SlideShare a Scribd company logo
1 of 35
จัดทำโดย
นำยรวินท์ ปิ่นน้อย
ม6/9 เลขที่20
กระผมเอง55555
บทที่1 เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
1.1 ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
1.2 องค์ประกอบของระบบสารสนเทศ
1.3 ประโยชน์และตัวอย่างของการใช้เทคโนโลยี
สารสนเทศและการสื่อสาร
1.4 แนวโน้มการใช้งานเทคโนโลยีสารสนเทศและการ
สื่อสาร
1.5 ความเปลี่ยนแปลงจากการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
และการสื่อสาร
1.6 ตัวอย่างอาชีพทางด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการ
สื่อสาร
เริ่มเข้าสู่เนื้อหากัน
เลยน่ะสหายข้า55555
1.1 ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศและ
การสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศ (information technology) , ไอที
(IT) หรือ เทคโนโลยีสำรสนเทศและกำรสื่อสำร(information and
communications technology) , ไอซีที (ICT) หมำยถึง
เทคโนโลยีสำหรับกำรประมวลผลสำรสนเทศ ซึ่งครอบคลุมถึงกำรรับ-ส่ง, แปลง,
จัดเก็บ, ประมวลผล, และค้นคืนสำรสนเทศ
เทคโนโลยีสำรสนเทศและกำรสื่อสำร หมำยถึง เทคโนโลยีที่เกี่ยวข้องกับ
ข่ำวสำรข้อมูลและกำรสื่อสำร นับตั้งแต่กำรสร้ำง กำรนำมำวิเครำะห์หรือ
ประมวลผล กำรรับและส่งข้อมูล กำรจัดเก็บและกำรนำไปใช้งำนใหม่ เทคโนโลยี
เหล่ำนี้มักจะหมำยถึงคอมพิวเตอร์ซึ่งประกอบด้วยส่วนอุปกรณ์
(hardware) ส่วนคำสั่ง (software) และส่วนข้อมูล (data) และ
ระบบกำรสื่อสำรต่ำง ๆ ไม่ว่ำจะเป็นโทรศัพท์ ระบบสื่อสำรข้อมูล ดำวเทียมหรือ
เครื่องมือสื่อสำรใด ๆ ทั้งมีสำยและไร้สำย
1.2 องค์ประกอบของระบบ
สารสนเทศ
ระบบสำรสนเทศเป็นงำนที่
ต้องใช้ส่วนประกอบหลำย
อย่ำง ในกำรทำให้เกิดเป็น
กลไกในกำรนำข้อมูลมำใช้ให้
เกิดประโยชน์ได้
ส่วนประกอบที่สาคัญของระบบสารสนเทศมี 5 ส่วนคือ
1ฮำร์ดแวร์(เครื่องจักรอุปกรณ)์์
2ซอฟต์แวร์
3 ข้อมูล
4บุคลำกร
5ขั้นตอนกำรปฏิบัติงำน
1. ฮาร์ดแวร์
ฮำร์ดแวร์เป็นองค์ประกอบสำคัญของระบบสำรสนเทศ
หมำยถึง เครื่องคอมพิวเตอร์อุปกรณ์รอบข้ำง รวมทั้ง
อุปกรณ์สื่อสำรสำหรับเชื่อมโยงคอมพิวเตอร์เข้ำเป็น
เครือข่ำย เช่น เครื่องพิมพ์ เครื่องกรำดตรวจเมื่อ
พิจำรณำเครื่องคอมพิวเตอร์ สำมำรถแบ่งเป็น 3
หน่วย คือ
1 หน่วยรับข้อมูล (input unit) ได้แก่ แผง
แป้นอักขระ เมำส์
2 หน่วยประมวลผลกลำง (Central
Processing Unit : CPU)
3 หน่วยแสดงผล (output unit) ได้แก่
จอภำพ เครื่องพิมพ์
2 . ซอฟต์แวร์
ซอฟต์แวร์หรือโปรแกรมคอมพิวเตอร์เป็น
องค์ประกอบที่สำคัญประกำรที่สอง ซึ่งก็คือลำดับ
ขั้นตอนของคำสั่งที่จะสั่งงำนให้ฮำร์ดแวร์ทำงำน เพื่อ
ประมวลผลข้อมูลให้ได้ผลลัพธ์ตำมควำมต้องกำรของ
กำรใช้งำน ในปัจจุบันมีซอฟต์แวร์ระบบปฏิบัติงำน
ซอฟต์แวร์ควบคุมระบบงำน ซอฟต์แวร์สำเร็จ และ
ซอฟต์แวร์ประยุกต์สำหรับงำนต่ำงๆ ลักษณะกำรใช้งำน
ของซอฟต์แวร์ก่อนหน้ำนี้ ผู้ใช้จะต้องติดต่อใช้งำน
โดยใช้ข้อควำมเป็นหลัก แต่ในปัจจุบันซอฟต์แวร์มี
ลักษณะกำรใช้งำนที่ง่ำยขึ้น โดยมีรูปแบบกำรติดต่อที่
สื่อควำมหมำยให้เข้ำใจง่ำย เช่น
1. ซอฟต์แวร์ระบบ คือ ซอฟต์แวร์ที่ใช้จัดกำรกับ
ระบบคอมพิวเตอร์ และอุปกรณ์ต่ำงๆ ที่มีอยู่ในระบบ
2. ซอฟต์แวร์ประยุกต์ คือ ซอฟต์แวร์ที่พัฒนำขึ้น
เพื่อใช้งำนด้ำนต่ำงๆ ตำมควำมต้องกำรของผู้ใช้
3. ข้อมูล
ข้อมูล เป็นองค์ประกอบที่สำคัญอีกประกำร
หนึ่งของระบบสำรสนเทศอำจจะเป็นตัวชี้
ควำมสำเร็จหรือควำมล้มเหลวของระบบได้
เนื่องจำกจะต้องมีกำรเก็บข้อมูลจำกแหล่งกำเนิด
ข้อมูลจะต้องมีควำมถูกต้อง มีกำรกลั่นกรองและ
ตรวจสอบแล้วเท่ำนั้นจึงจะมีประโยชน์ ข้อมูล
จำเป็นจะต้องมีมำตรฐำน โดยเฉพำะอย่ำงยิ่งเมื่อ
ใช้งำนในระดับกลุ่มหรือระดับองค์กร ข้อมูลต้อง
มีโครงสร้ำงในกำรจัดเก็บที่เป็นระบบระเบียบ
เพื่อกำรสืบค้นที่รวดเร็วมีประสิทธิภำพ
4. บุคลากร
บุคลำกรในระดับผู้ใช้ ผู้บริหำร ผู้พัฒนำ
ระบบ นักวิเครำะห์ระบบ และนักเขียนโปรแกรม
เป็นองค์ประกอบสำคัญในควำมสำเร็จของระบบ
สำรสนเทศ บุคลำกรมีควำมรู้ควำมสำมำรถทำง
คอมพิวเตอร์มำกเท่ำใดโอกำสที่จะใช้งำนระบบ
สำรสนเทศและระบบคอมพิวเตอร์ได้เต็มศักยภำพ
และคุ้มค่ำยิ่งมำกขึ้นเท่ำนั้น โดยเฉพำะระบบ
สำรสนเทศในระดับบุคคลซึ่งเครื่องคอมพิวเตอร์มี
ขีดควำมสำมำรถมำกขึ้น ทำให้ผู้ใช้มีโอกำสพัฒนำ
ควำมสำมำรถของตนเองและพัฒนำระบบงำนได้
เองตำมควำมต้องกำร สำหรับระบบสำรสนเทศใน
ระดับกลุ่มและองค์กรที่มีควำมซับซ้อนจะต้องใช้
บุคลำกรในสำขำคอมพิวเตอร์โดยตรงมำพัฒนำ
และดูแลระบบงำน
5. ขั้นตอนการปฏิบัติงาน
ขั้นตอนกำรปฏิบัติงำนที่ชัดเจนของผู้ใช้หรือ
ของบุคลำกรที่เกี่ยวข้องก็เป็นเรื่องสำคัญอีก
ประกำรหนึ่ง เมื่อได้พัฒนำระบบงำนแล้วจำเป็นต้อง
ปฏิบัติงำนตำมลำดับขั้นตอนในขณะที่ใช้งำนก็
จำเป็นต้องคำนึงถึงลำดับขั้นตอนกำรปฏิบัติของคน
และควำมสัมพันธ์กับเครื่อง ทั้งในกรณีปกติและ
กรณีฉุกเฉิน เช่น ขั้นตอนกำรบันทึกข้อมูล ขั้นตอน
กำรประมวลผล ขั้นตอนปฏิบัติเมื่อเครื่องชำรุดหรือ
ข้อมูลสูญหำย และขั้นตอนกำรทำสำเนำข้อมูล
สำรองเพื่อควำมปลอดภัย เป็นต้น สิ่งเหล่ำนี้จะต้อง
มีกำรซักซ้อม มีกำรเตรียมกำร และกำรทำเอกสำร
คู่มือกำรใช้งำนที่ชัดเจน
1.3 ประโยชน์และตัวอย่ำงของกำรใช้
เทคโนโลยีสำรสนเทศและกำรสื่อสำร
1. ช่วยให้ติดต่อสื่อสารระหว่างกันอย่างสะดวก
รวดเร็ว โดยใช้โทรศัพท์ คอมพิวเตอร์หรือในรูป
ของ สิ่งพิมพ์ต่าง ๆ
2. ช่วยในการจัดระบบข่าวสารจานวนมหาศาล ซึ่ง
ผลิตออกมาในแต่ละวัน
3. ช่วยให้เก็บสารนิเทศไว้ในรูปที่สามารถเรียกใช้
ได้ครั้งแล้วครั้งเล่าอย่างสะดวก
4. ช่วยเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตสารนิเทศ เช่น
ช่วยนักวิทยาศาสตร์วิศวกร ด้วยการช่วยคานวณ
ตัวเลขที่ยุ่งยาก ซับซ้อนซึ่งไม่สามารถทาให้สาเร็จ
ได้ด้วยมือ
5. ช่วยให้สามารถจัดระบบอัตโนมัติเพื่อการเก็บ
เรียกใช้และประมวลผลสารนิเทศ
6. สามารถจาลองแบบระบบการวางแผนและ
ทานาย เพื่อทดลองกับสิ่งที่ยังไม่เกิดขึ้น
7. อานวยความสะดวกในการเข้าถึงสารนิเทศ
ดีกว่าสมัยก่อน ทาให้ผู้ใช้สารนิเทศมี ทางเลือกที่
ดีกว่า มีประสิทธิภาพกว่า และสามารถแข่งขันกับ
ผู้อื่นได้ดีกว่า
8. ลดอุปสรรคเกี่ยวกับเวลาและระยะทางระหว่าง
ประเทศ
เทคโนโลยีสำรนิเทศเบื้องต้นที่ควรนำมำใช้ในกำร
ดำเนินงำนทั่วๆไป
คอมพิวเตอร์ นับว่ำมีบทบำทมำกที่สุดต่อกำรเป็น
องค์ประกอบที่สำคัญ คอมพิวเตอร์เป็น อุปกรณ์สื่อสำร
นิเทศที่มีบทบำทอย่ำงมำกต่อสังคมสำรนิเทศ
คอมพิวเตอร์ เปลี่ยนแปลงสภำพกำรให้บริกำรสำรนิเทศ
ในห้องสมุดจำกกำรเสียเวลำ สืบค้นสำรนิเทศหลำย ๆ
นำที หรือหลำยชั่วโมงมำเป็นเสียเวลำ เพียงไม่กี่วินำที
คอมพิวเตอร์เปลี่ยนแปลงสภำพควำมเป็นอยู่ของคนใน
สังคม เป็นเครื่องมือในกำรดำรงชีวิตที่มีบทบำทยิ่งกว่ำ
เครื่องมือหรืออุปกรณ์ใด ๆ ที่มนุษย์ได้ผลิตขึ้นใช้ในโลกมำ
ก่อน คนในสังคมสมัยสังคมสำรนิเทศจะเห็น พัฒนำกำร
ด้ำนนี้ได้อย่ำงเด่นชัด นับตั้งแต่มีกำรประดิษฐ์เครื่อง
คอมพิวเตอร์ ขึ้นใช้เป็นครั้งแรก คอมพิวเตอร์ไม่ใช่เพียง
สิ่งประดิษฐ์ทำงวิทยำศำสตร์เท่ำนั้น แต่กลับเป็นสิ่งที่คน
ในสังคมสำรนิเทศ ต้องรู้จักและมีส่วนเกี่ยวข้องด้วยอย่ำง
หลีกเลี่ยงไม่ได้ เป็นอุปกรณ์และองค์ประกอบที่สำคัญของ
เทคโนโลยีสำรนิเทศ
บทบาทของคอมพิวเตอร์ที่มีต่อการใช้
สารนิเทศในสังคมมีดังต่อไปนี้
ด้านการศึกษา
กำรใช้คอมพิวเตอร์ในด้ำนกำรศึกษำ แบ่งได้เป็น 2 ประเภท คือ ใช้เป็นเครื่องมือใน
กำรศึกษำ และใช้เป็นเครื่องมือในกำรสอน กำรใช้เป็นเครื่องมือในกำรศึกษำ
เกี่ยวข้องกับกำรบริหำรกำรศึกษำ ซึ่งผู้บริหำรกำรศึกษำ จำเป็นต้องทรำบสำรนิเทศ
ต่ำง ๆ ทำงด้ำน นักศึกษำ ด้ำนแผนกำรเรียน ด้ำนบุคลำกร ด้ำนกำรเงิน และด้ำน
อำคำรสถำนที่และอุปกรณ์ ข้อมูลแต่ละด้ำนที่ได้จำกคอมพิวเตอร์ ผู้บริหำรกำรศึกษำ
สำมำรถนำมำใช้ช่วย ในกำรตัดสินใจได้ กำรใช้คอมพิวเตอร์เพื่อเป็นเครื่องมือในกำร
สอน เป็นกำรช่วยให้ครูใช้ควำมรู้ ควำมสำมำรถพิเศษให้เป็นประโยชน์แก่ระบบ
กำรศึกษำได้มำกขึ้น
 การนาคอมพิวเตอร์เข้า มามีส่วนช่วยในการสอน และการศึกษามีประโยชน์ในเรื่องดังต่อไปนี้
 1. เพื่อการสอนแบบตัวต่อตัว
 2. เพื่อฝึกทักษะต่าง ๆ ในการเรียน
 3. เพื่อการสาธิต
 4. เพื่อการเล่นเกมและสถานการณ์จาลอง
 5. เพื่อสอนงานด้านการเขียน
 6. เพื่อการเก็บรวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับการเรียนการสอน
 7. เพื่อช่วยผู้เรียนที่มีปัญหาเฉพาะตัว
มำเรียนกันเถอะค่ะ
ใช่แล้วเรียนแล้วใช่เลย
ด้านการแพทย์และสาธารณสุข
 คอมพิวเตอร์มีบทบาทอย่างสูงทางด้านการแพทย์และสาธารณสุข คอมพิวเตอร์เป็นเครื่องมือที่
ช่วยอานวย ความสะดวก อย่างยิ่งในด้านการแพทย์ เริ่มตั้งแต่การรักษาพยาบาล ทั่ว ๆไป
โรงพยาบาลบางแห่งใช้คอมพิวเตอร์ ในการทาทะเบียนคนไข้ ตลอดจนการวินิจฉัย และรักษาโรค
ต่าง ๆ จากการใช้ประโยชน์ของสารนิเทศที่ได้ จากเครื่องคอมพิวเตอร์ การใช้คอมพิวเตอร์ทางด้าน
การแพทย์และสาธารณสุขอาจเกี่ยวข้องในด้านต่อไปนี้คือ ด้านการ รักษาพยาบาลทั่วไป ด้านการ
บริหารการแพทย์ ด้านห้องทดลอง ด้านตรวจวินิจฉัยโรค และด้านการศึกษา และวิจัยทางการ
แพทย์ การใช้ข้อมูลจากคอมพิวเตอร์ด้านการแพทย์และ สาธารณสุข
สนใจผ่ำตัดไหม~~~~
อุ้ยตำยไม่เอำหรอกย่ะ
ด้านอุตสาหกรรม
 คอมพิวเตอร์มีส่วนช่วยพัฒนาความก้าวหน้าทางด้านอุตสาหกรรม โดยนักวิทยาศาสตร์ได้
ประดิษฐ์หุ่นยนต์ เพื่อใช้ในบ้านและหุ่นยนต์อุตสาหกรรม ทั้งนี้หุ่นยนต์จะเป็นอุปกรณ์ที่สร้างขึ้นเพื่อ
เลียนแบบการทางานของอวัยวะ ส่วนบนของมนุษย์ ประกอบด้วยระบบทางกลของหุ่นยนต์ และ
ระบบควบคุมหุ่นยนต์ ประกอบด้วยอุปกรณ์ควบคุม ซึ่งควบคุมการทางานของ หุ่นยนต์โดยอัตโนมัติ
ด้วยคอมพิวเตอร์ นับเป็นส่วนสาคัญที่สุดของหุ่นยนต์ ระบบควบคุมนี้ทาหน้า ที่เป็นสมองเก็บข้อมูล
สั่งหุ่นยนต์ ให้ทางานตรวจสอบและควบคุมรายละเอียดของการทางาน ให้ถูกต้อง
ไอ้กระจอก ดูข้ำโครตเท่
กระจอกแล้วไงไม่หนักหัวใครนิ
ด้านเกษตรกรรม
 การนาคอมพิวเตอร์มาใช้ประโยชน์ในด้านเกษตรกรรม ได้แก่ การจัดทาระบบ ข้อมูลเพื่อ
การเกษตร ซึ่งอาจมีทั้งระดับท้องถิ่น ระดับชาติ และระดับนานาชาติ สาหรับระดับ นานาชาตินั้น
อาจจะเริ่มด้วย สามะโนเกษตรนานาชาติ ซึ่งสถาบันการเกษตรระหว่างประเทศ
(International Institute of Agriculture) ได้เริ่มต้นตั้งแต่ พ.ศ. 2473โดยมี
ประเทศต่าง ๆ ร่วมเก็บข้อมูล รวม 46 ประเทศ ต่อมาองค์การอาหารและเกษตร(FAO)
YO YO It’s show time
…………..
ด้านการเงินการธนาคาร
 การใช้คอมพิวเตอร์ในด้านการเงินและการธนาคาร เป็นการนาคอมพิวเตอร์มา ช่วยในงานด้าน
การบัญชี และด้านการบริหาร การฝากถอนเงิน การรับจ่าย การโอนเงิน แบบอิเล็กทรอนิกส์
การหักบัญชีอัตโนมัติ ด้านสินเชื่อ ด้านแลกเปลี่ยนเงินตรา บริการข่าว สารการธนาคาร บริการ
ฝากถอนเงินนอกเวลาและบริการอื่น ๆ การใช้คอมพิวเตอร์ด้านการเงินการธนาคารที่ประชาชน
รู้จักและใช้กันอย่างแพร่ หลาย
กดมำสักหมื่น
แต่ของผมกดมำสักล้ำน
ด้านธุรกิจการบิน
 ธุรกิจสำยกำรบินมีควำมจำเป็นต้องนำคอมพิวเตอร์มำใช้ เพื่อให้สำมำรถให้บริกำรได้
รวดเร็ว เพื่อกำรแข่งขันกับ สำยกำรบินอื่น ๆ และเพื่อรักษำควำมปลอดภัยในกำรบิน
โดยช่วยตรวจสอบสภำพเครื่องและอุปกรณ์ได้ อย่ำงถูกต้องแน่นอนและสม่ำเสมอ
ธุรกิจที่มีกำรนำ คอมพิวเตอร์มำใช้ด้ำนกำรบิน อำจแบ่งเป็น 3 ประเภท คือ ผู้โดยสำร
สินค้ำพัสดุภัณฑ์ และ บริกำรอื่น ๆ ของสำยกำรบิน
I belive I can fly
ด้านกฎหมายและการปกครอง
 ทางด้านกฎหมายและการปกครอง มีการใช้คอมพิวเตอร์แก้ปัญหาด้านกฎหมาย คืองานระบบข้อมูล ทาง
กฎหมายมีการนาสารนิเทศที่เกี่ยวข้องกับตัวบทกฎหมายทุกฉบับ รัฐธรรมนูญทุกฉบับ กฎหมายอาญา
กฎหมายแพ่ง พระราชบัญญัติ พระราชกาหนด พระราชกฤษฎีกา กฎกระทรวงประกาศต่างๆและอื่น ๆ
เข้าคอมพิวเตอร์ทั้งหมด หลังจากนั้นคอมพิวเตอร์จะ ช่วยในการค้นสารนิเทศทางด้านกฏหมายได้อย่าง
รวดเร็ว
เก่ำแล้วเปำหน้ำดำ
ด้านการทหารและตารวจ
 มีกำรใช้คอมพิวเตอร์ด้ำนกำรทหำรและตำรวจ อย่ำงแพร่หลำยในประเทศต่ำงๆ ใน
ประเทศสหรัฐอเมริกำ กำรใช้คอมพิวเตอร์ในด้ำนกำรทหำรได้เจริญก้ำวหน้ำไปมำกกว่ำ
ประเทศอื่นใดในโลกแต่ผลงำนด้ำนนี้มักจะเป็น ผลงำน ชนิดลับสุดยอดต่ำง ๆ เท่ำที่
พอจะ ทรำบกัน ได้แก่ กำรใช้คอมพิวเตอร์ในวงจรสื่อสำรทหำร ใช้ในกำรควบคุม
ประสำนงำน ด้ำนกำรทหำรใช้แปลรหัสลับในงำนจำรกรรมระหว่ำงประเทศ ใช้ในกำร
ผลิตระเบิดนิว เคลียร์ ใช้ในกำรทำสงครำมจิตวิทยำ
เรำจะทำตำมสัญญำ
สัญญำบ้ำนป้ำแกดิแถลงกำรอยู่ได้
ไม่ต้องห่วงท่ำนผมจะจับมัน
ด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
 การใช้คอมพิวเตอร์เพื่อประโยชน์ทางด้านวิทยาศาสตร์มีมาก ในสถาบันการศึกษา ตลอดจนสถาบันวิจัย
ต่าง ๆ มีการใช้คอมพิวเตอร์เพื่อการวิจัยทดลองทางด้านวิทยาศาสตร์ เช่น การวิจัยในทางนิวเคลียร์ฟิสิกส์
ซึ่งเป็นวิชาว่าด้วยส่วนประกอบที่เล็กที่สุดของสสาร การค้นคว้าทดลองทางวิทยาศาสตร์สาขาต่าง ๆ ทาให้
เกิดการพัฒนาประเทศอย่างไม่หยุดยั้ง เช่น ทางด้านวิศวกรรมศาสตร์มีการใช้คอมพิวเตอร์ ให้มีส่วนร่วม
ต่อการออกแบบโครงสร้าง ทางวิศวกรรมที่ยุ่งยากสลับซับซ้อน ทาให้มีส่วนช่วยต่อการออกแบบ ทางด้าน
วิศวกรรมและ สถาปัตยกรรมได้อย่างไม่มีขอบเขตจากัด บทบาทของคอมพิวเตอร์ทางด้านวิทยาศาสตร์จึง
มี ประโยชน์ต่อการพัฒนาข้อมูลสารนิเทศอย่างไม่หยุดยั้ง
Zn(s)+SO4(aq)->ZnO4(aq)+S(s)
คือไรว่ะ!!!!!!
เพรำะแกไม่ทำกำรบ้ำนเองไง
 1.4.1 ด้านอุปกรณ์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร เมื่อพิจารณาเครือข่ายการสื่อสาร
ทั่วไปจากอดีตจนถึงปัจจุบัน เห็นได้ชัดว่ามนุษย์ใช้อุปกรณ์การสื่อสารแบบพกพามากขึ้นเรื่อยๆ
เริ่มจากวิทยุเรียกตัว (pager) ซึ่งเป็นเครื่องรับข้อความ มาเป็นโทรศัพท์เคลื่อนที่ อุปกรณ์
สื่อสารชนิดนี้ได้ถูกพัฒนาจนสามารถใช้งานด้านอื่นๆได้ นอกจากการพูดคุยธรรมดา
โทรศัพท์เคลื่อนที่รุ่นใหม่สามารถใช้ถ่ายรูป ฟังเพลง ฟังวิทยุ ดูโทรทัศน์ บันทึกงานสั้นๆ โทรศัพท์
บางรุ่นมีลักษณะเป็นเครื่องช่วยงานส่วนบุคคล (Personal Digital Assistant :
PDA) ซึ่งสามารถเชื่อต่อกับอินเทอร์เน็ตได้ อีกทั้งยังมีหน้าจอแบบสัมผัส ทาให้สะดวกต่อการ
ใช้งานมากขึ้น บางรุ่นมีอุปกรณ์สไตลัส (stylus) คือใช้ปากกาป้ อนข้อมูลทางหน้าจอ บางรุ่น
สามารถสั่งการด้วยเสียง
1.4 แนวโน้มการใช้งานเทคโนโลยีสารสนเทศและการ
สื่อสาร
 ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ในอดีตมักเป็นระบบที่ใช้คอมพิวเตอร์และอุปกรณ์เชื่อมต่อ
ตรงเพียงชุดเดียว ( stand alone ) ต่อมามีการเชื่อต่อคอมพิวเตอร์เข้าด้วยกัน
ภายในองค์กร เพื่อทาให้สามารถใช้ข้อมูลร่วมกัน หรือใช้เครื่องพิมพ์ร่วมกัน จนเกิดเป็น
ระบบรับและให้บริการ หรือเรียกว่าระบบรับ-ให้บริการ(client-serversystem )
การให้บริการบนเว็บก็นาหลักการของระบบรับ-ให้บริการมาใช้ช่วยให้การทางานง่าย
สะดวกรวดเร็ว เพราะสามารถทางานจากที่ใดก็ได้โดยผ่านระบบอินเทอร์เน็ต โดยมีเว็บ
เซิร์ฟเวอร์ (web server ) โดยมีเครื่องให้บริการ ( server ) และเครื่องรับบริการ
( client ) การใช้บริการบนเว็บโดยใช้หลักการของระบบรับ-ให้บริการ
(client-server system )
1.4.2 ด้านระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 ระบบทางานอัตโนมัติที่สามารถตัดสินใจได้เองจะเข้ามาแทนที่มากขึ้น เช่น ระบบแนะนาเส้นทาง
จราจร ระบบจอดรถ ระบบตรวจหาตาแหน่งของวัตถุ ระบบควบคุมความปลอดภัยภายในอาคาร
ระบบทางานอัตโนมัติเช่นนี้อาจกลายเป็นระบบหลักในการดาเนินการของหน่วยงานต่างๆ โดย
เข้ามาแทนที่การทางานของมนุษย์ มีการเชื่อมต่อเครือข่ายอย่างกว้างขวางไปยังหน่วยงานที่
เกี่ยวข้องมากกว่าที่เป็นอยู่ในปัจจุบัน
1.4.3 ด้านเทคโนโลยี
 1) ด้านสังคม สภาพเหมือนจริง การใช้อินเทอร์เน็ตเชื่อมโยงการทางานต่างๆ จนเกิดเป็นสังคมที่
ติดต่อผ่านทางอินเทอร์เน็ต หรือที่รู้จักกันว่า ไวเบอร์สเปซ (cyber space) ซึ่งมีกิจกรรม
ต่างๆ เช่น การพูดคุย การซื้อสินค้า และการบริการ การทางานผ่านเครือข่ายคอมพิวเตอร์ทาให้
เกิดสภาพที่เหมือนจริง (virtual) เช่น เกมเสมือนจริง ห้องสมุดเสมือนจริง พิพิธภัณฑ์เสมือน
จริง ห้องประชุมเสมือนจริง และที่ทางานเสมือนจริง ซึ่งทาไห้ลดเวลาในการเดินทางและสามารถ
ใช้งานได้ทุกที่ทุกเวลา
1.5 ควำมเปลี่ยนแปลงจำกกำรใช้เทคโนโลยี
สำรสนเทศและกำรสื่อสำร
เฟี้ยวง่ะโครตเท่เลยของแกเป็นไง
โทษทีว่ะพอดีของฉันไม่ใช่vrแต่มันไว้ยิง
หัวแกได้
 2) ด้ำนเศรษฐกิจ
 เทคโนโลยีสำรสนเทศและกำรสื่อสำรส่งผลให้เกิดสังคมโลกำภิวัฒน์
(globalization) เพรำะสำมำรถชมข่ำว ชมรำยกำรโทรทัศน์ที่จะส่งกระจำยผ่ำน
ดำวเทียมของประเทศต่ำงๆ ได้ทั่วโลก สำมำรถรับรู้ข่ำวสำรได้ทันที ใช้อินเทอร์เน็ตใน
กำรติดต่อสื่อสำรระหว่ำงกัน ระบบเศรษฐกิจซึ่งแต่เดิมมีขอบเขตจำกัดภำยในประเทศ
ก็กระจำยเป็นเศรษฐกิจโลก เกิดกระแสกำรหมุนเวียนแลกเปลี่ยนสินค้ำและบริกำร
อย่ำงกว้ำงขวำงและรวดเร็ว ระบบเศรษฐกิจของทุกประเทศในโลกจึงเชื่อมโยงและ
ผูกพันกันมำกขึ้น
สวัสดีครับเข้ำสู่รำยกำร
ครับ
ออกไปสักทีซิแยกงำนตู
 ขยะ อิเล็กทรอนิกส์ เช่น เครื่องคอมพิวเตอร์ จอภาพ คีย์บอร์ด เมาส์ เครื่องพิมพ์ ที่เสียหรือไม่ใช้
งานแล้ว รวมถึงอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์อื่นๆ ที่ถูกทิ้งเป็นขยะ ซึ่งต่างจากขยะทั่วไป เช่น
ถุงพลาสติก และเศษอาหาร โดยในขยะอิเล็กทรอนิกส์ชิ้นหนึ่งๆ มีส่วนประกอบที่เป็นโลหะและ
พลาสติก รวมถึงวัสดุอื่นๆ ที่ประกอบกันอย่างซับซ้อน ยากต่อการแยกออกมา โดยเฉพาะใน
แผงวงจรอิเล็กทรอนิกส์ มีรายงานพบว่าขยะเหล่านี้นอกจากจะมีปริมาณเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว
แล้ว ยังปลดปล่อยสารพิษปะปนเข้าสู่สิ่งแวดล้อม การแยกชิ้นส่วนขยะอิเล็กทรอนิกส์แล้วนา
กลับมาหลอมใช้ใหม่ หรือรีไซเคิล จึงทาได้ยากมากกว่าขยะทั่วไป เพราะต้องมีขั้นตอนวิธีที่
เหมาะสม จึงต้องมีการศึกษาอย่างละเอียดโดยผู้เชี่ยวชาญและต้องจัดการอย่างมีระบบ ดังนั้น
จึงควรใช้อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ให้คุ้มค่า จะซื้อใหม่เมื่ออุปกรณ์นั้นไม่สามารถซ่อมได้แล้ว และไม่
เปลี่ยนอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์บ่อยๆตามกระแสนิยม
เข้ำใจตรงน่ะอย่ำทิ้งขยะ
อิเล็กทรอนิกถ้ำไม่อยำก
ให้ผมยึดครองโลก555
เดียวก่อน!!!!!!!
3) ด้านสิ่งแวดล้อม เทคโนโลยีสำรสนเทศและกำรสื่อสำร มี
ประโยชน์ในด้ำนธรรมชำติและสิ่งแวดล้อม เช่น ระบบป้องกันกำร
กัดเซำะชำยฝั่ง โดยใช้ภำพถ่ำยดำวเทียม หรือภำพถ่ำยทำง
อำกำศร่วมกับกำรจดเก็บรักษำข้อมูลระดับน้ำทะเล ควำมสูงของ
คลื่นจำกระบบเรดำร์ เป็นกำรศึกษำเพื่อหำสำเหตุ และนำข้อมูล
มำวำงแผนและสร้ำงระบบเพื่อป้องกันกำรกัดเซำะชำยฝั่งแต่ละ
แห่งได้อย่ำงเหมำะสม
นอกจำกนี้ในรถยนต์ที่ใช้เครื่องยนต์แบบผสม
(hybrid engine) เพื่อรักษำสิ่งแวดล้อมก็ต้องใช้เทคโนโลยี
เพื่อควบคุมให้เครื่องยนต์ลดกำรเผำไหม้น้ำมันเชื้อเพลิง เป็นกำร
ช่วยลดมลภำวะจำกก๊ำซ-ไนโตรเจนออกไซด์ ไฮโดรคำร์บอน และ
ก๊ำซคำร์บอนมอนออกไซด์ ที่ทำให้เกิดภำวะโลกร้อน ตัวอย่ำง
เทคโนโลยีสำรสนเทศและกำรสื่อสำรช่วยรักษำธรรมชำติและ
สิ่งแวดล้อม
1.6 ตัวอย่างอาชีพทางด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
ตลาดแรงงานต้องการผู้ที่มีความรู้ความเข้าใจงานด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ
และการสื่อสารอย่างแท้จริง ซึ่งงานด้านนี้จะรวมถึง งานด้านการออกแบบ
โปรแกรมต่างๆ โปรแกรมใช้งานบนเว็บ งานด้านการเขียนโปรแกรม
ภาษาคอมพิวเตอร์ งานด้านฐานข้อมูล งานด้านระบบเครือข่าย ทั้งในและนอก
องศ์กร รวมถึงการรักษาความมั่นคงปลอดภัยในระบบคอมพิวเตอร์ และระบบ
เครือข่าย ดังนั้นองศ์กรจึงมีความต้องการบุคลากรที่มีความรู้ ความสามารถใน
การบริหารจัดการ และพัฒนาซอฟต์แวร์ เพื่อใช้งานด้านต่างๆ ขององศ์กร
ตัวอย่างอาชีพด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
นักเขียนโปรแกรมหรือโปรแกรมเมอร์ (Programmer)
ทาหน้าที่ในการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์เพื่อใช้ในงาน
ด้านต่างๆ เช่น โปรแกรมเกี่ยวกับการซื้อขายสินค้าโปรแกรม
ที่ใช้กับงานด้านบัญชี หรือโปรแกรมที่ใช้กับระบบงานขนาด
ใหญ่ขององค์กร
นักวิเคราะห์ระบบ (System analyst) ทาหน้าที่ใน
การศึกษาวิเคราะห์และพัฒนาระบบสารสนเทศ นักวิเคราะห์
และพัฒนาระบบสารสนเทศ นักวิเคราะห์ระบบจะทาการ
วิเคราะห์ระบบงานและออกแบบระบบสารสนเทศให้ตรงกับ
ความต้องการของผู้ใช้งาน ซึ่งอาจรวมถึงงานด้านการ
ออกแบบฐานข้อมูลด้วย
ผู้ดูแลและบริหารฐานข้อมูล (Database
administrator)ทาหน้าที่บริหารและจัดการ
ฐานข้อมูล(Database)รวมถึงการออกแบบ บารุงรักษา
ข้อมูล และการดูแลระบบความปลอดภัยของฐานข้อมูล เช่น
การกาหนดบัญชีผู้ใช้ การกาหนดสิทธิ์ผู้ใช้
ผู้ดูแลและบริหารระบบ (System administrator) ทา
หน้าที่บริหารและจัดการระบบคอมพิวเตอร์ในองค์กร โดยดูแลการ
ติดตั้งและบารุงรักษาระบบปฏิบัติการ การติดตั้งฮาร์ดแวร์การ
ติดตั้งและการปรับปรุงซอฟต์แวร์สร้าง ออกแบบและบารุงรักษา
บัญชีผู้ใช้ สาหรับองค์กรขนาดเล็กเจ้าหน้าที่ควบคุมระบบอาจต้อง
ดูแลและบริหารระบบเครือข่ายด้วย
ผู้ดูแลและบริหารระบบเครือข่าย (Network
administrator) ทาหน้าที่บริหารและจัดการออกแบบระบบ
เครือข่ายคอมพิวเตอร์และดูแลรักษาความปลอดภัยของระบบ
เครือข่ายขององค์กร เช่น ตรวจสอบการใช้งานเครือข่ายของ
พนักงานและติดตั้งโปรแกรมป้ องกันผู้บุกรุกเครือข่าย
ผู้พัฒนาและบริหารระบบเว็บไซต์(Webmaster)
ทาหน้าที่ออกแบบพัฒนา ปรับปรุงและบารุงรักษาเว็บไซต์ให้มี
ความทันสมัย โดยเฉพะอย่างยิ่งต้องมีการปรับปรุงข้อมูลให้เป็น
ปัจจุบันอยู่เสมอ
เจ้าหน้าที่เทคนิค (Technician)
ทาหน้าที่ซ่อมบารุงรักษาเครื่องคอมพิวเตอร์ติดตั้ง
โปรแกรม หรือติดตั้งฮาร์ดแวร์ต่างๆ และแก้ไขปัญหาที่อาจ
เกิดจากการใช้งานอุปกรณ์คอมพิวเตอร์ในองค์กร
นักเขียนเกม (Game maker)
ทาหน้าที่เขียนหรือพัฒนาโปรแกรมเกมคอมพิวเตอร์ใน
ปัจจุบันนี้การเขียนเกมคอมพิวเตอร์เป็นอาชีพที่ได้รับ
ความนิยมอย่างสูงในประเทศไทย
ขอบคุณ
https://sites.google.com/site/
kruyutsbw/khwam-
peliynpaelng-cak-kar-chi-ict
เหล่ำบรรดำภำพต่ำงๆจำกgoogleเพื่อน
ไซเบอร์แสนรักของเรำ
และกรำบขออภัยกำรทำภำพออกมำแปลกๆ
ขอขอบคุณทุกท่ำนและกรำบขออภัยใน
กำรกระทำที่เหมำะสม

จบแล้วโว้ย
THE
END
เออจบสักที

More Related Content

What's hot

การแก้ปัญหาด้วยด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
การแก้ปัญหาด้วยด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศการแก้ปัญหาด้วยด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
การแก้ปัญหาด้วยด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศpuppypingpong
 
บทที่4 หลักการและวิธีการแก้ปัญหาด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ 3
บทที่4 หลักการและวิธีการแก้ปัญหาด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ 3บทที่4 หลักการและวิธีการแก้ปัญหาด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ 3
บทที่4 หลักการและวิธีการแก้ปัญหาด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ 3Nataya Younyee
 
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารThawatchai2541
 
ต วอย างโครงงานการประย_กต_ใช_งาน
ต วอย างโครงงานการประย_กต_ใช_งานต วอย างโครงงานการประย_กต_ใช_งาน
ต วอย างโครงงานการประย_กต_ใช_งานRattanathon Phetthom
 
Mk26 2 ppt กล -ม1 เทคโนโลย_สารสนเทศ
Mk26 2 ppt กล -ม1 เทคโนโลย_สารสนเทศMk26 2 ppt กล -ม1 เทคโนโลย_สารสนเทศ
Mk26 2 ppt กล -ม1 เทคโนโลย_สารสนเทศKanokorn Thodsaphon
 
09552062 e learning
09552062 e   learning09552062 e   learning
09552062 e learningKaow Oath
 
บทที่1(เสร็จ)
บทที่1(เสร็จ)บทที่1(เสร็จ)
บทที่1(เสร็จ)Annop Phetchakhong
 
คุณลักษณะของ Emerging Technologies in Teaching and Learning
 คุณลักษณะของ Emerging Technologies in Teaching and Learning คุณลักษณะของ Emerging Technologies in Teaching and Learning
คุณลักษณะของ Emerging Technologies in Teaching and LearningPtato Ok
 
Tablet3
Tablet3Tablet3
Tablet3jamrat
 
โครงงานพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา ใบงานที่4
โครงงานพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา ใบงานที่4โครงงานพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา ใบงานที่4
โครงงานพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา ใบงานที่4Nuchy Geez
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์Thanyaret Kongraj
 

What's hot (18)

การแก้ปัญหาด้วยด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
การแก้ปัญหาด้วยด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศการแก้ปัญหาด้วยด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
การแก้ปัญหาด้วยด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
บทที่4 หลักการและวิธีการแก้ปัญหาด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ 3
บทที่4 หลักการและวิธีการแก้ปัญหาด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ 3บทที่4 หลักการและวิธีการแก้ปัญหาด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ 3
บทที่4 หลักการและวิธีการแก้ปัญหาด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ 3
 
คอม
คอมคอม
คอม
 
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
 
ต วอย างโครงงานการประย_กต_ใช_งาน
ต วอย างโครงงานการประย_กต_ใช_งานต วอย างโครงงานการประย_กต_ใช_งาน
ต วอย างโครงงานการประย_กต_ใช_งาน
 
Mk26 2 ppt กล -ม1 เทคโนโลย_สารสนเทศ
Mk26 2 ppt กล -ม1 เทคโนโลย_สารสนเทศMk26 2 ppt กล -ม1 เทคโนโลย_สารสนเทศ
Mk26 2 ppt กล -ม1 เทคโนโลย_สารสนเทศ
 
09552062 e learning
09552062 e   learning09552062 e   learning
09552062 e learning
 
บทที่1(เสร็จ)
บทที่1(เสร็จ)บทที่1(เสร็จ)
บทที่1(เสร็จ)
 
pretest (1)
pretest (1)pretest (1)
pretest (1)
 
คุณลักษณะของ Emerging Technologies in Teaching and Learning
 คุณลักษณะของ Emerging Technologies in Teaching and Learning คุณลักษณะของ Emerging Technologies in Teaching and Learning
คุณลักษณะของ Emerging Technologies in Teaching and Learning
 
Tablet3
Tablet3Tablet3
Tablet3
 
Tablet3
Tablet3Tablet3
Tablet3
 
20190409 social-media-backup
20190409 social-media-backup20190409 social-media-backup
20190409 social-media-backup
 
โครงงานพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา ใบงานที่4
โครงงานพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา ใบงานที่4โครงงานพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา ใบงานที่4
โครงงานพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา ใบงานที่4
 
ICT 2020
ICT 2020ICT 2020
ICT 2020
 
week1-1
week1-1week1-1
week1-1
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
รายงาน
รายงานรายงาน
รายงาน
 

Viewers also liked

Linear guide roller bearing
Linear guide roller bearingLinear guide roller bearing
Linear guide roller bearingVicky Chou
 
Linear guide roller bearing
Linear guide roller bearingLinear guide roller bearing
Linear guide roller bearingVicky Chou
 
SAJUCV-new - Copy (1).docx - Hword
SAJUCV-new - Copy (1).docx - HwordSAJUCV-new - Copy (1).docx - Hword
SAJUCV-new - Copy (1).docx - HwordSanjeev Sidharthan
 
Exposicion paradigmas
Exposicion paradigmasExposicion paradigmas
Exposicion paradigmasboca68
 
Exposición capitulos P,Q,R,S,T del RAC 160
Exposición capitulos P,Q,R,S,T del RAC 160Exposición capitulos P,Q,R,S,T del RAC 160
Exposición capitulos P,Q,R,S,T del RAC 160boca68
 

Viewers also liked (7)

Linear guide roller bearing
Linear guide roller bearingLinear guide roller bearing
Linear guide roller bearing
 
Dengue
DengueDengue
Dengue
 
Linear guide roller bearing
Linear guide roller bearingLinear guide roller bearing
Linear guide roller bearing
 
SAJUCV-new - Copy (1).docx - Hword
SAJUCV-new - Copy (1).docx - HwordSAJUCV-new - Copy (1).docx - Hword
SAJUCV-new - Copy (1).docx - Hword
 
Practica 16 6-16
Practica 16 6-16Practica 16 6-16
Practica 16 6-16
 
Exposicion paradigmas
Exposicion paradigmasExposicion paradigmas
Exposicion paradigmas
 
Exposición capitulos P,Q,R,S,T del RAC 160
Exposición capitulos P,Q,R,S,T del RAC 160Exposición capitulos P,Q,R,S,T del RAC 160
Exposición capitulos P,Q,R,S,T del RAC 160
 

Similar to เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร

งานคอมเกด
งานคอมเกดงานคอมเกด
งานคอมเกดG'ad Smile
 
ความหมาย ความเป็นมา วิวัฒนาการ บทบาทของเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการสื่อสาร
ความหมาย ความเป็นมา วิวัฒนาการ บทบาทของเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการสื่อสารความหมาย ความเป็นมา วิวัฒนาการ บทบาทของเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการสื่อสาร
ความหมาย ความเป็นมา วิวัฒนาการ บทบาทของเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการสื่อสารสราวุฒิ จบศรี
 
งานคอมเกด
งานคอมเกดงานคอมเกด
งานคอมเกดG'ad Smile
 
ใบความรู้แผนที่ 2
ใบความรู้แผนที่  2ใบความรู้แผนที่  2
ใบความรู้แผนที่ 2Warakon Phommanee
 
แผนคอมฯ ม.1 1-77
แผนคอมฯ ม.1 1-77แผนคอมฯ ม.1 1-77
แผนคอมฯ ม.1 1-77Surapong Jakang
 
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร khrosamon
 
เทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวัน
เทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวันเทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวัน
เทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวันChaiwit Khempanya
 
สื่อการสอนเรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศ
สื่อการสอนเรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศสื่อการสอนเรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศ
สื่อการสอนเรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศnong2508
 
บทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศบทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศKriangx Ch
 
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารPim
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารPimเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารPim
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารPimproncharita
 
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารnatsuda_naey
 
บทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
บทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารบทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
บทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารKewalin Prasertdecho
 
บทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศเเละการสื่อสาร
บทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศเเละการสื่อสารบทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศเเละการสื่อสาร
บทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศเเละการสื่อสารkaewwonnesakun
 

Similar to เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (20)

งานคอมเกด
งานคอมเกดงานคอมเกด
งานคอมเกด
 
ความหมาย ความเป็นมา วิวัฒนาการ บทบาทของเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการสื่อสาร
ความหมาย ความเป็นมา วิวัฒนาการ บทบาทของเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการสื่อสารความหมาย ความเป็นมา วิวัฒนาการ บทบาทของเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการสื่อสาร
ความหมาย ความเป็นมา วิวัฒนาการ บทบาทของเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการสื่อสาร
 
งานคอมเกด
งานคอมเกดงานคอมเกด
งานคอมเกด
 
A0141 20
A0141 20A0141 20
A0141 20
 
Roiet
RoietRoiet
Roiet
 
Roiet
RoietRoiet
Roiet
 
Part1
Part1Part1
Part1
 
ใบความรู้แผนที่ 2
ใบความรู้แผนที่  2ใบความรู้แผนที่  2
ใบความรู้แผนที่ 2
 
แผนคอมฯ ม.1 1-77
แผนคอมฯ ม.1 1-77แผนคอมฯ ม.1 1-77
แผนคอมฯ ม.1 1-77
 
นาย ศุภกร ม่วงจุ้ย
นาย ศุภกร ม่วงจุ้ย นาย ศุภกร ม่วงจุ้ย
นาย ศุภกร ม่วงจุ้ย
 
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
 
Amonrat
AmonratAmonrat
Amonrat
 
เทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวัน
เทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวันเทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวัน
เทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวัน
 
สื่อการสอนเรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศ
สื่อการสอนเรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศสื่อการสอนเรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศ
สื่อการสอนเรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
บทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศบทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศ
 
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารPim
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารPimเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารPim
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารPim
 
บทที่ 6new
บทที่ 6newบทที่ 6new
บทที่ 6new
 
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
 
บทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
บทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารบทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
บทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
 
บทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศเเละการสื่อสาร
บทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศเเละการสื่อสารบทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศเเละการสื่อสาร
บทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศเเละการสื่อสาร
 

เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร

  • 2. บทที่1 เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 1.1 ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 1.2 องค์ประกอบของระบบสารสนเทศ 1.3 ประโยชน์และตัวอย่างของการใช้เทคโนโลยี สารสนเทศและการสื่อสาร 1.4 แนวโน้มการใช้งานเทคโนโลยีสารสนเทศและการ สื่อสาร 1.5 ความเปลี่ยนแปลงจากการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสาร 1.6 ตัวอย่างอาชีพทางด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการ สื่อสาร
  • 4. 1.1 ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศและ การสื่อสาร เทคโนโลยีสารสนเทศ (information technology) , ไอที (IT) หรือ เทคโนโลยีสำรสนเทศและกำรสื่อสำร(information and communications technology) , ไอซีที (ICT) หมำยถึง เทคโนโลยีสำหรับกำรประมวลผลสำรสนเทศ ซึ่งครอบคลุมถึงกำรรับ-ส่ง, แปลง, จัดเก็บ, ประมวลผล, และค้นคืนสำรสนเทศ เทคโนโลยีสำรสนเทศและกำรสื่อสำร หมำยถึง เทคโนโลยีที่เกี่ยวข้องกับ ข่ำวสำรข้อมูลและกำรสื่อสำร นับตั้งแต่กำรสร้ำง กำรนำมำวิเครำะห์หรือ ประมวลผล กำรรับและส่งข้อมูล กำรจัดเก็บและกำรนำไปใช้งำนใหม่ เทคโนโลยี เหล่ำนี้มักจะหมำยถึงคอมพิวเตอร์ซึ่งประกอบด้วยส่วนอุปกรณ์ (hardware) ส่วนคำสั่ง (software) และส่วนข้อมูล (data) และ ระบบกำรสื่อสำรต่ำง ๆ ไม่ว่ำจะเป็นโทรศัพท์ ระบบสื่อสำรข้อมูล ดำวเทียมหรือ เครื่องมือสื่อสำรใด ๆ ทั้งมีสำยและไร้สำย
  • 6. 1. ฮาร์ดแวร์ ฮำร์ดแวร์เป็นองค์ประกอบสำคัญของระบบสำรสนเทศ หมำยถึง เครื่องคอมพิวเตอร์อุปกรณ์รอบข้ำง รวมทั้ง อุปกรณ์สื่อสำรสำหรับเชื่อมโยงคอมพิวเตอร์เข้ำเป็น เครือข่ำย เช่น เครื่องพิมพ์ เครื่องกรำดตรวจเมื่อ พิจำรณำเครื่องคอมพิวเตอร์ สำมำรถแบ่งเป็น 3 หน่วย คือ 1 หน่วยรับข้อมูล (input unit) ได้แก่ แผง แป้นอักขระ เมำส์ 2 หน่วยประมวลผลกลำง (Central Processing Unit : CPU) 3 หน่วยแสดงผล (output unit) ได้แก่ จอภำพ เครื่องพิมพ์
  • 7. 2 . ซอฟต์แวร์ ซอฟต์แวร์หรือโปรแกรมคอมพิวเตอร์เป็น องค์ประกอบที่สำคัญประกำรที่สอง ซึ่งก็คือลำดับ ขั้นตอนของคำสั่งที่จะสั่งงำนให้ฮำร์ดแวร์ทำงำน เพื่อ ประมวลผลข้อมูลให้ได้ผลลัพธ์ตำมควำมต้องกำรของ กำรใช้งำน ในปัจจุบันมีซอฟต์แวร์ระบบปฏิบัติงำน ซอฟต์แวร์ควบคุมระบบงำน ซอฟต์แวร์สำเร็จ และ ซอฟต์แวร์ประยุกต์สำหรับงำนต่ำงๆ ลักษณะกำรใช้งำน ของซอฟต์แวร์ก่อนหน้ำนี้ ผู้ใช้จะต้องติดต่อใช้งำน โดยใช้ข้อควำมเป็นหลัก แต่ในปัจจุบันซอฟต์แวร์มี ลักษณะกำรใช้งำนที่ง่ำยขึ้น โดยมีรูปแบบกำรติดต่อที่ สื่อควำมหมำยให้เข้ำใจง่ำย เช่น 1. ซอฟต์แวร์ระบบ คือ ซอฟต์แวร์ที่ใช้จัดกำรกับ ระบบคอมพิวเตอร์ และอุปกรณ์ต่ำงๆ ที่มีอยู่ในระบบ 2. ซอฟต์แวร์ประยุกต์ คือ ซอฟต์แวร์ที่พัฒนำขึ้น เพื่อใช้งำนด้ำนต่ำงๆ ตำมควำมต้องกำรของผู้ใช้
  • 8. 3. ข้อมูล ข้อมูล เป็นองค์ประกอบที่สำคัญอีกประกำร หนึ่งของระบบสำรสนเทศอำจจะเป็นตัวชี้ ควำมสำเร็จหรือควำมล้มเหลวของระบบได้ เนื่องจำกจะต้องมีกำรเก็บข้อมูลจำกแหล่งกำเนิด ข้อมูลจะต้องมีควำมถูกต้อง มีกำรกลั่นกรองและ ตรวจสอบแล้วเท่ำนั้นจึงจะมีประโยชน์ ข้อมูล จำเป็นจะต้องมีมำตรฐำน โดยเฉพำะอย่ำงยิ่งเมื่อ ใช้งำนในระดับกลุ่มหรือระดับองค์กร ข้อมูลต้อง มีโครงสร้ำงในกำรจัดเก็บที่เป็นระบบระเบียบ เพื่อกำรสืบค้นที่รวดเร็วมีประสิทธิภำพ
  • 9. 4. บุคลากร บุคลำกรในระดับผู้ใช้ ผู้บริหำร ผู้พัฒนำ ระบบ นักวิเครำะห์ระบบ และนักเขียนโปรแกรม เป็นองค์ประกอบสำคัญในควำมสำเร็จของระบบ สำรสนเทศ บุคลำกรมีควำมรู้ควำมสำมำรถทำง คอมพิวเตอร์มำกเท่ำใดโอกำสที่จะใช้งำนระบบ สำรสนเทศและระบบคอมพิวเตอร์ได้เต็มศักยภำพ และคุ้มค่ำยิ่งมำกขึ้นเท่ำนั้น โดยเฉพำะระบบ สำรสนเทศในระดับบุคคลซึ่งเครื่องคอมพิวเตอร์มี ขีดควำมสำมำรถมำกขึ้น ทำให้ผู้ใช้มีโอกำสพัฒนำ ควำมสำมำรถของตนเองและพัฒนำระบบงำนได้ เองตำมควำมต้องกำร สำหรับระบบสำรสนเทศใน ระดับกลุ่มและองค์กรที่มีควำมซับซ้อนจะต้องใช้ บุคลำกรในสำขำคอมพิวเตอร์โดยตรงมำพัฒนำ และดูแลระบบงำน
  • 10. 5. ขั้นตอนการปฏิบัติงาน ขั้นตอนกำรปฏิบัติงำนที่ชัดเจนของผู้ใช้หรือ ของบุคลำกรที่เกี่ยวข้องก็เป็นเรื่องสำคัญอีก ประกำรหนึ่ง เมื่อได้พัฒนำระบบงำนแล้วจำเป็นต้อง ปฏิบัติงำนตำมลำดับขั้นตอนในขณะที่ใช้งำนก็ จำเป็นต้องคำนึงถึงลำดับขั้นตอนกำรปฏิบัติของคน และควำมสัมพันธ์กับเครื่อง ทั้งในกรณีปกติและ กรณีฉุกเฉิน เช่น ขั้นตอนกำรบันทึกข้อมูล ขั้นตอน กำรประมวลผล ขั้นตอนปฏิบัติเมื่อเครื่องชำรุดหรือ ข้อมูลสูญหำย และขั้นตอนกำรทำสำเนำข้อมูล สำรองเพื่อควำมปลอดภัย เป็นต้น สิ่งเหล่ำนี้จะต้อง มีกำรซักซ้อม มีกำรเตรียมกำร และกำรทำเอกสำร คู่มือกำรใช้งำนที่ชัดเจน
  • 11. 1.3 ประโยชน์และตัวอย่ำงของกำรใช้ เทคโนโลยีสำรสนเทศและกำรสื่อสำร 1. ช่วยให้ติดต่อสื่อสารระหว่างกันอย่างสะดวก รวดเร็ว โดยใช้โทรศัพท์ คอมพิวเตอร์หรือในรูป ของ สิ่งพิมพ์ต่าง ๆ 2. ช่วยในการจัดระบบข่าวสารจานวนมหาศาล ซึ่ง ผลิตออกมาในแต่ละวัน 3. ช่วยให้เก็บสารนิเทศไว้ในรูปที่สามารถเรียกใช้ ได้ครั้งแล้วครั้งเล่าอย่างสะดวก 4. ช่วยเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตสารนิเทศ เช่น ช่วยนักวิทยาศาสตร์วิศวกร ด้วยการช่วยคานวณ ตัวเลขที่ยุ่งยาก ซับซ้อนซึ่งไม่สามารถทาให้สาเร็จ ได้ด้วยมือ 5. ช่วยให้สามารถจัดระบบอัตโนมัติเพื่อการเก็บ เรียกใช้และประมวลผลสารนิเทศ 6. สามารถจาลองแบบระบบการวางแผนและ ทานาย เพื่อทดลองกับสิ่งที่ยังไม่เกิดขึ้น 7. อานวยความสะดวกในการเข้าถึงสารนิเทศ ดีกว่าสมัยก่อน ทาให้ผู้ใช้สารนิเทศมี ทางเลือกที่ ดีกว่า มีประสิทธิภาพกว่า และสามารถแข่งขันกับ ผู้อื่นได้ดีกว่า 8. ลดอุปสรรคเกี่ยวกับเวลาและระยะทางระหว่าง ประเทศ
  • 12. เทคโนโลยีสำรนิเทศเบื้องต้นที่ควรนำมำใช้ในกำร ดำเนินงำนทั่วๆไป คอมพิวเตอร์ นับว่ำมีบทบำทมำกที่สุดต่อกำรเป็น องค์ประกอบที่สำคัญ คอมพิวเตอร์เป็น อุปกรณ์สื่อสำร นิเทศที่มีบทบำทอย่ำงมำกต่อสังคมสำรนิเทศ คอมพิวเตอร์ เปลี่ยนแปลงสภำพกำรให้บริกำรสำรนิเทศ ในห้องสมุดจำกกำรเสียเวลำ สืบค้นสำรนิเทศหลำย ๆ นำที หรือหลำยชั่วโมงมำเป็นเสียเวลำ เพียงไม่กี่วินำที คอมพิวเตอร์เปลี่ยนแปลงสภำพควำมเป็นอยู่ของคนใน สังคม เป็นเครื่องมือในกำรดำรงชีวิตที่มีบทบำทยิ่งกว่ำ เครื่องมือหรืออุปกรณ์ใด ๆ ที่มนุษย์ได้ผลิตขึ้นใช้ในโลกมำ ก่อน คนในสังคมสมัยสังคมสำรนิเทศจะเห็น พัฒนำกำร ด้ำนนี้ได้อย่ำงเด่นชัด นับตั้งแต่มีกำรประดิษฐ์เครื่อง คอมพิวเตอร์ ขึ้นใช้เป็นครั้งแรก คอมพิวเตอร์ไม่ใช่เพียง สิ่งประดิษฐ์ทำงวิทยำศำสตร์เท่ำนั้น แต่กลับเป็นสิ่งที่คน ในสังคมสำรนิเทศ ต้องรู้จักและมีส่วนเกี่ยวข้องด้วยอย่ำง หลีกเลี่ยงไม่ได้ เป็นอุปกรณ์และองค์ประกอบที่สำคัญของ เทคโนโลยีสำรนิเทศ
  • 13. บทบาทของคอมพิวเตอร์ที่มีต่อการใช้ สารนิเทศในสังคมมีดังต่อไปนี้ ด้านการศึกษา กำรใช้คอมพิวเตอร์ในด้ำนกำรศึกษำ แบ่งได้เป็น 2 ประเภท คือ ใช้เป็นเครื่องมือใน กำรศึกษำ และใช้เป็นเครื่องมือในกำรสอน กำรใช้เป็นเครื่องมือในกำรศึกษำ เกี่ยวข้องกับกำรบริหำรกำรศึกษำ ซึ่งผู้บริหำรกำรศึกษำ จำเป็นต้องทรำบสำรนิเทศ ต่ำง ๆ ทำงด้ำน นักศึกษำ ด้ำนแผนกำรเรียน ด้ำนบุคลำกร ด้ำนกำรเงิน และด้ำน อำคำรสถำนที่และอุปกรณ์ ข้อมูลแต่ละด้ำนที่ได้จำกคอมพิวเตอร์ ผู้บริหำรกำรศึกษำ สำมำรถนำมำใช้ช่วย ในกำรตัดสินใจได้ กำรใช้คอมพิวเตอร์เพื่อเป็นเครื่องมือในกำร สอน เป็นกำรช่วยให้ครูใช้ควำมรู้ ควำมสำมำรถพิเศษให้เป็นประโยชน์แก่ระบบ กำรศึกษำได้มำกขึ้น
  • 14.  การนาคอมพิวเตอร์เข้า มามีส่วนช่วยในการสอน และการศึกษามีประโยชน์ในเรื่องดังต่อไปนี้  1. เพื่อการสอนแบบตัวต่อตัว  2. เพื่อฝึกทักษะต่าง ๆ ในการเรียน  3. เพื่อการสาธิต  4. เพื่อการเล่นเกมและสถานการณ์จาลอง  5. เพื่อสอนงานด้านการเขียน  6. เพื่อการเก็บรวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับการเรียนการสอน  7. เพื่อช่วยผู้เรียนที่มีปัญหาเฉพาะตัว มำเรียนกันเถอะค่ะ ใช่แล้วเรียนแล้วใช่เลย
  • 15. ด้านการแพทย์และสาธารณสุข  คอมพิวเตอร์มีบทบาทอย่างสูงทางด้านการแพทย์และสาธารณสุข คอมพิวเตอร์เป็นเครื่องมือที่ ช่วยอานวย ความสะดวก อย่างยิ่งในด้านการแพทย์ เริ่มตั้งแต่การรักษาพยาบาล ทั่ว ๆไป โรงพยาบาลบางแห่งใช้คอมพิวเตอร์ ในการทาทะเบียนคนไข้ ตลอดจนการวินิจฉัย และรักษาโรค ต่าง ๆ จากการใช้ประโยชน์ของสารนิเทศที่ได้ จากเครื่องคอมพิวเตอร์ การใช้คอมพิวเตอร์ทางด้าน การแพทย์และสาธารณสุขอาจเกี่ยวข้องในด้านต่อไปนี้คือ ด้านการ รักษาพยาบาลทั่วไป ด้านการ บริหารการแพทย์ ด้านห้องทดลอง ด้านตรวจวินิจฉัยโรค และด้านการศึกษา และวิจัยทางการ แพทย์ การใช้ข้อมูลจากคอมพิวเตอร์ด้านการแพทย์และ สาธารณสุข สนใจผ่ำตัดไหม~~~~ อุ้ยตำยไม่เอำหรอกย่ะ
  • 16. ด้านอุตสาหกรรม  คอมพิวเตอร์มีส่วนช่วยพัฒนาความก้าวหน้าทางด้านอุตสาหกรรม โดยนักวิทยาศาสตร์ได้ ประดิษฐ์หุ่นยนต์ เพื่อใช้ในบ้านและหุ่นยนต์อุตสาหกรรม ทั้งนี้หุ่นยนต์จะเป็นอุปกรณ์ที่สร้างขึ้นเพื่อ เลียนแบบการทางานของอวัยวะ ส่วนบนของมนุษย์ ประกอบด้วยระบบทางกลของหุ่นยนต์ และ ระบบควบคุมหุ่นยนต์ ประกอบด้วยอุปกรณ์ควบคุม ซึ่งควบคุมการทางานของ หุ่นยนต์โดยอัตโนมัติ ด้วยคอมพิวเตอร์ นับเป็นส่วนสาคัญที่สุดของหุ่นยนต์ ระบบควบคุมนี้ทาหน้า ที่เป็นสมองเก็บข้อมูล สั่งหุ่นยนต์ ให้ทางานตรวจสอบและควบคุมรายละเอียดของการทางาน ให้ถูกต้อง ไอ้กระจอก ดูข้ำโครตเท่ กระจอกแล้วไงไม่หนักหัวใครนิ
  • 17. ด้านเกษตรกรรม  การนาคอมพิวเตอร์มาใช้ประโยชน์ในด้านเกษตรกรรม ได้แก่ การจัดทาระบบ ข้อมูลเพื่อ การเกษตร ซึ่งอาจมีทั้งระดับท้องถิ่น ระดับชาติ และระดับนานาชาติ สาหรับระดับ นานาชาตินั้น อาจจะเริ่มด้วย สามะโนเกษตรนานาชาติ ซึ่งสถาบันการเกษตรระหว่างประเทศ (International Institute of Agriculture) ได้เริ่มต้นตั้งแต่ พ.ศ. 2473โดยมี ประเทศต่าง ๆ ร่วมเก็บข้อมูล รวม 46 ประเทศ ต่อมาองค์การอาหารและเกษตร(FAO) YO YO It’s show time …………..
  • 18. ด้านการเงินการธนาคาร  การใช้คอมพิวเตอร์ในด้านการเงินและการธนาคาร เป็นการนาคอมพิวเตอร์มา ช่วยในงานด้าน การบัญชี และด้านการบริหาร การฝากถอนเงิน การรับจ่าย การโอนเงิน แบบอิเล็กทรอนิกส์ การหักบัญชีอัตโนมัติ ด้านสินเชื่อ ด้านแลกเปลี่ยนเงินตรา บริการข่าว สารการธนาคาร บริการ ฝากถอนเงินนอกเวลาและบริการอื่น ๆ การใช้คอมพิวเตอร์ด้านการเงินการธนาคารที่ประชาชน รู้จักและใช้กันอย่างแพร่ หลาย กดมำสักหมื่น แต่ของผมกดมำสักล้ำน
  • 19. ด้านธุรกิจการบิน  ธุรกิจสำยกำรบินมีควำมจำเป็นต้องนำคอมพิวเตอร์มำใช้ เพื่อให้สำมำรถให้บริกำรได้ รวดเร็ว เพื่อกำรแข่งขันกับ สำยกำรบินอื่น ๆ และเพื่อรักษำควำมปลอดภัยในกำรบิน โดยช่วยตรวจสอบสภำพเครื่องและอุปกรณ์ได้ อย่ำงถูกต้องแน่นอนและสม่ำเสมอ ธุรกิจที่มีกำรนำ คอมพิวเตอร์มำใช้ด้ำนกำรบิน อำจแบ่งเป็น 3 ประเภท คือ ผู้โดยสำร สินค้ำพัสดุภัณฑ์ และ บริกำรอื่น ๆ ของสำยกำรบิน I belive I can fly
  • 20. ด้านกฎหมายและการปกครอง  ทางด้านกฎหมายและการปกครอง มีการใช้คอมพิวเตอร์แก้ปัญหาด้านกฎหมาย คืองานระบบข้อมูล ทาง กฎหมายมีการนาสารนิเทศที่เกี่ยวข้องกับตัวบทกฎหมายทุกฉบับ รัฐธรรมนูญทุกฉบับ กฎหมายอาญา กฎหมายแพ่ง พระราชบัญญัติ พระราชกาหนด พระราชกฤษฎีกา กฎกระทรวงประกาศต่างๆและอื่น ๆ เข้าคอมพิวเตอร์ทั้งหมด หลังจากนั้นคอมพิวเตอร์จะ ช่วยในการค้นสารนิเทศทางด้านกฏหมายได้อย่าง รวดเร็ว เก่ำแล้วเปำหน้ำดำ
  • 21. ด้านการทหารและตารวจ  มีกำรใช้คอมพิวเตอร์ด้ำนกำรทหำรและตำรวจ อย่ำงแพร่หลำยในประเทศต่ำงๆ ใน ประเทศสหรัฐอเมริกำ กำรใช้คอมพิวเตอร์ในด้ำนกำรทหำรได้เจริญก้ำวหน้ำไปมำกกว่ำ ประเทศอื่นใดในโลกแต่ผลงำนด้ำนนี้มักจะเป็น ผลงำน ชนิดลับสุดยอดต่ำง ๆ เท่ำที่ พอจะ ทรำบกัน ได้แก่ กำรใช้คอมพิวเตอร์ในวงจรสื่อสำรทหำร ใช้ในกำรควบคุม ประสำนงำน ด้ำนกำรทหำรใช้แปลรหัสลับในงำนจำรกรรมระหว่ำงประเทศ ใช้ในกำร ผลิตระเบิดนิว เคลียร์ ใช้ในกำรทำสงครำมจิตวิทยำ เรำจะทำตำมสัญญำ สัญญำบ้ำนป้ำแกดิแถลงกำรอยู่ได้ ไม่ต้องห่วงท่ำนผมจะจับมัน
  • 22. ด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี  การใช้คอมพิวเตอร์เพื่อประโยชน์ทางด้านวิทยาศาสตร์มีมาก ในสถาบันการศึกษา ตลอดจนสถาบันวิจัย ต่าง ๆ มีการใช้คอมพิวเตอร์เพื่อการวิจัยทดลองทางด้านวิทยาศาสตร์ เช่น การวิจัยในทางนิวเคลียร์ฟิสิกส์ ซึ่งเป็นวิชาว่าด้วยส่วนประกอบที่เล็กที่สุดของสสาร การค้นคว้าทดลองทางวิทยาศาสตร์สาขาต่าง ๆ ทาให้ เกิดการพัฒนาประเทศอย่างไม่หยุดยั้ง เช่น ทางด้านวิศวกรรมศาสตร์มีการใช้คอมพิวเตอร์ ให้มีส่วนร่วม ต่อการออกแบบโครงสร้าง ทางวิศวกรรมที่ยุ่งยากสลับซับซ้อน ทาให้มีส่วนช่วยต่อการออกแบบ ทางด้าน วิศวกรรมและ สถาปัตยกรรมได้อย่างไม่มีขอบเขตจากัด บทบาทของคอมพิวเตอร์ทางด้านวิทยาศาสตร์จึง มี ประโยชน์ต่อการพัฒนาข้อมูลสารนิเทศอย่างไม่หยุดยั้ง Zn(s)+SO4(aq)->ZnO4(aq)+S(s) คือไรว่ะ!!!!!! เพรำะแกไม่ทำกำรบ้ำนเองไง
  • 23.  1.4.1 ด้านอุปกรณ์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร เมื่อพิจารณาเครือข่ายการสื่อสาร ทั่วไปจากอดีตจนถึงปัจจุบัน เห็นได้ชัดว่ามนุษย์ใช้อุปกรณ์การสื่อสารแบบพกพามากขึ้นเรื่อยๆ เริ่มจากวิทยุเรียกตัว (pager) ซึ่งเป็นเครื่องรับข้อความ มาเป็นโทรศัพท์เคลื่อนที่ อุปกรณ์ สื่อสารชนิดนี้ได้ถูกพัฒนาจนสามารถใช้งานด้านอื่นๆได้ นอกจากการพูดคุยธรรมดา โทรศัพท์เคลื่อนที่รุ่นใหม่สามารถใช้ถ่ายรูป ฟังเพลง ฟังวิทยุ ดูโทรทัศน์ บันทึกงานสั้นๆ โทรศัพท์ บางรุ่นมีลักษณะเป็นเครื่องช่วยงานส่วนบุคคล (Personal Digital Assistant : PDA) ซึ่งสามารถเชื่อต่อกับอินเทอร์เน็ตได้ อีกทั้งยังมีหน้าจอแบบสัมผัส ทาให้สะดวกต่อการ ใช้งานมากขึ้น บางรุ่นมีอุปกรณ์สไตลัส (stylus) คือใช้ปากกาป้ อนข้อมูลทางหน้าจอ บางรุ่น สามารถสั่งการด้วยเสียง 1.4 แนวโน้มการใช้งานเทคโนโลยีสารสนเทศและการ สื่อสาร
  • 24.  ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ในอดีตมักเป็นระบบที่ใช้คอมพิวเตอร์และอุปกรณ์เชื่อมต่อ ตรงเพียงชุดเดียว ( stand alone ) ต่อมามีการเชื่อต่อคอมพิวเตอร์เข้าด้วยกัน ภายในองค์กร เพื่อทาให้สามารถใช้ข้อมูลร่วมกัน หรือใช้เครื่องพิมพ์ร่วมกัน จนเกิดเป็น ระบบรับและให้บริการ หรือเรียกว่าระบบรับ-ให้บริการ(client-serversystem ) การให้บริการบนเว็บก็นาหลักการของระบบรับ-ให้บริการมาใช้ช่วยให้การทางานง่าย สะดวกรวดเร็ว เพราะสามารถทางานจากที่ใดก็ได้โดยผ่านระบบอินเทอร์เน็ต โดยมีเว็บ เซิร์ฟเวอร์ (web server ) โดยมีเครื่องให้บริการ ( server ) และเครื่องรับบริการ ( client ) การใช้บริการบนเว็บโดยใช้หลักการของระบบรับ-ให้บริการ (client-server system ) 1.4.2 ด้านระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
  • 25.  ระบบทางานอัตโนมัติที่สามารถตัดสินใจได้เองจะเข้ามาแทนที่มากขึ้น เช่น ระบบแนะนาเส้นทาง จราจร ระบบจอดรถ ระบบตรวจหาตาแหน่งของวัตถุ ระบบควบคุมความปลอดภัยภายในอาคาร ระบบทางานอัตโนมัติเช่นนี้อาจกลายเป็นระบบหลักในการดาเนินการของหน่วยงานต่างๆ โดย เข้ามาแทนที่การทางานของมนุษย์ มีการเชื่อมต่อเครือข่ายอย่างกว้างขวางไปยังหน่วยงานที่ เกี่ยวข้องมากกว่าที่เป็นอยู่ในปัจจุบัน 1.4.3 ด้านเทคโนโลยี
  • 26.  1) ด้านสังคม สภาพเหมือนจริง การใช้อินเทอร์เน็ตเชื่อมโยงการทางานต่างๆ จนเกิดเป็นสังคมที่ ติดต่อผ่านทางอินเทอร์เน็ต หรือที่รู้จักกันว่า ไวเบอร์สเปซ (cyber space) ซึ่งมีกิจกรรม ต่างๆ เช่น การพูดคุย การซื้อสินค้า และการบริการ การทางานผ่านเครือข่ายคอมพิวเตอร์ทาให้ เกิดสภาพที่เหมือนจริง (virtual) เช่น เกมเสมือนจริง ห้องสมุดเสมือนจริง พิพิธภัณฑ์เสมือน จริง ห้องประชุมเสมือนจริง และที่ทางานเสมือนจริง ซึ่งทาไห้ลดเวลาในการเดินทางและสามารถ ใช้งานได้ทุกที่ทุกเวลา 1.5 ควำมเปลี่ยนแปลงจำกกำรใช้เทคโนโลยี สำรสนเทศและกำรสื่อสำร เฟี้ยวง่ะโครตเท่เลยของแกเป็นไง โทษทีว่ะพอดีของฉันไม่ใช่vrแต่มันไว้ยิง หัวแกได้
  • 27.  2) ด้ำนเศรษฐกิจ  เทคโนโลยีสำรสนเทศและกำรสื่อสำรส่งผลให้เกิดสังคมโลกำภิวัฒน์ (globalization) เพรำะสำมำรถชมข่ำว ชมรำยกำรโทรทัศน์ที่จะส่งกระจำยผ่ำน ดำวเทียมของประเทศต่ำงๆ ได้ทั่วโลก สำมำรถรับรู้ข่ำวสำรได้ทันที ใช้อินเทอร์เน็ตใน กำรติดต่อสื่อสำรระหว่ำงกัน ระบบเศรษฐกิจซึ่งแต่เดิมมีขอบเขตจำกัดภำยในประเทศ ก็กระจำยเป็นเศรษฐกิจโลก เกิดกระแสกำรหมุนเวียนแลกเปลี่ยนสินค้ำและบริกำร อย่ำงกว้ำงขวำงและรวดเร็ว ระบบเศรษฐกิจของทุกประเทศในโลกจึงเชื่อมโยงและ ผูกพันกันมำกขึ้น สวัสดีครับเข้ำสู่รำยกำร ครับ ออกไปสักทีซิแยกงำนตู
  • 28.  ขยะ อิเล็กทรอนิกส์ เช่น เครื่องคอมพิวเตอร์ จอภาพ คีย์บอร์ด เมาส์ เครื่องพิมพ์ ที่เสียหรือไม่ใช้ งานแล้ว รวมถึงอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์อื่นๆ ที่ถูกทิ้งเป็นขยะ ซึ่งต่างจากขยะทั่วไป เช่น ถุงพลาสติก และเศษอาหาร โดยในขยะอิเล็กทรอนิกส์ชิ้นหนึ่งๆ มีส่วนประกอบที่เป็นโลหะและ พลาสติก รวมถึงวัสดุอื่นๆ ที่ประกอบกันอย่างซับซ้อน ยากต่อการแยกออกมา โดยเฉพาะใน แผงวงจรอิเล็กทรอนิกส์ มีรายงานพบว่าขยะเหล่านี้นอกจากจะมีปริมาณเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว แล้ว ยังปลดปล่อยสารพิษปะปนเข้าสู่สิ่งแวดล้อม การแยกชิ้นส่วนขยะอิเล็กทรอนิกส์แล้วนา กลับมาหลอมใช้ใหม่ หรือรีไซเคิล จึงทาได้ยากมากกว่าขยะทั่วไป เพราะต้องมีขั้นตอนวิธีที่ เหมาะสม จึงต้องมีการศึกษาอย่างละเอียดโดยผู้เชี่ยวชาญและต้องจัดการอย่างมีระบบ ดังนั้น จึงควรใช้อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ให้คุ้มค่า จะซื้อใหม่เมื่ออุปกรณ์นั้นไม่สามารถซ่อมได้แล้ว และไม่ เปลี่ยนอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์บ่อยๆตามกระแสนิยม เข้ำใจตรงน่ะอย่ำทิ้งขยะ อิเล็กทรอนิกถ้ำไม่อยำก ให้ผมยึดครองโลก555 เดียวก่อน!!!!!!!
  • 29. 3) ด้านสิ่งแวดล้อม เทคโนโลยีสำรสนเทศและกำรสื่อสำร มี ประโยชน์ในด้ำนธรรมชำติและสิ่งแวดล้อม เช่น ระบบป้องกันกำร กัดเซำะชำยฝั่ง โดยใช้ภำพถ่ำยดำวเทียม หรือภำพถ่ำยทำง อำกำศร่วมกับกำรจดเก็บรักษำข้อมูลระดับน้ำทะเล ควำมสูงของ คลื่นจำกระบบเรดำร์ เป็นกำรศึกษำเพื่อหำสำเหตุ และนำข้อมูล มำวำงแผนและสร้ำงระบบเพื่อป้องกันกำรกัดเซำะชำยฝั่งแต่ละ แห่งได้อย่ำงเหมำะสม นอกจำกนี้ในรถยนต์ที่ใช้เครื่องยนต์แบบผสม (hybrid engine) เพื่อรักษำสิ่งแวดล้อมก็ต้องใช้เทคโนโลยี เพื่อควบคุมให้เครื่องยนต์ลดกำรเผำไหม้น้ำมันเชื้อเพลิง เป็นกำร ช่วยลดมลภำวะจำกก๊ำซ-ไนโตรเจนออกไซด์ ไฮโดรคำร์บอน และ ก๊ำซคำร์บอนมอนออกไซด์ ที่ทำให้เกิดภำวะโลกร้อน ตัวอย่ำง เทคโนโลยีสำรสนเทศและกำรสื่อสำรช่วยรักษำธรรมชำติและ สิ่งแวดล้อม
  • 30. 1.6 ตัวอย่างอาชีพทางด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ตลาดแรงงานต้องการผู้ที่มีความรู้ความเข้าใจงานด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสารอย่างแท้จริง ซึ่งงานด้านนี้จะรวมถึง งานด้านการออกแบบ โปรแกรมต่างๆ โปรแกรมใช้งานบนเว็บ งานด้านการเขียนโปรแกรม ภาษาคอมพิวเตอร์ งานด้านฐานข้อมูล งานด้านระบบเครือข่าย ทั้งในและนอก องศ์กร รวมถึงการรักษาความมั่นคงปลอดภัยในระบบคอมพิวเตอร์ และระบบ เครือข่าย ดังนั้นองศ์กรจึงมีความต้องการบุคลากรที่มีความรู้ ความสามารถใน การบริหารจัดการ และพัฒนาซอฟต์แวร์ เพื่อใช้งานด้านต่างๆ ขององศ์กร ตัวอย่างอาชีพด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
  • 31. นักเขียนโปรแกรมหรือโปรแกรมเมอร์ (Programmer) ทาหน้าที่ในการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์เพื่อใช้ในงาน ด้านต่างๆ เช่น โปรแกรมเกี่ยวกับการซื้อขายสินค้าโปรแกรม ที่ใช้กับงานด้านบัญชี หรือโปรแกรมที่ใช้กับระบบงานขนาด ใหญ่ขององค์กร นักวิเคราะห์ระบบ (System analyst) ทาหน้าที่ใน การศึกษาวิเคราะห์และพัฒนาระบบสารสนเทศ นักวิเคราะห์ และพัฒนาระบบสารสนเทศ นักวิเคราะห์ระบบจะทาการ วิเคราะห์ระบบงานและออกแบบระบบสารสนเทศให้ตรงกับ ความต้องการของผู้ใช้งาน ซึ่งอาจรวมถึงงานด้านการ ออกแบบฐานข้อมูลด้วย ผู้ดูแลและบริหารฐานข้อมูล (Database administrator)ทาหน้าที่บริหารและจัดการ ฐานข้อมูล(Database)รวมถึงการออกแบบ บารุงรักษา ข้อมูล และการดูแลระบบความปลอดภัยของฐานข้อมูล เช่น การกาหนดบัญชีผู้ใช้ การกาหนดสิทธิ์ผู้ใช้
  • 32. ผู้ดูแลและบริหารระบบ (System administrator) ทา หน้าที่บริหารและจัดการระบบคอมพิวเตอร์ในองค์กร โดยดูแลการ ติดตั้งและบารุงรักษาระบบปฏิบัติการ การติดตั้งฮาร์ดแวร์การ ติดตั้งและการปรับปรุงซอฟต์แวร์สร้าง ออกแบบและบารุงรักษา บัญชีผู้ใช้ สาหรับองค์กรขนาดเล็กเจ้าหน้าที่ควบคุมระบบอาจต้อง ดูแลและบริหารระบบเครือข่ายด้วย ผู้ดูแลและบริหารระบบเครือข่าย (Network administrator) ทาหน้าที่บริหารและจัดการออกแบบระบบ เครือข่ายคอมพิวเตอร์และดูแลรักษาความปลอดภัยของระบบ เครือข่ายขององค์กร เช่น ตรวจสอบการใช้งานเครือข่ายของ พนักงานและติดตั้งโปรแกรมป้ องกันผู้บุกรุกเครือข่าย ผู้พัฒนาและบริหารระบบเว็บไซต์(Webmaster) ทาหน้าที่ออกแบบพัฒนา ปรับปรุงและบารุงรักษาเว็บไซต์ให้มี ความทันสมัย โดยเฉพะอย่างยิ่งต้องมีการปรับปรุงข้อมูลให้เป็น ปัจจุบันอยู่เสมอ
  • 33. เจ้าหน้าที่เทคนิค (Technician) ทาหน้าที่ซ่อมบารุงรักษาเครื่องคอมพิวเตอร์ติดตั้ง โปรแกรม หรือติดตั้งฮาร์ดแวร์ต่างๆ และแก้ไขปัญหาที่อาจ เกิดจากการใช้งานอุปกรณ์คอมพิวเตอร์ในองค์กร นักเขียนเกม (Game maker) ทาหน้าที่เขียนหรือพัฒนาโปรแกรมเกมคอมพิวเตอร์ใน ปัจจุบันนี้การเขียนเกมคอมพิวเตอร์เป็นอาชีพที่ได้รับ ความนิยมอย่างสูงในประเทศไทย