07                0.57
Oceania                           32.23                0.60                   1.86
Total                           6313.78             1704.03              26.99

Muslim Population is increasing at the rate of 2.9%**
We are taking the rate of natural increase as 2% around the world. The
Muslim population in 2003 was 1704.03 million.

**US Center For World Mission 1997 Report
                                                                  Kpi.ac.th
Muslim
KPI


การเปลี่ยนแปลงเริ่มจากศตวรรษที่ ๗ กลุ่มประเทศมุสลิมเพิ่มมากขึ้นจาก
 บริเวณตะวันออกกลาง สู่ยุโรป
หลังการล่มสลายของระบบสังคมนิยม ๑๙๙๐ มีบอสเนีย และเอเซียกลาง
 แยกจากรัสเซีย รวมเป็น Islamic Conference Organization(ICO)ไม่มี
 เอกภาพในรูปแบบการปกครองในประเทศ มีนโยบายต่างประเทศที่
 แตกต่างกัน
มีเอกลักษณ์เป็นของตัวเอง และมีปัจเจกชนนิยมสูง
 เป็นไปตามประวัติศาสตร์ ภูมิศาสตร์ และยุทธศาสตร์ของที่ตั้งประเทศตาม
 ภูมิรัฐศาสตร์(Geopolitics)
มีการนาของประมุขที่มีกรอบแนวความคิด บุคลิก ประสบการณ์ส่วนตัว
 ต่างกันไป                                                Kpi.ac.th
KPI
                                        ประเทศมุสลิม


 ประเทศมุสลิมที่ปกครองในระบอบกษัตริย์หรือเจ้าผู้ครองใน
 ลักษณะสมบูรณาญาสิทธิราชย์หรือกึ่งๆ
 ประเทศมุสลิมประชาธิปไตยแบบสมัยใหม่
 ประเทศมุสลิมสมัยใหม่กึ่งประชาธิปไตย
 ประเทศมุสลิมแนวปฏิวติั
 ประเทศมุสลิมสายเคร่ง
 ประเทศมุสลิมผสมอิทธิพลของวัฒนธรรมสลาฟ
                                                 Kpi.ac.th
ประเทศมุสลิม
  KPI


 ประเทศมุสลิมที่ปกครองในระบอบกษัตริย์หรือเจ้าผูครองแบบสมบูรณาญาสิทธิราชย์หรือ
                                                   ้
  กึ่งๆ(โมร็อกโก จอร์แดน ซาอุดิอารเบีย บรูไน และรัฐเล็กๆ ริมอ่าวเปอร์เซีย)
 ประเทศมุสลิมประชาธิปไตยแบบสมัยใหม่(มาเลเซีย อินโดนีเซีย ตุรกี)
 ประเทศมุสลิมสมัยใหม่กึ่งประชาธิปไตย(ปากีสถาน แอลจีเรีย อียิปต์ ตูนิเซีย
  เลบานอน)
 ประเทศมุสลิมแนวปฏิวัติ(อิรัก ซีเรีย ลิเบีย ซึ่งมีผู้นาในลักษณะเผด็จการหรือกึ่งเผด็จ
  การ)
 ประเทศมุสลิมสายเคร่ง(ศาสนามีอานาจเหนือรัฐ)รู้จักกันนาม Islamic
  Fundamentalism ได้แก่ อัฟกานิสถาน และอิหร่าน (ซึ่งเคร่งน้อยลงกว่าในทศวรรษ
  ๑๙๘๐)
 ประเทศมุสลิมผสมอิทธิพลของวัฒนธรรมสลาฟ ได้แก่ บรรดาประเทศในบริเวณเอเชีย
  กลางและคอเคซัสที่เคยรวมอยู่ในอดีตสหภาพโซเวียต(อุสเบกิสถาน เติร์กเมนิสถาน คา
  ซักสถาน ทิกิร์เซีย และอาเซอร์ไบจาน)
                                                                        Kpi.ac.th
ประเทศมุสลิมที่ต่อต้านสหรัฐอเมริกา และตะวันตก
   KPI

มักจะมาจากประเทศหรือกลุ่มมุสลิมสายเคร่ง เช่นอัฟกานิสถาน อิหร่าน
ขบวนการของชาวปาเลสไตน์บางกลุ่มเช่น Hamas และ Hezbollah
มุสลิมแนวปฏิวัติ เช่น อิรักและลิเบีย ก่อการร้ายต่อสหรัฐอเมริกาและกลุ่มประเทศ
 ตะวันตก เกิดจากสาเหตุหลายสาเหตุ
ผู้นาได้นาเอากฎหลักแบบเคร่งครัดของศาสนาอิสลามมาใช้เป็น “เครื่องมือทาง
 การเมือง” เพื่อต่อต้าน “การครองโลกแบบครบวงจรของสหรัฐอเมริกา
อารยธรรมของชนผิวขาวชาวคริสเตียน” เป็นสัตรูที่เกิดขึ้นระหว่าง “ฝรั่ง” กับ
 “มุสลิม” (ฮันติงตันเรียกว่า “The Clash of Civilizations” )
ผู้นามีความนับถือตัวเอง และเชื่อมั่นในตัวเองสูง เช่น ซัดดัมฮุสเซน โมอามาร์ กัด
 ดาฟี
กฎระเบียบที่มีลักษณะเป็น “กฎโลก” ที่ใช้ในองค์การระหว่างประเทศหลาย
 องค์การเช่น สหประชาชาติ กองทุนการเงินระหว่างประเทศ ธนาคารโลก
 องค์การการค้าระหว่างประเทศองค์การกาหนดมาตรฐานระหว่างประเทศ ฯลฯ
 เหล่านี้ มักมีสหรัฐอเมริกาและพันธมิตรอยู่เบื้องหลัง                 Kpi.ac.th
ประเทศมุสลิมที่มีความสัมพันธ์อันดีกับ
KPI
      สหรัฐอเมริกาและกลุ่มประเทศตะวันตก
      อิยิปต์
      โมร็อกโก
      จอร์แดน
      ซาอุดิอาระเบีย
      ตูนิเซีย
      ปากีสถาน
      รัฐเล็กๆ ริมอ่าวเปอร์เซีย
      อินโดนีเซีย
      บูรไน

                                        Kpi.ac.th
..
     กลุ่มประเทศแถบเอเชียใต้ ประชากรมุสลิม           กลุ่มประเทศอาเซียน ประชากรมุสลิม
                 326.9 ล้านคน                                  192.5 ล้านคน
      กลุ่มตะวันออกกลาง
  ประชากรมุสลิม 194.4 ล้านคน




กลุ่มยุโรปตะวันออก ประชากรมุสลิม                  ไทย 6 ล้านคน
            72.7 ล้านคน
    กลุ่มแอฟริกา ประชากรมุสลิม
            294 ล้านคน
KPI
                Russia sees Muslim population boom

ชุมชนมุสลิมในรัสเซียเติบโตสูงมาก อัตราการเกิดของชาวรัสเซีย
  ลดลง แนวโน้มประชากรมุสลิมจะมากกว่าชาวรัสเซียเดิมใน ๓๐ ปี
จานวนผู้อพยพชาวมุสลิมจากโซเวียตเพิ่มขึ้นตลอด และอายุสั้นลงการ
 เกิดต่า ประชากรลดลง ๗๐๐,๐๐๐ คน/ปี

การให้เสรีภาพนับถือศาสนาทาให้ศาสนาอิสลามเฟื่องฟู ปัจจุบันมี
  ประชากรมุสลิม ๒๕ ล้านคน เติบโตจากปี ๑๙๘๙ ประมาณร้อยละ ๔๐
 ผู้นามุสลิมกล่าวว่ารัสเซียเป็นสวรรค์สาหรับผู้อพยพมุสลิม

ชาวรัสเซียหลายคนเริ่มกลัวว่าจะกลายเป็นชนกลุ่มน้อยใน
 ดินแดนของตัวเอง                                             Kpi.ac.th

More Related Content

What's hot

4.หลักสูตรสังคม
4.หลักสูตรสังคม4.หลักสูตรสังคม
4.หลักสูตรสังคมnang_phy29
 
118+heap4+dltv54+550209+a+สไลด์ การปฐมพยาบาล (1 หน้า)
118+heap4+dltv54+550209+a+สไลด์ การปฐมพยาบาล (1 หน้า)118+heap4+dltv54+550209+a+สไลด์ การปฐมพยาบาล (1 หน้า)
118+heap4+dltv54+550209+a+สไลด์ การปฐมพยาบาล (1 หน้า)Prachoom Rangkasikorn
 
สิ่งมีชีวิตกับสิ่งแวดล้อม
สิ่งมีชีวิตกับสิ่งแวดล้อมสิ่งมีชีวิตกับสิ่งแวดล้อม
สิ่งมีชีวิตกับสิ่งแวดล้อมNamkang Patchar
 
โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์nuttanansaiutpu
 
บทที่ 4 การบริหารงานในประเทศที่กำลังพัฒนา
บทที่ 4   การบริหารงานในประเทศที่กำลังพัฒนาบทที่ 4   การบริหารงานในประเทศที่กำลังพัฒนา
บทที่ 4 การบริหารงานในประเทศที่กำลังพัฒนาSaiiew
 
แผ่นพับ ลิลิตตะเลงพ่าย
แผ่นพับ ลิลิตตะเลงพ่ายแผ่นพับ ลิลิตตะเลงพ่าย
แผ่นพับ ลิลิตตะเลงพ่ายAum Orrawan
 
ชุดที่ 13แผนที่ เข็มทิศ
ชุดที่ 13แผนที่  เข็มทิศชุดที่ 13แผนที่  เข็มทิศ
ชุดที่ 13แผนที่ เข็มทิศmungmat
 
บทบาทสตรีในอนาคต
บทบาทสตรีในอนาคตบทบาทสตรีในอนาคต
บทบาทสตรีในอนาคตTaraya Srivilas
 
วิธีการพูด
วิธีการพูดวิธีการพูด
วิธีการพูดareemarketing
 
จิตรปทา ฉันท์ 8 จิรประภา
จิตรปทา ฉันท์ 8 จิรประภาจิตรปทา ฉันท์ 8 จิรประภา
จิตรปทา ฉันท์ 8 จิรประภาJiraprapa Noinoo
 
ความหลากหลายของระบบนิเวศ
ความหลากหลายของระบบนิเวศความหลากหลายของระบบนิเวศ
ความหลากหลายของระบบนิเวศKittiya GenEnjoy
 
การประสานประโยชน์ระหว่างประเทศ
การประสานประโยชน์ระหว่างประเทศการประสานประโยชน์ระหว่างประเทศ
การประสานประโยชน์ระหว่างประเทศPannaray Kaewmarueang
 
เครื่องดื่มทำลายฤทธิ์ยา
เครื่องดื่มทำลายฤทธิ์ยาเครื่องดื่มทำลายฤทธิ์ยา
เครื่องดื่มทำลายฤทธิ์ยาJintana Somrit
 
มะเร็งเต้านม
มะเร็งเต้านม มะเร็งเต้านม
มะเร็งเต้านม techno UCH
 
ภูมิศาสตร์ทวีปเอเชีย.
ภูมิศาสตร์ทวีปเอเชีย.ภูมิศาสตร์ทวีปเอเชีย.
ภูมิศาสตร์ทวีปเอเชีย.Mod Haha
 

What's hot (20)

4.หลักสูตรสังคม
4.หลักสูตรสังคม4.หลักสูตรสังคม
4.หลักสูตรสังคม
 
ความขัดแย้งหลังสงครามเย็น
ความขัดแย้งหลังสงครามเย็นความขัดแย้งหลังสงครามเย็น
ความขัดแย้งหลังสงครามเย็น
 
118+heap4+dltv54+550209+a+สไลด์ การปฐมพยาบาล (1 หน้า)
118+heap4+dltv54+550209+a+สไลด์ การปฐมพยาบาล (1 หน้า)118+heap4+dltv54+550209+a+สไลด์ การปฐมพยาบาล (1 หน้า)
118+heap4+dltv54+550209+a+สไลด์ การปฐมพยาบาล (1 หน้า)
 
สิ่งมีชีวิตกับสิ่งแวดล้อม
สิ่งมีชีวิตกับสิ่งแวดล้อมสิ่งมีชีวิตกับสิ่งแวดล้อม
สิ่งมีชีวิตกับสิ่งแวดล้อม
 
10
1010
10
 
โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
 
บทที่ 4 การบริหารงานในประเทศที่กำลังพัฒนา
บทที่ 4   การบริหารงานในประเทศที่กำลังพัฒนาบทที่ 4   การบริหารงานในประเทศที่กำลังพัฒนา
บทที่ 4 การบริหารงานในประเทศที่กำลังพัฒนา
 
ภาษาไทย จ้า11
ภาษาไทย จ้า11ภาษาไทย จ้า11
ภาษาไทย จ้า11
 
แผ่นพับ ลิลิตตะเลงพ่าย
แผ่นพับ ลิลิตตะเลงพ่ายแผ่นพับ ลิลิตตะเลงพ่าย
แผ่นพับ ลิลิตตะเลงพ่าย
 
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ Ppt[1]
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ Ppt[1]คัมภีร์ฉันทศาสตร์ Ppt[1]
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ Ppt[1]
 
ชุดที่ 13แผนที่ เข็มทิศ
ชุดที่ 13แผนที่  เข็มทิศชุดที่ 13แผนที่  เข็มทิศ
ชุดที่ 13แผนที่ เข็มทิศ
 
1แบบทดสอบระบบนิเวศ (ตอนที่ 1)
1แบบทดสอบระบบนิเวศ (ตอนที่ 1)1แบบทดสอบระบบนิเวศ (ตอนที่ 1)
1แบบทดสอบระบบนิเวศ (ตอนที่ 1)
 
บทบาทสตรีในอนาคต
บทบาทสตรีในอนาคตบทบาทสตรีในอนาคต
บทบาทสตรีในอนาคต
 
วิธีการพูด
วิธีการพูดวิธีการพูด
วิธีการพูด
 
จิตรปทา ฉันท์ 8 จิรประภา
จิตรปทา ฉันท์ 8 จิรประภาจิตรปทา ฉันท์ 8 จิรประภา
จิตรปทา ฉันท์ 8 จิรประภา
 
ความหลากหลายของระบบนิเวศ
ความหลากหลายของระบบนิเวศความหลากหลายของระบบนิเวศ
ความหลากหลายของระบบนิเวศ
 
การประสานประโยชน์ระหว่างประเทศ
การประสานประโยชน์ระหว่างประเทศการประสานประโยชน์ระหว่างประเทศ
การประสานประโยชน์ระหว่างประเทศ
 
เครื่องดื่มทำลายฤทธิ์ยา
เครื่องดื่มทำลายฤทธิ์ยาเครื่องดื่มทำลายฤทธิ์ยา
เครื่องดื่มทำลายฤทธิ์ยา
 
มะเร็งเต้านม
มะเร็งเต้านม มะเร็งเต้านม
มะเร็งเต้านม
 
ภูมิศาสตร์ทวีปเอเชีย.
ภูมิศาสตร์ทวีปเอเชีย.ภูมิศาสตร์ทวีปเอเชีย.
ภูมิศาสตร์ทวีปเอเชีย.
 

Viewers also liked

การวิเคราะห์ปัญหาจังหวัดชายแดนภาคใต้และแนวทางแก้ไข
การวิเคราะห์ปัญหาจังหวัดชายแดนภาคใต้และแนวทางแก้ไขการวิเคราะห์ปัญหาจังหวัดชายแดนภาคใต้และแนวทางแก้ไข
การวิเคราะห์ปัญหาจังหวัดชายแดนภาคใต้และแนวทางแก้ไขTaraya Srivilas
 
สถานการณ์ความขัดแย้งในอนาคต(296) 2
สถานการณ์ความขัดแย้งในอนาคต(296) 2สถานการณ์ความขัดแย้งในอนาคต(296) 2
สถานการณ์ความขัดแย้งในอนาคต(296) 2Taraya Srivilas
 
สถานการณ์ความขัดแย้งในอนาคต(296) 1
สถานการณ์ความขัดแย้งในอนาคต(296) 1สถานการณ์ความขัดแย้งในอนาคต(296) 1
สถานการณ์ความขัดแย้งในอนาคต(296) 1Taraya Srivilas
 
สันติวิธีและการจัดการความขัดแย้งในสังคมไทย
สันติวิธีและการจัดการความขัดแย้งในสังคมไทยสันติวิธีและการจัดการความขัดแย้งในสังคมไทย
สันติวิธีและการจัดการความขัดแย้งในสังคมไทยTaraya Srivilas
 
การจัดการความขัดแย้ง
การจัดการความขัดแย้งการจัดการความขัดแย้ง
การจัดการความขัดแย้งNabavee Serpa
 

Viewers also liked (6)

การวิเคราะห์ปัญหาจังหวัดชายแดนภาคใต้และแนวทางแก้ไข
การวิเคราะห์ปัญหาจังหวัดชายแดนภาคใต้และแนวทางแก้ไขการวิเคราะห์ปัญหาจังหวัดชายแดนภาคใต้และแนวทางแก้ไข
การวิเคราะห์ปัญหาจังหวัดชายแดนภาคใต้และแนวทางแก้ไข
 
สถานการณ์ความขัดแย้งในอนาคต(296) 2
สถานการณ์ความขัดแย้งในอนาคต(296) 2สถานการณ์ความขัดแย้งในอนาคต(296) 2
สถานการณ์ความขัดแย้งในอนาคต(296) 2
 
สถานการณ์ความขัดแย้งในอนาคต(296) 1
สถานการณ์ความขัดแย้งในอนาคต(296) 1สถานการณ์ความขัดแย้งในอนาคต(296) 1
สถานการณ์ความขัดแย้งในอนาคต(296) 1
 
Crma present1
Crma present1Crma present1
Crma present1
 
สันติวิธีและการจัดการความขัดแย้งในสังคมไทย
สันติวิธีและการจัดการความขัดแย้งในสังคมไทยสันติวิธีและการจัดการความขัดแย้งในสังคมไทย
สันติวิธีและการจัดการความขัดแย้งในสังคมไทย
 
การจัดการความขัดแย้ง
การจัดการความขัดแย้งการจัดการความขัดแย้ง
การจัดการความขัดแย้ง
 

Similar to กรณีศึกษาปัญหาในสามจังหวัดภาคใต้

การจัดการความขัดแย้งในพื้นที่
การจัดการความขัดแย้งในพื้นที่การจัดการความขัดแย้งในพื้นที่
การจัดการความขัดแย้งในพื้นที่Taraya Srivilas
 
หลักธรรมาภิบาล
หลักธรรมาภิบาลหลักธรรมาภิบาล
หลักธรรมาภิบาลWiroj Suknongbueng
 
กลางภาค ส31101 4
กลางภาค ส31101 4กลางภาค ส31101 4
กลางภาค ส31101 4thnaporn999
 
สู่สังคมที่ยอมรับกันว่า Fair 45
สู่สังคมที่ยอมรับกันว่า Fair 45สู่สังคมที่ยอมรับกันว่า Fair 45
สู่สังคมที่ยอมรับกันว่า Fair 45Taraya Srivilas
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1Albert Sigum
 
โปสเตอร์สัญญาประชาคม
โปสเตอร์สัญญาประชาคมโปสเตอร์สัญญาประชาคม
โปสเตอร์สัญญาประชาคมTaraya Srivilas
 
เครือข่ายพลังบวก ปลุกพลังบวก เปลี่ยนประเทศไทย
เครือข่ายพลังบวก ปลุกพลังบวก เปลี่ยนประเทศไทยเครือข่ายพลังบวก ปลุกพลังบวก เปลี่ยนประเทศไทย
เครือข่ายพลังบวก ปลุกพลังบวก เปลี่ยนประเทศไทยPoramate Minsiri
 
สันติ สามัคคี ปรองดอง ค่านิยม ๑๒ ประการ เนื้อหาช่วยสอน และจัดกิจกรรมเพื่อนครู...
สันติ สามัคคี ปรองดอง ค่านิยม ๑๒ ประการ เนื้อหาช่วยสอน และจัดกิจกรรมเพื่อนครู...สันติ สามัคคี ปรองดอง ค่านิยม ๑๒ ประการ เนื้อหาช่วยสอน และจัดกิจกรรมเพื่อนครู...
สันติ สามัคคี ปรองดอง ค่านิยม ๑๒ ประการ เนื้อหาช่วยสอน และจัดกิจกรรมเพื่อนครู...นายจักราวุธ คำทวี
 
นวัตกรรม การจัดกิจกรรมเสริมสร้างคุณธรรม ตามระบอบประชาธิปไตยในสถานศึกษา
นวัตกรรม  การจัดกิจกรรมเสริมสร้างคุณธรรม ตามระบอบประชาธิปไตยในสถานศึกษานวัตกรรม  การจัดกิจกรรมเสริมสร้างคุณธรรม ตามระบอบประชาธิปไตยในสถานศึกษา
นวัตกรรม การจัดกิจกรรมเสริมสร้างคุณธรรม ตามระบอบประชาธิปไตยในสถานศึกษาครูแชมป์ ฟักอ่อน
 

Similar to กรณีศึกษาปัญหาในสามจังหวัดภาคใต้ (12)

การจัดการความขัดแย้งในพื้นที่
การจัดการความขัดแย้งในพื้นที่การจัดการความขัดแย้งในพื้นที่
การจัดการความขัดแย้งในพื้นที่
 
หลักธรรมาภิบาล
หลักธรรมาภิบาลหลักธรรมาภิบาล
หลักธรรมาภิบาล
 
๔.ภาค ก. ความรอบรู้ทั่วไป
๔.ภาค ก.  ความรอบรู้ทั่วไป๔.ภาค ก.  ความรอบรู้ทั่วไป
๔.ภาค ก. ความรอบรู้ทั่วไป
 
036
036036
036
 
กลางภาค ส31101 4
กลางภาค ส31101 4กลางภาค ส31101 4
กลางภาค ส31101 4
 
สู่สังคมที่ยอมรับกันว่า Fair 45
สู่สังคมที่ยอมรับกันว่า Fair 45สู่สังคมที่ยอมรับกันว่า Fair 45
สู่สังคมที่ยอมรับกันว่า Fair 45
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
โปสเตอร์สัญญาประชาคม
โปสเตอร์สัญญาประชาคมโปสเตอร์สัญญาประชาคม
โปสเตอร์สัญญาประชาคม
 
เครือข่ายพลังบวก ปลุกพลังบวก เปลี่ยนประเทศไทย
เครือข่ายพลังบวก ปลุกพลังบวก เปลี่ยนประเทศไทยเครือข่ายพลังบวก ปลุกพลังบวก เปลี่ยนประเทศไทย
เครือข่ายพลังบวก ปลุกพลังบวก เปลี่ยนประเทศไทย
 
สันติ สามัคคี ปรองดอง ค่านิยม ๑๒ ประการ เนื้อหาช่วยสอน และจัดกิจกรรมเพื่อนครู...
สันติ สามัคคี ปรองดอง ค่านิยม ๑๒ ประการ เนื้อหาช่วยสอน และจัดกิจกรรมเพื่อนครู...สันติ สามัคคี ปรองดอง ค่านิยม ๑๒ ประการ เนื้อหาช่วยสอน และจัดกิจกรรมเพื่อนครู...
สันติ สามัคคี ปรองดอง ค่านิยม ๑๒ ประการ เนื้อหาช่วยสอน และจัดกิจกรรมเพื่อนครู...
 
Basic concept and fundamental principal for safe and creative media law
Basic concept and fundamental principal for safe and creative media lawBasic concept and fundamental principal for safe and creative media law
Basic concept and fundamental principal for safe and creative media law
 
นวัตกรรม การจัดกิจกรรมเสริมสร้างคุณธรรม ตามระบอบประชาธิปไตยในสถานศึกษา
นวัตกรรม  การจัดกิจกรรมเสริมสร้างคุณธรรม ตามระบอบประชาธิปไตยในสถานศึกษานวัตกรรม  การจัดกิจกรรมเสริมสร้างคุณธรรม ตามระบอบประชาธิปไตยในสถานศึกษา
นวัตกรรม การจัดกิจกรรมเสริมสร้างคุณธรรม ตามระบอบประชาธิปไตยในสถานศึกษา
 

More from Taraya Srivilas

การบริหารความขัดแย้ง บยส แจก
การบริหารความขัดแย้ง บยส แจกการบริหารความขัดแย้ง บยส แจก
การบริหารความขัดแย้ง บยส แจกTaraya Srivilas
 
นโยบายการจัดการความขัดแย้งด้วยสันติวิธี วทอ แจก
นโยบายการจัดการความขัดแย้งด้วยสันติวิธี วทอ แจกนโยบายการจัดการความขัดแย้งด้วยสันติวิธี วทอ แจก
นโยบายการจัดการความขัดแย้งด้วยสันติวิธี วทอ แจกTaraya Srivilas
 
จริยธรรมทางการแพทย์ 75 ปธพ.6
จริยธรรมทางการแพทย์ 75 ปธพ.6จริยธรรมทางการแพทย์ 75 ปธพ.6
จริยธรรมทางการแพทย์ 75 ปธพ.6Taraya Srivilas
 
การเรียนรู้ตามรอยพระยุคลบาท การพัฒนาคุณธรรมและจริยธรรมในการทำงาน
การเรียนรู้ตามรอยพระยุคลบาท การพัฒนาคุณธรรมและจริยธรรมในการทำงานการเรียนรู้ตามรอยพระยุคลบาท การพัฒนาคุณธรรมและจริยธรรมในการทำงาน
การเรียนรู้ตามรอยพระยุคลบาท การพัฒนาคุณธรรมและจริยธรรมในการทำงานTaraya Srivilas
 
แนวทางในการเรียนรู้ร่วมกันเพื่อลดความขัดแย้งในการจัดการป่าม้ระดับชุมชน
แนวทางในการเรียนรู้ร่วมกันเพื่อลดความขัดแย้งในการจัดการป่าม้ระดับชุมชนแนวทางในการเรียนรู้ร่วมกันเพื่อลดความขัดแย้งในการจัดการป่าม้ระดับชุมชน
แนวทางในการเรียนรู้ร่วมกันเพื่อลดความขัดแย้งในการจัดการป่าม้ระดับชุมชนTaraya Srivilas
 
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง สจว แจก
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง สจว  แจกสันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง สจว  แจก
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง สจว แจกTaraya Srivilas
 
ค้นหาตัวเอง อุซะ usa 69
ค้นหาตัวเอง อุซะ usa 69ค้นหาตัวเอง อุซะ usa 69
ค้นหาตัวเอง อุซะ usa 69Taraya Srivilas
 
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง วิทยาลัยตำรวจ
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง วิทยาลัยตำรวจสันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง วิทยาลัยตำรวจ
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง วิทยาลัยตำรวจTaraya Srivilas
 
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 webสถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 webTaraya Srivilas
 
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 webสถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 webTaraya Srivilas
 
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 Taraya Srivilas
 
การสร้างความสามัคคีปรองดอง ปยป. และ ความสมานฉันท์ในสังคมไทย
การสร้างความสามัคคีปรองดอง ปยป. และ ความสมานฉันท์ในสังคมไทยการสร้างความสามัคคีปรองดอง ปยป. และ ความสมานฉันท์ในสังคมไทย
การสร้างความสามัคคีปรองดอง ปยป. และ ความสมานฉันท์ในสังคมไทยTaraya Srivilas
 
สถิติเกี่ยวกับผู้หญิง
สถิติเกี่ยวกับผู้หญิงสถิติเกี่ยวกับผู้หญิง
สถิติเกี่ยวกับผู้หญิงTaraya Srivilas
 
บทบาทสตรีสันติภาพชายแดนใต้
บทบาทสตรีสันติภาพชายแดนใต้บทบาทสตรีสันติภาพชายแดนใต้
บทบาทสตรีสันติภาพชายแดนใต้Taraya Srivilas
 
บทบาทสตรีในอนาคต
บทบาทสตรีในอนาคตบทบาทสตรีในอนาคต
บทบาทสตรีในอนาคตTaraya Srivilas
 
บทบาทสตรีกับการสร้างสรรค์สังคมสันติสุข
บทบาทสตรีกับการสร้างสรรค์สังคมสันติสุขบทบาทสตรีกับการสร้างสรรค์สังคมสันติสุข
บทบาทสตรีกับการสร้างสรรค์สังคมสันติสุขTaraya Srivilas
 
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้า
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้าการสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้า
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้าTaraya Srivilas
 
เอกสารการสร้างความปรองดอง และสมานฉันท์ ผลงาน คสช
เอกสารการสร้างความปรองดอง และสมานฉันท์ ผลงาน คสชเอกสารการสร้างความปรองดอง และสมานฉันท์ ผลงาน คสช
เอกสารการสร้างความปรองดอง และสมานฉันท์ ผลงาน คสชTaraya Srivilas
 
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้า
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้าการสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้า
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้าTaraya Srivilas
 

More from Taraya Srivilas (20)

การบริหารความขัดแย้ง บยส แจก
การบริหารความขัดแย้ง บยส แจกการบริหารความขัดแย้ง บยส แจก
การบริหารความขัดแย้ง บยส แจก
 
นโยบายการจัดการความขัดแย้งด้วยสันติวิธี วทอ แจก
นโยบายการจัดการความขัดแย้งด้วยสันติวิธี วทอ แจกนโยบายการจัดการความขัดแย้งด้วยสันติวิธี วทอ แจก
นโยบายการจัดการความขัดแย้งด้วยสันติวิธี วทอ แจก
 
จริยธรรมทางการแพทย์ 75 ปธพ.6
จริยธรรมทางการแพทย์ 75 ปธพ.6จริยธรรมทางการแพทย์ 75 ปธพ.6
จริยธรรมทางการแพทย์ 75 ปธพ.6
 
การเรียนรู้ตามรอยพระยุคลบาท การพัฒนาคุณธรรมและจริยธรรมในการทำงาน
การเรียนรู้ตามรอยพระยุคลบาท การพัฒนาคุณธรรมและจริยธรรมในการทำงานการเรียนรู้ตามรอยพระยุคลบาท การพัฒนาคุณธรรมและจริยธรรมในการทำงาน
การเรียนรู้ตามรอยพระยุคลบาท การพัฒนาคุณธรรมและจริยธรรมในการทำงาน
 
แนวทางในการเรียนรู้ร่วมกันเพื่อลดความขัดแย้งในการจัดการป่าม้ระดับชุมชน
แนวทางในการเรียนรู้ร่วมกันเพื่อลดความขัดแย้งในการจัดการป่าม้ระดับชุมชนแนวทางในการเรียนรู้ร่วมกันเพื่อลดความขัดแย้งในการจัดการป่าม้ระดับชุมชน
แนวทางในการเรียนรู้ร่วมกันเพื่อลดความขัดแย้งในการจัดการป่าม้ระดับชุมชน
 
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง สจว แจก
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง สจว  แจกสันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง สจว  แจก
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง สจว แจก
 
ค้นหาตัวเอง อุซะ usa 69
ค้นหาตัวเอง อุซะ usa 69ค้นหาตัวเอง อุซะ usa 69
ค้นหาตัวเอง อุซะ usa 69
 
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง วิทยาลัยตำรวจ
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง วิทยาลัยตำรวจสันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง วิทยาลัยตำรวจ
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง วิทยาลัยตำรวจ
 
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 webสถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
 
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 webสถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
 
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8
 
American first muslim
American first muslimAmerican first muslim
American first muslim
 
การสร้างความสามัคคีปรองดอง ปยป. และ ความสมานฉันท์ในสังคมไทย
การสร้างความสามัคคีปรองดอง ปยป. และ ความสมานฉันท์ในสังคมไทยการสร้างความสามัคคีปรองดอง ปยป. และ ความสมานฉันท์ในสังคมไทย
การสร้างความสามัคคีปรองดอง ปยป. และ ความสมานฉันท์ในสังคมไทย
 
สถิติเกี่ยวกับผู้หญิง
สถิติเกี่ยวกับผู้หญิงสถิติเกี่ยวกับผู้หญิง
สถิติเกี่ยวกับผู้หญิง
 
บทบาทสตรีสันติภาพชายแดนใต้
บทบาทสตรีสันติภาพชายแดนใต้บทบาทสตรีสันติภาพชายแดนใต้
บทบาทสตรีสันติภาพชายแดนใต้
 
บทบาทสตรีในอนาคต
บทบาทสตรีในอนาคตบทบาทสตรีในอนาคต
บทบาทสตรีในอนาคต
 
บทบาทสตรีกับการสร้างสรรค์สังคมสันติสุข
บทบาทสตรีกับการสร้างสรรค์สังคมสันติสุขบทบาทสตรีกับการสร้างสรรค์สังคมสันติสุข
บทบาทสตรีกับการสร้างสรรค์สังคมสันติสุข
 
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้า
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้าการสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้า
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้า
 
เอกสารการสร้างความปรองดอง และสมานฉันท์ ผลงาน คสช
เอกสารการสร้างความปรองดอง และสมานฉันท์ ผลงาน คสชเอกสารการสร้างความปรองดอง และสมานฉันท์ ผลงาน คสช
เอกสารการสร้างความปรองดอง และสมานฉันท์ ผลงาน คสช
 
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้า
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้าการสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้า
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้า
 

กรณีศึกษาปัญหาในสามจังหวัดภาคใต้

  • 2. มองสามจังหวัดภาคใต้ KPI ด้านภูมิรัฐศาสตร์ 1200 กม.จากกรุงเทพฯ ชายแดนติดมาเลเซีย Kpi.ac.th
  • 3. KPI จานวนประชากรในสามจังหวัดภาคใต้  จานวนประชากร ประมาณ 1,800,000 คน  เป็นลักษณะพหุวัฒนธรรม : มุสลิม 80 % พุทธ และคริสต์ 20% Kpi.ac.th www.kpi.ac.th
  • 4. Mosque : 1750 Temple: 280 KPI Kpi.ac.th
  • 5. การแต่งตั้งจุฬาราชมนตรี โดยการโปรดเกล้า เป็นที่ปรึกษา KPI ด้านการศาสนาอิสลาม  ปัจจุบันนายอาศิส พิทกษ์คุมพล เป็นจุฬาราชมนตรี ั  เกิดตาบลหัวเขา อาเภอสิงหนคร จังหวัดสงขลา การศึกษา สถาบันการศึกษาปอเนาะในจังหวัดสงขลาและ ปัตตานี  อดีตประธานคณะกรรมการอิสลามประจาจังหวัดสงขลา  รองประธานคณะกรรมการกลางอิสลามแห่งประเทศไทย  สมาชิกสภาที่ปรึกษาเสริมสร้างสันติสุขจังหวัดชายแดนภาคใต้  ประธานคณะกรรมการยุติธรรม ความเสมอภาค และความ มั่นคง Kpi.ac.th
  • 6. KPI อาชีพหลักเกษตรกร และประมง Kpi.ac.th
  • 7. KPI Career: Agriculture, Fishing, other Kpi.ac.th
  • 8. KPI Problem and Root Cause of the problem Structure of Feeling they did not The Local Government receive a fair Not Trust Lack of space involvement and listen to voice development does not of the people. Comply with Identity Memories of historical 12 trauma. Kpi.ac.th www.kpi.ac.th
  • 9. KPI The root cause of the problem. History Education, inefficient and low quality. Bad behavior of Local government officials in the past. The failure of the state in policy implementation mechanisms into action. Don’t fair in law enforcement. Policy and social development plans in areas that do not meet local needs. Kpi.ac.th www.kpi.ac.th
  • 10. KPI Who conflict with anyone. Anti-government groups. Movement Government against the Pattani The influence The exploitation illegal. of the budget. 10 Kpi.ac.th www.kpi.ac.th
  • 11. The Office of Peace and Governance Strategy KPI King Prajadhipok’s Institute Peace Dialogue/ Peace Peace Talk Communication Decentralization PEACE BUILDING Find out the truth Strong Community Islam Law PeaceNet Local Language Cancel Special Laws Kpi.ac.th
  • 12. วัตถุประสงค์และหลักการของสหประชาชาติ KPI กาหนดไว้ในหมวดที่ ๑ มาตราที่ ๑ เพื่อบรรลุความร่วมมือ ระหว่างนานาชาติในการแก้ปัญหาประชาชาติในด้านเศรษฐกิจ วัฒนธรรม มนุษยธรรม และการส่งเสริม/กระตุ้นการเคารพใน สิทธิมนุษยชน (Human rights) และเสรีภาพพื้นฐาน (fundamental freedoms) โดยไม่มีการแบ่งแยกเผ่าพันธุ์ เพศ ภาษา ศาสนา Kpi.ac.th
  • 13. KPI องค์กรระหว่างประเทศด้านมนุษยชน เข้าติดตามตรวจสอบ การแบ่งแยกดินแดนเป็นเรื่องที่แทบจะเป็นไปไม่ได้ในปัจจุบัน หาก รัฐไม่สร้างเงื่อนไข เงื่อนไขที่หล่อเลี้ยงความขัดแย้งและความรุนแรง การละเมิดสิทธิมนุษยชนโดยเจ้าหน้าที่รัฐบางส่วน การรับรู้สะสมจากในอดีตสู่ปัจจุบัน ทาให้ประชาชนหวาดกลัวและไม่ ไว้ใจเจ้าหน้าที่รัฐ ทั้งยังเป็นการเปิดโอกาสให้ กลุ่มผู้ไม่หวังดีนามาใช้ในการตอกย้าบาดแผลความไม่เป็นธรรม ทางประวัติศาสตร์และการอานวยความยุติธรรม Kpi.ac.th
  • 14. KPI สิทธิมนุษยชน กับสันติวิธี  ทหารและตารวจในระดับปฏิบัติการส่วนใหญ่มี แนวโน้มที่จะปฏิบัติหน้าที่ให้อยู่ภายใต้กรอบของ กฎหมาย  สันติวิธีไม่ได้ปฏิเสธการใช้กาลังทหาร ปฏิบัติการทาง ทหารนั้นยังคงมีความจาเป็นต้องใช้ต่อไปเพื่อคุมความ รุนแรง Kpi.ac.th
  • 15. บทบัญญัติที่กาหนดในกฎบัตรสหประชาชาติ KPI หมวดที่ ๑ Article 2 ข้อ 7 “Nothing contained in the present charter shall authorize the UN to intervene in matters which are essentially within the domestic jurisdiction of any state or shall require the member to submit such matters to settlement under the present charter; But this principle shall not prejudice the application of enforcement measures under chapter 7” Kpi.ac.th www.kpi.ac.th
  • 16. กระบวนการสันติภาพ KPI กับปัญหาความขัดแย้งภายในประเทศ ปัญหาความขัดแย้งภายในชาติใดชาติหนึ่ง อาจมีสาเหตุจากเงื่อนไขหนึ่งหรือหลายประการประกอบกัน • ความไม่เป็นธรรมในสังคม • ความแตกต่างทางเชื้อชาติ ศาสนา เผ่าพันธุ์ • การรักษาการปกครองของรัฐ • กฎหมายหรือองค์กรบังคับใช้กฎหมาย อ่อนแอ • ภูมิรัฐศาสตร์ที่ไม่เอื้ออานวยให้อานาจการปกครองของ รัฐบาลกลางสถาปนาครอบคลุมพื้นที่อย่างเต็ม ประสิทธิภาพ Kpi.ac.th www.kpi.ac.th
  • 17. KPI ใครขัดแย้งกับใคร? 10 Kpi.ac.th www.kpi.ac.th
  • 18. เงื่อนไขที่หล่อเลี้ยงความรุนแรงคืออะไร? ปัญหารากเหง้า KPI การเลือกปฏิบัติ การซ้อมทรมาน การใช้วิธีการนอกกฎหมายในการจับกุม การจับผิดตัว การอุ้มฆ่าหะยีสุหลง การหายตัวไปของทนายสมชาย นีละไพจิตร เหตุการณ์ที่มัสยิดกรือเซะ ตากใบ การเสียชีวิตของอิหม่ามยะผา กาเซ็ง Kpi.ac.th
  • 19. KPI บทสรุป : กุญแจสู่สันติภาพ 81 Kpi.ac.th www.kpi.ac.th
  • 20. KPI ปัญหาใจกลางของความไม่สงบ การต่อสู้โดยอ้างถึงอุดมการณ์แบ่งแยกดินแดนของขบวนการ ต่อสู้ที่ปาตานี  กลุ่มบีอาร์เอ็น โคออร์ดิเนตและพูโลเป็นแกนหลัก  กลุ่มต่อต้านอานาจรัฐที่ต้องการตอบโต้การกระทาของเจ้าหน้าที่รัฐ  กลุ่มที่รู้สึกว่าไม่ได้รับความเป็นธรรม  ประชาชนส่วนใหญ่ที่เป็นผู้ได้รับผลกระทบ  ท่ามกลางบรรยากาศของความไม่ไว้เนื้อเชื่อใจระหว่างรัฐกับ ประชาชน รวมทั้งประชาชนกับประชาชนด้วยกันเอง Kpi.ac.th www.kpi.ac.th
  • 21. KPI รากเหง้าของปัญหา โครงสร้างการการปกครอง ความรู้สึกว่าไม่ได้รับความเป็นธรรม ขาดพื้นที่การมีส่วนร่วม และรับฟังเสียงประชาชน ความไม่ไว้เนื้อเชื่อใจ การพัฒนาที่ไม่สอดคล้องกับอัตลักษณ์ ความทรงจาในบาดแผลทางประวัติศาสตร์ 12 Kpi.ac.th www.kpi.ac.th
  • 22. KPI รากเหง้าของปัญหา ความขัดแย้งทางการเมืองที่เกี่ยวเนื่องกับมิติทางวัฒนธรรม ความรู้สึกว่าไม่ได้รับความเป็นธรรมของประชาชนในพื้นที่จากการ กระทาและทัศนคติของ จนท.รัฐบางส่วน การเลือกปฏิบัติและไม่ยอมรับตัวตนของคนในท้องถิ่นอย่างสนิทใจ ความไม่เข้าใจกันอย่างแท้จริงและหวาดระแวงว่าความแตกต่าง ในอัตลักษณ์จะเป็นภัยต่อความสงบและสันติสุขของสังคมไทย ความไม่ไว้เนื้อเชื่อใจระหว่างกลุ่มคนต่างๆทั้งในพื้นทีและนอก ่ พื้นที่ Kpi.ac.th www.kpi.ac.th
  • 23. KPI รากเหง้าของปัญหา  ความทรงจาในบาดแผลทางประวัติศาสตร์จากการกระทาของรัฐ สยามในอดีตต่อรัฐปัตตานีที่เคยรุ่งเรือง  โครงสร้างการจัดการบริหารปกครอง ทั้งในด้านกฎหมาย และ นโยบายทางการเมือง เศรษฐกิจ และสังคมวัฒนธรรม ที่ยังมี บางส่วนไม่สอดคล้องกับอัตลักษณ์และวิถีชีวิตของคนในพื้นที่  ตลอดจนไม่เอื้อต่อการมีส่วนร่วมโดยตรงของประชาชนในระดับที่ สามารถสร้างความรู้สึกเป็นเจ้าของได้อย่างแท้จริงและเท่าเทียม Kpi.ac.th www.kpi.ac.th
  • 24. KPI ความเป็นคนมลายู ความเป็นคนมลายูปาตานี กลุ่มที่ใช้ความรุนแรงรู้สึกว่าไม่สามารถเป็นส่วนหนึ่งของ สังคมไทยได้อย่างมีเกียรติและมีคุณค่า ผู้เกี่ยวข้องกับการแก้ไขปัญหาทุกภาคส่วนจะต้อง ตระหนักถึงปัญหาใจกลางและรากเหง้าดังกล่าว โดยรวม ศูนย์ความสนใจไว้ที่ประเด็นเหล่านี้ ไม่เช่นนั้นจะไม่ สามารถกาหนดทิศทางแก้ปัญหาที่ถูกต้องได้ Kpi.ac.th www.kpi.ac.th
  • 25. KPI สาเหตุรากเหง้าของปัญหา  การจัดการศึกษาที่ไร้ประสิทธิภาพและด้อยคุณภาพ  การแพร่ระบาดของสิ่งเสพติด  พฤติกรรมที่ไม่เหมาะสมของเจ้าหน้าที่รัฐ  ความล้มเหลวของกลไกรัฐในการนานโยบายไปสู่การปฏิบัติ  ความไม่ยุติธรรมในการบังคับใช้กฎหมาย  การค้าขายสิ่งผิดกฎหมาย  นโยบายและการจัดทาแผนพัฒนาสังคมในพื้นทีที่ไม่สอดคล้อง ่ กับความจาเป็นของท้องถิ่น Kpi.ac.th www.kpi.ac.th
  • 26. KPI สาเหตุรากเหง้าของปัญหา การกาหนดกฎเกณฑ์ ทางสังคมและการบังคับใช้กฎหมายที่ไม่สอดคล้องกับ วิถีชีวิตของประชาชน ความรู้สึกว่าไม่ได้รับความเป็นธรรม ทัศนคติของเจ้าหน้าที่รัฐบางส่วนในอดีตที่เลือกปฏิบัติ เกิดความรู้สึกว่าไม่สามารถดารงอยู่อย่างมีเกียรติและมีคุณค่าในสังคมไทย ไม่เอื้อต่อการให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมโดยตรงในระดับที่สามารถสร้าง ความรู้สึกเป็นเจ้าของได้อย่างแท้จริง อานาจมืดและอิทธิพลท้องถิ่น การแย่งชิงผลประโยชน์ของกลุ่มการเมืองระดับต่างๆ Kpi.ac.th www.kpi.ac.th
  • 27. KPI โจทย์สาคัญต่อการแก้ปัญหา ทาให้ประชาชน รวมถึงผู้ที่เห็นต่างจากรัฐมีส่วนร่วมทางการเมืองในการแก้ไข ปัญหา ขับเคลื่อนกิจกรรม นโยบายเกี่ยวข้องกับการดาเนินชีวิตอย่างแท้จริง ผ่านโครงสร้างการจัดการบริหารปกครอง และนโยบายที่เป็นธรรมและ สอดคล้องกับอัตลักษณ์ของคนในพื้นที่ ให้ชุมชนในพื้นที่มีความเข้มแข็งและมีความพร้อมในการเข้ามามีส่วนร่วมด้วย ความรู้สึกว่ามีความเท่าเทียมและด้วยความคิดอิสระ ทาอย่างไรที่จะขจัดความไม่ไว้เนื้อเชื่อใจระหว่างกันให้หมดสิ้นโดยเร็ว โดยที่ เจ้าหน้าที่รัฐ ประชาชนในสังคมใหญ่และในจังหวัดชายแดนภาคใต้ จะเกิด ความเข้าใจ ยอมรับ และเห็นคุณค่าความหลากหลายทางวัฒนธรรมและอัต ลักษณ์ของคนในพื้นที่อย่างเพียงพอที่ไม่รู้สึกหวาดระแวงว่าความแตกต่า สร้างความเชื่อมั่นศรัทธาที่ประชาชนต่อรัฐ โดยเฉพาะเรื่องความเป็นธรรม อันจะนาไปสู่การให้ความร่วมมือในการแก้ไขปัญหา Kpi.ac.th
  • 28. KPI กรอบคิดทิศทางในการแก้ปัญหา “การเมือง” สันติวิธี ..นา.. --------- การทหาร 26 Kpi.ac.th www.kpi.ac.th
  • 29. KPI อุปสรรคต่อการใช้สันติวิธีในการแก้ไขปัญหา? ความเข้าใจความหมายสันติวิธีไม่ตรงกัน การแปลงนโยบายสู่การปฏิบัติยังมีช่องว่าง การเมืองยังไม่อาจนาการทหารได้อย่างแท้จริง การละเมิดสิทธิมนุษยชนในพื้นที่ อุปสรรคต่อการใช้สันติวิธี แต่ละฝ่ายต่างมีความจริงคนละชุด ภาคประชาสังคมส่วนใหญ่ยังไม่เข้มแข็ง กลุ่มขบวนการไม่มีพื้นที่การเมือง 26 เจ้าหน้าที่รัฐขาดขวัญกาลังใจ Kpi.ac.th www.kpi.ac.th
  • 30. KPI แนวโน้มเชิงบวก 1. นโยบายของรัฐโดยรวมนั้นเป็นไปในทิศทางที่มุ่งใช้สันติวิธีเป็นหลัก 2. ทหารและตารวจในระดับนโยบายเริ่มเข้าใจและเห็นความสาคัญ ของการใช้สันติวธีมากขึ้น ิ 3. ทหารและตารวจในระดับปฏิบติการส่วนใหญ่พยายามปฏิบัตหน้าที่ให้อยู่ภายใต้กรอบของกฎหมาย ั ิ 4. การจัดตั้งสานักบริหารจังหวัดชายแดนภาคใต้ (สบ.ชต.) 5. ความพยายามที่จะเรียนรู้ประสบการณ์การแก้ไขปัญหาความขัดแย้ง จากกรณีศึกษาอื่นๆในต่างประเทศด้วยสันติวิธี 35 Kpi.ac.th www.kpi.ac.th
  • 31. KPI หลักการของสันติวิธีเพื่อการแก้ไขปัญหา 41 Kpi.ac.th www.kpi.ac.th
  • 32. KPI รูปธรรมของการใช้สันติวิธี 46 Kpi.ac.th www.kpi.ac.th
  • 33. KPI ส่วนที่ 4 ข้อเสนอแนะเชิงรุก ต่อการแก้ปัญหาที่ยั่งยืน ด้วยสันติวิธี 55 Kpi.ac.th www.kpi.ac.th
  • 34. KPI ข้อเสนอแนะงานการเมืองเชิงรุก 1. จัดการพูดคุยสันติภาพ (Peace Talk) กับกลุ่มขบวนการที่เห็นต่างจากรัฐ 2. ร่วมสร้างเครือข่ายสันติภาพชายแดนใต้ (Peace Net) 3. กาหนดยุทธศาสตร์สื่อสารสังคม(Peace Communication) 9 4. ผลักดันให้มีการจัดตั้งคณะกรรมการร่วมแสวงหาความจริงและสมานฉันท์ ประการ 5. เสริมสร้างความเข้มแข็งและความพร้อมแก่ชุมชนและภาคประชาสังคมในพื้นที่ 6. ศึกษาและพัฒนาการจัดการบริหารปกครอง 7. ส่งเสริมการศึกษาความเป็นไปได้ในการจัดตังศาลกฎหมายอิสลามว่าด้วยครอบครัวและมรดก ้ 8. ส่งเสริมให้รัฐกาหนดการใช้ภาษามลายูเป็นภาษาทางาน (Working Language) 9. ส่งเสริมให้มีการตรวจสอบการบังคับใช้กฎหมายพิเศษของเจ้าหน้าที่รัฐที่เกี่ยวข้อง ให้เป็นไปตามหลักนิติธรรมและไม่เลือกปฏิบัติ รวมทั้งประเมินผลกระทบต่อประชาชน 55 Kpi.ac.th www.kpi.ac.th
  • 35. KPI Kpi.ac.th www.kpi.ac.th
  • 36. KPI Kpi.ac.th www.kpi.ac.th
  • 37. KPI Kpi.ac.th
  • 38. KPI ยุทธศาสตร์ในการจัดการปัญหา 1. 2. 3. การพูดคุยสันติภาพ สื่อสารสังคม สร้างเครือข่าย Peace Talk พหุวัฒนธรรม Peace Net Peace Communication Kpi.ac.th www.kpi.ac.th
  • 39. KPI จัดการพูดคุยสันติภาพ (Peace Talk) กับกลุ่มขบวนการที่เห็นต่างจากรัฐ เสริมสร้างความเข้มแข็งและความพร้อมแก่ชุมชน และภาคประชาสังคมในพื้นที่ร่วมสร้างเครือข่ายสันติภาพชายแดนใต้ (Peace Net) ร่วมสร้างเครือข่ายสันติภาพชายแดนใต้ (Peace Net) วัตถุประสงค์ของการ สร้างเครือข่ายจากต่างคนต่างทามาทางานร่วมกัน ติดตามการแก้ปัญหาของรัฐ เชื่อมโยงข้อมูลระหว่างกัน ร่วมเป็นกระบอกเสียงเสนอความคิด สนับสนุนระหว่างกันให้ทางานต่อเนื่อง Kpi.ac.th
  • 40. KPI  ศึกษาและพัฒนาการจัดการบริหารปกครอง  เปิดเวทีรับฟังความต้องการของประชาชน  ส่งเสริมการศึกษาความเป็นไปได้ในการจัดตั้ง  ศาลกฎหมายอิสลามว่าด้วยครอบครัวและมรดกภายใต้โครงสร้างสานักงานศาลยุติธรรม ไทย  ประชาชนหลายส่วนในพื้นที่ขาดทักษะ  ในการใช้ภาษาไทยส่งเสริมให้รัฐกาหนดการใช้ภาษามลายูเป็นภาษา  ทางาน ในจังหวัดชายแดนภาคใต้อกภาษาหนึ่ง ี  ส่งเสริมให้มีการตรวจสอบการบังคับใช้กฎหมายพิเศษ  ของเจ้าหน้าที่รัฐทีเกี่ยวข้อง ่  ให้เป็นไปตามหลักนิติธรรมและไม่เลือกปฏิบัติ Kpi.ac.th  รวมทั้งประเมินผลกระทบต่อประชาชน
  • 41. KPI ปัญหาในเรื่องของสิทธิมนุษยชนในภาคใต้นน ผู้เขียนจะขอแบ่งเป็น ั้ รายละเอียดดังนี้ 1.การเพิ่มกาลังทหารและสนับสนุนการใช้อาวุธ 2. การปิดล้อมจับกุมและการคุมขังโดยพลการ 3.วิสามัญฆาตกรรม 4.การทรมาน 5. บุคลลสูญหาย 6.การคุกคามต่อผู้พิทักษ์สิทธิมนุษยชน Kpi.ac.th
  • 42. KPI Kpi.ac.th
  • 43. KPI  ทาไมสองสามวันนี.้ .เหตุการณ์ความรุนแรงที่เกิดถี่ขึ้น..เหมือนมีการ แลกหมัดโต้ตอบไปมาหรือปล่าวครับ..ใครทราบ..หรือมีความคิดเห็น อย่างไรช่วยกรุณาเสนอเพือแลกเปลี่ยนด้วยครับ ่  การเรียกร้องประชาธิปไตยจะบรรลุผลสาเร็จได้ ถ้าเราร่วมกันสร้าง การเมืองทีถูกต้อง เป็นการเมืองที่ "เป้าหมาย" และ "วิธีการ" ต้องเป็น ่ ธรรมะ หรือเป็นการเมืองที่มศีลธรรม และเป็นไปเพือประโยชน์สุขของ ี ่ ประชาชนทั้งมวลอย่างแท้จริง และนักต่อสู้เพือประชาธิปไตยไม่พึง ่ รังเกียจคาว่า "ธรรมะ" หรือ "ศีลธรรม" หากแต่ควรทาความเข้าใจ ความหมายที่ถูกต้องของคาดังกล่าวนี้ และใช้มันอย่างไม่บิดเบือน Kpi.ac.th
  • 44. KPI  "จริงๆ แล้วทั้งพี่น้องไทยพุทธและมุสลิมไม่มีใครต้องการให้เกิดเหตุการณ์ลักษณะนี้ขึ้น แต่ที่สาคัญคือมีคนคิดแทน จุดนี้เป็นปัญหาใหญ่ เพราะญาติหรือบุตรหลานของผู้สญเสีย ู อาจจะไม่ได้คิดอะไร คือรู้สึกเสียใจแต่ก็อโหสิกรรม แต่ขณะเดียวกันกลับมีคนคิดแทน พวกเขา และผมเชื่อว่านีคือสิ่งที่เกิดขึ้นอยู่ทุกวันนี้ในสามจังหวัดชายแดนภาคใต้" ่  "เหตุการณ์ที่เกิดกับพระ แม้จะยังไม่มีใครยืนยันว่าเกี่ยวข้องกับการแก้แค้นเชิงสัญลักษณ์ หรือไม่ หรือเกี่ยวเนื่องกับเหตุการณ์ร้ายอื่นๆ หรือเปล่า แต่ก็เห็นได้ชัดว่าก่อนเกิดเหตุครั้ง นี้เพิ่งมีการปะทะในพื้นที่อาเภอยะหา (เจ้าหน้าที่วิสามัญฆาตกรรมผู้ค้ายาเสพติดซึง ่ เกี่ยวพันกับกลุ่มก่อความไม่สงบ) และยังมีเหตุการณ์กราดยิงสามแม่ลกที่ตาบลปูยุด ู อาเภอยะรัง จังหวัดปัตตานี รวมทั้งเหตุการณ์กราดยิงร้านน้าชาที่บ้านกาโสด อาเภอ บันนังสตา จังหวัดยะลา ซึ่งหลังจากกราดยิงร้านน้าชาก็มีการฆ่าเผาสองสามีภรรยาไทย พุทธด้วย" นายอนุศาสตร์ กล่าว และว่าอยากให้ทุกฝ่ายออกมาช่วยกันประณามการกระทา รุนแรงในลักษณะนี้ เพื่อใช้กระแสและพลังของภาคประชาชนกดดันไม่ให้เกิดเหตุร้ายอีก ต่อไป... Kpi.ac.th
  • 45. “รายงานปัญหาความไม่สงบในจังหวัดชายแดนภาคใต้: บทวิเคราะห์และแนวทางการแก้ปัญหาด้วยสันติวิธี” โดย นักศึกษาหลักสูตรประกาศนียบัตรชั้นสูง “การเสริมสร้างสังคม สันติสุข” รุ่นที่ ๑ สานักสันติวธีและธรรมาภิบาล สถาบันพระปกเกล้า ิ
  • 46. KPI ปัญหาใจกลาง ปัญหาใจกลางของความไม่สงบในจังหวัดชายแดนภาคใต้คือการ ต่อสู้โดยอ้างถึงอุดมการณ์แบ่งแยกดินแดนของขบวนการต่อสู้ที่ปา ตานีซึ่งมีกลุ่มบีอาร์เอ็น โคออร์ดิเนตและพูโลเป็นแกนหลัก ผสม เข้ากับกลุ่มต่อต้านอานาจรัฐที่ต้องการตอบโต้การกระทาของ เจ้าหน้าที่รัฐบางส่วนที่ทางกลุ่มรู้สึกว่าไม่ได้รับความเป็นธรรม โดย มีประชาชนส่วนใหญ่เป็นผูได้รับผลกระทบท่ามกลางบรรยากาศ ้ ของความไม่ไว้เนื้อเชื่อใจระหว่างรัฐกับประชาชน รวมทั้งประชาชน กับประชาชนด้วยกันเอง Kpi.ac.th
  • 47. KPI รากเหง้าของปัญหา:  ความรุนแรงที่เกิดขึ้นในพื้นที่เป็นเพียงอาการของความขัดแย้งทางการเมืองที่ เกี่ยวเนื่องกับมิติทางวัฒนธรรม ซึ่งมีรากเหง้ามาจาก  ความรู้สกว่าไม่ได้รับความเป็นธรรมของประชาชนในพื้นที่จากการกระทาและทัศนคติ ึ ของเจ้าหน้าที่รัฐบางส่วนตั้งแต่ในอดีตที่เลือกปฏิบัติและไม่ยอมรับตัวตนของคนใน ท้องถิ่นอย่างสนิทใจ อันเนื่องมาจากความไม่เข้าใจกันอย่างแท้จริงและหวาดระแวงว่า ความแตกต่างในอัตลักษณ์จะเป็นภัยต่อความสงบและสันติสุขของสังคมไทย  ความไม่ไว้เนื้อเชื่อใจระหว่างกลุ่มคนต่างๆทั้งในพื้นที่และนอกพื้นที่  ความทรงจาในบาดแผลทางประวัติศาสตร์จากการกระทาของรัฐสยามในอดีตต่อรัฐ ปัตตานีที่เคยรุ่งเรือง  โครงสร้างการจัดการบริหารปกครอง ทั้งในด้านกฎหมาย และนโยบายทางการเมือง เศรษฐกิจ และสังคมวัฒนธรรมที่ยังมีบางส่วนไม่สอดคล้องกับอัตลักษณ์และวิถีชีวิต ของคนในพื้นที่ ตลอดจนไม่เอื้อต่อการมีส่วนร่วมโดยตรงของประชาชนในระดับที่ Kpi.ac.th สามารถสร้างความรู้สึกเป็นเจ้าของได้อย่างแท้จริงและเท่าเทียม
  • 48. KPI ทั้งหมดนี้ทาให้คนมลายูปาตานีโดยเฉพาะกลุ่มที่ใช้ความ รุนแรงรู้สึกว่าไม่สามารถเป็นส่วนหนึ่งของสังคมไทยได้ อย่างมีเกียรติและมีคุณค่า ผู้เกี่ยวข้องกับการแก้ไข ปัญหาทุกภาคส่วนจะต้องตระหนักถึงปัญหาใจกลางและ รากเหง้าดังกล่าว โดยรวมศูนย์ความสนใจไว้ที่ประเด็น เหล่านี้ ไม่เช่นนั้นจะไม่สามารถกาหนดทิศทางแก้ปัญหาที่ ถูกต้องได้ Kpi.ac.th
  • 49. KPI โจทย์สาคัญต่อการแก้ปัญหา  มาตรการสาคัญ ๒ ข้อที่เชื่อมโยงกับรากเหง้าของปัญหาตามที่กล่าวไป คือ  ทาอย่างไรที่จะให้ประชาชนรวมถึงผู้ที่เห็นต่างจากรัฐได้มีส่วนร่วมทางการเมืองในการ แก้ไขปัญหาและขับเคลื่อนกิจกรรมหรือนโยบายที่เกี่ยวข้องกับการดาเนินชีวิตอย่าง แท้จริง ผ่านโครงสร้างการจัดการบริหารปกครอง และนโยบายที่เป็นธรรมและ สอดคล้องกับอัตลักษณ์ของคนในพื้นที่ รวมทั้งให้ชุมชนในพื้นที่มีความเข้มแข็งและมี ความพร้อมในการเข้ามามีส่วนร่วมด้วยความรู้สึกว่ามีความเท่าเทียมและด้วยความคิด อิสระ  ทาอย่างไรที่จะขจัดความไม่ไว้เนื้อเชื่อใจระหว่างกันให้หมดสิ้นโดยเร็ว โดยที่เจ้าหน้าที่ รัฐ ประชาชนในสังคมใหญ่และในจังหวัดชายแดนภาคใต้ จะเกิดความเข้าใจ ยอมรับ และเห็นคุณค่าความหลากหลายทางวัฒนธรรมและอัตลักษณ์ของคนในพื้นที่อย่าง เพียงพอที่ไม่รู้สึกหวาดระแวงว่าความแตกต่างดังกล่าวจะเป็นภัยต่อความสงบและสันติ สุข หากแต่เป็นพลังทางบวกต่อสังคมไทย รวมทั้งสร้างความเชื่อมั่นศรัทธาที่ประชาชน มีต่อรัฐ โดยเฉพาะเรื่องความเป็นธรรม อันจะนาไปสู่การให้ความร่วมมือในการแก้ไข ปัญหา Kpi.ac.th
  • 50. KPI กรอบคิดทิศทางในการแก้ปญหา ั การแก้ไขปัญหาต้องอยู่ในกรอบของสันติวิธีโดยใช้การเมืองนา การทหารอย่างแท้จริง สันติวิธีมิได้ปฏิเสธการใช้การทหาร หากแต่ ต้องใช้การทหารในส่วนที่เกี่ยวข้องกับการบังคับใช้กฎหมายที่ต้อง อยู่ภายใต้หลักนิตธรรมในลักษณะที่คุมความรุนแรงมิให้ขยายตัว ิ และต้องสนับสนุนและตอบสนองต่อเป้าหมายของงานการเมือง เท่านั้น โดยนอกจากรัฐจะใช้งานการเมืองในการพัฒนาคุณภาพ ชีวิตของคนในพื้นที่แล้ว รัฐยังจาเป็นต้องใช้งานการเมืองในเชิงรุก ต่อกลุ่มแนวคิดที่เห็นต่างกันในสังคมท้องถิ่นให้สามารถยอมรับกัน ได้ในระดับทีจะอยู่ร่วมกันอย่างมีศักดิ์ศรี เท่าเทียมกัน ่ Kpi.ac.th
  • 51. KPI ข้อเสนอแนะงานการเมืองเชิงรุก ข้อเสนอแนะ ๙ ข้อนี้เป็นการใช้งานการเมืองเชิงรุกสู่การแก้ไขปัญหา ความไม่สงบในจังหวัดชายแดนภาคใต้ที่ยั่งยืนบนหลักการ  สร้างความไว้เนื้อเชื่อใจ  สร้างความเป็นธรรม  เปิดพื้นที/มีส่วนร่วม ่  รับฟังเสียง  สร้างความเข้าใจ  สอดคล้องอัตลักษณ์” Kpi.ac.th
  • 52. KPI จัดการพูดคุยสันติภาพ (Peace Talk) กับกลุ่มขบวนการที่เห็นต่างจากรัฐ ด้วยกระบวนการที่เป็น ระบบตามลาดับขั้นตอนทีเหมาะสมและมีผลให้เกิดความ ่ ไว้วางใจที่จะพูดคุยกันได้ในเชิงลึก และหาทางออกร่วมกัน อย่างสันติแบบยั่งยืนได้เพื่อการแก้ปัญหาที่ตรงจุด อันจะ นาไปสู่การยุติความสูญเสียของทุกฝ่ายให้เร็วที่สุด ทั้งนี้ ต้อง ย้าว่าการพูดคุยดังกล่าวไม่ใช่การเจรจา (Negotiation) แต่เป็นการเน้นทาความเข้าใจระหว่างกัน Kpi.ac.th
  • 53. KPI จัดการพูดคุยสันติภาพ (Peace Talk) กับกลุ่มขบวนการที่เห็นต่างจากรัฐ ด้วยกระบวนการที่เป็น ระบบตามลาดับขั้นตอนที่เหมาะสมและมีผลให้เกิดความ ไว้วางใจที่จะพูดคุยกันได้ในเชิงลึก และหาทางออกร่วมกัน อย่างสันติแบบยั่งยืนได้เพื่อการแก้ปัญหาที่ตรงจุด อันจะ นาไปสู่การยุติความสูญเสียของทุกฝ่ายให้เร็วที่สุด ทั้งนี้ ต้องย้าว่าการพูดคุยดังกล่าวไม่ใช่การเจรจา (Negotiation) แต่เป็นการเน้นทาความเข้าใจระหว่าง กัน Kpi.ac.th
  • 54. KPI เสริมสร้างความเข้มแข็งและความพร้อมแก่ชุมชนและภาค ประชาสังคมในพื้นที่ เพื่อให้สามารถเข้าถึงกระบวนการยุติธรรม และสวัสดิการของรัฐอย่างเท่าเทียม และเปิดพื้นที่ที่จะใช้สนติวิธี ั สามารถร่วมกันริเริ่มกิจกรรมที่เป็นประโยชน์ต่อการแก้ไขปัญหา ความไม่สงบและสร้างสันติสุขที่ยั่งยืนด้วยตนเองบนฐานของการ มีส่วนร่วมอย่างกว้างขวางจากประชาชนในพื้นที่ โดยข้อเสนอนี้ ตั้งอยู่บนฐานคิดที่ว่าปัญหาในท้องถิ่นต้องแก้ไขโดยคนใน ท้องถิ่นเอง Kpi.ac.th
  • 55. ร่วมสร้างเครือข่ายสันติภาพชายแดนใต้ KPI (PeaceNet) ที่มุ่งเน้นการมีส่วนร่วมของภาคส่วนต่างๆในการ แลกเปลี่ยนเรียนรู้ข้อมูลและประสบการณ์การแก้ไข ปัญหาและการใช้สันติวิธีร่วมกัน ตลอดจนสนับสนุน ช่วยเหลือกันในแง่ขององค์ความรู้ ทรัพยากร และกาลังใจ ในการทางานเพื่อให้เกิดพลังในการแก้ไขปัญหาร่วมกัน Kpi.ac.th
  • 56. KPI ผลักดันให้มีการจัดตั้งคณะกรรมการร่วมแสวงหาความจริงและ สมานฉันท์ (Truth and Reconciliation Commission) เพื่อเป็นกลไกขับเคลื่อนให้เกิดความ ยุติธรรมและความไว้วางใจในพื้นที่ ซึ่งประกอบด้วยตัวแทนจาก ทุกภาคส่วนที่เกี่ยวข้อง โดยร่วมกันแสวงหาและเปิดเผยความ จริงเกี่ยวกับเหตุการณ์ความรุนแรงและข่าวลือต่างๆที่เกิดขึ้นใน พื้นที่ โดยมีเป้าหมายในการค้นหาข้อเท็จจริงและสร้างความ เข้าใจทีถูกต้องตรงกันของทุกภาคส่วน อันจะนาไปสู่ความเป็น ่ ธรรมและความไว้วางใจระหว่างกันในพื้นที่ Kpi.ac.th
  • 57. KPI กาหนดยุทธศาสตร์สื่อสารสังคม เพื่อสร้างความเข้าใจในสถานการณ์และความจริงของพื้นที่และการส่ง สัญญาณแห่งการอยู่ร่วมกันอย่างสันติสุขระหว่างคนในสังคมใหญ่กับใน พื้นที่ในฐานะพลเมืองไทยบนความหลากหลายของสังคมพหุวัฒนธรรม ศึกษาและพัฒนาการจัดการบริหารปกครองที่เหมาะสมและเป็นไปได้โดย เน้นการมีส่วนร่วมโดยตรงของประชาชนและสอดคล้องกับอัตลักษณ์และ วัฒนธรรมในพื้นที่ตามกรอบของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย ส่งเสริมการศึกษาความเป็นไปได้ในการจัดตั้งศาลกฎหมายอิสลามว่าด้วย ครอบครัวและมรดกภายใต้โครงสร้างสานักงานศาลยุติธรรมไทย Kpi.ac.th
  • 58. KPI Working Language ส่งเสริมให้รัฐกาหนดการใช้ภาษามลายูเป็นภาษา ทางาน ในจังหวัดชายแดนภาคใต้อีกภาษาหนึ่ง ควบคู่กับภาษาไทย ส่งเสริมให้มการตรวจสอบการบังคับใช้กฎหมาย ี พิเศษของเจ้าหน้าที่รัฐที่เกี่ยวข้องให้เป็นไปตาม หลักนิติธรรมและไม่เลือกปฏิบัติ รวมทั้ง ประเมินผลกระทบต่อประชาชนอย่างสม่าเสมอ Kpi.ac.th
  • 59. KPI ข้อเสนอที่ ๑ – ๖ เป็นข้อเสนอหลัก ข้อเสนอที่ ๑ เป็นการส่งสัญญาณที่จะใช้สันติวิธีเป็นแนวทางหลักในการยุติความรุนแรง ข้อเสนอที่ ๒ และ ๓ เป็นข้อเสนอเชิงกระบวนการเพื่อให้มีเวทีพบปะแลกเปลี่ยนซึ่งเชื่อมถึงฐาน รากในการเปิดพื้นที่การมีส่วนร่วมของประชาชนอย่างกว้างขวาง ข้อเสนอที่ ๔ เป็นกลไกขับเคลื่อนให้เกิดความเป็นธรรมและความไว้วางใจในพื้นที่ ข้อเสนอที่ ๕ การสื่อสารเน้นสร้างความเข้าใจกับสังคมใหญ่ให้เห็นประโยชน์ของสันติวิธีและเกิด ทัศนคติที่เห็นคุณค่าของการอยู่ร่วมกันอย่างสันติภายใต้สังคมพหุวัฒนธรรม Kpi.ac.th
  • 60. KPI ข้อเสนอที่ ๑ – ๖ เป็นข้อเสนอหลัก ข้อเสนอที่ ๖ โครงสร้างบริหารการปกครองปรับให้สอดคล้องกับอัตลักษณ์และวัฒนธรรมของ คนในพื้นที่ตามกรอบของรัฐธรรมนูญและเอื้อต่อการมีส่วนร่วมของประชาชน ข้อเสนอที่ ๗ – ๙ เป็นข้อเสนอรองที่สนับสนุนส่งเสริมให้ผู้เกี่ยวข้องดาเนินการเพิ่มเติม จากเดิมอย่างจริงจังและต่อเนื่อง อันจะทาให้ได้ใจคนมลายูปาตานี ทาให้เขารู้สึกว่า รัฐและสังคมใหญ่ยอมรับ เคารพ และเห็นคุณค่าในอัตลักษณ์อย่างจริงจังและ จริงใจ สามารถดาเนินชีวิตได้อย่างมีเกียรติมีศักดิ์ศรี ไม่รู้สึกแปลกแยก และมี ความภาคภูมิใจที่เกิดเป็นพลเมืองไทยเชื้อสายมลายูในสังคมไทยที่หลากหลายและ เป็นธรรม Kpi.ac.th
  • 61. POPULATION KPI World 6,372,797,742 China 1,341,335,000 1 Germany 82,431,390 16 India 1,224,614,000 2 Egypt 77,505,756 17 EU 456,285,839 3 Ethiopia 73,053,286 18 USA 310,384,000 4 Turkey 69,660,559 19 Indonesia 239,781,000 5 Iran 68,017,860 20 Brasil 134,946,000 6 Thailand 65,444,371 21 Pakistan 173,593,000 7 France 60,656,178 22 Bangladesh 144,319,628 8 United Kingdom 60,441,457 23 Russia 143,420,309 9 Congo 58,317,930 24 Nigeria 158,432,000 10 Italy 58,103,033 25 Japan 127,417,244 11 Korea 48,422,644 26 Mexico 106,202,903 12 Ukraine 47,425,336 27 Philippines 87,857,473 13 South Africa 44,344,136 28 Vietnam 83,535,576 14 Colombia 42,954,279 Kpi.ac.th 29 15 Burma 42,909,464 30
  • 62. คนต่างชาติในประเทศไทย KPI  China ดั้งเดิม KMT แก๊งต่างๆ หลบหนีโทษมาพัก พิง  Russia /New State  Myanmar/Ethnic  North Korea  South Africa  Iran  คนคืนถิ่น Kpi.ac.th
  • 63. World Muslim Population KPI General & Islamic Source Continent Population in Muslim Muslim 2003 Population in Percentage 2003 Africa 861.20 461.77 53.62 Asia 3830.10 1178.89 30.78 Europe 727.40 52.92 7.28 North America 323.10 6.78 2.10 South America 539.75 3.07 0.57 Oceania 32.23 0.60 1.86 Total 6313.78 1704.03 26.99 Muslim Population is increasing at the rate of 2.9%** We are taking the rate of natural increase as 2% around the world. The Muslim population in 2003 was 1704.03 million. **US Center For World Mission 1997 Report Kpi.ac.th
  • 64. Muslim KPI การเปลี่ยนแปลงเริ่มจากศตวรรษที่ ๗ กลุ่มประเทศมุสลิมเพิ่มมากขึ้นจาก บริเวณตะวันออกกลาง สู่ยุโรป หลังการล่มสลายของระบบสังคมนิยม ๑๙๙๐ มีบอสเนีย และเอเซียกลาง แยกจากรัสเซีย รวมเป็น Islamic Conference Organization(ICO)ไม่มี เอกภาพในรูปแบบการปกครองในประเทศ มีนโยบายต่างประเทศที่ แตกต่างกัน มีเอกลักษณ์เป็นของตัวเอง และมีปัจเจกชนนิยมสูง เป็นไปตามประวัติศาสตร์ ภูมิศาสตร์ และยุทธศาสตร์ของที่ตั้งประเทศตาม ภูมิรัฐศาสตร์(Geopolitics) มีการนาของประมุขที่มีกรอบแนวความคิด บุคลิก ประสบการณ์ส่วนตัว ต่างกันไป Kpi.ac.th
  • 65. KPI ประเทศมุสลิม  ประเทศมุสลิมที่ปกครองในระบอบกษัตริย์หรือเจ้าผู้ครองใน ลักษณะสมบูรณาญาสิทธิราชย์หรือกึ่งๆ  ประเทศมุสลิมประชาธิปไตยแบบสมัยใหม่  ประเทศมุสลิมสมัยใหม่กึ่งประชาธิปไตย  ประเทศมุสลิมแนวปฏิวติั  ประเทศมุสลิมสายเคร่ง  ประเทศมุสลิมผสมอิทธิพลของวัฒนธรรมสลาฟ Kpi.ac.th
  • 66. ประเทศมุสลิม KPI  ประเทศมุสลิมที่ปกครองในระบอบกษัตริย์หรือเจ้าผูครองแบบสมบูรณาญาสิทธิราชย์หรือ ้ กึ่งๆ(โมร็อกโก จอร์แดน ซาอุดิอารเบีย บรูไน และรัฐเล็กๆ ริมอ่าวเปอร์เซีย)  ประเทศมุสลิมประชาธิปไตยแบบสมัยใหม่(มาเลเซีย อินโดนีเซีย ตุรกี)  ประเทศมุสลิมสมัยใหม่กึ่งประชาธิปไตย(ปากีสถาน แอลจีเรีย อียิปต์ ตูนิเซีย เลบานอน)  ประเทศมุสลิมแนวปฏิวัติ(อิรัก ซีเรีย ลิเบีย ซึ่งมีผู้นาในลักษณะเผด็จการหรือกึ่งเผด็จ การ)  ประเทศมุสลิมสายเคร่ง(ศาสนามีอานาจเหนือรัฐ)รู้จักกันนาม Islamic Fundamentalism ได้แก่ อัฟกานิสถาน และอิหร่าน (ซึ่งเคร่งน้อยลงกว่าในทศวรรษ ๑๙๘๐)  ประเทศมุสลิมผสมอิทธิพลของวัฒนธรรมสลาฟ ได้แก่ บรรดาประเทศในบริเวณเอเชีย กลางและคอเคซัสที่เคยรวมอยู่ในอดีตสหภาพโซเวียต(อุสเบกิสถาน เติร์กเมนิสถาน คา ซักสถาน ทิกิร์เซีย และอาเซอร์ไบจาน) Kpi.ac.th
  • 67. ประเทศมุสลิมที่ต่อต้านสหรัฐอเมริกา และตะวันตก KPI มักจะมาจากประเทศหรือกลุ่มมุสลิมสายเคร่ง เช่นอัฟกานิสถาน อิหร่าน ขบวนการของชาวปาเลสไตน์บางกลุ่มเช่น Hamas และ Hezbollah มุสลิมแนวปฏิวัติ เช่น อิรักและลิเบีย ก่อการร้ายต่อสหรัฐอเมริกาและกลุ่มประเทศ ตะวันตก เกิดจากสาเหตุหลายสาเหตุ ผู้นาได้นาเอากฎหลักแบบเคร่งครัดของศาสนาอิสลามมาใช้เป็น “เครื่องมือทาง การเมือง” เพื่อต่อต้าน “การครองโลกแบบครบวงจรของสหรัฐอเมริกา อารยธรรมของชนผิวขาวชาวคริสเตียน” เป็นสัตรูที่เกิดขึ้นระหว่าง “ฝรั่ง” กับ “มุสลิม” (ฮันติงตันเรียกว่า “The Clash of Civilizations” ) ผู้นามีความนับถือตัวเอง และเชื่อมั่นในตัวเองสูง เช่น ซัดดัมฮุสเซน โมอามาร์ กัด ดาฟี กฎระเบียบที่มีลักษณะเป็น “กฎโลก” ที่ใช้ในองค์การระหว่างประเทศหลาย องค์การเช่น สหประชาชาติ กองทุนการเงินระหว่างประเทศ ธนาคารโลก องค์การการค้าระหว่างประเทศองค์การกาหนดมาตรฐานระหว่างประเทศ ฯลฯ เหล่านี้ มักมีสหรัฐอเมริกาและพันธมิตรอยู่เบื้องหลัง Kpi.ac.th
  • 68. ประเทศมุสลิมที่มีความสัมพันธ์อันดีกับ KPI สหรัฐอเมริกาและกลุ่มประเทศตะวันตก อิยิปต์ โมร็อกโก จอร์แดน ซาอุดิอาระเบีย ตูนิเซีย ปากีสถาน รัฐเล็กๆ ริมอ่าวเปอร์เซีย อินโดนีเซีย บูรไน Kpi.ac.th
  • 69. .. กลุ่มประเทศแถบเอเชียใต้ ประชากรมุสลิม กลุ่มประเทศอาเซียน ประชากรมุสลิม 326.9 ล้านคน 192.5 ล้านคน กลุ่มตะวันออกกลาง ประชากรมุสลิม 194.4 ล้านคน กลุ่มยุโรปตะวันออก ประชากรมุสลิม ไทย 6 ล้านคน 72.7 ล้านคน กลุ่มแอฟริกา ประชากรมุสลิม 294 ล้านคน
  • 70. KPI Russia sees Muslim population boom ชุมชนมุสลิมในรัสเซียเติบโตสูงมาก อัตราการเกิดของชาวรัสเซีย ลดลง แนวโน้มประชากรมุสลิมจะมากกว่าชาวรัสเซียเดิมใน ๓๐ ปี จานวนผู้อพยพชาวมุสลิมจากโซเวียตเพิ่มขึ้นตลอด และอายุสั้นลงการ เกิดต่า ประชากรลดลง ๗๐๐,๐๐๐ คน/ปี การให้เสรีภาพนับถือศาสนาทาให้ศาสนาอิสลามเฟื่องฟู ปัจจุบันมี ประชากรมุสลิม ๒๕ ล้านคน เติบโตจากปี ๑๙๘๙ ประมาณร้อยละ ๔๐  ผู้นามุสลิมกล่าวว่ารัสเซียเป็นสวรรค์สาหรับผู้อพยพมุสลิม ชาวรัสเซียหลายคนเริ่มกลัวว่าจะกลายเป็นชนกลุ่มน้อยใน ดินแดนของตัวเอง Kpi.ac.th