SlideShare a Scribd company logo
1 of 41
สถานการณ์ความขัดแย้งในอนาคต
โดย พลเอก เอกชัย ศรีวิลาศ
ผู้อานวยการสานักสันติวิธีและธรรมาภิบาล
สถาบันพระปกเกล้า
www.kpi.ac.th, www.gotoknow.org
ekkachais@hotmail.com
NEW PLAYERS : Non-state actor
-Terrorist move
- NGOs
- Multinational
- Civil Societies / people
- Ethnic movement
- Credit rating agencies
- Auditors
From World of States to Societies of World
Traditional Players: State -actors
โลกาภิบาล : Global Governance
การเมืองของประเทศมหาอานาจ / ขาดหลักนิติธรรม
G 8
World Bank
WTO
UNCTAD
NATO
OECD
IMF
UN
UNCTAD
Non-aligned
movement
South-South
Cooperation
Terrorist
Movements
Global studies
Globalization[ Process and Component]
Technology
Mobility
Beliefs
Economy
การต่อสู้ของ สหรัฐ
– Strategic Defence to Mobile Forces
– Bases to Places
– Peace Keeping Unit
อิทธิพลของกระแสโลกและโลกาภิวัตน์เป็นปรากฏการณ์จากการเปิดเสรี
เป็นปิดกั้นและป้องกัน (คน เงิน วัสดุ)
ภาวะสงครามทาการเมืองโลกเปลี่ยน (สหรัฐ ยุโรป รัสเซีย และจีน)
– Unilateralism
– Multi polar
– สหรัฐกับมหาอานาจอื่นๆ
– การก่อการร้าย
– Preemtive
New Actors (NGOs, Moodies, CNN, BBC, Price Waterhouse)
Americanization
คนพื้นเมือง และคนผิวดายังไม่กลมกลืนเข้าในสังคมอเมริกัน
คนพื้นเมืองอยู่ในเขตปกครองพิเศษ และคนผิวดายังถูกเหยียดผิว
ไม่สามารถส่งลูกไปโรงเรียน และใช้บริการสาธารณะเท่าเทียมกับ
คนผิวขาว
Martin Luther King เป็นผู้นาคนดาที่สาคัญในการเรียกร้อง
ความเท่าเทียมกัน
หลังจากการได้เอกราชสหรัฐอเมริกาถือว่าทวีปอเมริกาเป็นเขตอิทธิพล
ของตนประเทศในทวีปยุโรปไม่ควรมาเกี่ยวข้อง
มีผู้วิจารณ์ว่าสหรัฐอเมริกาใช้อเมริกาใต้เป็นประโยชน์คือ
เป็นแหล่งวัตถุดิบ ตลาด และไม่พยายามสนับสนุนการพัฒนา
อุตสาหกรรม
ภาพยนตร์ โดยเฉพาะอย่างยิ่งภาพยนตร์ฮอลลีวู้ด
อาหารจานด่วน เช่น KFC แมคโดแนล โคคา โคลา และเป๊ปซี่
โคลา
ภาษาอังกฤษแบบอเมริกันแทรกเข้าไปในภาษาอื่น
ภาษาอังกฤษเพราะเป็นภาษาที่ใช้ในธุรกิจ ในวิชาการ และใน
อินเตอร์เนต มิได้มาจากอังกฤษแต่มาจากอเมริกา
ผู้ที่ต่อต้านสหรัฐอเมริกาหลังจากเหตุการณ์วินาศกรรม
11 กันยายน 2544 ใช้มากที่สุดคือ เรื่องอาหารและเรื่อง
ภาพยนตร์
Americanization ด้านวัฒนธรรม
Americanization ในฝรั่งเศส
โคคา โคลาเมื่อเริ่มเข้าไปขายในฝรั่งเศส เมื่อทศวรรษ 1940 ถูกว่าจะ
ทาลายวัฒนธรรมฝรั่งเศส
ถือเอาความร่ารวย ลัทธิบริโภคนิยม วัตถุนิยมของอเมริกันจะทาลาย
วัฒนธรรม
อารยธรรมฝรั่งเศส ในช่วงสงครามเย็นประธานาธิบดี De Gaulle ของ
ฝรั่งเศสพยายามตัดการลงทุนจากสหรัฐอเมริกา
เมื่อรัฐบาลฝรั่งเศสพยายามห้ามการทับศัพท์ภาษาอังกฤษ แล้วได้ผล
หรือไม่
หลังสงครามโลกครั้งที่ 2 ความรู้ (know-how) ด้านการบริหารจัดการ
ธุรกิจและโรงงานตามแบบอเมริกัน
Americanization through education
ผู้ที่อพยพเข้ามาในสหรัฐอเมริกา ต้องเรียนภาษาอังกฤษ
และเรียนประวัติศาสตร์
อเมริกัน มีการสอนให้ปรับตัวกับความเป็นอยู่แบบ
อเมริกัน แต่ว่าคนเหล่านี้ก็ต้องการรักษาวัฒนธรรมของ
ตนไว้ด้วย
นักเรียนทั่วโลกไปเรียนที่สหรัฐอเมริกา และ
สหรัฐอเมริกามาตั้งมหาวิทยาลัยและโรงเรียนระดับต่างๆ
ในต่างประเทศ
Americanization
โคคาโคลา ถือว่าเป็นโลกาภิวัตน์ที่เป็นผลที่สุด
Americanization โดยการช่วยเหลือ
Americanization โดยเครื่องมือเครื่องใช้ต่างๆ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง
คอมพิวเตอร์
Americanization
Americanization of China
American Capitalism
American Militarism
Muslim/West
การขับเคลื่อนสันติภาพในสังคมไทย
Heart Land and Rim Land Strategy
http://www.tortaharn.net/contents/index.php?option=com_content&task=view&id=63&Itemid=75&ccdate=6-2008
Pivot Area
ยูเรเซีย(Eurasia)
รูปแบบการทาสงคราม
หนึ่งประเทศสองระบบ
สังคมนิยมคอมมิวนิสต์
มุสลิม/ท้องถิ่นนิยม
จากการศึกษาของ John Naisbit (1995)
ในหนังสือ Megatrend 2000 และ Megatrends Asia
The Eight Asian Megatrends That are Changing The World. ความเจริญของโลกจะ
ไหลกลับมาอยู่ที่ญี่ปุ่น จีน เกาหลี และอาเซียน
ธนาคารโลกวิเคราะห์ว่าปี ๒๐๒๕ จีนจะเป็นมหาอานาจทางเศรษฐกิจอันดับ ๑ ของ
โลก ตามด้วยสหรัฐฯ อินเดีย และเยอรมนี
สหรัฐฯ และสหภาพยุโรปร่วมมือกันสกัดกั้นความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจของจีน
โดยใช้ระเบียบโลกใหม่(สิทธิมนุษยชน ประชาธิปไตย สิ่งแวดล้อม และ การค้าเสรี)
จีนต่อสู้ เงินสกุลหยวนของจีนไม่อยู่ในระบบการเงินสากล สหรัฐฯ จึงโจมตี
เครือข่ายจีนเป็นประเทศที่เวลาตรงกับจีน เช่น ไต้หวัน เกาหลี มาเลเซีย ไทย
สิงคโปร์และ อินโดนีเซีย
ทานายว่าความเจริญของโลกจะไหลกลับมาอยู่ที่ญี่ปุ่น จีน เกาหลี และอาเซียน
แนวโน้มมหาอานาจทางเศรษฐกิจของโลก
ปี 2030-2040 เศรษฐกิจจีนจะแซงสหรัฐฯ ขึ้นมาเป็นอันดับ 1 ของโลก ปี
2050 เศรษฐกิจของจีนและอินเดียมีจะขยายตัวถึง 22 เท่า ขณะที่ชาติ G7 มี
แนวโน้มขยายตัวเพียง 2.5 เท่าเท่านั้น
จีนและอินเดียจะมี GDP รวมกันมากกว่ากลุ่ม G7 ขยายตัวอย่างรวดเร็วจน
เปลี่ยนสมดุลอานาจ
ชาติที่ร่ารวยจะต้องปรับตัวให้เข้ากับสองประเทศนี้ ก่อนที่ทุกอย่าง
จะสายเกินไป
โกลด์แมน แซคส์ วาณิชธนกิจดังคาดว่า ปี 2050 GDP ของจีนจะขยายตัว
จาก 2 เป็น 48.6 ล้านล้านดอลลาร์ อินเดียจากไม่ถึง 1 ล้านล้านดอลลาร์
จะขยายถึง 27 ล้านล้านดอลลาร์ สหรัฐฯ จะเพิ่มขึ้นจาก 13 ล้านล้าน
ดอลลาร์ เป็น 37 ล้านล้านดอลลาร์
James D Wolfensohn อดึตประธานธนาคารโลกปี พ.ศ. 2538 พูดที่มหาวิทยาลัยนิวเซาท์เวลส์ ซิดนีย์
การแบ่งกลุ่มประเทศในโลกของสหรัฐ
กลุ่มประเทศ G7
กลุ่มประเทศกาลังพัฒนา
กลุ่มประเทศเกิดใหม่และรัฐเอกราช
กลุ่มประเทศอักษะแห่งความชั่วร้าย
POPULATION
World 6,372,797,742
China 1,306,313,812 1
India 1,080,264,388 2
EU 456,285,839 3
USA 295,734,134 4
Indonesia 241,973,879 5
Brasil 186,112,794 6
Pakistan 162,419,946 7
Bangladesh 144,319,628 8
Russia 143,420,309 9
Nigeria 128,771,988 10
Japan 127,417,244 11
Mexico 106,202,903 12
Philippines 87,857,473 13
Vietnam 83,535,576 14
15
Germany 82,431,390 16
Egypt 77,505,756 17
Ethiopia 73,053,286 18
Turkey 69,660,559 19
Iran 68,017,860 20
Thailand 65,444,371 21
France 60,656,178 22
United Kingdom 60,441,457 23
Congo 58,317,930 24
Italy 58,103,033 25
Korea 48,422,644 26
Ukraine 47,425,336 27
South Africa 44,344,136 28
Colombia 42,954,279 29
Burma 42,909,464 30
ประชากร 1300 เศษ
ประชากร 1200 เศษ
Company Logo
ปัญหาการเพิ่มขึ้นของประชากรโลก
การขาดแคลนอาหารและทรัพยากร1
สิ่งแวดล้อมทางธรรมชาติเสื่อมโทรม2
คุณภาพชีวิตและสังคม3
ปัญหาความขัดแย้งระหว่างประเทศ4
อาหารและทรัพยากรต่างๆ ไม่เพียงพอต่อความต้องการ
เทคโนโลยีที่นามาใช้ อาจทาให้อาหารมีสารพิษหรือ ทาลายสิ่งแวดล้อม
ประเทศพัฒนา บางประเทศระบายประชากร เเพื่อแสวงหาอาณานิคมและทรัพยากรธรรมชาติมากขึ้น
เกิดปัญหา รุกกล้าข้ามพรมแดน หรือ ผู้อพยพเข้ามาอย่างผิดกฏหมาย
มีการบุกรุกป่ าไม้ หาทรัพยากร ทาลายระบบนิเวศน์ การปล่อยของเสียเกิดมลพิษ
อันตรายแก่ประชากรโลก และ สภาพอากาศโลกมีอุณหภูมิสูงขึ้น
ทรัพยากรมีจากัด แต่ประชากรเพิ่มขึ้นมาก เกิดการแย่งชิงทรัพยกรและการแข่งขันทางสังคมสูงขึ้น
เกิดปัญหาสังคม เช่น การขาดการศึกษา สุขภาพอนามัยไม่ดี ขาดแคลนที่อยู่ และ ปัญหาการว่างงาน
แหล่งข้อมูลอ้างอิง: International Data Base (IDB), U.S. Census Bureau ,World population, Wikipedia, สานักงานสถิติแห่งชาติ
Muslim
กลุ่มประเทศมุสลิมเพิ่มมากขึ้นจากบริเวณตะวันออกกลาง สู่ยุโรป
หลังล่มสลายระบบสังคมนิยม 1990 มีบอสเนีย และเอเซียกลางแยกจากรัสเซีย รวมเป็น
Islamic Conference Organization(ICO)
ไม่มีเอกภาพในรูปแบบการปกครองในประเทศมีนโยบายต่างประเทศที่แตกต่างกัน
มีเอกลักษณ์เป็นของตัวเอง และมีปัจเจกชนนิยมสูง เป็นไปตามประวัติศาสตร์ ภูมิศาสตร์
และยุทธศาสตร์ของที่ตั้งประเทศตามภูมิรัฐศาสตร์(Geopolitics)
มีการนาของประมุขที่มีกรอบแนวความคิดบุคลิก ประสบการณ์ส่วนตัวต่างกันไป
ประเทศมุสลิม
๑. มุสลิมที่ปกครองในระบอบกษัตริย์หรือเจ้าผู้ครองในลักษณะสมบูรณาญาสิทธิราชย์หรือกึ่งๆได้แก่
โมร็อกโก จอร์แดน ซาอุดิอารเบีย บรูไน และรัฐเล็กๆ ริมอ่าวเปอร์เซีย
๒. ประเทศมุสลิมประชาธิปไตยแบบสมัยใหม่ ได้แก่ มาเลเซีย อินโดนีเซีย ตุรกี
๓. ประเทศมุสลิมสมัยใหม่กึ่งประชาธิปไตย ได้แก่ ปากีสถาน แอลจีเรีย อียิปต์ ตูนิเซีย เลบานอน
๔. ประเทศมุสลิมแนวปฏิวัติ ได้แก่ อิรัก ซีเรีย ลิเบีย ซึ่งมีผู้นาในลักษณะเผด็จการหรือกึ่งเผด็จการ
๕. ประเทศมุสลิมสายเคร่ง (คือศาสนามีอานาจเหนือรัฐ) มักรู้จักกันในภาษาอังกฤษว่า Islamic
Fundamentalism ได้แก่ อัฟกานิสถาน และอิหร่าน
(ซึ่งเคร่งน้อยลงกว่าในทศวรรษ ๑๙๘๐)
๖. มุสลิมวัฒนธรรมสลาฟ ได้แก่ เอเชียกลางและคอเคซัส อดีตสหภาพโซเวียต คืออุสเบกิสถาน เติร์กเมนิ
สถาน คาซักสถาน ทิกิร์เซีย และอาเซอร์ไบจาน
ลักษณะพื้นฐานของสังคมไม่เอื้อให้ต่อสู้สหรัฐฯและชาติตะวันตกได้ทันท่วงที
ประเทศเหล่านี้มักกันดาร ขาดแคลนน้า อาหาร เทคโนโลยี และมีประชากรมาก
ถูกรวมเข้าไปในระบบเศรษฐกิจ และสังคมของตะวันตก เข้าไปสู่กระแสโลกาภิ
วัตน์อย่างเบ็ดเสร็จ
มีทรัพยากรมาต่อสู้ได้เช่น “น้ามัน”
อาวุธทางการเมือง ความรุนแรง ก่อการร้ายขนาดใหญ่เล็ก
มุสลิมบางประเทศมีแย่งอานาจการปกครองของชนกลุ่มต่างๆ
สหรัฐอเมริกา และมิตรบางประเทศเข้าไปช่วยเกื้อหนุนกลุ่มอานาจที่เป็นปฏิปักษ์
ต่อประโยชน์ของคนส่วนมากในประเทศ
ประเทศมุสลิมถูกกระทาให้จนลง
ประเทศมุสลิมที่ต่อต้านสหรัฐอเมริกา และตะวันตก
อารยธรรมของชนผิวขาวชาวคริสเตียน” เป็นศัตรูที่เกิดขึ้นระหว่าง “ฝรั่ง” กับ
“มุสลิม” (ฮันติงตันเรียกว่า “The Clash of Civilizations” )
กฎระเบียบที่มีลักษณะเป็น “กฎโลก” ใช้ในองค์การระหว่างประเทศเช่น UN,
IMF,WB, WTO, S&P ฯลฯ มีสหรัฐอเมริกาและพันธมิตรอยู่เบื้องหลัง
อิสลามเคร่งครัด และต้องการนาเอากฎหลักของศาสนามาใช้เป็นกฎหลักของสังคม
อย่างเคร่งครัด
วิถีชีวิตแบบตะวันตก โดยเฉพาะแบบอเมริกัน สังคมอเมริกาจะเต็มไปด้วยความ
เลวทราม อุจาด ลามก ทุจริต คดโกง เห็นแก่ตัว จะพยายามทาลายขจัดกีดกัน
โค่นล้ม เท่าที่จะสามารถทาได้ทั้งโดยวิธีสงบและวิธีรุนแรง
Global/Local Conflict
Globalization & Localization
Hard Power & Soft Power
Americanization & Islamization
Capitalism & Socialism
High Technology & Low Technology
Tangible & Intangible
Physical & Mental or Spiritual
National Resource
World Muslim Population
General & Islamic Source
Continent Population in
2003
Muslim
Population in
2003
Muslim
Percentage
Africa 861.20 461.77 53.62
Asia 3830.10 1178.89 30.78
Europe 727.40 52.92 7.28
North America 323.10 6.78 2.10
South America 539.75 3.07 0.57
Oceania 32.23 0.60 1.86
Total 6313.78 1704.03 26.99
Muslim Population is increasing at the rate of 2.9%**
We are taking the rate of natural increase as 2% around the world. The
Muslim population in 2003 was 1704.03 million.
**US Center For World Mission 1997 Report
Russia sees Muslim population boom
ชุมชนมุสลิมในรัสเซียเติบโตสูงมากจากอัตราการเกิดของชาวรัสเซียลดต่าลง
แนวโน้มประชากรมุสลิมจะมากกว่าชาวรัสเซียดั้งเดิมใน 30 ปีข้างหน้า
จานวนผู้อพยพชาวมุสลิมจากอดีตสหภาพโซเวียตเพิ่มขึ้นตลอด
ชาวรัสเซียเดิมอายุสั้นลงและการเกิดต่า ประชากรเดิมลดลง700,000 คน/ปี
การให้เสรีภาพนับถือศาสนาทาให้ศาสนาอิสลามเฟื่ องฟู ปัจจุบันมีประชากรมุสลิม
25 ล้านคน เติบโตจากปี 1989 ประมาณร้อยละ 40
ผู้นามุสลิมกล่าวว่ารัสเซียเป็นสวรรค์สาหรับผู้อพยพมุสลิม
ชาวรัสเซียหลายคนเริ่มกลัวว่าจะกลายเป็นชนกลุ่มน้อยในดินแดนของตัวเอง
 ที่มา: Russia sees Muslim population boom. Al-Jazeera. 13 January 2007.
 http://english.aljazeera.net/NR/exeres/F8C5F608-FA29-4BB3-A7CA-A6F05B98BE23.htm
ปัจจัยที่ทาให้จานวนประชากรเพิ่มมากขึ้นมาจาก
การค้นคว้าทางการแพทย์
– มีการพัฒนาการผลิตวัคซีนป้องกันและรักษาโรค รวมถึงมีองค์การที่เกี่ยวกับการระบาดของ
โรคและวัฏจักรของการแพร่เชื้อโรค
ความรู้เรื่องสุขอนามัยของประชากร
– มีการจัดการระบบ การวางแผนครอบครัวที่มีประสิทธิภาพ
ความก้าวหน้าของเทคโนโลยี
– ประชาชนสามารถรับรู้ข่าวสารทางการแพทย์และสาธารณสุขได้อย่างทั่วถึง สามารถ
ปรึกษาอาการกับแพทย์ได้ทางโทรศัพท์หรือสื่อต่างๆ หรือปรึกษาผ่านระบบโทรคมนาคม
ระบบสังคมที่เปลี่ยนแปลงไป ผู้หญิงเริ่มมีบทบาททางสังคมมากขึ้น
– ทาให้ผู้หญิงมีทัศนคติต่อการแต่งงานเป็นด้านลบ ส่งผลให้จานวนประชากรวัยเด็กลด
น้อยลง
ประสบการณ์จากการรบ
สงครามในอัฟกานิสถานสหรัฐฯต้องการใช้พื้นที่ในประเทศปากีสถาน
เพื่อเป็นฐานทัพหน้าและเพื่อการส่งกาลังบารุง แต่ปากีสถานอนุญาตให้
สิทธิในการบินผ่านเท่านั้น
สงครามโค่นล้มรัฐบาลซัดดัมฯ ขอใช้พื้นที่ของประเทศตุรกีเป็นฐานทัพ
หน้า ได้รับการปฏิเสธ
ทบทวนการขอใช้พื้นที่ของประเทศอื่นเป็นฐานทัพหน้า ต้องเสี่ยงกับการ
ลงทุนมหาศาล และเกิดความสูญเปล่าในอนาคต
การลงทุนสร้างฐานทัพที่อ่าวซูบิคในฟิลิปปินส์แต่ต่อมาไม่ต่อสัญญาเช่า
หันกลับมาทบทวนการใช้เกาะกวมซึ่งเป็นอาณานิคมของตนเอง เป็น
ศูนย์กลางของกองกาลังสหรัฐฯ ในเขตภูมิภาค เอเชีย-แปซิฟิก เพื่อลด
การพึ่งพาประเทศอื่น
แนวคิด Sea Basing
การสร้างฐานทัพหน้าในดินแดนตนเองลดการพึ่งพา ใช้กาลังเคลื่อนที่เร็ว
ฐานทัพ Pearl Habour ในฮาวายหรือฐานทัพ Anderson บนเกาะกวม
และฝั่งมหาสมุทรอินเดียมีฐานส่งกาลังบารุงที่สิงคโปร์และที่ดิเอโก กรา
เซีย กลางมหาสมุทรอินเดีย สามารถต่อมาที่ฐานทัพในซาอุดิอาระเบีย
ฐานทัพแอสเซสที่แอตแลนติกตอนใต้ ส่วนที่แอตแลนติกตอนเหนือมี
ฐานทัพอยู่ที่กรีนแลนด์
สหรัฐฯ วางกาลังและฐานทัพ ฐานส่งกาลังบารุงต่าง ๆ ไว้ทั่วโลก
วางกาลังใหม่ของ ทร.สหรัฐฯ ในภูมิภาคเอเชีย – แปซิฟิก ลดกาลังทหาร
ในเกาหลีใต้ จานวน ๑ ใน ๓ ที่ประจาการ เหลือเพียง ๑๒,๕๐๐ คน จาก
เดิม ๓๗,๕๐๐ คน
ภัยคุกคามรูปแบบใหม่ยากที่จะประเมินทิศทางและเป้าหมายที่ชัดเจน
ยุทธศาสตร์ใหม่ของสหรัฐฯ จะเน้นการสร้างความร่วมมือชาติพันธมิตร
เข้าจัดการกับภัยคุกคามตามภูมิภาคต่าง ๆ ของโลกมากกว่าการขอเข้าไป
ใช้พื้นที่ของประเทศต่าง ๆ ทั่วโลก
ยุทธศาสตร์ใหม่ของสหรัฐฯ
กาหนดเป็นยุทธศาสตร์แบบ ๔-๒-๑
สามารถยับยั้งภัยคุกคามได้๔ ภูมิภาค
เอาชนะได้อย่างรวดเร็ว ๒ ภัยคุกคาม
เอาชนะได้อย่างเด็ดขาด อย่างน้อย ๑ ใน ๒ ภัยคุกคาม
ให้ความสาคัญกับภูมิภาค East Asia, Northeast, South
East Asia และEurope ตามลาดับ
Northeast
East Asia
South East Asia
Europe
ยุทธศาสตร์ Sea Power21
ปรับวางกาลังทางเรือของสหรัฐฯ
ทบทวนยุทธศาสตร์ ปรับเปลี่ยนรูปแบบ จานวนและสถานที่ตั้งกาลัง
ทางทหารของสหรัฐฯที่ประจาการอยู่ทั่วโลก
กาหนดภัยคุกคามและยุทธศาสตร์ขึ้นใหม่ทั้งหมด
มีการลงนามร่วมระหว่าง ผบ.ทร. และ ผบ.นย.และให้ กห.สหรัฐฯ
อนุมัติแล้ว
การพัฒนากองทัพ
ปรับกองเรือจาก 19 กองเรือ เป็น 37 กองเรือ มีขีดความสามารถ
ในการทาการรบในทุกภูมิภาคทั่วโลก
ให้ความสาคัญกับขีดความสามารถของหน่วยปฏิบัติการพิเศษ
(Special Force)
มีการปรับปรุงเรือดาน้า Nuclear ชั้น Ohio Class ซึ่งจากเดิมมี
การติดตั้งขีปนาวุธ Nuclear มาเป็นติดตั้งอาวุธปล่อยแบบ
Tomahawk และสามารถส่งหน่วย Special Force ขึ้นปฏิบัติการ
บนฝั่งได้
กรอบแนวความคิดของ Sea Power 21
Sea Shield การป้องกันจากทะเล ปกป้องแผ่นดินแม่ มีการป้องกัน
Air Missile Theater, Air Missile Defense และการป้องกันภัยคุกคามทั้ง
3 มิติ
Sea Strikeการโจมตีจากทะเล
Sea Basing ฐานปฏิบัติการจากทะเลที่ใช้ในการบัญชาการรบ
Sea Trial มีการฝึกและทดสอบเพื่อพัฒนาเทคโนโลยีใหม่ ๆ และวาง
แนวความคิดในการปฎิบัติการ
Sea Warrior การอบรมและพัฒนาคุณภาพของกาลังพลทางเรือ
Sea Enterprise การตรวจสอบเพื่อปรับปรุงการปฎิบัติภารกิจของ
กองทัพให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น

More Related Content

Similar to สถานการณ์ความขัดแย้งในอนาคต(296) 1

จริยปรัชญาการสร้างอัตลักษณ์ของคนเกาหลีสู่การพัฒนาประเทศ
จริยปรัชญาการสร้างอัตลักษณ์ของคนเกาหลีสู่การพัฒนาประเทศจริยปรัชญาการสร้างอัตลักษณ์ของคนเกาหลีสู่การพัฒนาประเทศ
จริยปรัชญาการสร้างอัตลักษณ์ของคนเกาหลีสู่การพัฒนาประเทศpentanino
 
ความร่วมมือจีนอาเซี่ยน
ความร่วมมือจีนอาเซี่ยนความร่วมมือจีนอาเซี่ยน
ความร่วมมือจีนอาเซี่ยนTaraya Srivilas
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1paisonmy
 
โลกาภิวัตน์
โลกาภิวัตน์โลกาภิวัตน์
โลกาภิวัตน์Lao-puphan Pipatsak
 
โลกาภิวัตน์
โลกาภิวัตน์โลกาภิวัตน์
โลกาภิวัตน์Jib Dankhunthot
 
สู่สังคมที่ยอมรับกันว่า Fair 45
สู่สังคมที่ยอมรับกันว่า Fair 45สู่สังคมที่ยอมรับกันว่า Fair 45
สู่สังคมที่ยอมรับกันว่า Fair 45Taraya Srivilas
 
ข้อเสนอนโยบาย One belt one road ของจีน
ข้อเสนอนโยบาย One belt one road ของจีนข้อเสนอนโยบาย One belt one road ของจีน
ข้อเสนอนโยบาย One belt one road ของจีนKlangpanya
 
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ผลสะท้อนจากหลักธรรมในพุทธศาสนาเถรวาท
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง  ผลสะท้อนจากหลักธรรมในพุทธศาสนาเถรวาทปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง  ผลสะท้อนจากหลักธรรมในพุทธศาสนาเถรวาท
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ผลสะท้อนจากหลักธรรมในพุทธศาสนาเถรวาทpentanino
 
สันติธานี
สันติธานีสันติธานี
สันติธานีTaraya Srivilas
 
ความร่วมมือจีนอาเซี่ยน
ความร่วมมือจีนอาเซี่ยนความร่วมมือจีนอาเซี่ยน
ความร่วมมือจีนอาเซี่ยนTaraya Srivilas
 
Global issues 220355
Global issues 220355Global issues 220355
Global issues 220355Teeranan
 
บทบาทของกองทัพในทศวรรษหน้า
บทบาทของกองทัพในทศวรรษหน้าบทบาทของกองทัพในทศวรรษหน้า
บทบาทของกองทัพในทศวรรษหน้าTeeranan
 

Similar to สถานการณ์ความขัดแย้งในอนาคต(296) 1 (20)

จริยปรัชญาการสร้างอัตลักษณ์ของคนเกาหลีสู่การพัฒนาประเทศ
จริยปรัชญาการสร้างอัตลักษณ์ของคนเกาหลีสู่การพัฒนาประเทศจริยปรัชญาการสร้างอัตลักษณ์ของคนเกาหลีสู่การพัฒนาประเทศ
จริยปรัชญาการสร้างอัตลักษณ์ของคนเกาหลีสู่การพัฒนาประเทศ
 
ความร่วมมือจีนอาเซี่ยน
ความร่วมมือจีนอาเซี่ยนความร่วมมือจีนอาเซี่ยน
ความร่วมมือจีนอาเซี่ยน
 
Isis
IsisIsis
Isis
 
Isis
IsisIsis
Isis
 
เบญจศีล
เบญจศีลเบญจศีล
เบญจศีล
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
โลกาภิวัตน์
โลกาภิวัตน์โลกาภิวัตน์
โลกาภิวัตน์
 
โลกาภิวัตน์
โลกาภิวัตน์โลกาภิวัตน์
โลกาภิวัตน์
 
G สังคมไทย social3
G สังคมไทย social3G สังคมไทย social3
G สังคมไทย social3
 
ประเทศจีน
ประเทศจีน ประเทศจีน
ประเทศจีน
 
สู่สังคมที่ยอมรับกันว่า Fair 45
สู่สังคมที่ยอมรับกันว่า Fair 45สู่สังคมที่ยอมรับกันว่า Fair 45
สู่สังคมที่ยอมรับกันว่า Fair 45
 
ข้อเสนอนโยบาย One belt one road ของจีน
ข้อเสนอนโยบาย One belt one road ของจีนข้อเสนอนโยบาย One belt one road ของจีน
ข้อเสนอนโยบาย One belt one road ของจีน
 
2
22
2
 
รวมเล่ม (1)
รวมเล่ม (1)รวมเล่ม (1)
รวมเล่ม (1)
 
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ผลสะท้อนจากหลักธรรมในพุทธศาสนาเถรวาท
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง  ผลสะท้อนจากหลักธรรมในพุทธศาสนาเถรวาทปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง  ผลสะท้อนจากหลักธรรมในพุทธศาสนาเถรวาท
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ผลสะท้อนจากหลักธรรมในพุทธศาสนาเถรวาท
 
สันติธานี
สันติธานีสันติธานี
สันติธานี
 
ความร่วมมือจีนอาเซี่ยน
ความร่วมมือจีนอาเซี่ยนความร่วมมือจีนอาเซี่ยน
ความร่วมมือจีนอาเซี่ยน
 
การล่มสายยุโกสลาเวีย
การล่มสายยุโกสลาเวียการล่มสายยุโกสลาเวีย
การล่มสายยุโกสลาเวีย
 
Global issues 220355
Global issues 220355Global issues 220355
Global issues 220355
 
บทบาทของกองทัพในทศวรรษหน้า
บทบาทของกองทัพในทศวรรษหน้าบทบาทของกองทัพในทศวรรษหน้า
บทบาทของกองทัพในทศวรรษหน้า
 

More from Taraya Srivilas

การบริหารความขัดแย้ง บยส แจก
การบริหารความขัดแย้ง บยส แจกการบริหารความขัดแย้ง บยส แจก
การบริหารความขัดแย้ง บยส แจกTaraya Srivilas
 
นโยบายการจัดการความขัดแย้งด้วยสันติวิธี วทอ แจก
นโยบายการจัดการความขัดแย้งด้วยสันติวิธี วทอ แจกนโยบายการจัดการความขัดแย้งด้วยสันติวิธี วทอ แจก
นโยบายการจัดการความขัดแย้งด้วยสันติวิธี วทอ แจกTaraya Srivilas
 
โปสเตอร์สัญญาประชาคม
โปสเตอร์สัญญาประชาคมโปสเตอร์สัญญาประชาคม
โปสเตอร์สัญญาประชาคมTaraya Srivilas
 
จริยธรรมทางการแพทย์ 75 ปธพ.6
จริยธรรมทางการแพทย์ 75 ปธพ.6จริยธรรมทางการแพทย์ 75 ปธพ.6
จริยธรรมทางการแพทย์ 75 ปธพ.6Taraya Srivilas
 
การเรียนรู้ตามรอยพระยุคลบาท การพัฒนาคุณธรรมและจริยธรรมในการทำงาน
การเรียนรู้ตามรอยพระยุคลบาท การพัฒนาคุณธรรมและจริยธรรมในการทำงานการเรียนรู้ตามรอยพระยุคลบาท การพัฒนาคุณธรรมและจริยธรรมในการทำงาน
การเรียนรู้ตามรอยพระยุคลบาท การพัฒนาคุณธรรมและจริยธรรมในการทำงานTaraya Srivilas
 
แนวทางในการเรียนรู้ร่วมกันเพื่อลดความขัดแย้งในการจัดการป่าม้ระดับชุมชน
แนวทางในการเรียนรู้ร่วมกันเพื่อลดความขัดแย้งในการจัดการป่าม้ระดับชุมชนแนวทางในการเรียนรู้ร่วมกันเพื่อลดความขัดแย้งในการจัดการป่าม้ระดับชุมชน
แนวทางในการเรียนรู้ร่วมกันเพื่อลดความขัดแย้งในการจัดการป่าม้ระดับชุมชนTaraya Srivilas
 
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง สจว แจก
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง สจว  แจกสันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง สจว  แจก
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง สจว แจกTaraya Srivilas
 
ค้นหาตัวเอง อุซะ usa 69
ค้นหาตัวเอง อุซะ usa 69ค้นหาตัวเอง อุซะ usa 69
ค้นหาตัวเอง อุซะ usa 69Taraya Srivilas
 
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง วิทยาลัยตำรวจ
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง วิทยาลัยตำรวจสันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง วิทยาลัยตำรวจ
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง วิทยาลัยตำรวจTaraya Srivilas
 
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 webสถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 webTaraya Srivilas
 
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 webสถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 webTaraya Srivilas
 
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 Taraya Srivilas
 
การสร้างความสามัคคีปรองดอง ปยป. และ ความสมานฉันท์ในสังคมไทย
การสร้างความสามัคคีปรองดอง ปยป. และ ความสมานฉันท์ในสังคมไทยการสร้างความสามัคคีปรองดอง ปยป. และ ความสมานฉันท์ในสังคมไทย
การสร้างความสามัคคีปรองดอง ปยป. และ ความสมานฉันท์ในสังคมไทยTaraya Srivilas
 
สถิติเกี่ยวกับผู้หญิง
สถิติเกี่ยวกับผู้หญิงสถิติเกี่ยวกับผู้หญิง
สถิติเกี่ยวกับผู้หญิงTaraya Srivilas
 
บทบาทสตรีสันติภาพชายแดนใต้
บทบาทสตรีสันติภาพชายแดนใต้บทบาทสตรีสันติภาพชายแดนใต้
บทบาทสตรีสันติภาพชายแดนใต้Taraya Srivilas
 
บทบาทสตรีในอนาคต
บทบาทสตรีในอนาคตบทบาทสตรีในอนาคต
บทบาทสตรีในอนาคตTaraya Srivilas
 
บทบาทสตรีกับการสร้างสรรค์สังคมสันติสุข
บทบาทสตรีกับการสร้างสรรค์สังคมสันติสุขบทบาทสตรีกับการสร้างสรรค์สังคมสันติสุข
บทบาทสตรีกับการสร้างสรรค์สังคมสันติสุขTaraya Srivilas
 
การจัดการความขัดแย้งในพื้นที่
การจัดการความขัดแย้งในพื้นที่การจัดการความขัดแย้งในพื้นที่
การจัดการความขัดแย้งในพื้นที่Taraya Srivilas
 
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้า
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้าการสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้า
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้าTaraya Srivilas
 

More from Taraya Srivilas (20)

การบริหารความขัดแย้ง บยส แจก
การบริหารความขัดแย้ง บยส แจกการบริหารความขัดแย้ง บยส แจก
การบริหารความขัดแย้ง บยส แจก
 
นโยบายการจัดการความขัดแย้งด้วยสันติวิธี วทอ แจก
นโยบายการจัดการความขัดแย้งด้วยสันติวิธี วทอ แจกนโยบายการจัดการความขัดแย้งด้วยสันติวิธี วทอ แจก
นโยบายการจัดการความขัดแย้งด้วยสันติวิธี วทอ แจก
 
โปสเตอร์สัญญาประชาคม
โปสเตอร์สัญญาประชาคมโปสเตอร์สัญญาประชาคม
โปสเตอร์สัญญาประชาคม
 
จริยธรรมทางการแพทย์ 75 ปธพ.6
จริยธรรมทางการแพทย์ 75 ปธพ.6จริยธรรมทางการแพทย์ 75 ปธพ.6
จริยธรรมทางการแพทย์ 75 ปธพ.6
 
การเรียนรู้ตามรอยพระยุคลบาท การพัฒนาคุณธรรมและจริยธรรมในการทำงาน
การเรียนรู้ตามรอยพระยุคลบาท การพัฒนาคุณธรรมและจริยธรรมในการทำงานการเรียนรู้ตามรอยพระยุคลบาท การพัฒนาคุณธรรมและจริยธรรมในการทำงาน
การเรียนรู้ตามรอยพระยุคลบาท การพัฒนาคุณธรรมและจริยธรรมในการทำงาน
 
แนวทางในการเรียนรู้ร่วมกันเพื่อลดความขัดแย้งในการจัดการป่าม้ระดับชุมชน
แนวทางในการเรียนรู้ร่วมกันเพื่อลดความขัดแย้งในการจัดการป่าม้ระดับชุมชนแนวทางในการเรียนรู้ร่วมกันเพื่อลดความขัดแย้งในการจัดการป่าม้ระดับชุมชน
แนวทางในการเรียนรู้ร่วมกันเพื่อลดความขัดแย้งในการจัดการป่าม้ระดับชุมชน
 
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง สจว แจก
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง สจว  แจกสันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง สจว  แจก
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง สจว แจก
 
ค้นหาตัวเอง อุซะ usa 69
ค้นหาตัวเอง อุซะ usa 69ค้นหาตัวเอง อุซะ usa 69
ค้นหาตัวเอง อุซะ usa 69
 
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง วิทยาลัยตำรวจ
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง วิทยาลัยตำรวจสันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง วิทยาลัยตำรวจ
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง วิทยาลัยตำรวจ
 
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 webสถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
 
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 webสถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
 
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8
 
American first muslim
American first muslimAmerican first muslim
American first muslim
 
การสร้างความสามัคคีปรองดอง ปยป. และ ความสมานฉันท์ในสังคมไทย
การสร้างความสามัคคีปรองดอง ปยป. และ ความสมานฉันท์ในสังคมไทยการสร้างความสามัคคีปรองดอง ปยป. และ ความสมานฉันท์ในสังคมไทย
การสร้างความสามัคคีปรองดอง ปยป. และ ความสมานฉันท์ในสังคมไทย
 
สถิติเกี่ยวกับผู้หญิง
สถิติเกี่ยวกับผู้หญิงสถิติเกี่ยวกับผู้หญิง
สถิติเกี่ยวกับผู้หญิง
 
บทบาทสตรีสันติภาพชายแดนใต้
บทบาทสตรีสันติภาพชายแดนใต้บทบาทสตรีสันติภาพชายแดนใต้
บทบาทสตรีสันติภาพชายแดนใต้
 
บทบาทสตรีในอนาคต
บทบาทสตรีในอนาคตบทบาทสตรีในอนาคต
บทบาทสตรีในอนาคต
 
บทบาทสตรีกับการสร้างสรรค์สังคมสันติสุข
บทบาทสตรีกับการสร้างสรรค์สังคมสันติสุขบทบาทสตรีกับการสร้างสรรค์สังคมสันติสุข
บทบาทสตรีกับการสร้างสรรค์สังคมสันติสุข
 
การจัดการความขัดแย้งในพื้นที่
การจัดการความขัดแย้งในพื้นที่การจัดการความขัดแย้งในพื้นที่
การจัดการความขัดแย้งในพื้นที่
 
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้า
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้าการสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้า
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้า
 

สถานการณ์ความขัดแย้งในอนาคต(296) 1