SlideShare a Scribd company logo
1 of 6
Download to read offline
ภุชงคประยาตฉันท์ ๑๒
                            ภุชงคประยาต แปลว่า งูเลื้อย หมายความว่า ฉันท์นี้มีลีลาอย่างงูเลื้อย
      คณะและพยางค์ ฉันท์บทหนึ่งมี ๒ บาท บาทละ๒ วรรค วรรคต้นและวรรคท้าย มีวรรคละ ๖ คาเท่ากัน รวม ๒ วรรค
                                       เป็น ๑๒ คา จึงเขียน ๑๒ ไว้ท้ายชื่อฉันท์


                                    ภุชงคประยาต ฉันท์ฯ
      ณวันหนึ่งลุถึงกา               ลศึกษาพิชากร

กุมารลิจฉวีวร                        เสด็จพร้อมประชุมกัน

      ตระบัดวัสสการมา                 สถานราชเรียนพลัน

ธแกล้งเชิญกุมารฉัน                   สนิทหนึ่งพระองค์ไป

      ลุห้องหับรโหฐาน                 ก็ถามการณ์ ณ ทันใด

มิลี้ลับอะไรใน                       กถาเช่นธปุจฉา

     จะถูกผิดกระไรอยู่               มนุษย์ผู้กระทานา

และคู่โคก็จูงมา                      ประเทียบไถมิใช่หรือ

     กุมารลิจฉวีขัตติย์              ก็รับอรรถอออือ

กสิกเขากระทาคือ                      ประดุจคาพระอาจารย์

     ก็เท่านั้นธเชิญให้               นิวัตในมิช้านาน

ประสิทธิ์ศิลป์ประศาสน์สาร            สมัยเลิกลุเวลา

     อุรสลิจฉวีสรร                   พชวนกันเสด็จมา

และต่างซักกุมารรา                    ชองค์นั้นจะเอาความ

      พระอาจารย์สิเรียกไป            ณข้างในธไต่ถาม

อะไรเธอเสนอตาม                       วจีสัตย์กะส่าเรา
กุมารนั้นสนองสา       รวากย์วาทตามเลา

เฉลยพจน์กะครูเสา           วภาพโดยคดีมา

     กุมารอื่นก็สงสัย      มิเชื่อในพระวาจา

สหายราชธพรรณนา             และต่างองค์ก็พาที

     ไฉนเลยพระครูเรา       จะพูดเปล่าประโยชน์มี

เลอะเหลวนักละล้วนนี        รผลเห็นบเป็นไป

     เถอะถึงถ้าจะจริงแม้    ธพูดแท้ก็ทาไม

แนะชวนเข้าณข้างใน          จะถามนอกบยากเย็น

     ชะรอยว่าทิชาจารย์     ธคิดอ่านกะท่านเป็น

รหัสเหตุประเภทเห็น         ละแน่ชัดถนัดความ

     และท่านมามุสาวาท      มิกล้าอาจจะบอกตา

พจีจริงพยายาม              ไถลแสร้งแถลงสาร

     กุมารราชมิตรผอง       ก็สอดคล้องและแคลงดาล

พิโรธกาจวิวาทการณ์         อุบัติขึ้นเพราะขุ่นเคือง

     พิพิธพันธไมตรี        ประดามีนิรันดร์เนือง

กะองค์นั้นก็พลันเปลือง     มลายปลาตพินาศปลงฯ
ถอดความภุชงคประยาต ฉันท์ ๑๒
    พราหมณ์ผู้ฉลาดคาดคะเนว่ากษัตริย์ลิจฉวีวางใจคลายความหวาดระแวง เป็นโอกาสเหมาะที่จะเริ่มดาเนินการตาม
กลอุบายทาลายความสามัคคี วันหนึ่งเมื่อถึงโอกาสที่จะสอนวิชา กุมารลิจฉวีก็เสด็จมาโดยพร้อมเพรียงกัน ทันใดวัส
สการพราหมณ์ก็มาถึงและแกล้งเชิญพระกุมารพระองค์ที่สนิทสนมเข้าไปพบในห้องส่วนตัว แล้วก็ทูลถามเรื่องที่ไม่ใช่
ความลับแต่ประการใด ดังเช่นถามว่าชาวนาจูงโคมาคู่หนึ่งเพื่อเทียมไถใช่หรือไม่ พระกุมารลิจฉวีก็รับสั่งเห็นด้วยว่าชาวนา
ก็คงจะกระทาดังคาของพระอาจารย์ ถามเพียงเท่านั้นพราหมณ์ก็เชิญให้เสด็จกลับออกไป ครั้นถึงเวลาเลิกเรียนเหล่า
โอรสลิจฉวีก็พากันมาซักไซ้พระกุมารว่าพระอาจารย์เรียกเข้าไปข้างในได้ไต่ถามอะไรบ้าง ขอให้บอกมาตามความ
จริง พระกุมารพระองค์นั้นก็เล่าเรื่องราวที่พระอาจารย์เรียกไปถาม แต่เหล่ากุมารสงสัยไม่เชื่อคาพูดของพระสหาย ต่าง
องค์ก็วิจารณ์ว่าพระอาจารย์จะพูดเรื่องเหลวไหลไร้สาระเช่นนี้เป็นไปไม่ได้ และหากว่าจะพูดจริงเหตุใดจะต้องเรียกเข้าไป
ถามข้างในห้อง ถามข้างนอกห้องก็ได้ สงสัยว่าท่านอาจารย์กับพระกุมารต้องมีความลับอย่างแน่นอน แล้วก็มาพูด
โกหก ไม่กล้าบอกตามความเป็นจริง แกล้งพูดไปต่าง ๆ นานา กุมารลิจฉวีทั้งหลายเห็นสอดคล้องกันก็เกิดความโกรธ
เคือง การทะเลาะวิวาทก็เกิดขึ้นเพราะความขุ่นเคืองใจ ความสัมพันธ์อันดีที่เคยมีมาตลอดก็ถูกทาลายย่อยยับลง



                            คุณค่าด้านวรรณศิลป์ของสามัคคีเภทคาฉันท์




                                   ตอนภุชงคประยาต ฉันท์ ๑๒
1.การสรรคา
1.1 การเลือกใช้คาได้ถูกต้องตรงตามความหมายที่ต้องการมีการใช้คาประณีตเป็นพิเศษเมื่อกล่าวถึงพระมหากษัตริย์ ครู
อาจารย์ เด็ก เช่น

     อุรสลิจฉวีสรร                 พชวนกันเสด็จมา

และต่างซักกุมารรา                   ชองค์นั้นจะเอาความ

     พระอาจารย์สิเรียกไป            ณข้างในธไต่ถาม

อะไรเธอเสนอตาม                     วจีสัตย์กะส่าเรา
กุมารนั้นสนองสา               รวากย์วาทตามเลา

เฉลยพจน์กะครูเสา                   วภาพโดยคดีมา




1.2 การเลือกใช้คาเหมาะแก่เนื้อเรื่องและฐานะของบุคคลในเรื่อง

     พระอาจารย์สิเรียกไป          ณข้างในธไต่ถาม

อะไรเธอเสนอตาม                    วจีสัตย์กะส่าเรา

     กุมารนั้นสนองสา              รวากย์วาทตามเลา

เฉลยพจน์กะครูเสา                  วภาพโดยคดีมา



1.3 การเลือกใช้เลือกคาโดยคานึงถึงเสียง

1) การใช้คาที่เล่นเสียงหนักเบา

ตัวอย่าง ชะรอยว่าทิชาจารย์         ธคิดอ่านกะท่านเป็น

รหัสเหตุประเภทเห็น                ละแน่ชัดถนัดความ

         และท่านมามุสาวาท          มิกล้าอาจจะบอกตา

พจีจริงพยายาม                      ไถลแสร้งแถลงสาร



2) การเล่นเสียงสัมผัส

ตัวอย่าง ตระบัดวัสสการมา           สถานราชเรียนพลัน

ธแกล้งเชิญกุมารฉัน                สนิทหนึ่งพระองค์ไป

         ลุห้องหับรโหฐาน          ก็ถามการณ์ ณ ทันใด

มิลี้ลับอะไรใน                    กถาเช่นธปุจฉา
จะถูกผิดกระไรอยู่         มนุษย์ผู้กระทานา

และคู่โคก็จูงมา                     ประเทียบไถมิใช่หรือ

คาที่สาผัสในวรรค ได้แก่บัด-วัสราช-เรียนห้อง-หับคู่-โค




2.การใช้โวหาร
2.1) บรรยายโวหารใช้คาให้เห็นภาพชัดเจนตามลาดับเหตุการณ์ รวดเร็ว ไม่เยิ่นเย้อ เข้าใจง่ายเช่น

         ณวันหนึ่งลุถึงกา            ลศึกษาพิชากร

กุมารลิจฉวีวร                       เสด็จพร้อมประชุมกัน

         ตระบัดวัสสการมา             สถานราชเรียนพลัน

ธแกล้งเชิญกุมารฉัน                  สนิทหนึ่งพระองค์ไป

        ลุห้องหับรโหฐาน              ก็ถามการณ์ ณ ทันใด

มิลี้ลับอะไรใน                      กถาเช่นธปุจฉา

2.2) พรรณนาโวหาร      เป็นการสร้างมโนภาพให้ผู้อ่านเกิดภาพขึ้นในใจ หรือมองเห็นภาพบรรยากาศตามที่กวีต้องการ

        พระอาจารย์สิเรียกไป         ณข้างในธไต่ถาม

อะไรเธอเสนอตาม                      วจีสัตย์กะส่าเรา

        กุมารนั้นสนองสา             รวากย์วาทตามเลา

เฉลยพจน์กะครูเสา                    วภาพโดยคดีมา

        กุมารอื่นก็สงสัย            มิเชื่อในพระวาจา

สหายราชธพรรณนา                      และต่างองค์ก็พาที



2.3) อุปมาโวหารเป็นการกล่าวเปรียบเทียบเพื่อให้ผู้อ่านข้าใจและเห็นภาพชัดเจนยิ่งขึ้น
จะถูกผิดกระไรอยู่       มนุษย์ผู้กระทานา

และคู่โคก็จูงมา                 ประเทียบไถมิใช่หรือ

        กุมารลิจฉวีขัตติย์     ก็รับอรรถอออือ

กสิกเขากระทาคือ                ประดุจคาพระอาจารย์



3.ลีลาการประพันธ์
- พิโรธวาทัง บทแสดงความโกรธเกรียวของเด็ก

       กุมารราชมิตรผอง         ก็สอดคล้องและแคลงดาล

พิโรธกาจวิวาทการณ์             อุบัติขึ้นเพราะขุ่นเคือง

       พิพิธพันธไมตรี          ประดามีนิรันดร์เนือง

กะองค์นั้นก็พลันเปลือง         มลายปลาตพินาศปลงฯ




                                                                      จัดทาโดย


                                                    นาย นิติศักดิ์ ทองขาวบัว เลขที่ 16   ชั้น ม. 6/3

More Related Content

What's hot

สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์Nakkarin Keesun
 
กัณฑ์มัทรี2๕๗
กัณฑ์มัทรี2๕๗กัณฑ์มัทรี2๕๗
กัณฑ์มัทรี2๕๗Milky' __
 
สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์Jariya Huangjing
 
สื่อ Powerpoint รสวรรณคดีใหม่.ppt1
สื่อ Powerpoint รสวรรณคดีใหม่.ppt1สื่อ Powerpoint รสวรรณคดีใหม่.ppt1
สื่อ Powerpoint รสวรรณคดีใหม่.ppt1krubuatoom
 
วังสัฏ ฉันท์ ๑๒
วังสัฏ  ฉันท์ ๑๒วังสัฏ  ฉันท์ ๑๒
วังสัฏ ฉันท์ ๑๒Jiraprapa Noinoo
 
ใบความรู้เรื่อมัทนะพาธา
ใบความรู้เรื่อมัทนะพาธาใบความรู้เรื่อมัทนะพาธา
ใบความรู้เรื่อมัทนะพาธาChinnakorn Pawannay
 
รามเกียรติ์ ตอนนารายณ์ปราบนนทก พร้อมแบบฝึกหัด
รามเกียรติ์ ตอนนารายณ์ปราบนนทก พร้อมแบบฝึกหัดรามเกียรติ์ ตอนนารายณ์ปราบนนทก พร้อมแบบฝึกหัด
รามเกียรติ์ ตอนนารายณ์ปราบนนทก พร้อมแบบฝึกหัดMethaporn Meeyai
 
งานนำเสนอ มหาเวสสันดรชาดก กันฑ์กุมาร
งานนำเสนอ มหาเวสสันดรชาดก กันฑ์กุมารงานนำเสนอ มหาเวสสันดรชาดก กันฑ์กุมาร
งานนำเสนอ มหาเวสสันดรชาดก กันฑ์กุมารSantichon Islamic School
 
ความงามกับภาษา ม. ๔ นิราศนรินทร์คำโคลง
ความงามกับภาษา ม. ๔  นิราศนรินทร์คำโคลงความงามกับภาษา ม. ๔  นิราศนรินทร์คำโคลง
ความงามกับภาษา ม. ๔ นิราศนรินทร์คำโคลงnarongsak kalong
 
จิตรปทา ฉันท์ 8
จิตรปทา ฉันท์ 8จิตรปทา ฉันท์ 8
จิตรปทา ฉันท์ 8MilkOrapun
 
งานนำเสนอมัทนะพาธา
งานนำเสนอมัทนะพาธางานนำเสนอมัทนะพาธา
งานนำเสนอมัทนะพาธาSantichon Islamic School
 
ใบความรู้ เรื่อง สำนวนไทย
ใบความรู้ เรื่อง  สำนวนไทยใบความรู้ เรื่อง  สำนวนไทย
ใบความรู้ เรื่อง สำนวนไทยอร ครูสวย
 
การวิเคราะห์วิจารณ์วรรณคดี
การวิเคราะห์วิจารณ์วรรณคดีการวิเคราะห์วิจารณ์วรรณคดี
การวิเคราะห์วิจารณ์วรรณคดีSantichon Islamic School
 

What's hot (18)

สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์
 
กัณฑ์มัทรี2๕๗
กัณฑ์มัทรี2๕๗กัณฑ์มัทรี2๕๗
กัณฑ์มัทรี2๕๗
 
สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์
 
สื่อ Powerpoint รสวรรณคดีใหม่.ppt1
สื่อ Powerpoint รสวรรณคดีใหม่.ppt1สื่อ Powerpoint รสวรรณคดีใหม่.ppt1
สื่อ Powerpoint รสวรรณคดีใหม่.ppt1
 
ใบความรู้ เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก
ใบความรู้ เรื่อง มหาเวสสันดรชาดกใบความรู้ เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก
ใบความรู้ เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก
 
วังสัฏ ฉันท์ ๑๒
วังสัฏ  ฉันท์ ๑๒วังสัฏ  ฉันท์ ๑๒
วังสัฏ ฉันท์ ๑๒
 
ใบความรู้เรื่อมัทนะพาธา
ใบความรู้เรื่อมัทนะพาธาใบความรู้เรื่อมัทนะพาธา
ใบความรู้เรื่อมัทนะพาธา
 
รามเกียรติ์ ตอนนารายณ์ปราบนนทก พร้อมแบบฝึกหัด
รามเกียรติ์ ตอนนารายณ์ปราบนนทก พร้อมแบบฝึกหัดรามเกียรติ์ ตอนนารายณ์ปราบนนทก พร้อมแบบฝึกหัด
รามเกียรติ์ ตอนนารายณ์ปราบนนทก พร้อมแบบฝึกหัด
 
อนุตตรีย์ วัชรภา
อนุตตรีย์  วัชรภาอนุตตรีย์  วัชรภา
อนุตตรีย์ วัชรภา
 
งานนำเสนอ มหาเวสสันดรชาดก กันฑ์กุมาร
งานนำเสนอ มหาเวสสันดรชาดก กันฑ์กุมารงานนำเสนอ มหาเวสสันดรชาดก กันฑ์กุมาร
งานนำเสนอ มหาเวสสันดรชาดก กันฑ์กุมาร
 
ใบความรู้กาพย์เห่เรือ
ใบความรู้กาพย์เห่เรือใบความรู้กาพย์เห่เรือ
ใบความรู้กาพย์เห่เรือ
 
ความงามกับภาษา ม. ๔ นิราศนรินทร์คำโคลง
ความงามกับภาษา ม. ๔  นิราศนรินทร์คำโคลงความงามกับภาษา ม. ๔  นิราศนรินทร์คำโคลง
ความงามกับภาษา ม. ๔ นิราศนรินทร์คำโคลง
 
จิตรปทา ฉันท์ 8
จิตรปทา ฉันท์ 8จิตรปทา ฉันท์ 8
จิตรปทา ฉันท์ 8
 
งานนำเสนอมัทนะพาธา
งานนำเสนอมัทนะพาธางานนำเสนอมัทนะพาธา
งานนำเสนอมัทนะพาธา
 
ไทย
ไทยไทย
ไทย
 
ใบความรู้ เรื่อง สำนวนไทย
ใบความรู้ เรื่อง  สำนวนไทยใบความรู้ เรื่อง  สำนวนไทย
ใบความรู้ เรื่อง สำนวนไทย
 
การใช้โวหารในภาษาไทย
การใช้โวหารในภาษาไทยการใช้โวหารในภาษาไทย
การใช้โวหารในภาษาไทย
 
การวิเคราะห์วิจารณ์วรรณคดี
การวิเคราะห์วิจารณ์วรรณคดีการวิเคราะห์วิจารณ์วรรณคดี
การวิเคราะห์วิจารณ์วรรณคดี
 

Similar to fff

วราภรณ์
 วราภรณ์ วราภรณ์
วราภรณ์Mu Koy
 
วิชชุมมาลา ฉันท์ ๘ เสร็จ
วิชชุมมาลา ฉันท์ ๘ เสร็จวิชชุมมาลา ฉันท์ ๘ เสร็จ
วิชชุมมาลา ฉันท์ ๘ เสร็จNat Ty
 
สมพร
สมพรสมพร
สมพรNat Ty
 
งานภาษาไทย (อนุสรา)
งานภาษาไทย (อนุสรา)งานภาษาไทย (อนุสรา)
งานภาษาไทย (อนุสรา)Chutima Tongnork
 
วังสัฏ ฉันท์ ๑๒
วังสัฏ  ฉันท์ ๑๒วังสัฏ  ฉันท์ ๑๒
วังสัฏ ฉันท์ ๑๒Nattakit Sookka
 
สามัคคีเภทคำฉันท1
สามัคคีเภทคำฉันท1สามัคคีเภทคำฉันท1
สามัคคีเภทคำฉันท1Sirisak Promtip
 
งานนำเสนอ25
งานนำเสนอ25งานนำเสนอ25
งานนำเสนอ25Mai Forgetmenot
 

Similar to fff (20)

ภุชงคประยาคฉันท์ 12
ภุชงคประยาคฉันท์ 12ภุชงคประยาคฉันท์ 12
ภุชงคประยาคฉันท์ 12
 
อนุตตรีย์ วัชรภา
อนุตตรีย์  วัชรภาอนุตตรีย์  วัชรภา
อนุตตรีย์ วัชรภา
 
อนุตตรีย์ วัชรภา
อนุตตรีย์  วัชรภาอนุตตรีย์  วัชรภา
อนุตตรีย์ วัชรภา
 
โจ๊ก.
โจ๊ก.โจ๊ก.
โจ๊ก.
 
วราภรณ์
 วราภรณ์ วราภรณ์
วราภรณ์
 
วิชชุมมาลา ฉันท์ ๘ เสร็จ
วิชชุมมาลา ฉันท์ ๘ เสร็จวิชชุมมาลา ฉันท์ ๘ เสร็จ
วิชชุมมาลา ฉันท์ ๘ เสร็จ
 
เกด
เกดเกด
เกด
 
สมพร
สมพรสมพร
สมพร
 
งานนำเสนอ J
งานนำเสนอ Jงานนำเสนอ J
งานนำเสนอ J
 
งานภาษาไทย (อนุสรา)
งานภาษาไทย (อนุสรา)งานภาษาไทย (อนุสรา)
งานภาษาไทย (อนุสรา)
 
สามัคคีเภทคำฉันท์แก๊ป
สามัคคีเภทคำฉันท์แก๊ปสามัคคีเภทคำฉันท์แก๊ป
สามัคคีเภทคำฉันท์แก๊ป
 
วังสัฏ ฉันท์ ๑๒
วังสัฏ  ฉันท์ ๑๒วังสัฏ  ฉันท์ ๑๒
วังสัฏ ฉันท์ ๑๒
 
จิรทีปต์
จิรทีปต์จิรทีปต์
จิรทีปต์
 
จิรทีปต์
จิรทีปต์จิรทีปต์
จิรทีปต์
 
จิรทีปต์
จิรทีปต์จิรทีปต์
จิรทีปต์
 
สามัคคีเภทคำฉันท1
สามัคคีเภทคำฉันท1สามัคคีเภทคำฉันท1
สามัคคีเภทคำฉันท1
 
จิรทีปต์ 2
จิรทีปต์ 2จิรทีปต์ 2
จิรทีปต์ 2
 
ตั้ม
ตั้มตั้ม
ตั้ม
 
Buddha
BuddhaBuddha
Buddha
 
งานนำเสนอ25
งานนำเสนอ25งานนำเสนอ25
งานนำเสนอ25
 

fff

  • 1. ภุชงคประยาตฉันท์ ๑๒ ภุชงคประยาต แปลว่า งูเลื้อย หมายความว่า ฉันท์นี้มีลีลาอย่างงูเลื้อย คณะและพยางค์ ฉันท์บทหนึ่งมี ๒ บาท บาทละ๒ วรรค วรรคต้นและวรรคท้าย มีวรรคละ ๖ คาเท่ากัน รวม ๒ วรรค เป็น ๑๒ คา จึงเขียน ๑๒ ไว้ท้ายชื่อฉันท์ ภุชงคประยาต ฉันท์ฯ ณวันหนึ่งลุถึงกา ลศึกษาพิชากร กุมารลิจฉวีวร เสด็จพร้อมประชุมกัน ตระบัดวัสสการมา สถานราชเรียนพลัน ธแกล้งเชิญกุมารฉัน สนิทหนึ่งพระองค์ไป ลุห้องหับรโหฐาน ก็ถามการณ์ ณ ทันใด มิลี้ลับอะไรใน กถาเช่นธปุจฉา จะถูกผิดกระไรอยู่ มนุษย์ผู้กระทานา และคู่โคก็จูงมา ประเทียบไถมิใช่หรือ กุมารลิจฉวีขัตติย์ ก็รับอรรถอออือ กสิกเขากระทาคือ ประดุจคาพระอาจารย์ ก็เท่านั้นธเชิญให้ นิวัตในมิช้านาน ประสิทธิ์ศิลป์ประศาสน์สาร สมัยเลิกลุเวลา อุรสลิจฉวีสรร พชวนกันเสด็จมา และต่างซักกุมารรา ชองค์นั้นจะเอาความ พระอาจารย์สิเรียกไป ณข้างในธไต่ถาม อะไรเธอเสนอตาม วจีสัตย์กะส่าเรา
  • 2. กุมารนั้นสนองสา รวากย์วาทตามเลา เฉลยพจน์กะครูเสา วภาพโดยคดีมา กุมารอื่นก็สงสัย มิเชื่อในพระวาจา สหายราชธพรรณนา และต่างองค์ก็พาที ไฉนเลยพระครูเรา จะพูดเปล่าประโยชน์มี เลอะเหลวนักละล้วนนี รผลเห็นบเป็นไป เถอะถึงถ้าจะจริงแม้ ธพูดแท้ก็ทาไม แนะชวนเข้าณข้างใน จะถามนอกบยากเย็น ชะรอยว่าทิชาจารย์ ธคิดอ่านกะท่านเป็น รหัสเหตุประเภทเห็น ละแน่ชัดถนัดความ และท่านมามุสาวาท มิกล้าอาจจะบอกตา พจีจริงพยายาม ไถลแสร้งแถลงสาร กุมารราชมิตรผอง ก็สอดคล้องและแคลงดาล พิโรธกาจวิวาทการณ์ อุบัติขึ้นเพราะขุ่นเคือง พิพิธพันธไมตรี ประดามีนิรันดร์เนือง กะองค์นั้นก็พลันเปลือง มลายปลาตพินาศปลงฯ
  • 3. ถอดความภุชงคประยาต ฉันท์ ๑๒ พราหมณ์ผู้ฉลาดคาดคะเนว่ากษัตริย์ลิจฉวีวางใจคลายความหวาดระแวง เป็นโอกาสเหมาะที่จะเริ่มดาเนินการตาม กลอุบายทาลายความสามัคคี วันหนึ่งเมื่อถึงโอกาสที่จะสอนวิชา กุมารลิจฉวีก็เสด็จมาโดยพร้อมเพรียงกัน ทันใดวัส สการพราหมณ์ก็มาถึงและแกล้งเชิญพระกุมารพระองค์ที่สนิทสนมเข้าไปพบในห้องส่วนตัว แล้วก็ทูลถามเรื่องที่ไม่ใช่ ความลับแต่ประการใด ดังเช่นถามว่าชาวนาจูงโคมาคู่หนึ่งเพื่อเทียมไถใช่หรือไม่ พระกุมารลิจฉวีก็รับสั่งเห็นด้วยว่าชาวนา ก็คงจะกระทาดังคาของพระอาจารย์ ถามเพียงเท่านั้นพราหมณ์ก็เชิญให้เสด็จกลับออกไป ครั้นถึงเวลาเลิกเรียนเหล่า โอรสลิจฉวีก็พากันมาซักไซ้พระกุมารว่าพระอาจารย์เรียกเข้าไปข้างในได้ไต่ถามอะไรบ้าง ขอให้บอกมาตามความ จริง พระกุมารพระองค์นั้นก็เล่าเรื่องราวที่พระอาจารย์เรียกไปถาม แต่เหล่ากุมารสงสัยไม่เชื่อคาพูดของพระสหาย ต่าง องค์ก็วิจารณ์ว่าพระอาจารย์จะพูดเรื่องเหลวไหลไร้สาระเช่นนี้เป็นไปไม่ได้ และหากว่าจะพูดจริงเหตุใดจะต้องเรียกเข้าไป ถามข้างในห้อง ถามข้างนอกห้องก็ได้ สงสัยว่าท่านอาจารย์กับพระกุมารต้องมีความลับอย่างแน่นอน แล้วก็มาพูด โกหก ไม่กล้าบอกตามความเป็นจริง แกล้งพูดไปต่าง ๆ นานา กุมารลิจฉวีทั้งหลายเห็นสอดคล้องกันก็เกิดความโกรธ เคือง การทะเลาะวิวาทก็เกิดขึ้นเพราะความขุ่นเคืองใจ ความสัมพันธ์อันดีที่เคยมีมาตลอดก็ถูกทาลายย่อยยับลง คุณค่าด้านวรรณศิลป์ของสามัคคีเภทคาฉันท์ ตอนภุชงคประยาต ฉันท์ ๑๒ 1.การสรรคา 1.1 การเลือกใช้คาได้ถูกต้องตรงตามความหมายที่ต้องการมีการใช้คาประณีตเป็นพิเศษเมื่อกล่าวถึงพระมหากษัตริย์ ครู อาจารย์ เด็ก เช่น อุรสลิจฉวีสรร พชวนกันเสด็จมา และต่างซักกุมารรา ชองค์นั้นจะเอาความ พระอาจารย์สิเรียกไป ณข้างในธไต่ถาม อะไรเธอเสนอตาม วจีสัตย์กะส่าเรา
  • 4. กุมารนั้นสนองสา รวากย์วาทตามเลา เฉลยพจน์กะครูเสา วภาพโดยคดีมา 1.2 การเลือกใช้คาเหมาะแก่เนื้อเรื่องและฐานะของบุคคลในเรื่อง พระอาจารย์สิเรียกไป ณข้างในธไต่ถาม อะไรเธอเสนอตาม วจีสัตย์กะส่าเรา กุมารนั้นสนองสา รวากย์วาทตามเลา เฉลยพจน์กะครูเสา วภาพโดยคดีมา 1.3 การเลือกใช้เลือกคาโดยคานึงถึงเสียง 1) การใช้คาที่เล่นเสียงหนักเบา ตัวอย่าง ชะรอยว่าทิชาจารย์ ธคิดอ่านกะท่านเป็น รหัสเหตุประเภทเห็น ละแน่ชัดถนัดความ และท่านมามุสาวาท มิกล้าอาจจะบอกตา พจีจริงพยายาม ไถลแสร้งแถลงสาร 2) การเล่นเสียงสัมผัส ตัวอย่าง ตระบัดวัสสการมา สถานราชเรียนพลัน ธแกล้งเชิญกุมารฉัน สนิทหนึ่งพระองค์ไป ลุห้องหับรโหฐาน ก็ถามการณ์ ณ ทันใด มิลี้ลับอะไรใน กถาเช่นธปุจฉา
  • 5. จะถูกผิดกระไรอยู่ มนุษย์ผู้กระทานา และคู่โคก็จูงมา ประเทียบไถมิใช่หรือ คาที่สาผัสในวรรค ได้แก่บัด-วัสราช-เรียนห้อง-หับคู่-โค 2.การใช้โวหาร 2.1) บรรยายโวหารใช้คาให้เห็นภาพชัดเจนตามลาดับเหตุการณ์ รวดเร็ว ไม่เยิ่นเย้อ เข้าใจง่ายเช่น ณวันหนึ่งลุถึงกา ลศึกษาพิชากร กุมารลิจฉวีวร เสด็จพร้อมประชุมกัน ตระบัดวัสสการมา สถานราชเรียนพลัน ธแกล้งเชิญกุมารฉัน สนิทหนึ่งพระองค์ไป ลุห้องหับรโหฐาน ก็ถามการณ์ ณ ทันใด มิลี้ลับอะไรใน กถาเช่นธปุจฉา 2.2) พรรณนาโวหาร เป็นการสร้างมโนภาพให้ผู้อ่านเกิดภาพขึ้นในใจ หรือมองเห็นภาพบรรยากาศตามที่กวีต้องการ พระอาจารย์สิเรียกไป ณข้างในธไต่ถาม อะไรเธอเสนอตาม วจีสัตย์กะส่าเรา กุมารนั้นสนองสา รวากย์วาทตามเลา เฉลยพจน์กะครูเสา วภาพโดยคดีมา กุมารอื่นก็สงสัย มิเชื่อในพระวาจา สหายราชธพรรณนา และต่างองค์ก็พาที 2.3) อุปมาโวหารเป็นการกล่าวเปรียบเทียบเพื่อให้ผู้อ่านข้าใจและเห็นภาพชัดเจนยิ่งขึ้น
  • 6. จะถูกผิดกระไรอยู่ มนุษย์ผู้กระทานา และคู่โคก็จูงมา ประเทียบไถมิใช่หรือ กุมารลิจฉวีขัตติย์ ก็รับอรรถอออือ กสิกเขากระทาคือ ประดุจคาพระอาจารย์ 3.ลีลาการประพันธ์ - พิโรธวาทัง บทแสดงความโกรธเกรียวของเด็ก กุมารราชมิตรผอง ก็สอดคล้องและแคลงดาล พิโรธกาจวิวาทการณ์ อุบัติขึ้นเพราะขุ่นเคือง พิพิธพันธไมตรี ประดามีนิรันดร์เนือง กะองค์นั้นก็พลันเปลือง มลายปลาตพินาศปลงฯ จัดทาโดย นาย นิติศักดิ์ ทองขาวบัว เลขที่ 16 ชั้น ม. 6/3