SlideShare a Scribd company logo
1 of 52
Download to read offline
9
บทที่ 2
เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
รายงานการพัฒนาเอกสารประกอบการเรียนรายวิชาสุขศึกษา พ 21101 เรื่อง ชีวิตและ
ครอบครัว กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา สาหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียน
บ้านเสื่องข้าว ในครั้งนี้ ผู้วิจัยได้ศึกษาเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องตามลาดับหัวข้อต่อไปนี้
1. เอกสารที่เกี่ยวข้องกับหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551
2. เอกสารที่เกี่ยวข้องกับหลักสูตรกลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา
3. บริบทโรงเรียนบ้านเสื่องข้าว
4. เอกสารที่เกี่ยวข้องกับเอกสารประกอบการเรียน
4.1 ความหมายของเอกสารประกอบการเรียน
4.2 หลักการที่เกี่ยวข้องกับการจัดทาเอกสารประกอบการเรียน
4.3 จุดมุ่งหมายในการสร้างเอกสารประกอบการเรียน
4.4 ลักษณะของเอกสารประกอบการเรียน
4.5 ชนิดของเอกสารประกอบการเรียน
4.6 รูปแบบเอกสารประกอบการเรียน
4.7 ส่วนประกอบของเอกสารประกอบการเรียน
4.8 ขั้นตอนการผลิตเอกสารประกอบการเรียน
5. เอกสารที่เกี่ยวข้องกับการจัดการเรียนรู้แบบพหุปัญญา
6. เอกสารที่เกี่ยวข้องกับการหาประสิทธิภาพของเครื่องมือ
7. เอกสารที่เกี่ยวข้องกับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
8. เอกสารที่เกี่ยวข้องกับความพึงพอใจ
9. งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
9.1 งานวิจัยในประเทศ
9.2 งานวิจัยต่างประเทศ
10
เอกสารที่เกี่ยวข้องกับหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551
1. วิสัยทัศน์
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 มุ่งพัฒนาผู้เรียนทุกคน
ซึ่งเป็นกาลังของชาติให้เป็นมนุษย์ที่มีความสมดุลทั้งด้านร่างกาย ความรู้ คุณธรรม มีจิตสานึก
ในความเป็นพลเมืองไทยและเป็นพลโลก ยึดมั่นในการปกครองตามระบอบประชาธิปไตย
อันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข มีความรู้และทักษะพื้นฐาน รวมทั้งเจตคติ ที่จาเป็นต่อการศึกษา
ต่อการประกอบอาชีพและการศึกษาตลอดชีวิตโดยมุ่งเน้นผู้เรียนเป็นสาคัญบนพื้นฐานความเชื่อว่า
ทุกคนสามารถเรียนรู้และพัฒนาตนเองได้เต็มตามศักยภาพ
2. หลักการ
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 มีหลักการที่สาคัญ ดังนี้
2.1 เป็นหลักสูตรการศึกษาเพื่อความเป็นเอกภาพของชาติ มีจุดหมายและมาตรฐาน
การเรียนรู้ เป็นเปูาหมายสาหรับพัฒนาเด็กและเยาวชนให้มีความรู้ ทักษะ เจตคติและคุณธรรม
บนพื้นฐานของความเป็นไทยควบคู่กับความเป็นสากล
2.2 เป็นหลักสูตรการศึกษาเพื่อปวงชน ที่ประชาชนทุกคนมีโอกาสได้รับการศึกษา
อย่างเสมอภาคและมีคุณภาพ
2.3 เป็นหลักสูตรการศึกษาที่สนองการกระจายอานาจให้สังคมมีส่วนร่วม
ในการจัดการศึกษา ให้สอดคล้องกับสภาพและความต้องการของท้องถิ่น
2.4 เป็นหลักสูตรการศึกษาที่มีโครงสร้างยืดหยุ่นทั้งด้านสาระการเรียนรู้ เวลา
และการจัดการเรียนรู้
2.4 เป็นหลักสูตรการศึกษาที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ
2.5 เป็นหลักสูตรการศึกษาสาหรับการศึกษาในระบบ นอกระบบและตามอัธยาศัย
ครอบคลุมทุกกลุ่มเปูาหมาย สามารถเทียบโอนผลการเรียนรู้และประสบการณ์
3. จุดหมาย
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 มุ่งพัฒนาผู้เรียนให้เป็น
คนดี มีปัญญา มีความสุข มีศักยภาพในการศึกษาต่อและประกอบอาชีพ จึงกาหนดเป็นจุดหมาย
เพื่อให้เกิดกับผู้เรียน เมื่อจบการศึกษาขั้นพื้นฐาน ดังนี้
3.1 มีคุณธรรม จริยธรรมและค่านิยมที่พึงประสงค์ เห็นคุณค่าของตนเอง มีวินัย
และปฏิบัติตนตามหลักธรรมของพระพุทธศาสนาหรือศาสนาที่ตนนับถือ ยึดหลักปรัชญา
ของเศรษฐกิจพอเพียง
3.2 มีความรู้ ความสามารถในการสื่อสาร การคิด การแก้ปัญหา การใช้เทคโนโลยี
และมีทักษะชีวิต
11
3.3 มีสุขภาพกายและสุขภาพจิตที่ดี มีสุขนิสัยและรักการออกกาลังกาย
3.4 มีความรักชาติ มีจิตสานึกในความเป็นพลเมืองไทยและพลโลกยึดมั่นในวิถีชีวิตและ
การปกครองตามระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข
3.5 มีจิตสานึกในการอนุรักษ์วัฒนธรรมและภูมิปัญญาไทยการอนุรักษ์และพัฒนา
สิ่งแวดล้อมมีจิตสาธารณะที่มุ่งทาประโยชน์และสร้างสิ่งที่ดีงามในสังคมและอยู่ร่วมกันในสังคม
อย่างมีความสุข
4. สมรรถนะสาคัญของผู้เรียนและคุณลักษณะอันพึงประสงค์
ในการพัฒนาผู้เรียนตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน มุ่งเน้นพัฒนาผู้เรียนให้
มีคุณภาพตามมาตรฐานที่กาหนดซึ่งจะช่วยให้ผู้เรียนเกิดสมรรถนะสาคัญและคุณลักษณะ
อันพึงประสงค์ ดังนี้
4.1 สมรรถนะสาคัญของผู้เรียน
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน มุ่งให้ผู้เรียนเกิดสมรรถนะสาคัญ
5 ประการ ดังนี้ 1) ความสามารถในการสื่อสาร เป็นความสามารถในการรับและส่งสาร มีวัฒนธรรม
ในการใช้ภาษาถ่ายทอดความคิด ความรู้ความเข้าใจ ความรู้สึกและทัศนะของตนเองเพื่อแลกเปลี่ยน
ข้อมูลข่าวสารและประสบการณ์อันจะเป็นประโยชน์ต่อการพัฒนาตนเองและสังคม รวมทั้งการเจรจา
ต่อรองเพื่อขจัดและลดปัญหาความขัดแย้งต่าง ๆ การเลือกรับหรือไม่รับข้อมูลข่าวสารด้วยหลักเหตุผล
และความถูกต้อง ตลอดจนการเลือกใช้วิธีการสื่อสารที่มีประสิทธิภาพโดยคานึงถึงผลกระทบที่มีต่อ
ตนเองและสังคม 2) ความสามารถในการคิด เป็นความสามารถในการคิดวิเคราะห์การคิดสังเคราะห์
การคิดอย่างสร้างสรรค์ การคิดอย่างมีวิจารณญาณและการคิดเป็นระบบ เพื่อนาไปสู่การสร้าง
องค์ความรู้หรือสารสนเทศเพื่อการตัดสินใจเกี่ยวกับตนเองและสังคมได้อย่างเหมาะสม
3) ความสามารถในการแก้ปัญหา เป็นความสามารถในการแก้ปัญหาและอุปสรรคต่าง ๆ ที่เผชิญได้
อย่างถูกต้องเหมาะสมบนพื้นฐานของหลักเหตุผล คุณธรรมและข้อมูลสารสนเทศ เข้าใจความสัมพันธ์
และการเปลี่ยนแปลงของเหตุการณ์ต่าง ๆ ในสังคม แสวงหาความรู้ ประยุกต์ความรู้มาใช้ในการปูองกัน
และแก้ไขปัญหาและมีการตัดสินใจที่มีประสิทธิภาพโดยคานึงถึงผลกระทบที่เกิดขึ้นต่อตนเอง สังคมและ
สิ่งแวดล้อม 4) ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต เป็นความสามารถในการนากระบวนการต่าง ๆ ไปใช้ใน
การดาเนินชีวิตประจาวัน การเรียนรู้ด้วยตนเอง การเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง การทางานและการอยู่ร่วมกัน
ในสังคมด้วยการสร้างเสริมความสัมพันธ์อันดีระหว่างบุคคล การจัดการปัญหาและความขัดแย้งต่าง ๆ
อย่างเหมาะสม การปรับตัวให้ทันกับการเปลี่ยนแปลงของสังคมและสภาพแวดล้อมและการรู้จัก
หลีกเลี่ยงพฤติกรรมไม่พึงประสงค์ที่ส่งผลกระทบต่อตนเองและผู้อื่น 5) ความสามารถในการใช้
เทคโนโลยี เป็นความสามารถในการเลือกและใช้ เทคโนโลยีด้านต่าง ๆ และมีทักษะกระบวนการ
ทางเทคโนโลยี เพื่อการพัฒนาตนเองและสังคมในด้านการเรียนรู้ การสื่อสาร การทางาน การแก้ปัญหา
อย่างสร้างสรรค์ ถูกต้อง เหมาะสมและมีคุณธรรม
12
5. คุณลักษณะอันพึงประสงค์
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน มุ่งพัฒนาผู้เรียนให้มีคุณลักษณะ
อันพึงประสงค์ เพื่อให้สามารถอยู่ร่วมกับผู้อื่นในสังคมได้อย่างมีความสุขในฐานะเป็นพลเมืองไทย
และพลโลก ดังนี้
5.1 รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์
5.2 ซื่อสัตย์สุจริต
5.3 มีวินัย
5.4 ใฝุเรียนรู้
5.5 อยู่อย่างพอเพียง
5.6 มุ่งมั่นในการทางาน
5.7 รักความเป็นไทย
5.8 มีจิตสาธารณะ
นอกจากนี้ สถานศึกษาสามารถกาหนดคุณลักษณะอันพึงประสงค์เพิ่มเติม
ให้สอดคล้องตามบริบทและจุดเน้นของตนเอง
6. มาตรฐานการเรียนรู้
การพัฒนาผู้เรียนให้เกิดความสมดุล ต้องคานึงถึงหลักพัฒนาการทางสมองและพหุปัญญา
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน จึงกาหนดให้ผู้เรียนเรียนรู้ 8 กลุ่มสาระการเรียนรู้ ดังนี้
6.1 ภาษาไทย
6.2 คณิตศาสตร์
6.3 วิทยาศาสตร์
6.4 สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม
6.5 สุขศึกษาและพลศึกษา
6.6 ศิลปะ
6.7 การงานอาชีพและเทคโนโลยี
6.8 ภาษาต่างประเทศ
ในแต่ละกลุ่มสาระการเรียนรู้ได้กาหนดมาตรฐานการเรียนรู้เป็นเปูาหมายสาคัญ
ของการพัฒนาคุณภาพผู้เรียน มาตรฐานการเรียนรู้ระบุสิ่งที่ผู้เรียนพึงรู้ ปฏิบัติได้ มีคุณธรรมจริยธรรม
และค่านิยมที่พึงประสงค์เมื่อจบการศึกษาขั้นพื้นฐาน นอกจากนั้นมาตรฐานการเรียนรู้ ยังเป็นกลไก
สาคัญในการขับเคลื่อนพัฒนาการศึกษาทั้งระบบ เพราะมาตรฐานการเรียนรู้จะสะท้อนให้ทราบว่า
ต้องการอะไร จะสอนอย่างไรและประเมินอย่างไร รวมทั้งเป็นเครื่องมือในการตรวจสอบเพื่อการประกัน
คุณภาพการศึกษาโดยใช้ระบบการประเมินคุณภาพภายในและการประเมินคุณภาพภายนอก ซึ่งรวมถึง
การทดสอบระดับเขตพื้นที่การศึกษาและการทดสอบระดับชาติระบบการตรวจสอบเพื่อประกันคุณภาพ
13
ดังกล่าวเป็นสิ่งสาคัญที่ช่วยสะท้อนภาพการจัดการศึกษาว่าสามารถพัฒนาผู้เรียนให้มีคุณภาพ
ตามที่มาตรฐานการเรียนรู้กาหนดเพียงใด
7. ตัวชี้วัด
ตัวชี้วัดระบุสิ่งที่นักเรียนพึงรู้และปฏิบัติได้ รวมทั้งคุณลักษณะของผู้เรียนในแต่ละระดับชั้น
ซึ่งสะท้อนถึงมาตรฐานการเรียนรู้ มีความเฉพาะเจาะจงและมีความเป็นรูปธรรม นาไปใช้ในการกาหนด
เนื้อหา จัดทาหน่วยการเรียนรู้ จัดการเรียนการสอนและเป็นเกณฑ์สาคัญสาหรับการวัดประเมินผล
เพื่อตรวจสอบคุณภาพผู้เรียน
7.1 ตัวชี้วัดชั้นปี เป็นเปูาหมายในการพัฒนาผู้เรียนแต่ละชั้นปีในระดับการศึกษา
ภาคบังคับ (ประถมศึกษาปีที่ 1 – มัธยมศึกษาปีที่ 3)
7.2 ตัวชี้วัดช่วงชั้น เป็นเปูาหมายในการพัฒนาผู้เรียนในระดับมัธยมศึกษา
ตอนปลาย (มัธยมศึกษาปีที่ 4 - 6)
หลักสูตรได้มีการกาหนดรหัสกากับมาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด เพื่อความเข้าใจ
และให้สื่อสารตรงกัน ดังนี้
ว 1.1 ป. 1/2
ป.1/2 ตัวชี้วัดชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 ข้อที่ 2
1.1 สาระที่ 1 มาตรฐานข้อที่ 1
ท กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
ต 2.2 ม.4-6/ 3
ม.4 - 6/3 ตัวชี้วัดชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย ข้อที่ 3
2.3 สาระที่ 2 มาตรฐานข้อที่ 2
ต กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ
8. สาระการเรียนรู้
สาระการเรียนรู้ ประกอบด้วย องค์ความรู้ทักษะหรือกระบวนการเรียนรู้และ
คุณลักษณะอันพึงประสงค์ ซึ่งกาหนดให้ผู้เรียนทุกคนในระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานจาเป็นต้องเรียนรู้
โดยแบ่งเป็น 8 กลุ่มสาระการเรียนรู้ ดังนี้
14
ภาพ 2.1 องค์ความรู้ ทักษะสาคัญและคุณลักษณะในหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน
สรุปได้ว่า องค์ความรู้ ทักษะสาคัญ และคุณลักษณะในหลักสูตรแกนกลางการศึกษา
ขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ประกอบด้วย 8 สาระ ได้แก่ กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์
วิทยาศาสตร์ ภาษาไทย ภาษาต่างประเทศ สุขศึกษาและพลศึกษา การงานอาชีพและเทคโนโลยี
สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ศิลปะ สาหรับการศึกษาครั้งนี้ ผู้วิจัยได้ศึกษาสาระการเรียนรู้
สุขศึกษาและพลศึกษา เรื่อง ชีวิตและครอบครัว เพื่อเป็นแนวทางในการจัดการเรียนการสอน
รายวิชาสุขศึกษา สาหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1
องค์ความรู้ ทักษะสาคัญ
และคุณลักษณะในหลักสูตรแกนกลาง
การศึกษาขั้นพื้นฐาน
วิทยาศาสตร์ : การนาความรู้
และกระบวนการทางวิทยาศาสตร์
ไปใช้ในการศึกษา ค้นคว้าหาความรู้และ
แก้ปัญหาอย่างเป็นระบบ การคิด
อย่างเป็นเหตุเป็นผล คิดวิเคราะห์
คิดสร้างสรรค์และจิตวิทยาศาสตร์
สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม :
การอยู่ร่วมกันในสังคมไทยและสังคมโลก
อย่างสันติสุข การเป็นพลเมืองดี ศรัทธา
ในหลักธรรมของศาสนา การเห็นคุณค่า
ของทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม ความรักชาติ
และภูมิใจในความเป็นไทย
ศิลปะ : ความรู้และทักษะ
ในการคิดริเริ่ม จินตนาการ
สร้างสรรค์งานศิลปะ
สุนทรียภาพและการเห็น
คุณค่าทางศิลปะ
ภาษาไทย : ความรู้ ทักษะ
และวัฒนธรรมการใช้ภาษา
เพื่อ การสื่อสาร ความชื่นชม
การเห็นคุณค่าภูมิปัญญาไทย
และภูมิใจในภาษาประจาชาติ
ภาษาต่างประเทศ : ความรู้
ทักษะ เจตคติและวัฒนธรรม
การใช้ภาษาต่างประเทศ
ในการสื่อสารการแสวงหาความรู้
และการประกอบอาชีพ
การงานอาชีพและเทคโนโลยี :
ความรู้ ทักษะและเจตคติในการ
ทางาน การจัดการ การดารงชีวิต
การประกอบอาชีพและการใช้
เทคโนโลยี
สุขศึกษาและพลศึกษา : ความรู้ ทักษะและ
เจตคติในการสร้างเสริมสุขภาพพลานามัย
ของตนเองและผู้อื่น การปูองกันและปฏิบัติ
ต่อสิ่งต่าง ๆ ที่มีผลต่อสุขภาพอย่างถูกวิธีและ
ทักษะในการดาเนินชีวิต
คณิตศาสตร์ : การนาความรู้ทักษะ
และกระบวนการทางคณิตศาสตร์ไป
ใช้ในการ แก้ปัญหา การดาเนินชีวิต
และศึกษาต่อ การมีเหตุมีผลมีเจตคติ
ที่ดีต่อคณิตศาสตร์พัฒนาการคิดอย่าง
เป็นระบบและสร้างสรรค์
15
มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด 8 กลุ่มสาระการเรียนรู้
1. ภาษาไทย 2. คณิตศาสตร์ 3. วิทยาศาสตร์ 4. สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม
5. สุขศึกษาและพลศึกษา 6. ศิลปะ 7. การงานอาชีพและเทคโนโลยี 8. ภาษาต่างประเทศ
กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
1. กิจกรรมแนะแนว
2. กิจกรรมนักเรียน
3. กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์
สมรรถนะสาคัญของผู้เรียน
1. ความสามารถในการสื่อสาร
2. ความสามารถในการคิด
3. ความสามารถในการแก้ปัญหา
4. ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต
5. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี
วิสัยทัศน์
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน มุ่งพัฒนาผู้เรียนทุกคน ซึ่งเป็นกาลังของชาติให้เป็นมนุษย์ที่มีความสมดุลทั้งด้านร่างกาย
ความรู้ คุณธรรม มีจิตสานึกในความเป็นพลเมืองไทยและเป็นพลโลก ยึดมั่นในการปกครองตามระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์
ทรงเป็นประมุข มีความรู้และทักษะพื้นฐาน รวมทั้ง เจตคติ ที่จาเป็นต่อการศึกษาต่อ การประกอบอาชีพและการศึกษาตลอดชีวิต
โดยมุ่งเน้นผู้เรียนเป็นสาคัญบนพื้นฐานความเชื่อว่า ทุกคนสามารถเรียนรู้และพัฒนาตนเองได้เต็มตามศักยภาพ
จุดหมาย
1. มีคุณธรรม จริยธรรมและค่านิยมที่พึงประสงค์ เห็นคุณค่าของตนเอง มีวินัยและปฏิบัติตนตามหลักธรรมของพระพุทธศาสนา
หรือศาสนาที่ตนนับถือยึดหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
2. มีความรู้อันเป็นสากลและมีความสามารถในการสื่อสาร การคิดการแก้ปัญหาการใช้เทคโนโลยีและมีทักษะชีวิต
3. มีสุขภาพกายและสุขภาพจิตที่ดี มีสุขนิสัยและรักการออกกาลังกาย
4. มีความรักชาติ มีจิตสานึกในความเป็นพลเมืองไทยและพลโลก ยึดมั่นในวิถีชีวิตและการปกครองในระบอบประชาธิปไตย
อันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข
5. มีจิตสานึกในการอนุรักษ์วัฒนธรรมและภูมิปัญญาไทยการอนุรักษ์และพัฒนาสิ่งแวดล้อม มีจิตสาธารณะที่มุ่งทาประโยชน์และ
สร้างสิ่งที่ดีงามในสังคมและอยู่ร่วมกันในสังคมอย่างมีความสุข
คุณลักษณะอันพึงประสงค์
1. รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ 5. อยู่อย่างพอเพียง
2. ซื่อสัตย์สุจริต 6. มุ่งมั่นในการทางาน
3. มีวินัย 7. รักความเป็นไทย
4. ใฝุเรียนรู้ 8. มีจิตสาธารณะ
ภาพ 2.2 มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด 8 กลุ่มสาระการเรียนรู้
16
9. โครงสร้างเวลาเรียน
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน กาหนดกรอบโครงสร้างเวลาเรียน ดังนี้
ตาราง 2.1 แสดงโครงสร้างเวลาเรียนตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน
กลุ่มสาระ
การเรียนรู้/กิจกรรม
เวลาเรียน
ระดับประถม
ศึกษา
ระดับมัธยมศึกษา
ตอนต้น
ระดับ
มัธยมศึกษา
ตอนปลาย
ป. 1 ป. 2 ป. 3 ป. 4 ป. 5 ป. 6 ม. 1 ม. 2 ม. 3 ม. 4 – 6
กลุ่มสาระการเรียนรู้
ภาษาไทย 200 200 200 160 160 160
120
(3 นก.)
120
(3 นก.)
120
(3 นก.)
240
(6 นก.)
คณิตศาสตร์ 200 200 200 160 160 160
120
(3 นก.)
120
(3 นก.)
120
(3 นก.)
240
(6 นก.)
วิทยาศาสตร์ 80 80 80 80 80 80
120
(3 นก.)
120
(3 นก.)
120
(3 นก.)
240
(6 นก.)
สังคมศึกษา ศาสนาและ
วัฒนธรรม
80 80 80 80 80 80
120
(3 นก.)
120
(3 นก.)
120
(3 นก.)
240
(6 นก.)
สุขศึกษาและ
พลศึกษา
80 80 80 80 80 80
80
(2นก.)
80
(2 นก.)
80
(2 นก.)
120
(3นก.)
ศิลปะ 80 80 80 80 80 80
80
(2นก.)
80
(2 นก.)
80
(2 นก.)
120
(3 นก.)
การงานอาชีพและ
เทคโนโลยี
40 40 40 80 80 80
80
(2นก.)
80
(2 นก.)
80
(2 นก.)
120
(3 นก.)
ภาษาต่างประเทศ 40 40 40 80 80 80
120
(3 นก.)
120
(3 นก.)
120
(3 นก.)
240
(6 นก.)
รวมเวลาเรียน
(พื้นฐาน)
800 800 800 800 800 800
840
(21 นก.)
840
(21 นก.)
840
(21 นก.)
1,560
(39 นก.)
กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน 120 120 120 120 120 120 120 120 120 360
รายวิชา / กิจกรรม
ที่สถานศึกษาจัด
เพิ่มเติมตามความ
พร้อมและจุดเน้น
ปีละไม่เกิน 80 ชั่วโมง ปีละไม่เกิน 240 ชั่วโมง
ไม่น้อยกว่า
1,560 ชั่วโมง
รวมเวลาเรียนทั้งหมด ไม่เกิน 1,000 ชั่วโมง/ปี ไม่เกิน 1,200 ชั่วโมง/ปี
รวม 3 ปี
ไม่น้อยกว่า
3,600 ชั่วโมง
17
การกาหนดโครงสร้างเวลาเรียนพื้นฐานและเพิ่มเติมสถานศึกษาสามารถดาเนินการ ดังนี้
ระดับประถมศึกษา สามารถปรับเวลาเรียนพื้นฐานของแต่ละกลุ่มสาระการเรียนรู้ได้
ตามความเหมาะสม ทั้งนี้ต้องมีเวลาเรียนรวมตามที่กาหนดไว้ในโครงสร้างเวลาเรียนพื้นฐานและผู้เรียน
ต้องมีคุณภาพตามมาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัดที่กาหนด
ระดับมัธยมศึกษา ต้องจัดโครงสร้างเวลาเรียนพื้นฐานให้เป็นไปตามที่กาหนดและ
สอดคล้องกับเกณฑ์การจบหลักสูตร
สาหรับเวลาเรียนเพิ่มเติม ทั้งในระดับประถมศึกษาและมัธยมศึกษา ให้จัดเป็นรายวิชา
เพิ่มเติมหรือกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน โดยพิจารณาให้สอดคล้องกับความพร้อม จุดเน้นของสถานศึกษา
และเกณฑ์การจบหลักสูตร เฉพาะระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 - 3 สถานศึกษาอาจจัดให้เป็นเวลา
สาหรับสาระการเรียนรู้พื้นฐานในกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทยและกลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์
กิจกรรมพัฒนาผู้เรียนที่กาหนดไว้ในชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 ถึงชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ปีละ
120 ชั่วโมงและชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 - 6 จานวน 360 ชั่วโมงนั้น เป็นเวลาสาหรับปฏิบัติกิจกรรม
แนะแนวกิจกรรมนักเรียนและกิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์ในส่วนกิจกรรมเพื่อสังคมและ
สาธารณประโยชน์ให้สถานศึกษาจัดสรรเวลาให้ผู้เรียนได้ปฏิบัติกิจกรรม ดังนี้
ระดับประถมศึกษา (ป.1 - 6) รวม 6 ปี จานวน 60 ชั่วโมง
ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น (ม.1 - 3) รวม 3 ปี จานวน 45 ชั่วโมง
ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย (ม.4 - 6) รวม 3 ปี จานวน 60 ชั่วโมง
10. การจัดการศึกษาสาหรับกลุ่มเป้าหมายเฉพาะ
การจัดการศึกษาบางประเภทสาหรับกลุ่มเปูาหมายเฉพาะ เช่น การศึกษาเฉพาะ
ทางการศึกษาสาหรับผู้มีความสามารถพิเศษ การศึกษาทางเลือก การศึกษาสาหรับผู้ด้อยโอกาส
การศึกษาตามอัธยาศัย สามารถนาหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานไปปรับใช้ได้
ตามความเหมาะสมกับสภาพและบริบทของแต่ละกลุ่มเปูาหมาย โดยให้มีคุณภาพตามมาตรฐาน
ที่กาหนด ทั้งนี้ให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่กระทรวงศึกษาธิการกาหนด
11. การจัดการเรียนรู้
การจัดการเรียนรู้เป็นกระบวนการสาคัญในการนาหลักสูตรสู่การปฏิบัติ หลักสูตร
แกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน เป็นหลักสูตรที่มีมาตรฐานการเรียนรู้ สมรรถนะสาคัญและคุณลักษณะ
อันพึงประสงค์ของผู้เรียน เป็นเปูาหมายสาหรับพัฒนาเด็กและเยาวชน
ในการพัฒนาผู้เรียนให้มีคุณสมบัติตามเปูาหมายหลักสูตร ผู้สอนพยายามคัดสรร
กระบวนการเรียนรู้ จัดการเรียนรู้โดยช่วยให้ผู้เรียนเรียนรู้ผ่านสาระที่กาหนดไว้ในหลักสูตร 8 กลุ่มสาระ
การเรียนรู้ รวมทั้งปลูกฝังเสริมสร้างคุณลักษณะอันพึงประสงค์ พัฒนาทักษะต่าง ๆ
อันเป็นสมรรถนะสาคัญให้ผู้เรียนบรรลุตามเปูาหมาย
18
11.1 หลักการจัดการเรียนรู้
การจัดการเรียนรู้เพื่อให้ผู้เรียนมีความรู้ความสามารถตามมาตรฐาน าร ร นร
สมรรถน สาค และค น ปร ส คตามที่กาหนดไว้ในหลักสูตรแกนกลางการศึกษา
ขั้นพื้นฐาน โดยยึดหลักว่า ผู้เรียนมีความสาคัญที่สุด เชื่อว่าทุกคนมีความสามารถเรียนรู้และพัฒนา
ตนเองได้ยึดประโยชน์ที่เกิดกับผู้เรียน กระบวนการจัดการเรียนรู้ต้องส่งเสริมให้ผู้เรียน สามารถพัฒนา
ตามธรรมชาติและเต็มตามศักยภาพ คานึงถึงความแตกต่างระหว่างบุคคลและพัฒนาการทางสมอง
เน้นให้ความสาคัญทั้งความรู้และคุณธรรม
11.2 กระบวนการเรียนรู้
การจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ ผู้เรียนจะต้องอาศัยกระบวนการเรียนรู้
ที่หลากหลาย เป็นเครื่องมือที่จะนาพาตนเองไปสู่เปูาหมายของหลักสูตร กระบวนการเรียนรู้ที่จาเป็น
สาหรับผู้เรียน อาทิ กระบวนการเรียนรู้แบบบูรณาการ กระบวนการสร้างความรู้ กระบวนการคิด
กระบวนการทางสังคม กระบวนการเผชิญสถานการณ์และแก้ปัญหา กระบวนการเรียนรู้
จากประสบการณ์จริง กระบวนการปฏิบัติ ลงมือทาจริง กระบวนการจัดการ กระบวนการวิจัย
กระบวนการเรียนรู้การเรียนรู้ของตนเอง กระบวนการพัฒนาลักษณะนิสัย
กระบวนการเหล่านี้เป็นแนวทางในการจัดการเรียนรู้ที่ผู้เรียนควรได้รับการฝึกฝน พัฒนา
เพราะจะสามารถช่วยให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ได้ดี บรรลุเปูาหมายของหลักสูตร ดังนั้น ผู้สอน
จึงจาเป็นต้องศึกษาทาความเข้าใจในกระบวนการเรียนรู้ต่าง ๆ เพื่อให้สามารถเลือกใช้ในการจัด
กระบวนการเรียนรู้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ
12. การออกแบบการจัดการเรียนรู้
ผู้สอนต้องศึกษาหลักสูตรสถานศึกษาให้เข้าใจถึงมาตรฐานการเรียนรู้ ตัวชี้วัด สมรรถนะ
สาคัญของผู้เรียน คุณลักษณะอันพึงประสงค์และสาระการเรียนรู้ที่เหมาะสมกับผู้เรียน
แล้วจึงพิจารณาออกแบบการจัดการเรียนรู้โดยเลือกใช้วิธีสอนและเทคนิคการสอน สื่อ/แหล่งเรียนรู้
การวัดและประเมินผล เพื่อให้ผู้เรียนได้พัฒนาเต็มตามศักยภาพและบรรลุตามเปูาหมายที่กาหนด
13. บทบาทของผู้สอนและผู้เรียน
การจัดการเรียนรู้เพื่อให้ผู้เรียนมีคุณภาพตามเปูาหมายของหลักสูตร ทั้งผู้สอน
และผู้เรียนควรมีบทบาท ดังนี้
1. บทบาทของผู้สอน
1.1 ศึกษาวิเคราะห์ผู้เรียนเป็นรายบุคคล แล้วนาข้อมูลมาใช้ในการวางแผน
การจัดการเรียนรู้ ที่ท้าทายความสามารถของผู้เรียน
1.2 กาหนดเปูาหมายที่ต้องการให้เกิดขึ้นกับผู้เรียน ด้านความรู้และทักษะ
กระบวนการ ที่เป็นความคิดรวบยอด หลักการและความสัมพันธ์ รวมทั้งคุณลักษณะอันพึงประสงค์
19
1.3 ออกแบบการเรียนรู้และจัดการเรียนรู้ที่ตอบสนองความแตกต่างระหว่าง
บุคคลและพัฒนาการทางสมอง เพื่อนาผู้เรียนไปสู่เปูาหมาย
1.4 จัดบรรยากาศที่เอื้อต่อการเรียนรู้และดูแลช่วยเหลือผู้เรียนให้เกิดการเรียนรู้
1.5 จัดเตรียมและเลือกใช้สื่อให้เหมาะสมกับกิจกรรมนาภูมิปัญญาท้องถิ่น
เทคโนโลยีที่เหมาะสมมาประยุกต์ใช้ในการจัดการเรียนการสอน
1.6 ประเมินความก้าวหน้าของผู้เรียนด้วยวิธีการที่หลากหลาย เหมาะสมกับ
ธรรมชาติของวิชาและระดับพัฒนาการของผู้เรียน
1.7 วิเคราะห์ผลการประเมินมาใช้ในการซ่อมเสริมและพัฒนาผู้เรียน
รวมทั้งปรับปรุงการจัดการเรียนการสอนของตนเอง
2. บทบาทของผู้เรียน
2.1 กาหนดเปูาหมาย วางแผน รบผ บการเรียนรู้ของตนเอง
2.2 เสาะแสวงหาความรู้ เข้าถึงแหล่งการเรียนรู้ วิเคราะห์ สังเคราะห์ข้อความรู้
ตั้งคาถาม คิดหาคาตอบหรือหาแนวทางแก้ปัญหาด้วยวิธีการต่าง ๆ
2.3 ลงมือปฏิบัติจริง สรุปสิ่งที่ได้เรียนรู้ด้วยตนเองและนาความรู้ไปประยุกต์ใช้
ในสถานการณ์ต่าง ๆ
2.4 มีปฏิสัมพันธ์ ทางาน ทากิจกรรมร่วมกับกลุ่มและครู
2.5 ประเมินและพัฒนากระบวนการเรียนรู้ของตนเองอย่างต่อเนื่อง
14. สื่อการเรียนรู้
สื่อการเรียนรู้เป็นเครื่องมือส่งเสริมสนับสนุนการจัดการกระบวนการเรียนรู้ให้ผู้เรียน
เข้าถึงความรู้ทักษะกระบวนการและคุณลักษณะตามมาตรฐานของหลักสูตรได้อย่างมีประสิทธิภาพ
สื่อการเรียนรู้มีหลากหลายประเภท ทั้งสื่อธรรมชาติ สื่อสิ่งพิมพ์ สื่อเทคโนโลยีและเครือข่าย
การเรียนรู้ต่าง ๆ ที่มีในท้องถิ่น การเลือกใช้สื่อควรเลือกให้มีความเหมาะสมกับระดับพัฒนาการและ
ลีลาการเรียนรู้ที่หลากหลายของผู้เรียน
การจัดหาสื่อการเรียนรู้ ผู้เรียนและผู้สอนสามารถจัดทาและพัฒนาขึ้นเอง
หรือปรับปรุงเลือกใช้อย่างมีคุณภาพจากสื่อต่างๆ ที่มีอยู่รอบตัวเพื่อนามาใช้ประกอบในการจัด
การเรียนรู้ที่สามารถส่งเสริมและสื่อสารให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ โดยสถานศึกษาควรจัดให้มี
อย่างพอเพียงเพื่อพัฒนาให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้อย่างแท้จริง สถานศึกษา เขตพื้นที่การศึกษา
หน่วยงานที่เกี่ยวข้องและผู้มีหน้าที่จัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน ควรดาเนินการดังนี้
1. จัดให้มีแหล่งการเรียนรู้ ศูนย์สื่อการเรียนรู้ ระบบสารสนเทศการเรียนรู้และ
เครือข่ายการเรียนรู้ที่มีประสิทธิภาพทั้งในสถานศึกษาและในชุมชน เพื่อการศึกษาค้นคว้าและ
การแลกเปลี่ยนประสบการณ์การเรียนรู้ ระหว่างสถานศึกษา ท้องถิ่น ชุมชน สังคมโลก
20
2. จัดทาและจัดหาสื่อการเรียนรู้สาหรับการศึกษาค้นคว้าของผู้เรียน เสริมความรู้
ให้ผู้สอน รวมทั้งจัดหาสิ่งที่มีอยู่ในท้องถิ่นมาประยุกต์ใช้เป็นสื่อการเรียนรู้
3. เลือกและใช้สื่อการเรียนรู้ที่มีคุณภาพ มีความเหมาะสม มีความหลากหลาย
สอดคล้องกับวิธีการเรียนรู้ ธรรมชาติของสาระการเรียนรู้และความแตกต่างระหว่างบุคคลของผู้เรียน
4. ประเมินคุณภาพของสื่อการเรียนรู้ที่เลือกใช้อย่างเป็นระบบ
5. ศึกษาค้นคว้า วิจัย เพื่อพัฒนาสื่อการเรียนรู้ให้สอดคล้องกับกระบวนการเรียนรู้
ของผู้เรียน
6. จัดให้มีการกากับ ติดตาม ประเมินคุณภาพและประสิทธิภาพเกี่ยวกับสื่อและ
การใช้สื่อการเรียนรู้เป็นระยะ ๆและสม่าเสมอ
ในการจัดทาการเลือกใช้และการประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้ที่ใช้ในสถานศึกษา
ควรคานึงถึงหลักการสาคัญของสื่อการเรียนรู้ เช่น ความสอดคล้องกับหลักสูตร วัตถุประสงค์
การเรียนรู้ การออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้ การจัดประสบการณ์ให้ผู้เรียน เนื้อหามีความถูกต้องและ
ทันสมัยไม่กระทบความมั่นคงของชาติ ไม่ขัดต่อศีลธรรม มีการใช้ภาษาที่ถูกต้องรูปแบบการนาเสนอ
ที่เข้าใจง่ายและน่าสนใจ
15. การวัดและประเมินผลการเรียนรู้
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ของผู้เรียนต้องอยู่บนหลักการพื้นฐานสองประการ คือ
การประเมินเพื่อพัฒนาผู้เรียนและเพื่อตัดสินผลการเรียนในการพัฒนาคุณภาพการเรียนรู้ของผู้เรียน
ให้ประสบผลสาเร็จนั้น ผู้เรียนจะต้องได้รับการพัฒนาและประเมินตามตัวชี้วัดเพื่อให้บรรลุ
ตามมาตรฐานการเรียนรู้ สะท้อนสมรรถนะสาคัญและคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของผู้เรียน
ซึ่งเป็นเปูาหมายหลักในการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ในทุกระดับไม่ว่าจะเป็นระดับชั้นเรียน
ระดับสถานศึกษา ระดับเขตพื้นที่การศึกษาและระดับชาติ การวัดและประเมินผลการเรียนรู้
เป็นกระบวนการพัฒนาคุณภาพผู้เรียนโดยใช้ผลการประเมินเป็นข้อมูลและสารสนเทศที่แสดง
พัฒนาการ ความก้าวหน้าและความสาเร็จทางการเรียนของผู้เรียนตลอดจนข้อมูลที่เป็นประโยชน์
ต่อการส่งเสริมให้ผู้เรียนเกิดการพัฒนาและเรียนรู้อย่างเต็มตามศักยภาพ
ารว ปร มนผ าร ร นร บ ปน ร บ ร บ น ร น
ร บสถาน า ร บ ต นท าร า ร บ าต มรา น
1. การประเมินระดับชั้นเรียน เป็นการวัดและประเมินผลที่อยู่ในกระบวนการจัด
การเรียนรู้ ผู้สอนดาเนินการเป็นปกติและสม่าเสมอในการจัดการเรียนการสอนใช้เทคนิคการประเมิน
อย่างหลากหลาย เช่น การซักถาม การสังเกต การตรวจการบ้าน การประเมินโครงงาน การประเมิน
ชิ้นงาน/ ภาระงาน แฟูมสะสมงาน การใช้แบบทดสอบ ฯลฯ โดยผู้สอนเป็นผู้ประเมินเองหรือเปิด
โอกาสให้ผู้เรียนประเมินตนเอง เพื่อนประเมินเพื่อน ผู้ปกครองร่วมประเมิน ในกรณีที่ไม่ผ่านตัวชี้วัดให้มี
การสอนซ่อมเสริม การประเมินระดับชั้นเรียนเป็นการตรวจสอบว่า ผู้เรียนมีพัฒนาการความก้าวหน้า
21
ในการเรียนรู้ อันเป็นผลมาจากการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนหรือไม่และมากน้อยเพียงใด
มีสิ่งที่จะต้องได้รับการพัฒนาปรับปรุงและส่งเสริมในด้านใด นอกจากนี้ยังเป็นข้อมูลให้ผู้สอนใช้ปรับปรุง
การเรียนการสอนของตนด้วย ทั้งนี้โดยสอดคล้องกับมาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด
2. การประเมินระดับสถานศึกษา เป็นการประเมินที่สถานศึกษาดาเนินการเพื่อตัดสิน
ผลการเรียนของผู้เรียนเป็นรายปี/รายภาค ผลการประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์และเขียน คุณลักษณะ
อันพึงประสงค์และกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน นอกจากนี้เพื่อให้ได้ข้อมูลเกี่ยวกับการจัดการศึกษา
ของสถานศึกษา ว่าส่งผลต่อการเรียนรู้ของผู้เรียนตามเปูาหมายหรือไม่ ผู้เรียนมีจุดพัฒนา ในด้านใด
รวมทั้งสามารถนาผลการเรียนของผู้เรียนในสถานศึกษาเปรียบเทียบกับเกณฑ์ระดับชาติ
ผลการประเมินระดับสถานศึกษาจะเป็นข้อมูลและสารสนเทศเพื่อการปรับปรุงนโยบาย หลักสูตร
โครงการ หรือวิธีการจัดการเรียนการสอน ตลอดจนเพื่อการจัดทาแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา
ของสถานศึกษา ตามแนวทางการประกันคุณภาพการศึกษาและการรายงานผลการจัดการศึกษาต่อ
คณะกรรมการสถานศึกษา สานักงานเขตพื้นที่การศึกษา สานักงานคณะกรรมการการศึกษา
ขั้นพื้นฐาน ผู้ปกครองและชุมชน
3. การประเมินระดับเขตพื้นที่การศึกษา เป็นการประเมินคุณภาพผู้เรียนในระดับเขต
พื้นที่การศึกษาตามมาตรฐานการเรียนรู้ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน เพื่อใช้เป็นข้อมูล
พื้นฐานในการพัฒนาคุณภาพการศึกษาของเขตพื้นที่การศึกษา ตามภาระความรับผิดชอบ สามารถ
ดาเนินการโดยประเมินคุณภาพผลสัมฤทธิ์ของผู้เรียนด้วยข้อสอบมาตรฐานที่จัดทาและดาเนินการ
โดยเขตพื้นที่การศึกษาหรือด้วยความร่วมมือกับหน่วยงานต้นสังกัด ในการดาเนินการจัดสอบ
นอกจากนี้ยังได้จากการตรวจสอบทบทวนข้อมูลจากการประเมินระดับสถานศึกษาในเขตพื้นที่
การศึกษา
4. การประเมินระดับชาติ เป็นการประเมินคุณภาพผู้เรียนในระดับชาติตามมาตรฐาน
การเรียนรู้ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน สถานศึกษาต้องจัดให้ผู้เรียนทุกคนที่เรียน
ในชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3และชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6
เข้ารับการประเมิน ผลจากการประเมินใช้เป็นข้อมูลในการเทียบเคียงคุณภาพการศึกษาในระดับ
ต่าง ๆ เพื่อนาไปใช้ในการวางแผนยกระดับคุณภาพการจัดการศึกษา ตลอดจนเป็นข้อมูลสนับสนุน
การตัดสินใจในระดับนโยบายของประเทศ
ข้อมูลการประเมินในระดับต่าง ๆ ข้างต้น เป็นประโยชน์ต่อสถานศึกษาในการตรวจสอบ
ทบทวนพัฒนาคุณภาพผู้เรียน ถือเป็นภาระความรับผิดชอบของสถานศึกษาที่จะต้องจัดระบบดูแล
ช่วยเหลือ ปรับปรุงแก้ไข ส่งเสริมสนับสนุนเพื่อให้ผู้เรียนได้พัฒนาเต็มตามศักยภาพบนพื้นฐาน
ความแตกต่างระหว่างบุคคลที่จาแนกตามสภาพปัญหาและความต้องการ ได้แก่ กลุ่มผู้เรียนทั่วไป
กลุ่มผู้เรียนที่มีความสามารถพิเศษ กลุ่มผู้เรียนที่มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนต่า กลุ่มผู้เรียนที่มีปัญหา
ด้านวินัยและพฤติกรรม กลุ่มผู้เรียนที่ปฏิเสธโรงเรียน กลุ่มผู้เรียนที่มีปัญหาทางเศรษฐกิจและสังคม
22
กลุ่มพิการทางร่างกายและสติปัญญา เป็นต้น ข้อมูลจากการประเมินจึงเป็นหัวใจของสถานศึกษา
ในการดาเนินการช่วยเหลือผู้เรียนได้ทันท่วงที ปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้รับการพัฒนาและประสบ
ความสาเร็จในการเรียน
สถานศึกษาในฐานะผู้รับผิดชอบจัดการศึกษา จะต้องจัดทาระเบียบว่าด้วยการวัดและ
ประเมินผลการเรียนของสถานศึกษาให้สอดคล้องและเป็นไปตามหลักเกณฑ์และแนวปฏิบัติ
ที่เป็นข้อกาหนดของหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน เพื่อให้บุคลากรที่เกี่ยวข้องทุกฝุาย
ถือปฏิบัติร่วมกัน
เกณฑ์การวัดและประเมินผลการเรียนการตัดสิน การให้ระดับและการรายงานผลการเรียน
1. การตัดสินผลการเรียน
ในการตัดสินผลการเรียนของกลุ่มสาระการเรียนรู้ การอ่าน คิดวิเคราะห์และเขียน
คุณลักษณะอันพึงประสงค์และกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนนั้น ผู้สอนต้องคานึงถึงการพัฒนาผู้เรียนแต่ละคน
เป็นหลักและต้องเก็บข้อมูลของผู้เรียนทุกด้านอย่างสม่าเสมอและต่อเนื่องในแต่ละภาคเรียน รวมทั้งสอน
ซ่อมเสริมผู้เรียนให้พัฒนาจนเต็มตามศักยภาพ
ระดับประถมศึกษา
(1) ผู้เรียนต้องมีเวลาเรียนไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 ของเวลาเรียนทั้งหมด
(2) ผู้เรียนต้องได้รับการประเมินทุกตัวชี้วัดและผ่านตามเกณฑ์ที่สถานศึกษากาหนด
(3) ผู้เรียนต้องได้รับการตัดสินผลการเรียนทุกรายวิชา
(4) ผู้เรียนต้องได้รับการประเมินและมีผลการประเมินผ่านตามเกณฑ์
ที่สถานศึกษากาหนดในการอ่าน คิดวิเคราะห์และเขียน คุณลักษณะอันพึงประสงค์และกิจกรรมพัฒนา
ผู้เรียน ระดับมัธยมศึกษา (1) ตัดสินผลการเรียนเป็นรายวิชา ผู้เรียนต้องมีเวลาเรียน
ตลอดภาคเรียนไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 ของเวลาเรียนทั้งหมดในรายวิชานั้น ๆ (2) ผู้เรียนต้องได้รับ
การประเมินทุกตัวชี้วัดและผ่านตามเกณฑ์ที่สถานศึกษากาหนด (3) ผู้เรียนต้องได้รับการตัดสิน
ผลการเรียนทุกรายวิชา (4) ผู้เรียนต้องได้รับการประเมินและมีผลการประเมินผ่านตามเกณฑ์
ที่สถานศึกษากาหนดในการอ่าน คิดวิเคราะห์และเขียน คุณลักษณะอันพึงประสงค์และกิจกรรมพัฒนา
ผู้เรียน การพิจารณาเลื่อนชั้นทั้งระดับประถมศึกษาและมัธยมศึกษา ถ้าผู้เรียนมีข้อบกพร่องเพียง
เล็กน้อยและสถานศึกษาพิจารณาเห็นว่าสามารถพัฒนาและสอนซ่อมเสริมได้ ให้อยู่ในดุลยพินิจ
ของสถานศึกษาที่จะผ่อนผันให้เลื่อนชั้นได้ แต่หากผู้เรียนไม่ผ่านรายวิชาจานวนมากและมีแนวโน้ม
ว่าจะเป็นปัญหาต่อการเรียนในระดับชั้นที่สูงขึ้น สถานศึกษาอาจตั้งคณะกรรมการพิจารณาให้เรียน
ซ้าชั้นได้ ทั้งนี้ให้คานึงถึงวุฒิภาวะและความรู้ความสามารถของผู้เรียนเป็นสาคัญ
23
2. การให้ระดับผลการเรียน
ระดับประถมศึกษา ในการตัดสินเพื่อให้ระดับผลการเรียนรายวิชา สถานศึกษา
สามารถให้ระดับผลการเรียนหรือระดับคุณภาพการปฏิบัติของผู้เรียน เป็นระบบตัวเลข ระบบตัวอักษร
ระบบร้อยละและระบบที่ใช้คาสาคัญสะท้อนมาตรฐาน การประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์และเขียนและ
คุณลักษณะอันพึงประสงค์นั้นให้ระดับผลการประเมินเป็น ดีเยี่ยม ดีและผ่านการประเมินกิจกรรม
พัฒนาผู้เรียนจะต้องพิจารณาทั้งเวลาการเข้าร่วมกิจกรรม การปฏิบัติกิจกรรมและผลงานของผู้เรียน
ตามเกณฑ์ที่สถานศึกษากาหนดและให้ผลการเข้าร่วมกิจกรรมเป็นผ่านและไม่ผ่านระดับมัธยมศึกษา
ในการตัดสินเพื่อให้ระดับผลการเรียนรายวิชา ให้ใช้ตัวเลขแสดงระดับผลการเรียนเป็น 8 ระดับ
การประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์และเขียนและคุณลักษณะอันพึงประสงค์นั้น ให้ระดับผลการประเมิน
เป็น ดีเยี่ยม ดีและผ่านการประเมินกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนจะต้องพิจารณาทั้งเวลาการเข้าร่วมกิจกรรม
การปฏิบัติกิจกรรมและผลงานของผู้เรียน ตามเกณฑ์ที่สถานศึกษากาหนดและให้ผลการเข้าร่วม
กิจกรรมเป็นผ่านและไม่ผ่าน
3. การรายงานผลการเรียน
การรายงานผลการเรียนเป็นการสื่อสารให้ผู้ปกครองและผู้เรียนทราบความก้าวหน้า
ในการเรียนรู้ของผู้เรียน ซึ่งสถานศึกษาต้องสรุปผลการประเมินและจัดทาเอกสารรายงานให้ผู้ปกครอง
ทราบเป็นระยะ ๆ หรืออย่างน้อยภาคเรียนละ 1 ครั้ง การรายงานผลการเรียนสามารถรายงานเป็น
ระดับคุณภาพการปฏิบัติของผู้เรียนที่สะท้อนมาตรฐานการเรียนรู้กลุ่มสาระการเรียนรู้
สาหรับการจบการศึกษาสาหรับกลุ่มเปูาหมายเฉพาะ เช่น การศึกษาเฉพาะทาง
การศึกษาสาหรับผู้มีความสามารถพิเศษ การศึกษาทางเลือก การศึกษาสาหรับผู้ด้อยโอกาส การศึกษา
ตามอัธยาศัยให้คณะกรรมการของสถานศึกษา เขตพื้นที่การศึกษาและผู้ที่เกี่ยวข้อง ดาเนินการวัดและ
ประเมินผลการเรียนรู้ตามหลักเกณฑ์ในแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผล
การเรียนรู้ของหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานสาหรับกลุ่มเปูาหมาย
ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้
กลุ่มสาระการเรียนรู้ส า า ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน
ทธ รา ร บความสาค สุขภาพ ววา สุขภาพหรือสุขภาวะ หมายถึง ภาวะ
ของมนุษย์ที่สมบูรณ์ทั้งทางกาย ทางจิตใจทางสังคมและทางปัญญาหรือจิตวิญญาณ สุขภาพ
หรือสุขภาวะจึงเป็นเรื่องสาคัญ เพราะเกี่ยวโยงกับทุกมิติของชีวิต ซึ่งทุกคนควรจะได้เรียนรู้
เรื่องสุขภาพ เพื่อจะได้มีความรู้ ความเข้าใจที่ถูกต้อง มีเจตคติ คุณธรรมและค่านิยมที่เหมาะสม
รวมทั้งมีทักษะปฏิบัติด้านสุขภาพจนเป็นกิจนิสัย อันจะส่งผลให้สังคมโดยรวมมีคุณภาพ
(กระทรวงศึกษาธิการ. 2551 : 1)
24
1. สาระสาคัญ
สุขศึกษาและพลศึกษาเป็นการศึกษาด้านสุขภาพที่มีเปูาหมาย เพื่อการดารงสุขภาพ
การสร้างเสริมสุขภาพและการพัฒนาคุณภาพชีวิตของบุคคล ครอบครัวและชุมชนให้ยั่งยืนโดยได้
กาหนดสาระสาคัญไว้ ดังนี้ (กระทรวงศึกษาธิการ. 2551 : 1 - 2)
1.1 การเจริญเติบโตและพัฒนาการของมนุษย์ ผู้เรียนจะได้เรียนรู้เรื่องธรรมชาติ
ของการเจริญเติบโตและพัฒนาการของมนุษย์ ปัจจัยที่มีผลต่อการเจริญเติบโต ความสัมพันธ์เชื่อมโยง
ในการทางานของระบบต่าง ๆ ของร่างกาย รวมถึงวิธีปฏิบัติตนเพื่อให้เจริญเติบโต
และมีพัฒนาการที่สมวัย
1.2 ชีวิตและครอบครัว ผู้เรียนจะได้เรียนรู้เรื่องคุณค่าของตนเองและครอบครัว
การปรับตัวต่อการเปลี่ยนแปลงทางร่างกาย จิตใจ อารมณ์ความรู้สึกทางเพศ การสร้างและรักษา
สัมพันธภาพกับผู้อื่น สุขปฏิบัติทางเพศและทักษะในการดาเนินชีวิต
1.3 การเคลื่อนไหว การออกกาลังกาย การเล่นเกม กีฬาไทยและกีฬาสากล ผู้เรียนได้
เรียนรู้เรื่องการเคลื่อนไหวในรูปแบบต่าง ๆ การเข้าร่วมกิจกรรมทางกายและกีฬา ทั้งประเภทบุคคล
และประเภททีมอย่างหลากหลายทั้งไทยและสากล การปฏิบัติตามกฎ กติกา ระเบียบและข้อตกลง
ในการเข้าร่วมกิจกรรมทางกายและกีฬาและความมีน้าใจนักกีฬา
1.4 การสร้างเสริมสุขภาพ สมรรถภาพและการปูองกันโรค ผู้เรียนจะได้เรียนรู้เกี่ยวกับ
หลักและวิธีการเลือกบริโภคอาหาร ผลิตภัณฑ์และบริการสุขภาพ การสร้างเสริมสมรรถภาพ
เพื่อสุขภาพและการปูองกันโรคทั้งโรคติดต่อและโรคไม่ติดต่อ
1.5 ความปลอดภัยในชีวิต ผู้เรียนจะได้เรียนรู้เรื่องการปูองกันตนเองจากพฤติกรรมเสี่ยง
ต่าง ๆ ทั้งความเสี่ยงต่อสุขภาพ อุบัติเหตุ ความรุนแรง อันตรายจากการใช้ยาและสารเสพติด รวมถึง
แนวทางในการสร้างเสริมความปลอดภัยในชีวิต
สรุปได้ว่า สาระสาคัญของกลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา จะประกอบด้วย
5 สาระ คือ สาระที่เกี่ยวข้องกับการเจริญเติบโตและพัฒนาการของมนุษย์ ชีวิตและครอบครัว
การเคลื่อนไหว การออกกาลังกาย การเล่นเกม กีฬาไทยและกีฬาสากล การสร้างเสริมสุขภาพ
สมรรถภาพและการปูองกันโรค ความปลอดภัยในชีวิต
2. คุณภาพผู้เรียน
กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษาได้กาหนดคุณภาพผู้เรียนเมื่อผู้เรียน
จบชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ผู้เรียนจะต้องมีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ดังนี้ (กระทรวงศึกษาธิการ.
2551 : 4)
2.1 เข้าใจและเห็นความสาคัญของปัจจัยที่ส่งผลกระทบต่อการเจริญเติบโตและ
พัฒนาการที่มีต่อสุขภาพและชีวิตในช่วงวัยต่าง ๆ
25
2.2 เข้าใจ ยอมรับและสามารถปรับตัวต่อการเปลี่ยนแปลงทางร่างกาย จิตใจ อารมณ์
ความรู้สึกทางเพศ ความเสมอภาคทางเพศ สร้างและรักษาสัมพันธภาพกับผู้อื่นและตัดสินใจ
แก้ปัญหาชีวิตด้วยวิธีการที่เหมาะสม
2.3 เลือกกินอาหารที่เหมาะสม ได้สัดส่วน ส่งผลดีต่อการเจริญเติบโตและพัฒนาการ
ตามวัย
2.4 มีทักษะในการประเมินอิทธิพลของเพศ เพื่อน ครอบครัว ชุมชนและวัฒนธรรม
ที่มีต่อเจตคติ ค่านิยมเกี่ยวกับสุขภาพและชีวิต และสามารถจัดการได้อย่างเหมาะสม
2.5 ปูองกันและหลีกเลี่ยงปัจจัยเสี่ยง พฤติกรรมเสี่ยงต่อสุขภาพและการเกิดโรค อุบัติเหตุ
การใช้ยา สารเสพติด และความรุนแรง รู้จักสร้างเสริมความปลอดภัยให้แก่ตนเอง ครอบครัว และชุมชน
2.6 เข้าร่วมกิจกรรมทางกาย กิจกรรมกีฬา กิจกรรมนันทนาการ กิจกรรมสร้างเสริม
สมรรถภาพทางกายเพื่อสุขภาพ โดยนาหลักการของทักษะกลไกมาใช้ได้อย่างปลอดภัย สนุกสนาน
และปฏิบัติเป็นประจาสม่าเสมอตามความถนัดและความสนใจ
2.7 แสดงความตระหนักในความสัมพันธ์ระหว่างพฤติกรรมสุขภาพ การปูองกันโรค
การดารงสุขภาพ การจัดการกับอารมณ์และความเครียด การออกกาลังกายและการเล่นกีฬากับ
การมีวิถีชีวิตที่มีสุขภาพดี
2.8 สานึกในคุณค่า ศักยภาพและความเป็นตัวของตัวเอง
2.9 ปฏิบัติตามกฎ กติกา หน้าที่ความรับผิดชอบ เคารพสิทธิของตนเองและผู้อื่น
ให้ความร่วมมือในการแข่งขันกีฬาและการทางานเป็นทีมอย่างเป็นระบบ ด้วยความมุ่งมั่นและมีน้าใจ
นักกีฬาจนประสบความสาเร็จตามเปูาหมายด้วยความชื่นชม และสนุกสนาน
า ท าวมา สรป วา น ร นท ร น บร บ นมัธยมศึกษาปีที่ 3 น า
ต รบความร น ร ชีวิตและครอบครัว ว ยังส่งเสริมให้นักเรียนเข้าใจและเห็นคุณค่า
ของการมีชีวิตและครอบครัวที่อบอุ่น สามารถจัดการกับอารมณ์ ความเครียดและปัญหาสุขภาพ
ได้อย่างเหมาะสม ว สา รบ ารว นคร น ผว ทา าร า บน ร นร บ
นมัธยมศึกษาปีที่ 1 นน าวถ า ตว ว สาร าร ร นร น า น ร น
นร บ น าว ตารา
26
ตาราง 2.2 แสดงตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา
สาระที่ 2 ชีวิตและครอบครัว ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1
สาระที่ 2 ชีวิตและครอบครัว
มาตรฐาน พ 2.1 เข้าใจและเห็นคุณค่าตนเอง ครอบครัว เพศศึกษา และมีทักษะในการดาเนินชีวิต
ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง
1. อธิบายวิธีการปรับตัวต่อ
การเปลี่ยนแปลงทางร่างกายจิตใจ
อารมณ์และพัฒนาการทางเพศ
อย่างเหมาะสม
การเปลี่ยนแปลงทางร่างกาย จิตใจ อารมณ์
และพัฒนาการทางเพศ
- ลักษณะการเปลี่ยนแปลงทางร่างกาย จิตใจ
อารมณ์ และพัฒนาการทางเพศ
- การยอมรับและการปรับตัวต่อการเปลี่ยนแปลง
ทางร่างกาย จิตใจ อารมณ์ และพัฒนาการทางเพศ
- การเบี่ยงเบนทางเพศ
2. แสดงทักษะการปฏิเสธเพื่อ
ปูองกันตนเองจากการถูกล่วงละเมิด
ทางเพศ
ทักษะปฏิเสธเพื่อปูองกันการถูกล่วงละเมิด
ทางเพศ
า ตารา 2.2 ผว สน า น าสาร 2 ชีวิตและครอบครัว นมาตรฐาน
มาตรฐาน พ 2.1 เข้าใจและเห็นคุณค่าตนเอง ครอบครัว เพศศึกษาและมีทักษะในการดาเนินชีวิต
น ารว คร น ผว า น น า ส ค บสาร าร ร นร น า า น
บ น า ท ม ปน 8 ร น
เรื่องที่ 1 การปรับตัวต่อการเปลี่ยนแปลงของวัยรุ่น
เรื่องที่ 2 พัฒนาการทางเพศของวัยรุ่น
เรื่องที่ 3 วัยรุ่นกับพฤติกรรมเบี่ยงเบนทางเพศ
เรื่องที่ 4 สาเหตุและผลกระทบของพฤติกรรมเบี่ยงเบนทางเพศในวัยรุ่น
เรื่องที่ 5 แนวทางการปูองกันพฤติกรรมเบี่ยงเบนทางเพศของวัยรุ่น
เรื่องที่ 6 การล่วงละเมิดทางเพศ
เรื่องที่ 7 ทักษะการตัดสินใจเพื่อปูองกันปัญหาการถูกละเมิดทางเพศ
เรื่องที่ 8 การปูองกันและแก้ไขสถานการณ์เมื่อเผชิญกับการถูกล่วงละเมิดทางเพศ
27
บริบทโรงเรียนบ้านเสื่องข้าว
1. ข้อมูลทั่วไป
โรงเรียนบ้านเสื่องข้าว ตั้งอยู่หมู่ที่ 1 ตาบลเสื่องข้าว อาเภอศรีรัตนะ จังหวัดศรีสะเกษ
สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาศรีสะเกษ เขต 4 สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้น
พื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ (โรงเรียนบ้านเสื่องข้าว. 2556 : 1)
ปรัชญา สุวิชาโน ภว โหติ (ผู้รู้ดีเป็นผู้เจริญ)
คาขวัญโรงเรียน “ศึกษาดี มีวินัย ใฝุคุณธรรม นาพัฒนา กีฬาเด่น”
สีประจาโรงเรียน “สีฟูา เหลือง”
อักษรย่อโรงเรียน “ส.ข.”
2. วิสัยทัศน์
ภายในปี 2559 โรงเรียนบ้านเสื่องข้าวจัดการศึกษาภาคบังคับให้ประชากรวัยเรียน
อย่างทั่วถึงและมีคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน พร้อมเข้าสู่ประชาคมอาเซียน ครูและ
บุคลากรได้รับการพัฒนาครูมุ่งสู่มืออาชีพ มีคุณธรรมนาความรู้ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
ภายใต้การบริหารจัดการแบบมีส่วนร่วมทุกภาคส่วนที่มีประสิทธิภาพ
3. พันธกิจ
3.1 จัดการศึกษาให้ประชากรวัยเรียนมีคุณภาพให้ทั่วถึงและจัดกิจกรรมที่ส่งเสริมผู้เรียนที่มี
ความสามารถพิเศษเฉพาะทางและพัฒนาอัจฉริยภาพผู้เรียนสู่ประชาคมอาเซียน
3.2 จัดระบบประกันคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน
3.3 พัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษาให้มีคุณภาพตามมาตรฐานวิชาชีพ
3.4 โรงเรียนบริหารจัดการตามหลักธรรมมาภิบาล โดยเน้นเครือข่ายการมีส่วนร่วมและน้อม
นาหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสู่วิถีชีวิต
4. ข้อมูลนักเรียน
ปัจจุบันโรงเรียนมีข้อมูลเกี่ยวกับนักเรียน ดังนี้
1) จานวนนักเรียนในเขตพื้นที่บริการทั้งหมด 325 คน นอกเขตพื้นที่บริการ 2 คน
2) จานวนนักเรียนจาแนกตามระดับชั้นที่เปิดสอน
ตาราง 2.3 จานวนผู้เรียนแยกตามระดับชั้น ปีการศึกษา 2556 (ณ วันที่ 10 มิถุนายน 2556)
ระดับชั้น ห้องเรียน
จานวนนักเรียน
ชาย หญิง รวม
อนุบาล 1 1 6 10 16
อนุบาล 2 1 7 6 13
รวมอนุบาล 2 13 16 29
28
ตาราง 2.3 (ต่อ)
ระดับชั้น ห้องเรียน
จานวนนักเรียน
ชาย หญิง รวม
ประถมศึกษาปีที่ 1 1 11 10 21
ประถมศึกษาปีที่ 2 1 11 9 20
ประถมศึกษาปีที่ 3 1 12 7 19
ประถมศึกษาปีที่ 4 1 8 5 13
ประถมศึกษาปีที่ 5 1 13 13 26
ประถมศึกษาปีที่ 6 1 10 7 17
รวมประถมศึกษา 6 65 51 116
มัธยมศึกษาปีที่ 1 2 32 33 65
มัธยมศึกษาปีที่ 2 2 21 24 45
มัธยมศึกษาปีที่ 3 2 41 31 72
รวมมัธยมศึกษา 6 94 88 182
รวมทั้งสิ้น 16 172 155 327
(โรงเรียนบ้านเสื่องข้าว. 2556 : 4)
3) นักเรียนที่มีความบกพร่องทางการเรียนร่วม จานวน 25 คน คิดเป็นร้อยละ 7.65
แยกออกเป็น
ระดับก่อนประถมศึกษา - คน (ด้านร่างกาย)
ระดับมัธยมศึกษา 15 คน (บกพร่องทางการเรียนรู้)
ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น 10 คน(บกพร่องทางการเรียนรู้)
4) นักเรียนมีภาวะทุพโภชนาการ 24 คน คิดเป็นร้อยละ 7.34 แยกออกเป็น
ระดับก่อนประถมศึกษา 2 คน
ระดับมัธยมศึกษา 11 คน
ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น 11 คน
5) นักเรียนปัญญาเลิศ 10 คน (ใช้เกรดเฉลี่ย 4.00) คิดเป็นร้อยละ 3.06 แยกออกเป็น
ระดับก่อนประถมศึกษา - คน
ระดับมัธยมศึกษา 10 คน
ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น - คน
บทที่  2++77
บทที่  2++77
บทที่  2++77
บทที่  2++77
บทที่  2++77
บทที่  2++77
บทที่  2++77
บทที่  2++77
บทที่  2++77
บทที่  2++77
บทที่  2++77
บทที่  2++77
บทที่  2++77
บทที่  2++77
บทที่  2++77
บทที่  2++77
บทที่  2++77
บทที่  2++77
บทที่  2++77
บทที่  2++77
บทที่  2++77
บทที่  2++77
บทที่  2++77
บทที่  2++77
บทที่  2++77
บทที่  2++77
บทที่  2++77
บทที่  2++77
บทที่  2++77
บทที่  2++77
บทที่  2++77
บทที่  2++77

More Related Content

What's hot

สรุป หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน51
สรุป หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน51สรุป หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน51
สรุป หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน51Watcharapon Donpakdee
 
โครงสร้างรายวิชา สาระการงานอาชีพ ม ต้น
โครงสร้างรายวิชา สาระการงานอาชีพ ม ต้นโครงสร้างรายวิชา สาระการงานอาชีพ ม ต้น
โครงสร้างรายวิชา สาระการงานอาชีพ ม ต้นAopja
 
กิจกรรมแนะแนวที่บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อพัฒนาทักษะการคิดอย่...
กิจกรรมแนะแนวที่บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อพัฒนาทักษะการคิดอย่...กิจกรรมแนะแนวที่บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อพัฒนาทักษะการคิดอย่...
กิจกรรมแนะแนวที่บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อพัฒนาทักษะการคิดอย่...Sawittri Phaisal
 
แผนปฏิบัติการประจำปี
แผนปฏิบัติการประจำปี แผนปฏิบัติการประจำปี
แผนปฏิบัติการประจำปี Mana Suksa
 
3โครงสร้าง ม ต้น
3โครงสร้าง ม ต้น 3โครงสร้าง ม ต้น
3โครงสร้าง ม ต้น sasiton sangangam
 
ตัวอย่าง Is การทำคู่มือ
ตัวอย่าง Is การทำคู่มือตัวอย่าง Is การทำคู่มือ
ตัวอย่าง Is การทำคู่มือPatcharaporn Aun
 
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์Boonlert Aroonpiboon
 
หลักสูตรwin win1
หลักสูตรwin win1หลักสูตรwin win1
หลักสูตรwin win1kruthailand
 
แผนการจัดการเรียนรู้บูรณาการสาระทฤษฎีความรู้ (Tok) กลุ่มสาระฯวิทยาศาสตร์ นายก...
แผนการจัดการเรียนรู้บูรณาการสาระทฤษฎีความรู้ (Tok) กลุ่มสาระฯวิทยาศาสตร์ นายก...แผนการจัดการเรียนรู้บูรณาการสาระทฤษฎีความรู้ (Tok) กลุ่มสาระฯวิทยาศาสตร์ นายก...
แผนการจัดการเรียนรู้บูรณาการสาระทฤษฎีความรู้ (Tok) กลุ่มสาระฯวิทยาศาสตร์ นายก...Kobwit Piriyawat
 
งานวิจัยเผยแพร่
งานวิจัยเผยแพร่งานวิจัยเผยแพร่
งานวิจัยเผยแพร่Jiraporn
 
แผนปฏิบัติการ ประจำปีงบประมาณ 2560 โรงเรียนวิชิตสงคราม
แผนปฏิบัติการ ประจำปีงบประมาณ 2560 โรงเรียนวิชิตสงครามแผนปฏิบัติการ ประจำปีงบประมาณ 2560 โรงเรียนวิชิตสงคราม
แผนปฏิบัติการ ประจำปีงบประมาณ 2560 โรงเรียนวิชิตสงครามSuppalak Lim
 
สรุปย่อวิชาการศึกษา
สรุปย่อวิชาการศึกษาสรุปย่อวิชาการศึกษา
สรุปย่อวิชาการศึกษาPuripat Piriyasatit
 
หลักสูตรการศึกษานอกระบบ 2551
หลักสูตรการศึกษานอกระบบ 2551หลักสูตรการศึกษานอกระบบ 2551
หลักสูตรการศึกษานอกระบบ 2551Panlop
 
กำหนดการสอนพรพนา5 1 57 พ.ค
กำหนดการสอนพรพนา5 1 57  พ.คกำหนดการสอนพรพนา5 1 57  พ.ค
กำหนดการสอนพรพนา5 1 57 พ.คkrupornpana55
 
12กิจกรรมพัฒนาผู้เรียนและวัดผลประเมินผล
12กิจกรรมพัฒนาผู้เรียนและวัดผลประเมินผล12กิจกรรมพัฒนาผู้เรียนและวัดผลประเมินผล
12กิจกรรมพัฒนาผู้เรียนและวัดผลประเมินผลsasiton sangangam
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1หน่วยการเรียนรู้ที่ 1
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1suchinmam
 
วิจัยอนามัยเพศ
วิจัยอนามัยเพศวิจัยอนามัยเพศ
วิจัยอนามัยเพศWichai Likitponrak
 

What's hot (20)

สรุป หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน51
สรุป หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน51สรุป หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน51
สรุป หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน51
 
โครงสร้างรายวิชา สาระการงานอาชีพ ม ต้น
โครงสร้างรายวิชา สาระการงานอาชีพ ม ต้นโครงสร้างรายวิชา สาระการงานอาชีพ ม ต้น
โครงสร้างรายวิชา สาระการงานอาชีพ ม ต้น
 
กิจกรรมแนะแนวที่บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อพัฒนาทักษะการคิดอย่...
กิจกรรมแนะแนวที่บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อพัฒนาทักษะการคิดอย่...กิจกรรมแนะแนวที่บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อพัฒนาทักษะการคิดอย่...
กิจกรรมแนะแนวที่บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อพัฒนาทักษะการคิดอย่...
 
แผนปฏิบัติการประจำปี
แผนปฏิบัติการประจำปี แผนปฏิบัติการประจำปี
แผนปฏิบัติการประจำปี
 
3โครงสร้าง ม ต้น
3โครงสร้าง ม ต้น 3โครงสร้าง ม ต้น
3โครงสร้าง ม ต้น
 
นโยบาย สพฐ.ปีงบประมาณ 2558 มี 11 ประการ
นโยบาย สพฐ.ปีงบประมาณ 2558 มี 11 ประการนโยบาย สพฐ.ปีงบประมาณ 2558 มี 11 ประการ
นโยบาย สพฐ.ปีงบประมาณ 2558 มี 11 ประการ
 
ตัวอย่าง Is การทำคู่มือ
ตัวอย่าง Is การทำคู่มือตัวอย่าง Is การทำคู่มือ
ตัวอย่าง Is การทำคู่มือ
 
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์
 
หลักสูตรwin win1
หลักสูตรwin win1หลักสูตรwin win1
หลักสูตรwin win1
 
แผนการจัดการเรียนรู้บูรณาการสาระทฤษฎีความรู้ (Tok) กลุ่มสาระฯวิทยาศาสตร์ นายก...
แผนการจัดการเรียนรู้บูรณาการสาระทฤษฎีความรู้ (Tok) กลุ่มสาระฯวิทยาศาสตร์ นายก...แผนการจัดการเรียนรู้บูรณาการสาระทฤษฎีความรู้ (Tok) กลุ่มสาระฯวิทยาศาสตร์ นายก...
แผนการจัดการเรียนรู้บูรณาการสาระทฤษฎีความรู้ (Tok) กลุ่มสาระฯวิทยาศาสตร์ นายก...
 
งานวิจัยเผยแพร่
งานวิจัยเผยแพร่งานวิจัยเผยแพร่
งานวิจัยเผยแพร่
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
 
แผนปฏิบัติการ ประจำปีงบประมาณ 2560 โรงเรียนวิชิตสงคราม
แผนปฏิบัติการ ประจำปีงบประมาณ 2560 โรงเรียนวิชิตสงครามแผนปฏิบัติการ ประจำปีงบประมาณ 2560 โรงเรียนวิชิตสงคราม
แผนปฏิบัติการ ประจำปีงบประมาณ 2560 โรงเรียนวิชิตสงคราม
 
สรุปย่อวิชาการศึกษา
สรุปย่อวิชาการศึกษาสรุปย่อวิชาการศึกษา
สรุปย่อวิชาการศึกษา
 
หลักสูตรการศึกษานอกระบบ 2551
หลักสูตรการศึกษานอกระบบ 2551หลักสูตรการศึกษานอกระบบ 2551
หลักสูตรการศึกษานอกระบบ 2551
 
กำหนดการสอนพรพนา5 1 57 พ.ค
กำหนดการสอนพรพนา5 1 57  พ.คกำหนดการสอนพรพนา5 1 57  พ.ค
กำหนดการสอนพรพนา5 1 57 พ.ค
 
บทที่ 8
บทที่ 8บทที่ 8
บทที่ 8
 
12กิจกรรมพัฒนาผู้เรียนและวัดผลประเมินผล
12กิจกรรมพัฒนาผู้เรียนและวัดผลประเมินผล12กิจกรรมพัฒนาผู้เรียนและวัดผลประเมินผล
12กิจกรรมพัฒนาผู้เรียนและวัดผลประเมินผล
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1หน่วยการเรียนรู้ที่ 1
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1
 
วิจัยอนามัยเพศ
วิจัยอนามัยเพศวิจัยอนามัยเพศ
วิจัยอนามัยเพศ
 

Similar to บทที่ 2++77

บทความบทที่ 2 คณิตศาสตร์
บทความบทที่  2  คณิตศาสตร์บทความบทที่  2  คณิตศาสตร์
บทความบทที่ 2 คณิตศาสตร์supanyasaengpet
 
แนวทางการใช้หลักสูตรแกนกลาง
แนวทางการใช้หลักสูตรแกนกลางแนวทางการใช้หลักสูตรแกนกลาง
แนวทางการใช้หลักสูตรแกนกลางkruthai40
 
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา เนื้อหาโรงเรียน
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา เนื้อหาโรงเรียนร่างหลักสูตรสถานศึกษา เนื้อหาโรงเรียน
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา เนื้อหาโรงเรียนNattayaporn Dokbua
 
บทความบทที่ 2 ภาษาไทย
บทความบทที่  2  ภาษาไทยบทความบทที่  2  ภาษาไทย
บทความบทที่ 2 ภาษาไทยpatcharee0501
 
บทที่ 2 ภาษาไทย
บทที่  2  ภาษาไทยบทที่  2  ภาษาไทย
บทที่ 2 ภาษาไทยpatcharee0501
 
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...Kobwit Piriyawat
 
หลักสูตรและวิชาพิเศษลูกเสือ
หลักสูตรและวิชาพิเศษลูกเสือหลักสูตรและวิชาพิเศษลูกเสือ
หลักสูตรและวิชาพิเศษลูกเสือwatdang
 
แนวการเขียนรายงายเชิงวิจัย
แนวการเขียนรายงายเชิงวิจัยแนวการเขียนรายงายเชิงวิจัย
แนวการเขียนรายงายเชิงวิจัยwitthaya601
 
การขับเคลื่อนโรงเรียนนนทรีวิทยา สู่ระบบโรงเรียนมาตรฐานสากล โดย ครูกอบวิทย์ พิ...
การขับเคลื่อนโรงเรียนนนทรีวิทยา สู่ระบบโรงเรียนมาตรฐานสากล โดย ครูกอบวิทย์ พิ...การขับเคลื่อนโรงเรียนนนทรีวิทยา สู่ระบบโรงเรียนมาตรฐานสากล โดย ครูกอบวิทย์ พิ...
การขับเคลื่อนโรงเรียนนนทรีวิทยา สู่ระบบโรงเรียนมาตรฐานสากล โดย ครูกอบวิทย์ พิ...Kobwit Piriyawat
 
7ความรู้ความสามารถเกี่ยวกับวิชาการศึกษาok
7ความรู้ความสามารถเกี่ยวกับวิชาการศึกษาok7ความรู้ความสามารถเกี่ยวกับวิชาการศึกษาok
7ความรู้ความสามารถเกี่ยวกับวิชาการศึกษาokTophit Sampootong
 
7ความรู้ความสามารถเกี่ยวกับวิชาการศึกษาok
7ความรู้ความสามารถเกี่ยวกับวิชาการศึกษาok7ความรู้ความสามารถเกี่ยวกับวิชาการศึกษาok
7ความรู้ความสามารถเกี่ยวกับวิชาการศึกษาokธวัช บุตรศรี
 
การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ กลุ่มสาระภาษาไทย
การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ กลุ่มสาระภาษาไทยการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ กลุ่มสาระภาษาไทย
การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ กลุ่มสาระภาษาไทยpatcharee0501
 
การจัดกิจ..
การจัดกิจ..การจัดกิจ..
การจัดกิจ..patcharee0501
 
หลักสูตรส่วนที่ ๑
หลักสูตรส่วนที่ ๑หลักสูตรส่วนที่ ๑
หลักสูตรส่วนที่ ๑rampasri
 
บทที่ 2 คณิตฯ
บทที่ 2 คณิตฯบทที่ 2 คณิตฯ
บทที่ 2 คณิตฯsupanyasaengpet
 

Similar to บทที่ 2++77 (20)

Botkwam
BotkwamBotkwam
Botkwam
 
Botkwam
BotkwamBotkwam
Botkwam
 
Botkwam
BotkwamBotkwam
Botkwam
 
บทความบทที่ 2 คณิตศาสตร์
บทความบทที่  2  คณิตศาสตร์บทความบทที่  2  คณิตศาสตร์
บทความบทที่ 2 คณิตศาสตร์
 
แนวทางการใช้หลักสูตรแกนกลาง
แนวทางการใช้หลักสูตรแกนกลางแนวทางการใช้หลักสูตรแกนกลาง
แนวทางการใช้หลักสูตรแกนกลาง
 
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา เนื้อหาโรงเรียน
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา เนื้อหาโรงเรียนร่างหลักสูตรสถานศึกษา เนื้อหาโรงเรียน
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา เนื้อหาโรงเรียน
 
บทความบทที่ 2 ภาษาไทย
บทความบทที่  2  ภาษาไทยบทความบทที่  2  ภาษาไทย
บทความบทที่ 2 ภาษาไทย
 
บทที่ 2 ภาษาไทย
บทที่  2  ภาษาไทยบทที่  2  ภาษาไทย
บทที่ 2 ภาษาไทย
 
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...
 
หลักสูตรและวิชาพิเศษลูกเสือ
หลักสูตรและวิชาพิเศษลูกเสือหลักสูตรและวิชาพิเศษลูกเสือ
หลักสูตรและวิชาพิเศษลูกเสือ
 
แนวการเขียนรายงายเชิงวิจัย
แนวการเขียนรายงายเชิงวิจัยแนวการเขียนรายงายเชิงวิจัย
แนวการเขียนรายงายเชิงวิจัย
 
การขับเคลื่อนโรงเรียนนนทรีวิทยา สู่ระบบโรงเรียนมาตรฐานสากล โดย ครูกอบวิทย์ พิ...
การขับเคลื่อนโรงเรียนนนทรีวิทยา สู่ระบบโรงเรียนมาตรฐานสากล โดย ครูกอบวิทย์ พิ...การขับเคลื่อนโรงเรียนนนทรีวิทยา สู่ระบบโรงเรียนมาตรฐานสากล โดย ครูกอบวิทย์ พิ...
การขับเคลื่อนโรงเรียนนนทรีวิทยา สู่ระบบโรงเรียนมาตรฐานสากล โดย ครูกอบวิทย์ พิ...
 
7ความรู้ความสามารถเกี่ยวกับวิชาการศึกษาok
7ความรู้ความสามารถเกี่ยวกับวิชาการศึกษาok7ความรู้ความสามารถเกี่ยวกับวิชาการศึกษาok
7ความรู้ความสามารถเกี่ยวกับวิชาการศึกษาok
 
7ความรู้ความสามารถเกี่ยวกับวิชาการศึกษาok
7ความรู้ความสามารถเกี่ยวกับวิชาการศึกษาok7ความรู้ความสามารถเกี่ยวกับวิชาการศึกษาok
7ความรู้ความสามารถเกี่ยวกับวิชาการศึกษาok
 
หลักสูตร
หลักสูตรหลักสูตร
หลักสูตร
 
การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ กลุ่มสาระภาษาไทย
การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ กลุ่มสาระภาษาไทยการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ กลุ่มสาระภาษาไทย
การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ กลุ่มสาระภาษาไทย
 
การจัดกิจ..
การจัดกิจ..การจัดกิจ..
การจัดกิจ..
 
หลักสูตรส่วนที่ ๑
หลักสูตรส่วนที่ ๑หลักสูตรส่วนที่ ๑
หลักสูตรส่วนที่ ๑
 
บทที่ 2 คณิตฯ
บทที่ 2 คณิตฯบทที่ 2 คณิตฯ
บทที่ 2 คณิตฯ
 
7 170819173524
7 1708191735247 170819173524
7 170819173524
 

บทที่ 2++77

  • 1. 9 บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง รายงานการพัฒนาเอกสารประกอบการเรียนรายวิชาสุขศึกษา พ 21101 เรื่อง ชีวิตและ ครอบครัว กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา สาหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียน บ้านเสื่องข้าว ในครั้งนี้ ผู้วิจัยได้ศึกษาเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องตามลาดับหัวข้อต่อไปนี้ 1. เอกสารที่เกี่ยวข้องกับหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 2. เอกสารที่เกี่ยวข้องกับหลักสูตรกลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา 3. บริบทโรงเรียนบ้านเสื่องข้าว 4. เอกสารที่เกี่ยวข้องกับเอกสารประกอบการเรียน 4.1 ความหมายของเอกสารประกอบการเรียน 4.2 หลักการที่เกี่ยวข้องกับการจัดทาเอกสารประกอบการเรียน 4.3 จุดมุ่งหมายในการสร้างเอกสารประกอบการเรียน 4.4 ลักษณะของเอกสารประกอบการเรียน 4.5 ชนิดของเอกสารประกอบการเรียน 4.6 รูปแบบเอกสารประกอบการเรียน 4.7 ส่วนประกอบของเอกสารประกอบการเรียน 4.8 ขั้นตอนการผลิตเอกสารประกอบการเรียน 5. เอกสารที่เกี่ยวข้องกับการจัดการเรียนรู้แบบพหุปัญญา 6. เอกสารที่เกี่ยวข้องกับการหาประสิทธิภาพของเครื่องมือ 7. เอกสารที่เกี่ยวข้องกับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน 8. เอกสารที่เกี่ยวข้องกับความพึงพอใจ 9. งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง 9.1 งานวิจัยในประเทศ 9.2 งานวิจัยต่างประเทศ
  • 2. 10 เอกสารที่เกี่ยวข้องกับหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 1. วิสัยทัศน์ หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 มุ่งพัฒนาผู้เรียนทุกคน ซึ่งเป็นกาลังของชาติให้เป็นมนุษย์ที่มีความสมดุลทั้งด้านร่างกาย ความรู้ คุณธรรม มีจิตสานึก ในความเป็นพลเมืองไทยและเป็นพลโลก ยึดมั่นในการปกครองตามระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข มีความรู้และทักษะพื้นฐาน รวมทั้งเจตคติ ที่จาเป็นต่อการศึกษา ต่อการประกอบอาชีพและการศึกษาตลอดชีวิตโดยมุ่งเน้นผู้เรียนเป็นสาคัญบนพื้นฐานความเชื่อว่า ทุกคนสามารถเรียนรู้และพัฒนาตนเองได้เต็มตามศักยภาพ 2. หลักการ หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 มีหลักการที่สาคัญ ดังนี้ 2.1 เป็นหลักสูตรการศึกษาเพื่อความเป็นเอกภาพของชาติ มีจุดหมายและมาตรฐาน การเรียนรู้ เป็นเปูาหมายสาหรับพัฒนาเด็กและเยาวชนให้มีความรู้ ทักษะ เจตคติและคุณธรรม บนพื้นฐานของความเป็นไทยควบคู่กับความเป็นสากล 2.2 เป็นหลักสูตรการศึกษาเพื่อปวงชน ที่ประชาชนทุกคนมีโอกาสได้รับการศึกษา อย่างเสมอภาคและมีคุณภาพ 2.3 เป็นหลักสูตรการศึกษาที่สนองการกระจายอานาจให้สังคมมีส่วนร่วม ในการจัดการศึกษา ให้สอดคล้องกับสภาพและความต้องการของท้องถิ่น 2.4 เป็นหลักสูตรการศึกษาที่มีโครงสร้างยืดหยุ่นทั้งด้านสาระการเรียนรู้ เวลา และการจัดการเรียนรู้ 2.4 เป็นหลักสูตรการศึกษาที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ 2.5 เป็นหลักสูตรการศึกษาสาหรับการศึกษาในระบบ นอกระบบและตามอัธยาศัย ครอบคลุมทุกกลุ่มเปูาหมาย สามารถเทียบโอนผลการเรียนรู้และประสบการณ์ 3. จุดหมาย หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 มุ่งพัฒนาผู้เรียนให้เป็น คนดี มีปัญญา มีความสุข มีศักยภาพในการศึกษาต่อและประกอบอาชีพ จึงกาหนดเป็นจุดหมาย เพื่อให้เกิดกับผู้เรียน เมื่อจบการศึกษาขั้นพื้นฐาน ดังนี้ 3.1 มีคุณธรรม จริยธรรมและค่านิยมที่พึงประสงค์ เห็นคุณค่าของตนเอง มีวินัย และปฏิบัติตนตามหลักธรรมของพระพุทธศาสนาหรือศาสนาที่ตนนับถือ ยึดหลักปรัชญา ของเศรษฐกิจพอเพียง 3.2 มีความรู้ ความสามารถในการสื่อสาร การคิด การแก้ปัญหา การใช้เทคโนโลยี และมีทักษะชีวิต
  • 3. 11 3.3 มีสุขภาพกายและสุขภาพจิตที่ดี มีสุขนิสัยและรักการออกกาลังกาย 3.4 มีความรักชาติ มีจิตสานึกในความเป็นพลเมืองไทยและพลโลกยึดมั่นในวิถีชีวิตและ การปกครองตามระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข 3.5 มีจิตสานึกในการอนุรักษ์วัฒนธรรมและภูมิปัญญาไทยการอนุรักษ์และพัฒนา สิ่งแวดล้อมมีจิตสาธารณะที่มุ่งทาประโยชน์และสร้างสิ่งที่ดีงามในสังคมและอยู่ร่วมกันในสังคม อย่างมีความสุข 4. สมรรถนะสาคัญของผู้เรียนและคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ในการพัฒนาผู้เรียนตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน มุ่งเน้นพัฒนาผู้เรียนให้ มีคุณภาพตามมาตรฐานที่กาหนดซึ่งจะช่วยให้ผู้เรียนเกิดสมรรถนะสาคัญและคุณลักษณะ อันพึงประสงค์ ดังนี้ 4.1 สมรรถนะสาคัญของผู้เรียน หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน มุ่งให้ผู้เรียนเกิดสมรรถนะสาคัญ 5 ประการ ดังนี้ 1) ความสามารถในการสื่อสาร เป็นความสามารถในการรับและส่งสาร มีวัฒนธรรม ในการใช้ภาษาถ่ายทอดความคิด ความรู้ความเข้าใจ ความรู้สึกและทัศนะของตนเองเพื่อแลกเปลี่ยน ข้อมูลข่าวสารและประสบการณ์อันจะเป็นประโยชน์ต่อการพัฒนาตนเองและสังคม รวมทั้งการเจรจา ต่อรองเพื่อขจัดและลดปัญหาความขัดแย้งต่าง ๆ การเลือกรับหรือไม่รับข้อมูลข่าวสารด้วยหลักเหตุผล และความถูกต้อง ตลอดจนการเลือกใช้วิธีการสื่อสารที่มีประสิทธิภาพโดยคานึงถึงผลกระทบที่มีต่อ ตนเองและสังคม 2) ความสามารถในการคิด เป็นความสามารถในการคิดวิเคราะห์การคิดสังเคราะห์ การคิดอย่างสร้างสรรค์ การคิดอย่างมีวิจารณญาณและการคิดเป็นระบบ เพื่อนาไปสู่การสร้าง องค์ความรู้หรือสารสนเทศเพื่อการตัดสินใจเกี่ยวกับตนเองและสังคมได้อย่างเหมาะสม 3) ความสามารถในการแก้ปัญหา เป็นความสามารถในการแก้ปัญหาและอุปสรรคต่าง ๆ ที่เผชิญได้ อย่างถูกต้องเหมาะสมบนพื้นฐานของหลักเหตุผล คุณธรรมและข้อมูลสารสนเทศ เข้าใจความสัมพันธ์ และการเปลี่ยนแปลงของเหตุการณ์ต่าง ๆ ในสังคม แสวงหาความรู้ ประยุกต์ความรู้มาใช้ในการปูองกัน และแก้ไขปัญหาและมีการตัดสินใจที่มีประสิทธิภาพโดยคานึงถึงผลกระทบที่เกิดขึ้นต่อตนเอง สังคมและ สิ่งแวดล้อม 4) ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต เป็นความสามารถในการนากระบวนการต่าง ๆ ไปใช้ใน การดาเนินชีวิตประจาวัน การเรียนรู้ด้วยตนเอง การเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง การทางานและการอยู่ร่วมกัน ในสังคมด้วยการสร้างเสริมความสัมพันธ์อันดีระหว่างบุคคล การจัดการปัญหาและความขัดแย้งต่าง ๆ อย่างเหมาะสม การปรับตัวให้ทันกับการเปลี่ยนแปลงของสังคมและสภาพแวดล้อมและการรู้จัก หลีกเลี่ยงพฤติกรรมไม่พึงประสงค์ที่ส่งผลกระทบต่อตนเองและผู้อื่น 5) ความสามารถในการใช้ เทคโนโลยี เป็นความสามารถในการเลือกและใช้ เทคโนโลยีด้านต่าง ๆ และมีทักษะกระบวนการ ทางเทคโนโลยี เพื่อการพัฒนาตนเองและสังคมในด้านการเรียนรู้ การสื่อสาร การทางาน การแก้ปัญหา อย่างสร้างสรรค์ ถูกต้อง เหมาะสมและมีคุณธรรม
  • 4. 12 5. คุณลักษณะอันพึงประสงค์ หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน มุ่งพัฒนาผู้เรียนให้มีคุณลักษณะ อันพึงประสงค์ เพื่อให้สามารถอยู่ร่วมกับผู้อื่นในสังคมได้อย่างมีความสุขในฐานะเป็นพลเมืองไทย และพลโลก ดังนี้ 5.1 รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ 5.2 ซื่อสัตย์สุจริต 5.3 มีวินัย 5.4 ใฝุเรียนรู้ 5.5 อยู่อย่างพอเพียง 5.6 มุ่งมั่นในการทางาน 5.7 รักความเป็นไทย 5.8 มีจิตสาธารณะ นอกจากนี้ สถานศึกษาสามารถกาหนดคุณลักษณะอันพึงประสงค์เพิ่มเติม ให้สอดคล้องตามบริบทและจุดเน้นของตนเอง 6. มาตรฐานการเรียนรู้ การพัฒนาผู้เรียนให้เกิดความสมดุล ต้องคานึงถึงหลักพัฒนาการทางสมองและพหุปัญญา หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน จึงกาหนดให้ผู้เรียนเรียนรู้ 8 กลุ่มสาระการเรียนรู้ ดังนี้ 6.1 ภาษาไทย 6.2 คณิตศาสตร์ 6.3 วิทยาศาสตร์ 6.4 สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 6.5 สุขศึกษาและพลศึกษา 6.6 ศิลปะ 6.7 การงานอาชีพและเทคโนโลยี 6.8 ภาษาต่างประเทศ ในแต่ละกลุ่มสาระการเรียนรู้ได้กาหนดมาตรฐานการเรียนรู้เป็นเปูาหมายสาคัญ ของการพัฒนาคุณภาพผู้เรียน มาตรฐานการเรียนรู้ระบุสิ่งที่ผู้เรียนพึงรู้ ปฏิบัติได้ มีคุณธรรมจริยธรรม และค่านิยมที่พึงประสงค์เมื่อจบการศึกษาขั้นพื้นฐาน นอกจากนั้นมาตรฐานการเรียนรู้ ยังเป็นกลไก สาคัญในการขับเคลื่อนพัฒนาการศึกษาทั้งระบบ เพราะมาตรฐานการเรียนรู้จะสะท้อนให้ทราบว่า ต้องการอะไร จะสอนอย่างไรและประเมินอย่างไร รวมทั้งเป็นเครื่องมือในการตรวจสอบเพื่อการประกัน คุณภาพการศึกษาโดยใช้ระบบการประเมินคุณภาพภายในและการประเมินคุณภาพภายนอก ซึ่งรวมถึง การทดสอบระดับเขตพื้นที่การศึกษาและการทดสอบระดับชาติระบบการตรวจสอบเพื่อประกันคุณภาพ
  • 5. 13 ดังกล่าวเป็นสิ่งสาคัญที่ช่วยสะท้อนภาพการจัดการศึกษาว่าสามารถพัฒนาผู้เรียนให้มีคุณภาพ ตามที่มาตรฐานการเรียนรู้กาหนดเพียงใด 7. ตัวชี้วัด ตัวชี้วัดระบุสิ่งที่นักเรียนพึงรู้และปฏิบัติได้ รวมทั้งคุณลักษณะของผู้เรียนในแต่ละระดับชั้น ซึ่งสะท้อนถึงมาตรฐานการเรียนรู้ มีความเฉพาะเจาะจงและมีความเป็นรูปธรรม นาไปใช้ในการกาหนด เนื้อหา จัดทาหน่วยการเรียนรู้ จัดการเรียนการสอนและเป็นเกณฑ์สาคัญสาหรับการวัดประเมินผล เพื่อตรวจสอบคุณภาพผู้เรียน 7.1 ตัวชี้วัดชั้นปี เป็นเปูาหมายในการพัฒนาผู้เรียนแต่ละชั้นปีในระดับการศึกษา ภาคบังคับ (ประถมศึกษาปีที่ 1 – มัธยมศึกษาปีที่ 3) 7.2 ตัวชี้วัดช่วงชั้น เป็นเปูาหมายในการพัฒนาผู้เรียนในระดับมัธยมศึกษา ตอนปลาย (มัธยมศึกษาปีที่ 4 - 6) หลักสูตรได้มีการกาหนดรหัสกากับมาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด เพื่อความเข้าใจ และให้สื่อสารตรงกัน ดังนี้ ว 1.1 ป. 1/2 ป.1/2 ตัวชี้วัดชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 ข้อที่ 2 1.1 สาระที่ 1 มาตรฐานข้อที่ 1 ท กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ต 2.2 ม.4-6/ 3 ม.4 - 6/3 ตัวชี้วัดชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย ข้อที่ 3 2.3 สาระที่ 2 มาตรฐานข้อที่ 2 ต กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ 8. สาระการเรียนรู้ สาระการเรียนรู้ ประกอบด้วย องค์ความรู้ทักษะหรือกระบวนการเรียนรู้และ คุณลักษณะอันพึงประสงค์ ซึ่งกาหนดให้ผู้เรียนทุกคนในระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานจาเป็นต้องเรียนรู้ โดยแบ่งเป็น 8 กลุ่มสาระการเรียนรู้ ดังนี้
  • 6. 14 ภาพ 2.1 องค์ความรู้ ทักษะสาคัญและคุณลักษณะในหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน สรุปได้ว่า องค์ความรู้ ทักษะสาคัญ และคุณลักษณะในหลักสูตรแกนกลางการศึกษา ขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ประกอบด้วย 8 สาระ ได้แก่ กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ ภาษาไทย ภาษาต่างประเทศ สุขศึกษาและพลศึกษา การงานอาชีพและเทคโนโลยี สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ศิลปะ สาหรับการศึกษาครั้งนี้ ผู้วิจัยได้ศึกษาสาระการเรียนรู้ สุขศึกษาและพลศึกษา เรื่อง ชีวิตและครอบครัว เพื่อเป็นแนวทางในการจัดการเรียนการสอน รายวิชาสุขศึกษา สาหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 องค์ความรู้ ทักษะสาคัญ และคุณลักษณะในหลักสูตรแกนกลาง การศึกษาขั้นพื้นฐาน วิทยาศาสตร์ : การนาความรู้ และกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ไปใช้ในการศึกษา ค้นคว้าหาความรู้และ แก้ปัญหาอย่างเป็นระบบ การคิด อย่างเป็นเหตุเป็นผล คิดวิเคราะห์ คิดสร้างสรรค์และจิตวิทยาศาสตร์ สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม : การอยู่ร่วมกันในสังคมไทยและสังคมโลก อย่างสันติสุข การเป็นพลเมืองดี ศรัทธา ในหลักธรรมของศาสนา การเห็นคุณค่า ของทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม ความรักชาติ และภูมิใจในความเป็นไทย ศิลปะ : ความรู้และทักษะ ในการคิดริเริ่ม จินตนาการ สร้างสรรค์งานศิลปะ สุนทรียภาพและการเห็น คุณค่าทางศิลปะ ภาษาไทย : ความรู้ ทักษะ และวัฒนธรรมการใช้ภาษา เพื่อ การสื่อสาร ความชื่นชม การเห็นคุณค่าภูมิปัญญาไทย และภูมิใจในภาษาประจาชาติ ภาษาต่างประเทศ : ความรู้ ทักษะ เจตคติและวัฒนธรรม การใช้ภาษาต่างประเทศ ในการสื่อสารการแสวงหาความรู้ และการประกอบอาชีพ การงานอาชีพและเทคโนโลยี : ความรู้ ทักษะและเจตคติในการ ทางาน การจัดการ การดารงชีวิต การประกอบอาชีพและการใช้ เทคโนโลยี สุขศึกษาและพลศึกษา : ความรู้ ทักษะและ เจตคติในการสร้างเสริมสุขภาพพลานามัย ของตนเองและผู้อื่น การปูองกันและปฏิบัติ ต่อสิ่งต่าง ๆ ที่มีผลต่อสุขภาพอย่างถูกวิธีและ ทักษะในการดาเนินชีวิต คณิตศาสตร์ : การนาความรู้ทักษะ และกระบวนการทางคณิตศาสตร์ไป ใช้ในการ แก้ปัญหา การดาเนินชีวิต และศึกษาต่อ การมีเหตุมีผลมีเจตคติ ที่ดีต่อคณิตศาสตร์พัฒนาการคิดอย่าง เป็นระบบและสร้างสรรค์
  • 7. 15 มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด 8 กลุ่มสาระการเรียนรู้ 1. ภาษาไทย 2. คณิตศาสตร์ 3. วิทยาศาสตร์ 4. สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 5. สุขศึกษาและพลศึกษา 6. ศิลปะ 7. การงานอาชีพและเทคโนโลยี 8. ภาษาต่างประเทศ กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน 1. กิจกรรมแนะแนว 2. กิจกรรมนักเรียน 3. กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์ สมรรถนะสาคัญของผู้เรียน 1. ความสามารถในการสื่อสาร 2. ความสามารถในการคิด 3. ความสามารถในการแก้ปัญหา 4. ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต 5. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี วิสัยทัศน์ หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน มุ่งพัฒนาผู้เรียนทุกคน ซึ่งเป็นกาลังของชาติให้เป็นมนุษย์ที่มีความสมดุลทั้งด้านร่างกาย ความรู้ คุณธรรม มีจิตสานึกในความเป็นพลเมืองไทยและเป็นพลโลก ยึดมั่นในการปกครองตามระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ ทรงเป็นประมุข มีความรู้และทักษะพื้นฐาน รวมทั้ง เจตคติ ที่จาเป็นต่อการศึกษาต่อ การประกอบอาชีพและการศึกษาตลอดชีวิต โดยมุ่งเน้นผู้เรียนเป็นสาคัญบนพื้นฐานความเชื่อว่า ทุกคนสามารถเรียนรู้และพัฒนาตนเองได้เต็มตามศักยภาพ จุดหมาย 1. มีคุณธรรม จริยธรรมและค่านิยมที่พึงประสงค์ เห็นคุณค่าของตนเอง มีวินัยและปฏิบัติตนตามหลักธรรมของพระพุทธศาสนา หรือศาสนาที่ตนนับถือยึดหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง 2. มีความรู้อันเป็นสากลและมีความสามารถในการสื่อสาร การคิดการแก้ปัญหาการใช้เทคโนโลยีและมีทักษะชีวิต 3. มีสุขภาพกายและสุขภาพจิตที่ดี มีสุขนิสัยและรักการออกกาลังกาย 4. มีความรักชาติ มีจิตสานึกในความเป็นพลเมืองไทยและพลโลก ยึดมั่นในวิถีชีวิตและการปกครองในระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข 5. มีจิตสานึกในการอนุรักษ์วัฒนธรรมและภูมิปัญญาไทยการอนุรักษ์และพัฒนาสิ่งแวดล้อม มีจิตสาธารณะที่มุ่งทาประโยชน์และ สร้างสิ่งที่ดีงามในสังคมและอยู่ร่วมกันในสังคมอย่างมีความสุข คุณลักษณะอันพึงประสงค์ 1. รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ 5. อยู่อย่างพอเพียง 2. ซื่อสัตย์สุจริต 6. มุ่งมั่นในการทางาน 3. มีวินัย 7. รักความเป็นไทย 4. ใฝุเรียนรู้ 8. มีจิตสาธารณะ ภาพ 2.2 มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด 8 กลุ่มสาระการเรียนรู้
  • 8. 16 9. โครงสร้างเวลาเรียน หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน กาหนดกรอบโครงสร้างเวลาเรียน ดังนี้ ตาราง 2.1 แสดงโครงสร้างเวลาเรียนตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน กลุ่มสาระ การเรียนรู้/กิจกรรม เวลาเรียน ระดับประถม ศึกษา ระดับมัธยมศึกษา ตอนต้น ระดับ มัธยมศึกษา ตอนปลาย ป. 1 ป. 2 ป. 3 ป. 4 ป. 5 ป. 6 ม. 1 ม. 2 ม. 3 ม. 4 – 6 กลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาไทย 200 200 200 160 160 160 120 (3 นก.) 120 (3 นก.) 120 (3 นก.) 240 (6 นก.) คณิตศาสตร์ 200 200 200 160 160 160 120 (3 นก.) 120 (3 นก.) 120 (3 นก.) 240 (6 นก.) วิทยาศาสตร์ 80 80 80 80 80 80 120 (3 นก.) 120 (3 นก.) 120 (3 นก.) 240 (6 นก.) สังคมศึกษา ศาสนาและ วัฒนธรรม 80 80 80 80 80 80 120 (3 นก.) 120 (3 นก.) 120 (3 นก.) 240 (6 นก.) สุขศึกษาและ พลศึกษา 80 80 80 80 80 80 80 (2นก.) 80 (2 นก.) 80 (2 นก.) 120 (3นก.) ศิลปะ 80 80 80 80 80 80 80 (2นก.) 80 (2 นก.) 80 (2 นก.) 120 (3 นก.) การงานอาชีพและ เทคโนโลยี 40 40 40 80 80 80 80 (2นก.) 80 (2 นก.) 80 (2 นก.) 120 (3 นก.) ภาษาต่างประเทศ 40 40 40 80 80 80 120 (3 นก.) 120 (3 นก.) 120 (3 นก.) 240 (6 นก.) รวมเวลาเรียน (พื้นฐาน) 800 800 800 800 800 800 840 (21 นก.) 840 (21 นก.) 840 (21 นก.) 1,560 (39 นก.) กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน 120 120 120 120 120 120 120 120 120 360 รายวิชา / กิจกรรม ที่สถานศึกษาจัด เพิ่มเติมตามความ พร้อมและจุดเน้น ปีละไม่เกิน 80 ชั่วโมง ปีละไม่เกิน 240 ชั่วโมง ไม่น้อยกว่า 1,560 ชั่วโมง รวมเวลาเรียนทั้งหมด ไม่เกิน 1,000 ชั่วโมง/ปี ไม่เกิน 1,200 ชั่วโมง/ปี รวม 3 ปี ไม่น้อยกว่า 3,600 ชั่วโมง
  • 9. 17 การกาหนดโครงสร้างเวลาเรียนพื้นฐานและเพิ่มเติมสถานศึกษาสามารถดาเนินการ ดังนี้ ระดับประถมศึกษา สามารถปรับเวลาเรียนพื้นฐานของแต่ละกลุ่มสาระการเรียนรู้ได้ ตามความเหมาะสม ทั้งนี้ต้องมีเวลาเรียนรวมตามที่กาหนดไว้ในโครงสร้างเวลาเรียนพื้นฐานและผู้เรียน ต้องมีคุณภาพตามมาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัดที่กาหนด ระดับมัธยมศึกษา ต้องจัดโครงสร้างเวลาเรียนพื้นฐานให้เป็นไปตามที่กาหนดและ สอดคล้องกับเกณฑ์การจบหลักสูตร สาหรับเวลาเรียนเพิ่มเติม ทั้งในระดับประถมศึกษาและมัธยมศึกษา ให้จัดเป็นรายวิชา เพิ่มเติมหรือกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน โดยพิจารณาให้สอดคล้องกับความพร้อม จุดเน้นของสถานศึกษา และเกณฑ์การจบหลักสูตร เฉพาะระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 - 3 สถานศึกษาอาจจัดให้เป็นเวลา สาหรับสาระการเรียนรู้พื้นฐานในกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทยและกลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ กิจกรรมพัฒนาผู้เรียนที่กาหนดไว้ในชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 ถึงชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ปีละ 120 ชั่วโมงและชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 - 6 จานวน 360 ชั่วโมงนั้น เป็นเวลาสาหรับปฏิบัติกิจกรรม แนะแนวกิจกรรมนักเรียนและกิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์ในส่วนกิจกรรมเพื่อสังคมและ สาธารณประโยชน์ให้สถานศึกษาจัดสรรเวลาให้ผู้เรียนได้ปฏิบัติกิจกรรม ดังนี้ ระดับประถมศึกษา (ป.1 - 6) รวม 6 ปี จานวน 60 ชั่วโมง ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น (ม.1 - 3) รวม 3 ปี จานวน 45 ชั่วโมง ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย (ม.4 - 6) รวม 3 ปี จานวน 60 ชั่วโมง 10. การจัดการศึกษาสาหรับกลุ่มเป้าหมายเฉพาะ การจัดการศึกษาบางประเภทสาหรับกลุ่มเปูาหมายเฉพาะ เช่น การศึกษาเฉพาะ ทางการศึกษาสาหรับผู้มีความสามารถพิเศษ การศึกษาทางเลือก การศึกษาสาหรับผู้ด้อยโอกาส การศึกษาตามอัธยาศัย สามารถนาหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานไปปรับใช้ได้ ตามความเหมาะสมกับสภาพและบริบทของแต่ละกลุ่มเปูาหมาย โดยให้มีคุณภาพตามมาตรฐาน ที่กาหนด ทั้งนี้ให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่กระทรวงศึกษาธิการกาหนด 11. การจัดการเรียนรู้ การจัดการเรียนรู้เป็นกระบวนการสาคัญในการนาหลักสูตรสู่การปฏิบัติ หลักสูตร แกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน เป็นหลักสูตรที่มีมาตรฐานการเรียนรู้ สมรรถนะสาคัญและคุณลักษณะ อันพึงประสงค์ของผู้เรียน เป็นเปูาหมายสาหรับพัฒนาเด็กและเยาวชน ในการพัฒนาผู้เรียนให้มีคุณสมบัติตามเปูาหมายหลักสูตร ผู้สอนพยายามคัดสรร กระบวนการเรียนรู้ จัดการเรียนรู้โดยช่วยให้ผู้เรียนเรียนรู้ผ่านสาระที่กาหนดไว้ในหลักสูตร 8 กลุ่มสาระ การเรียนรู้ รวมทั้งปลูกฝังเสริมสร้างคุณลักษณะอันพึงประสงค์ พัฒนาทักษะต่าง ๆ อันเป็นสมรรถนะสาคัญให้ผู้เรียนบรรลุตามเปูาหมาย
  • 10. 18 11.1 หลักการจัดการเรียนรู้ การจัดการเรียนรู้เพื่อให้ผู้เรียนมีความรู้ความสามารถตามมาตรฐาน าร ร นร สมรรถน สาค และค น ปร ส คตามที่กาหนดไว้ในหลักสูตรแกนกลางการศึกษา ขั้นพื้นฐาน โดยยึดหลักว่า ผู้เรียนมีความสาคัญที่สุด เชื่อว่าทุกคนมีความสามารถเรียนรู้และพัฒนา ตนเองได้ยึดประโยชน์ที่เกิดกับผู้เรียน กระบวนการจัดการเรียนรู้ต้องส่งเสริมให้ผู้เรียน สามารถพัฒนา ตามธรรมชาติและเต็มตามศักยภาพ คานึงถึงความแตกต่างระหว่างบุคคลและพัฒนาการทางสมอง เน้นให้ความสาคัญทั้งความรู้และคุณธรรม 11.2 กระบวนการเรียนรู้ การจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ ผู้เรียนจะต้องอาศัยกระบวนการเรียนรู้ ที่หลากหลาย เป็นเครื่องมือที่จะนาพาตนเองไปสู่เปูาหมายของหลักสูตร กระบวนการเรียนรู้ที่จาเป็น สาหรับผู้เรียน อาทิ กระบวนการเรียนรู้แบบบูรณาการ กระบวนการสร้างความรู้ กระบวนการคิด กระบวนการทางสังคม กระบวนการเผชิญสถานการณ์และแก้ปัญหา กระบวนการเรียนรู้ จากประสบการณ์จริง กระบวนการปฏิบัติ ลงมือทาจริง กระบวนการจัดการ กระบวนการวิจัย กระบวนการเรียนรู้การเรียนรู้ของตนเอง กระบวนการพัฒนาลักษณะนิสัย กระบวนการเหล่านี้เป็นแนวทางในการจัดการเรียนรู้ที่ผู้เรียนควรได้รับการฝึกฝน พัฒนา เพราะจะสามารถช่วยให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ได้ดี บรรลุเปูาหมายของหลักสูตร ดังนั้น ผู้สอน จึงจาเป็นต้องศึกษาทาความเข้าใจในกระบวนการเรียนรู้ต่าง ๆ เพื่อให้สามารถเลือกใช้ในการจัด กระบวนการเรียนรู้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ 12. การออกแบบการจัดการเรียนรู้ ผู้สอนต้องศึกษาหลักสูตรสถานศึกษาให้เข้าใจถึงมาตรฐานการเรียนรู้ ตัวชี้วัด สมรรถนะ สาคัญของผู้เรียน คุณลักษณะอันพึงประสงค์และสาระการเรียนรู้ที่เหมาะสมกับผู้เรียน แล้วจึงพิจารณาออกแบบการจัดการเรียนรู้โดยเลือกใช้วิธีสอนและเทคนิคการสอน สื่อ/แหล่งเรียนรู้ การวัดและประเมินผล เพื่อให้ผู้เรียนได้พัฒนาเต็มตามศักยภาพและบรรลุตามเปูาหมายที่กาหนด 13. บทบาทของผู้สอนและผู้เรียน การจัดการเรียนรู้เพื่อให้ผู้เรียนมีคุณภาพตามเปูาหมายของหลักสูตร ทั้งผู้สอน และผู้เรียนควรมีบทบาท ดังนี้ 1. บทบาทของผู้สอน 1.1 ศึกษาวิเคราะห์ผู้เรียนเป็นรายบุคคล แล้วนาข้อมูลมาใช้ในการวางแผน การจัดการเรียนรู้ ที่ท้าทายความสามารถของผู้เรียน 1.2 กาหนดเปูาหมายที่ต้องการให้เกิดขึ้นกับผู้เรียน ด้านความรู้และทักษะ กระบวนการ ที่เป็นความคิดรวบยอด หลักการและความสัมพันธ์ รวมทั้งคุณลักษณะอันพึงประสงค์
  • 11. 19 1.3 ออกแบบการเรียนรู้และจัดการเรียนรู้ที่ตอบสนองความแตกต่างระหว่าง บุคคลและพัฒนาการทางสมอง เพื่อนาผู้เรียนไปสู่เปูาหมาย 1.4 จัดบรรยากาศที่เอื้อต่อการเรียนรู้และดูแลช่วยเหลือผู้เรียนให้เกิดการเรียนรู้ 1.5 จัดเตรียมและเลือกใช้สื่อให้เหมาะสมกับกิจกรรมนาภูมิปัญญาท้องถิ่น เทคโนโลยีที่เหมาะสมมาประยุกต์ใช้ในการจัดการเรียนการสอน 1.6 ประเมินความก้าวหน้าของผู้เรียนด้วยวิธีการที่หลากหลาย เหมาะสมกับ ธรรมชาติของวิชาและระดับพัฒนาการของผู้เรียน 1.7 วิเคราะห์ผลการประเมินมาใช้ในการซ่อมเสริมและพัฒนาผู้เรียน รวมทั้งปรับปรุงการจัดการเรียนการสอนของตนเอง 2. บทบาทของผู้เรียน 2.1 กาหนดเปูาหมาย วางแผน รบผ บการเรียนรู้ของตนเอง 2.2 เสาะแสวงหาความรู้ เข้าถึงแหล่งการเรียนรู้ วิเคราะห์ สังเคราะห์ข้อความรู้ ตั้งคาถาม คิดหาคาตอบหรือหาแนวทางแก้ปัญหาด้วยวิธีการต่าง ๆ 2.3 ลงมือปฏิบัติจริง สรุปสิ่งที่ได้เรียนรู้ด้วยตนเองและนาความรู้ไปประยุกต์ใช้ ในสถานการณ์ต่าง ๆ 2.4 มีปฏิสัมพันธ์ ทางาน ทากิจกรรมร่วมกับกลุ่มและครู 2.5 ประเมินและพัฒนากระบวนการเรียนรู้ของตนเองอย่างต่อเนื่อง 14. สื่อการเรียนรู้ สื่อการเรียนรู้เป็นเครื่องมือส่งเสริมสนับสนุนการจัดการกระบวนการเรียนรู้ให้ผู้เรียน เข้าถึงความรู้ทักษะกระบวนการและคุณลักษณะตามมาตรฐานของหลักสูตรได้อย่างมีประสิทธิภาพ สื่อการเรียนรู้มีหลากหลายประเภท ทั้งสื่อธรรมชาติ สื่อสิ่งพิมพ์ สื่อเทคโนโลยีและเครือข่าย การเรียนรู้ต่าง ๆ ที่มีในท้องถิ่น การเลือกใช้สื่อควรเลือกให้มีความเหมาะสมกับระดับพัฒนาการและ ลีลาการเรียนรู้ที่หลากหลายของผู้เรียน การจัดหาสื่อการเรียนรู้ ผู้เรียนและผู้สอนสามารถจัดทาและพัฒนาขึ้นเอง หรือปรับปรุงเลือกใช้อย่างมีคุณภาพจากสื่อต่างๆ ที่มีอยู่รอบตัวเพื่อนามาใช้ประกอบในการจัด การเรียนรู้ที่สามารถส่งเสริมและสื่อสารให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ โดยสถานศึกษาควรจัดให้มี อย่างพอเพียงเพื่อพัฒนาให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้อย่างแท้จริง สถานศึกษา เขตพื้นที่การศึกษา หน่วยงานที่เกี่ยวข้องและผู้มีหน้าที่จัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน ควรดาเนินการดังนี้ 1. จัดให้มีแหล่งการเรียนรู้ ศูนย์สื่อการเรียนรู้ ระบบสารสนเทศการเรียนรู้และ เครือข่ายการเรียนรู้ที่มีประสิทธิภาพทั้งในสถานศึกษาและในชุมชน เพื่อการศึกษาค้นคว้าและ การแลกเปลี่ยนประสบการณ์การเรียนรู้ ระหว่างสถานศึกษา ท้องถิ่น ชุมชน สังคมโลก
  • 12. 20 2. จัดทาและจัดหาสื่อการเรียนรู้สาหรับการศึกษาค้นคว้าของผู้เรียน เสริมความรู้ ให้ผู้สอน รวมทั้งจัดหาสิ่งที่มีอยู่ในท้องถิ่นมาประยุกต์ใช้เป็นสื่อการเรียนรู้ 3. เลือกและใช้สื่อการเรียนรู้ที่มีคุณภาพ มีความเหมาะสม มีความหลากหลาย สอดคล้องกับวิธีการเรียนรู้ ธรรมชาติของสาระการเรียนรู้และความแตกต่างระหว่างบุคคลของผู้เรียน 4. ประเมินคุณภาพของสื่อการเรียนรู้ที่เลือกใช้อย่างเป็นระบบ 5. ศึกษาค้นคว้า วิจัย เพื่อพัฒนาสื่อการเรียนรู้ให้สอดคล้องกับกระบวนการเรียนรู้ ของผู้เรียน 6. จัดให้มีการกากับ ติดตาม ประเมินคุณภาพและประสิทธิภาพเกี่ยวกับสื่อและ การใช้สื่อการเรียนรู้เป็นระยะ ๆและสม่าเสมอ ในการจัดทาการเลือกใช้และการประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้ที่ใช้ในสถานศึกษา ควรคานึงถึงหลักการสาคัญของสื่อการเรียนรู้ เช่น ความสอดคล้องกับหลักสูตร วัตถุประสงค์ การเรียนรู้ การออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้ การจัดประสบการณ์ให้ผู้เรียน เนื้อหามีความถูกต้องและ ทันสมัยไม่กระทบความมั่นคงของชาติ ไม่ขัดต่อศีลธรรม มีการใช้ภาษาที่ถูกต้องรูปแบบการนาเสนอ ที่เข้าใจง่ายและน่าสนใจ 15. การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ของผู้เรียนต้องอยู่บนหลักการพื้นฐานสองประการ คือ การประเมินเพื่อพัฒนาผู้เรียนและเพื่อตัดสินผลการเรียนในการพัฒนาคุณภาพการเรียนรู้ของผู้เรียน ให้ประสบผลสาเร็จนั้น ผู้เรียนจะต้องได้รับการพัฒนาและประเมินตามตัวชี้วัดเพื่อให้บรรลุ ตามมาตรฐานการเรียนรู้ สะท้อนสมรรถนะสาคัญและคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของผู้เรียน ซึ่งเป็นเปูาหมายหลักในการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ในทุกระดับไม่ว่าจะเป็นระดับชั้นเรียน ระดับสถานศึกษา ระดับเขตพื้นที่การศึกษาและระดับชาติ การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ เป็นกระบวนการพัฒนาคุณภาพผู้เรียนโดยใช้ผลการประเมินเป็นข้อมูลและสารสนเทศที่แสดง พัฒนาการ ความก้าวหน้าและความสาเร็จทางการเรียนของผู้เรียนตลอดจนข้อมูลที่เป็นประโยชน์ ต่อการส่งเสริมให้ผู้เรียนเกิดการพัฒนาและเรียนรู้อย่างเต็มตามศักยภาพ ารว ปร มนผ าร ร นร บ ปน ร บ ร บ น ร น ร บสถาน า ร บ ต นท าร า ร บ าต มรา น 1. การประเมินระดับชั้นเรียน เป็นการวัดและประเมินผลที่อยู่ในกระบวนการจัด การเรียนรู้ ผู้สอนดาเนินการเป็นปกติและสม่าเสมอในการจัดการเรียนการสอนใช้เทคนิคการประเมิน อย่างหลากหลาย เช่น การซักถาม การสังเกต การตรวจการบ้าน การประเมินโครงงาน การประเมิน ชิ้นงาน/ ภาระงาน แฟูมสะสมงาน การใช้แบบทดสอบ ฯลฯ โดยผู้สอนเป็นผู้ประเมินเองหรือเปิด โอกาสให้ผู้เรียนประเมินตนเอง เพื่อนประเมินเพื่อน ผู้ปกครองร่วมประเมิน ในกรณีที่ไม่ผ่านตัวชี้วัดให้มี การสอนซ่อมเสริม การประเมินระดับชั้นเรียนเป็นการตรวจสอบว่า ผู้เรียนมีพัฒนาการความก้าวหน้า
  • 13. 21 ในการเรียนรู้ อันเป็นผลมาจากการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนหรือไม่และมากน้อยเพียงใด มีสิ่งที่จะต้องได้รับการพัฒนาปรับปรุงและส่งเสริมในด้านใด นอกจากนี้ยังเป็นข้อมูลให้ผู้สอนใช้ปรับปรุง การเรียนการสอนของตนด้วย ทั้งนี้โดยสอดคล้องกับมาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด 2. การประเมินระดับสถานศึกษา เป็นการประเมินที่สถานศึกษาดาเนินการเพื่อตัดสิน ผลการเรียนของผู้เรียนเป็นรายปี/รายภาค ผลการประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์และเขียน คุณลักษณะ อันพึงประสงค์และกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน นอกจากนี้เพื่อให้ได้ข้อมูลเกี่ยวกับการจัดการศึกษา ของสถานศึกษา ว่าส่งผลต่อการเรียนรู้ของผู้เรียนตามเปูาหมายหรือไม่ ผู้เรียนมีจุดพัฒนา ในด้านใด รวมทั้งสามารถนาผลการเรียนของผู้เรียนในสถานศึกษาเปรียบเทียบกับเกณฑ์ระดับชาติ ผลการประเมินระดับสถานศึกษาจะเป็นข้อมูลและสารสนเทศเพื่อการปรับปรุงนโยบาย หลักสูตร โครงการ หรือวิธีการจัดการเรียนการสอน ตลอดจนเพื่อการจัดทาแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา ของสถานศึกษา ตามแนวทางการประกันคุณภาพการศึกษาและการรายงานผลการจัดการศึกษาต่อ คณะกรรมการสถานศึกษา สานักงานเขตพื้นที่การศึกษา สานักงานคณะกรรมการการศึกษา ขั้นพื้นฐาน ผู้ปกครองและชุมชน 3. การประเมินระดับเขตพื้นที่การศึกษา เป็นการประเมินคุณภาพผู้เรียนในระดับเขต พื้นที่การศึกษาตามมาตรฐานการเรียนรู้ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน เพื่อใช้เป็นข้อมูล พื้นฐานในการพัฒนาคุณภาพการศึกษาของเขตพื้นที่การศึกษา ตามภาระความรับผิดชอบ สามารถ ดาเนินการโดยประเมินคุณภาพผลสัมฤทธิ์ของผู้เรียนด้วยข้อสอบมาตรฐานที่จัดทาและดาเนินการ โดยเขตพื้นที่การศึกษาหรือด้วยความร่วมมือกับหน่วยงานต้นสังกัด ในการดาเนินการจัดสอบ นอกจากนี้ยังได้จากการตรวจสอบทบทวนข้อมูลจากการประเมินระดับสถานศึกษาในเขตพื้นที่ การศึกษา 4. การประเมินระดับชาติ เป็นการประเมินคุณภาพผู้เรียนในระดับชาติตามมาตรฐาน การเรียนรู้ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน สถานศึกษาต้องจัดให้ผู้เรียนทุกคนที่เรียน ในชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3และชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 เข้ารับการประเมิน ผลจากการประเมินใช้เป็นข้อมูลในการเทียบเคียงคุณภาพการศึกษาในระดับ ต่าง ๆ เพื่อนาไปใช้ในการวางแผนยกระดับคุณภาพการจัดการศึกษา ตลอดจนเป็นข้อมูลสนับสนุน การตัดสินใจในระดับนโยบายของประเทศ ข้อมูลการประเมินในระดับต่าง ๆ ข้างต้น เป็นประโยชน์ต่อสถานศึกษาในการตรวจสอบ ทบทวนพัฒนาคุณภาพผู้เรียน ถือเป็นภาระความรับผิดชอบของสถานศึกษาที่จะต้องจัดระบบดูแล ช่วยเหลือ ปรับปรุงแก้ไข ส่งเสริมสนับสนุนเพื่อให้ผู้เรียนได้พัฒนาเต็มตามศักยภาพบนพื้นฐาน ความแตกต่างระหว่างบุคคลที่จาแนกตามสภาพปัญหาและความต้องการ ได้แก่ กลุ่มผู้เรียนทั่วไป กลุ่มผู้เรียนที่มีความสามารถพิเศษ กลุ่มผู้เรียนที่มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนต่า กลุ่มผู้เรียนที่มีปัญหา ด้านวินัยและพฤติกรรม กลุ่มผู้เรียนที่ปฏิเสธโรงเรียน กลุ่มผู้เรียนที่มีปัญหาทางเศรษฐกิจและสังคม
  • 14. 22 กลุ่มพิการทางร่างกายและสติปัญญา เป็นต้น ข้อมูลจากการประเมินจึงเป็นหัวใจของสถานศึกษา ในการดาเนินการช่วยเหลือผู้เรียนได้ทันท่วงที ปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้รับการพัฒนาและประสบ ความสาเร็จในการเรียน สถานศึกษาในฐานะผู้รับผิดชอบจัดการศึกษา จะต้องจัดทาระเบียบว่าด้วยการวัดและ ประเมินผลการเรียนของสถานศึกษาให้สอดคล้องและเป็นไปตามหลักเกณฑ์และแนวปฏิบัติ ที่เป็นข้อกาหนดของหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน เพื่อให้บุคลากรที่เกี่ยวข้องทุกฝุาย ถือปฏิบัติร่วมกัน เกณฑ์การวัดและประเมินผลการเรียนการตัดสิน การให้ระดับและการรายงานผลการเรียน 1. การตัดสินผลการเรียน ในการตัดสินผลการเรียนของกลุ่มสาระการเรียนรู้ การอ่าน คิดวิเคราะห์และเขียน คุณลักษณะอันพึงประสงค์และกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนนั้น ผู้สอนต้องคานึงถึงการพัฒนาผู้เรียนแต่ละคน เป็นหลักและต้องเก็บข้อมูลของผู้เรียนทุกด้านอย่างสม่าเสมอและต่อเนื่องในแต่ละภาคเรียน รวมทั้งสอน ซ่อมเสริมผู้เรียนให้พัฒนาจนเต็มตามศักยภาพ ระดับประถมศึกษา (1) ผู้เรียนต้องมีเวลาเรียนไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 ของเวลาเรียนทั้งหมด (2) ผู้เรียนต้องได้รับการประเมินทุกตัวชี้วัดและผ่านตามเกณฑ์ที่สถานศึกษากาหนด (3) ผู้เรียนต้องได้รับการตัดสินผลการเรียนทุกรายวิชา (4) ผู้เรียนต้องได้รับการประเมินและมีผลการประเมินผ่านตามเกณฑ์ ที่สถานศึกษากาหนดในการอ่าน คิดวิเคราะห์และเขียน คุณลักษณะอันพึงประสงค์และกิจกรรมพัฒนา ผู้เรียน ระดับมัธยมศึกษา (1) ตัดสินผลการเรียนเป็นรายวิชา ผู้เรียนต้องมีเวลาเรียน ตลอดภาคเรียนไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 ของเวลาเรียนทั้งหมดในรายวิชานั้น ๆ (2) ผู้เรียนต้องได้รับ การประเมินทุกตัวชี้วัดและผ่านตามเกณฑ์ที่สถานศึกษากาหนด (3) ผู้เรียนต้องได้รับการตัดสิน ผลการเรียนทุกรายวิชา (4) ผู้เรียนต้องได้รับการประเมินและมีผลการประเมินผ่านตามเกณฑ์ ที่สถานศึกษากาหนดในการอ่าน คิดวิเคราะห์และเขียน คุณลักษณะอันพึงประสงค์และกิจกรรมพัฒนา ผู้เรียน การพิจารณาเลื่อนชั้นทั้งระดับประถมศึกษาและมัธยมศึกษา ถ้าผู้เรียนมีข้อบกพร่องเพียง เล็กน้อยและสถานศึกษาพิจารณาเห็นว่าสามารถพัฒนาและสอนซ่อมเสริมได้ ให้อยู่ในดุลยพินิจ ของสถานศึกษาที่จะผ่อนผันให้เลื่อนชั้นได้ แต่หากผู้เรียนไม่ผ่านรายวิชาจานวนมากและมีแนวโน้ม ว่าจะเป็นปัญหาต่อการเรียนในระดับชั้นที่สูงขึ้น สถานศึกษาอาจตั้งคณะกรรมการพิจารณาให้เรียน ซ้าชั้นได้ ทั้งนี้ให้คานึงถึงวุฒิภาวะและความรู้ความสามารถของผู้เรียนเป็นสาคัญ
  • 15. 23 2. การให้ระดับผลการเรียน ระดับประถมศึกษา ในการตัดสินเพื่อให้ระดับผลการเรียนรายวิชา สถานศึกษา สามารถให้ระดับผลการเรียนหรือระดับคุณภาพการปฏิบัติของผู้เรียน เป็นระบบตัวเลข ระบบตัวอักษร ระบบร้อยละและระบบที่ใช้คาสาคัญสะท้อนมาตรฐาน การประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์และเขียนและ คุณลักษณะอันพึงประสงค์นั้นให้ระดับผลการประเมินเป็น ดีเยี่ยม ดีและผ่านการประเมินกิจกรรม พัฒนาผู้เรียนจะต้องพิจารณาทั้งเวลาการเข้าร่วมกิจกรรม การปฏิบัติกิจกรรมและผลงานของผู้เรียน ตามเกณฑ์ที่สถานศึกษากาหนดและให้ผลการเข้าร่วมกิจกรรมเป็นผ่านและไม่ผ่านระดับมัธยมศึกษา ในการตัดสินเพื่อให้ระดับผลการเรียนรายวิชา ให้ใช้ตัวเลขแสดงระดับผลการเรียนเป็น 8 ระดับ การประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์และเขียนและคุณลักษณะอันพึงประสงค์นั้น ให้ระดับผลการประเมิน เป็น ดีเยี่ยม ดีและผ่านการประเมินกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนจะต้องพิจารณาทั้งเวลาการเข้าร่วมกิจกรรม การปฏิบัติกิจกรรมและผลงานของผู้เรียน ตามเกณฑ์ที่สถานศึกษากาหนดและให้ผลการเข้าร่วม กิจกรรมเป็นผ่านและไม่ผ่าน 3. การรายงานผลการเรียน การรายงานผลการเรียนเป็นการสื่อสารให้ผู้ปกครองและผู้เรียนทราบความก้าวหน้า ในการเรียนรู้ของผู้เรียน ซึ่งสถานศึกษาต้องสรุปผลการประเมินและจัดทาเอกสารรายงานให้ผู้ปกครอง ทราบเป็นระยะ ๆ หรืออย่างน้อยภาคเรียนละ 1 ครั้ง การรายงานผลการเรียนสามารถรายงานเป็น ระดับคุณภาพการปฏิบัติของผู้เรียนที่สะท้อนมาตรฐานการเรียนรู้กลุ่มสาระการเรียนรู้ สาหรับการจบการศึกษาสาหรับกลุ่มเปูาหมายเฉพาะ เช่น การศึกษาเฉพาะทาง การศึกษาสาหรับผู้มีความสามารถพิเศษ การศึกษาทางเลือก การศึกษาสาหรับผู้ด้อยโอกาส การศึกษา ตามอัธยาศัยให้คณะกรรมการของสถานศึกษา เขตพื้นที่การศึกษาและผู้ที่เกี่ยวข้อง ดาเนินการวัดและ ประเมินผลการเรียนรู้ตามหลักเกณฑ์ในแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผล การเรียนรู้ของหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานสาหรับกลุ่มเปูาหมาย ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้ส า า ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน ทธ รา ร บความสาค สุขภาพ ววา สุขภาพหรือสุขภาวะ หมายถึง ภาวะ ของมนุษย์ที่สมบูรณ์ทั้งทางกาย ทางจิตใจทางสังคมและทางปัญญาหรือจิตวิญญาณ สุขภาพ หรือสุขภาวะจึงเป็นเรื่องสาคัญ เพราะเกี่ยวโยงกับทุกมิติของชีวิต ซึ่งทุกคนควรจะได้เรียนรู้ เรื่องสุขภาพ เพื่อจะได้มีความรู้ ความเข้าใจที่ถูกต้อง มีเจตคติ คุณธรรมและค่านิยมที่เหมาะสม รวมทั้งมีทักษะปฏิบัติด้านสุขภาพจนเป็นกิจนิสัย อันจะส่งผลให้สังคมโดยรวมมีคุณภาพ (กระทรวงศึกษาธิการ. 2551 : 1)
  • 16. 24 1. สาระสาคัญ สุขศึกษาและพลศึกษาเป็นการศึกษาด้านสุขภาพที่มีเปูาหมาย เพื่อการดารงสุขภาพ การสร้างเสริมสุขภาพและการพัฒนาคุณภาพชีวิตของบุคคล ครอบครัวและชุมชนให้ยั่งยืนโดยได้ กาหนดสาระสาคัญไว้ ดังนี้ (กระทรวงศึกษาธิการ. 2551 : 1 - 2) 1.1 การเจริญเติบโตและพัฒนาการของมนุษย์ ผู้เรียนจะได้เรียนรู้เรื่องธรรมชาติ ของการเจริญเติบโตและพัฒนาการของมนุษย์ ปัจจัยที่มีผลต่อการเจริญเติบโต ความสัมพันธ์เชื่อมโยง ในการทางานของระบบต่าง ๆ ของร่างกาย รวมถึงวิธีปฏิบัติตนเพื่อให้เจริญเติบโต และมีพัฒนาการที่สมวัย 1.2 ชีวิตและครอบครัว ผู้เรียนจะได้เรียนรู้เรื่องคุณค่าของตนเองและครอบครัว การปรับตัวต่อการเปลี่ยนแปลงทางร่างกาย จิตใจ อารมณ์ความรู้สึกทางเพศ การสร้างและรักษา สัมพันธภาพกับผู้อื่น สุขปฏิบัติทางเพศและทักษะในการดาเนินชีวิต 1.3 การเคลื่อนไหว การออกกาลังกาย การเล่นเกม กีฬาไทยและกีฬาสากล ผู้เรียนได้ เรียนรู้เรื่องการเคลื่อนไหวในรูปแบบต่าง ๆ การเข้าร่วมกิจกรรมทางกายและกีฬา ทั้งประเภทบุคคล และประเภททีมอย่างหลากหลายทั้งไทยและสากล การปฏิบัติตามกฎ กติกา ระเบียบและข้อตกลง ในการเข้าร่วมกิจกรรมทางกายและกีฬาและความมีน้าใจนักกีฬา 1.4 การสร้างเสริมสุขภาพ สมรรถภาพและการปูองกันโรค ผู้เรียนจะได้เรียนรู้เกี่ยวกับ หลักและวิธีการเลือกบริโภคอาหาร ผลิตภัณฑ์และบริการสุขภาพ การสร้างเสริมสมรรถภาพ เพื่อสุขภาพและการปูองกันโรคทั้งโรคติดต่อและโรคไม่ติดต่อ 1.5 ความปลอดภัยในชีวิต ผู้เรียนจะได้เรียนรู้เรื่องการปูองกันตนเองจากพฤติกรรมเสี่ยง ต่าง ๆ ทั้งความเสี่ยงต่อสุขภาพ อุบัติเหตุ ความรุนแรง อันตรายจากการใช้ยาและสารเสพติด รวมถึง แนวทางในการสร้างเสริมความปลอดภัยในชีวิต สรุปได้ว่า สาระสาคัญของกลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา จะประกอบด้วย 5 สาระ คือ สาระที่เกี่ยวข้องกับการเจริญเติบโตและพัฒนาการของมนุษย์ ชีวิตและครอบครัว การเคลื่อนไหว การออกกาลังกาย การเล่นเกม กีฬาไทยและกีฬาสากล การสร้างเสริมสุขภาพ สมรรถภาพและการปูองกันโรค ความปลอดภัยในชีวิต 2. คุณภาพผู้เรียน กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษาได้กาหนดคุณภาพผู้เรียนเมื่อผู้เรียน จบชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ผู้เรียนจะต้องมีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ดังนี้ (กระทรวงศึกษาธิการ. 2551 : 4) 2.1 เข้าใจและเห็นความสาคัญของปัจจัยที่ส่งผลกระทบต่อการเจริญเติบโตและ พัฒนาการที่มีต่อสุขภาพและชีวิตในช่วงวัยต่าง ๆ
  • 17. 25 2.2 เข้าใจ ยอมรับและสามารถปรับตัวต่อการเปลี่ยนแปลงทางร่างกาย จิตใจ อารมณ์ ความรู้สึกทางเพศ ความเสมอภาคทางเพศ สร้างและรักษาสัมพันธภาพกับผู้อื่นและตัดสินใจ แก้ปัญหาชีวิตด้วยวิธีการที่เหมาะสม 2.3 เลือกกินอาหารที่เหมาะสม ได้สัดส่วน ส่งผลดีต่อการเจริญเติบโตและพัฒนาการ ตามวัย 2.4 มีทักษะในการประเมินอิทธิพลของเพศ เพื่อน ครอบครัว ชุมชนและวัฒนธรรม ที่มีต่อเจตคติ ค่านิยมเกี่ยวกับสุขภาพและชีวิต และสามารถจัดการได้อย่างเหมาะสม 2.5 ปูองกันและหลีกเลี่ยงปัจจัยเสี่ยง พฤติกรรมเสี่ยงต่อสุขภาพและการเกิดโรค อุบัติเหตุ การใช้ยา สารเสพติด และความรุนแรง รู้จักสร้างเสริมความปลอดภัยให้แก่ตนเอง ครอบครัว และชุมชน 2.6 เข้าร่วมกิจกรรมทางกาย กิจกรรมกีฬา กิจกรรมนันทนาการ กิจกรรมสร้างเสริม สมรรถภาพทางกายเพื่อสุขภาพ โดยนาหลักการของทักษะกลไกมาใช้ได้อย่างปลอดภัย สนุกสนาน และปฏิบัติเป็นประจาสม่าเสมอตามความถนัดและความสนใจ 2.7 แสดงความตระหนักในความสัมพันธ์ระหว่างพฤติกรรมสุขภาพ การปูองกันโรค การดารงสุขภาพ การจัดการกับอารมณ์และความเครียด การออกกาลังกายและการเล่นกีฬากับ การมีวิถีชีวิตที่มีสุขภาพดี 2.8 สานึกในคุณค่า ศักยภาพและความเป็นตัวของตัวเอง 2.9 ปฏิบัติตามกฎ กติกา หน้าที่ความรับผิดชอบ เคารพสิทธิของตนเองและผู้อื่น ให้ความร่วมมือในการแข่งขันกีฬาและการทางานเป็นทีมอย่างเป็นระบบ ด้วยความมุ่งมั่นและมีน้าใจ นักกีฬาจนประสบความสาเร็จตามเปูาหมายด้วยความชื่นชม และสนุกสนาน า ท าวมา สรป วา น ร นท ร น บร บ นมัธยมศึกษาปีที่ 3 น า ต รบความร น ร ชีวิตและครอบครัว ว ยังส่งเสริมให้นักเรียนเข้าใจและเห็นคุณค่า ของการมีชีวิตและครอบครัวที่อบอุ่น สามารถจัดการกับอารมณ์ ความเครียดและปัญหาสุขภาพ ได้อย่างเหมาะสม ว สา รบ ารว นคร น ผว ทา าร า บน ร นร บ นมัธยมศึกษาปีที่ 1 นน าวถ า ตว ว สาร าร ร นร น า น ร น นร บ น าว ตารา
  • 18. 26 ตาราง 2.2 แสดงตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา สาระที่ 2 ชีวิตและครอบครัว ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 สาระที่ 2 ชีวิตและครอบครัว มาตรฐาน พ 2.1 เข้าใจและเห็นคุณค่าตนเอง ครอบครัว เพศศึกษา และมีทักษะในการดาเนินชีวิต ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง 1. อธิบายวิธีการปรับตัวต่อ การเปลี่ยนแปลงทางร่างกายจิตใจ อารมณ์และพัฒนาการทางเพศ อย่างเหมาะสม การเปลี่ยนแปลงทางร่างกาย จิตใจ อารมณ์ และพัฒนาการทางเพศ - ลักษณะการเปลี่ยนแปลงทางร่างกาย จิตใจ อารมณ์ และพัฒนาการทางเพศ - การยอมรับและการปรับตัวต่อการเปลี่ยนแปลง ทางร่างกาย จิตใจ อารมณ์ และพัฒนาการทางเพศ - การเบี่ยงเบนทางเพศ 2. แสดงทักษะการปฏิเสธเพื่อ ปูองกันตนเองจากการถูกล่วงละเมิด ทางเพศ ทักษะปฏิเสธเพื่อปูองกันการถูกล่วงละเมิด ทางเพศ า ตารา 2.2 ผว สน า น าสาร 2 ชีวิตและครอบครัว นมาตรฐาน มาตรฐาน พ 2.1 เข้าใจและเห็นคุณค่าตนเอง ครอบครัว เพศศึกษาและมีทักษะในการดาเนินชีวิต น ารว คร น ผว า น น า ส ค บสาร าร ร นร น า า น บ น า ท ม ปน 8 ร น เรื่องที่ 1 การปรับตัวต่อการเปลี่ยนแปลงของวัยรุ่น เรื่องที่ 2 พัฒนาการทางเพศของวัยรุ่น เรื่องที่ 3 วัยรุ่นกับพฤติกรรมเบี่ยงเบนทางเพศ เรื่องที่ 4 สาเหตุและผลกระทบของพฤติกรรมเบี่ยงเบนทางเพศในวัยรุ่น เรื่องที่ 5 แนวทางการปูองกันพฤติกรรมเบี่ยงเบนทางเพศของวัยรุ่น เรื่องที่ 6 การล่วงละเมิดทางเพศ เรื่องที่ 7 ทักษะการตัดสินใจเพื่อปูองกันปัญหาการถูกละเมิดทางเพศ เรื่องที่ 8 การปูองกันและแก้ไขสถานการณ์เมื่อเผชิญกับการถูกล่วงละเมิดทางเพศ
  • 19. 27 บริบทโรงเรียนบ้านเสื่องข้าว 1. ข้อมูลทั่วไป โรงเรียนบ้านเสื่องข้าว ตั้งอยู่หมู่ที่ 1 ตาบลเสื่องข้าว อาเภอศรีรัตนะ จังหวัดศรีสะเกษ สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาศรีสะเกษ เขต 4 สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้น พื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ (โรงเรียนบ้านเสื่องข้าว. 2556 : 1) ปรัชญา สุวิชาโน ภว โหติ (ผู้รู้ดีเป็นผู้เจริญ) คาขวัญโรงเรียน “ศึกษาดี มีวินัย ใฝุคุณธรรม นาพัฒนา กีฬาเด่น” สีประจาโรงเรียน “สีฟูา เหลือง” อักษรย่อโรงเรียน “ส.ข.” 2. วิสัยทัศน์ ภายในปี 2559 โรงเรียนบ้านเสื่องข้าวจัดการศึกษาภาคบังคับให้ประชากรวัยเรียน อย่างทั่วถึงและมีคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน พร้อมเข้าสู่ประชาคมอาเซียน ครูและ บุคลากรได้รับการพัฒนาครูมุ่งสู่มืออาชีพ มีคุณธรรมนาความรู้ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ภายใต้การบริหารจัดการแบบมีส่วนร่วมทุกภาคส่วนที่มีประสิทธิภาพ 3. พันธกิจ 3.1 จัดการศึกษาให้ประชากรวัยเรียนมีคุณภาพให้ทั่วถึงและจัดกิจกรรมที่ส่งเสริมผู้เรียนที่มี ความสามารถพิเศษเฉพาะทางและพัฒนาอัจฉริยภาพผู้เรียนสู่ประชาคมอาเซียน 3.2 จัดระบบประกันคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน 3.3 พัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษาให้มีคุณภาพตามมาตรฐานวิชาชีพ 3.4 โรงเรียนบริหารจัดการตามหลักธรรมมาภิบาล โดยเน้นเครือข่ายการมีส่วนร่วมและน้อม นาหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสู่วิถีชีวิต 4. ข้อมูลนักเรียน ปัจจุบันโรงเรียนมีข้อมูลเกี่ยวกับนักเรียน ดังนี้ 1) จานวนนักเรียนในเขตพื้นที่บริการทั้งหมด 325 คน นอกเขตพื้นที่บริการ 2 คน 2) จานวนนักเรียนจาแนกตามระดับชั้นที่เปิดสอน ตาราง 2.3 จานวนผู้เรียนแยกตามระดับชั้น ปีการศึกษา 2556 (ณ วันที่ 10 มิถุนายน 2556) ระดับชั้น ห้องเรียน จานวนนักเรียน ชาย หญิง รวม อนุบาล 1 1 6 10 16 อนุบาล 2 1 7 6 13 รวมอนุบาล 2 13 16 29
  • 20. 28 ตาราง 2.3 (ต่อ) ระดับชั้น ห้องเรียน จานวนนักเรียน ชาย หญิง รวม ประถมศึกษาปีที่ 1 1 11 10 21 ประถมศึกษาปีที่ 2 1 11 9 20 ประถมศึกษาปีที่ 3 1 12 7 19 ประถมศึกษาปีที่ 4 1 8 5 13 ประถมศึกษาปีที่ 5 1 13 13 26 ประถมศึกษาปีที่ 6 1 10 7 17 รวมประถมศึกษา 6 65 51 116 มัธยมศึกษาปีที่ 1 2 32 33 65 มัธยมศึกษาปีที่ 2 2 21 24 45 มัธยมศึกษาปีที่ 3 2 41 31 72 รวมมัธยมศึกษา 6 94 88 182 รวมทั้งสิ้น 16 172 155 327 (โรงเรียนบ้านเสื่องข้าว. 2556 : 4) 3) นักเรียนที่มีความบกพร่องทางการเรียนร่วม จานวน 25 คน คิดเป็นร้อยละ 7.65 แยกออกเป็น ระดับก่อนประถมศึกษา - คน (ด้านร่างกาย) ระดับมัธยมศึกษา 15 คน (บกพร่องทางการเรียนรู้) ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น 10 คน(บกพร่องทางการเรียนรู้) 4) นักเรียนมีภาวะทุพโภชนาการ 24 คน คิดเป็นร้อยละ 7.34 แยกออกเป็น ระดับก่อนประถมศึกษา 2 คน ระดับมัธยมศึกษา 11 คน ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น 11 คน 5) นักเรียนปัญญาเลิศ 10 คน (ใช้เกรดเฉลี่ย 4.00) คิดเป็นร้อยละ 3.06 แยกออกเป็น ระดับก่อนประถมศึกษา - คน ระดับมัธยมศึกษา 10 คน ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น - คน