SlideShare a Scribd company logo
1 of 11
บทที่ 2
เอกสารที่เกี่ยวข้อง
โรคอ้วน
2.โรคอ้วน (obesity) ปัจจุบันโรคอ้วนนับว่า เป็นโรคที่แพร่ระบาดไปทั่วโลก
องค์การอนามัยโลกถือเป็นปัญหาสุขภาพสาคัญปัญหาหนึ่ง ที่จะต้องได้รับการแก้ไขอย่างเร่งด่วน
ทั้งในประเทศที่พัฒนาแล้ว และประเทศที่กาลังพัฒนา
2.1เกณฑ์การวินิจฉัยโรคอ้วน
วิธีที่ดีที่สุดที่ใช้ได้ทั้งเด็กและผู้ใหญ่ คือ การชั่งน้าหนัก และวัดส่วนสูง ในผู้ใหญ่
ซึ่งต้องการทราบความเสี่ยงต่อเมแทบอลิกซินโดรม จะวัดขนาดรอบเอวด้วย ตามมาตรฐานกรมอนามัย พ.ศ.
2542 เกณฑ์ที่ใช้ในเด็กอายุน้อยกว่า 18 ปี ลงมา ใช้เกณฑ์น้าหนักเทียบกับส่วนสูง
ถ้าหากมีน้าหนักต่อส่วนสูงมากกว่าร้อยละ 50 บวกกับ 2 เท่าของค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน จะถือว่า น้าหนักเกิน
และหากมากกว่า 50บวกกับ 3เท่า ของค่าเบี่ยงเบนมาตรฐานถือว่าอ้วน เกณฑ์ใช้วัดในผู้ใหญ่(อายุตั้งแต่ 18
ปีขึ้นไป) ใช้เกณฑ์ดัชนีมวลกาย (body mass index หรือ BMI) ซึ่งมีวิธีคานวณดังนี้
1. ดัชนีมวลกาย BMI (bodymass index)
ดัชนีมวลกาย = น้าหนัก )กก/ (.ส่วนสูง)ม(. ²
2. วัดเส้นรอบเอว
เส้นรอบเอวที่เหมาะสมสาหรับคนเอเชียคือ ไม่เกิน 90ซม .ในผู้ชาย และไม่เกิน 80 ซม .ในผู้หญิง
2.2สาเหตุที่ทาให้เกิดโรคอ้วน
1.การรับประทานอาหาร หากรับประทานอาหารที่ให้พลังงานสูงเป็นประจา มากกว่าพลังงานที่ใช้ออกไป
จะทาให้น้าหนักเกิน
2.ประเภทของอาหาร โดยเฉพาะผู้ที่ชอบรับประทานอาหารที่มีน้าตาล ไม่ว่าจะเป็นกลูโคส น้าหวาน เครื่องดื่ม
ไวน์ เบียร์
3.โรคต่อมไร้ท่อ เช่นต่อมไทรอยด์ทางานบกพร่อง โรคเนื้องอกต่อมใต้สมอง หรือต่อมหมวกไตบางชนิด
4.ยา เช่น ยาคุมกาเนิด ยาแก้โรคซึมเศร้า ยารักษาเบาหวาน ยาสเตียรอยด์ ยาลูกกลอน ยาแก้หอบ ยาชุด
5.กรรมพันธุ์
2.3สาเหตุของโรคอ้วน
แบ่งได้เป็น 2สาเหตุ คือ
2.3.1. โรคอ้วนที่เป็นอาการแสดงของโรคอื่น
พบได้น้อยมาก เมื่อเทียบกับโรคอ้วนทั้งหมด โดยมีสาเหตุดังนี้
1.1 โรคของระบบประสาทส่วนกลาง เช่นเนื้องอกในสมองบางส่วน การเจ็บ หรือติดเชื้อในสมอง
1.2 โรคทางต่อมไร้ท่อ ทาให้มีความผิดปกติของการหลั่งฮอร์โมนบางตัว
1.3 การใช้ยาคอร์ติโคสเตียรอยด์รักษาโรคบางอย่าง อาจทาให้อ้วนได้
1.4 กลุ่มอาการที่เกิดจากความผิดปกติของโครโมโซม
โรคเหล่านี้มักพบในเด็ก โดยจะมีลักษณะอ้วนเตี้ย และพบลักษณะผิดปกติอย่างอื่นด้วย
ผู้ป่วยจะต้องได้รับการรักษาในโรงพยาบาล
2.3.2.โรคอ้วนจากการกินเกิน
เมื่อบริโภคอาหารเข้าไปมากเกินความต้องการของร่างกาย ร่างกายนามาใช้เป็นพลังงานไม่หมด
ส่วนที่เกินก็จะสะสมในรูปของไขมันอยู่ตามส่วนต่างๆ ของร่างกาย เช่นอวัยวะในช่องท้อง ใต้ผิวหนังหน้าท้อง
เมื่อสะสมมากขึ้น ก็จะกลายเป็นโรคอ้วน ซึ่งจะพบว่า มีเซลล์ไขมัน (adipocyte)
เพิ่มจานวนและเพิ่มขนาดขึ้นเป็นจานวนมาก
กลไกการเกิดโรคอ้วน ทาให้เกิดโรคอื่นๆ ตามมา ดังแสดงในแผนภูมิที่ 1
2.3.3สถานการณ์ของโรคอ้วน
ผลจากการสารวจภาวะอาหารและโภชนาการ และการศึกษาวิจัย ซึ่งดาเนินการ โดยหลายสถาบันพบตรงกันว่า
ในระยะ 10ปีที่ผ่านมา ประเทศไทยมีความชุกของการขาดสารอาหารน้อยลงไปมาก แต่ที่น่าตกใจคือ
ความชุกของโรคอ้วนและภาวะโภชนาการเกินเพิ่มขึ้นอย่างมาก การสารวจภาวะอาหาร และโภชนาการล่าสุด
โดยกรมอนามัย ใน พ.ศ. 2546พบว่า หากใช้ดัชนีมวลกายเป็นตัวชี้วัด ในประชากรที่มีอายุระหว่าง 19 - 59 ปี
ในเขตเมือง จะมีภาวะโภชนาการเกินถึงร้อยละ 26.7 และโรคอ้วนร้อยละ 12.1 ในขณะที่ประชากรวัยเดียวกัน
ในเขตชนบท มีภาวะโภชนาการเกินร้อยละ 22.8 และโรคอ้วนร้อยละ 6.6
นอกจากนี้หากใช้เส้นรอบเอวมาเป็นเกณฑ์ชี้วัด พบว่า ในประชากรอายุ 19 - 59 ปี ทั้งเขตเมือง
และชนบทรวมกัน ผู้ชายมีภาวะอ้วนลงพุง (เส้นรอบเอวมากกว่า 36 นิ้ว) ร้อยละ 10.7 ผู้หญิงมีภาวะอ้วนลงพุง
(เส้นรอบเอวมากกว่า 32 นิ้ว) ร้อยละ 36.5 สาหรับความชุกของโรคอ้วนในเด็กนักเรียนระดับมัธยมศึกษา
ในกรุงเทพมหานคร ใน พ.ศ. 2544แพทย์หญิงสุวรรณา เรืองกาญจนเศรษฐ์ และคณะ ได้ทาการศึกษาวิจัย
พบภาวะอ้วนลงพุงร้อยละ 10.2 ในนักเรียนชายและร้อยละ 13.2 ในนักเรียนหญิง
2.4โรคอ้วนนาไปสู่โรคต่างๆ อย่างไร
ในปัจจุบันการศึกษาวิจัยจากหลายสถาบันทาให้ทราบว่า โรคอ้วน เป็นสาเหตุตั้งต้น
ของโรคกลุ่มเมแทบอลิกซินโดรม โดยทาให้เกิดอาการและโรคต่างๆ ดังนี้
2.4.1. โรคเบาหวานประเภทที่ 2(type 2diabetes)
โรคอ้วนทาให้มีความผิดปกติในการเผาผลาญคาร์โบไฮเดรต เกิดภาวะดื้อต่ออินซูลิน เชื่อว่า
เกิดจากการมีเซลล์ไขมันมาก และจะมีการย่อยสลายไขมันทาให้เกิดกรดไขมันอิสระ (freefattyacid)
ออกมาในกระแสเลือดมาก และขัดขวางการออกฤทธิ์ของฮอร์โมนอินซูลิน ซึ่งปกติ
จะทาหน้าที่รักษาระดับน้าตาลในเลือดให้เป็นปกติอยู่เสมอ การศึกษาเกี่ยวกับเมแทบอลิกซินโดรมในเด็ก พบว่า
ภาวะนี้ มีความชุกเพิ่มขึ้น ตามความรุนแรงของโรคอ้วน ในกลุ่มเด็กที่อ้วนมาก
อาจพบเมแทบอลิกซินโดรมได้มากกว่าเด็กปกติ ถึงร้อยละ 50 ในประเทศไทย มีการศึกษาวิจัย
ที่คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล ในช่วง พ.ศ. 2539-2542พบว่า ความชุกของโรคอ้วนในเด็กเพิ่มสูงขึ้นมาก
และมีความสัมพันธ์อย่างใกล้ชิดกับการเพิ่มขึ้น ของโรคเบาหวานประเภทที่ 2ในเด็กอ้วน
2.4.2.โรคไขมันในเลือดผิดปกติ (dyslipidemia)
ภาวะที่พบในคนอ้วน ได้แก่ไตรกลีเซอไรด์ (triglyceride) มีระดับสูง แอลดีแอล คอเลสเตอรอล (low density
lipoprotein cholesterol - LDL-C) มีระดับสูงกว่าปกต ส่วนเอชดีแอลคอเลสเตอรอล (high density lipoprotein
cholesterol - HDL-C) มีระดับต่ากว่าปกติ ไตรกลีเซอไรด์ในเลือดที่มีมากเกินไป จะถูกนาไปเก็บสะสม
หรือย่อยเป็นกรดไขมันอิสระ ซึ่งมีฤทธิ์เป็นพิษต่อบีตาเซลล์ในตับอ่อน ทาให้เกิดโรคเบาหวาน
นอกจากนั้นระดับไขมันในเลือดสูง ยังทาให้หลอดเลือดอักเสบ
ซึ่งนาไปสู่โรคหัวใจและหลอดเลือดในเวลาต่อมา
2.4.3. โรคความดันโลหิตสูง
เมื่อมีระดับน้าตาลในเลือดสูงและไขมันในเลือดสูง ทาให้หลอดเลือดมีการอักเสบ หรือตีบตัน
ความยืดหยุ่นของหลอดเลือดเสียไป เป็นผลทาให้เกิดโรคความดันโลหิตสูง
2.4.4. โรคหัวใจและหลอดเลือด
จากสาเหตุของโรคในข้อ 2 และข้อ 3 หากมีการอักเสบหรือตีบตันในหลอดเลือดที่ไปเลี้ยงหัวใจ
ก็ทาให้เกิดโรคหัวใจขาดเลือด ซึ่งเป็นสาเหตุหนึ่งที่ทาให้เสียชีวิตได้ อนึ่ง หากมีการตีบตันของหลอดเลือด
ที่ไปเลี้ยงอวัยวะอื่นๆ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง จากการที่มีระดับน้าตาลและไขมันในเลือดสูง
ก็จะมีผลเสียต่อร่างกายเช่นกัน เช่น เส้นเลือดที่สมองตีบ ทาให้เป็นอัมพาต หรืออัมพฤกษ์
2.5ภาวะแทรกซ้อนอื่นของโรคอ้วน
นอกจากโรคอ้วนจะนาไปสู่โรคต่าง ๆ ดังที่กล่าวมาแล้ว ยังมีภาวะแทรกซ้อนอื่นๆ ดังนี้
2.5.1. ความผิดปกติของผิวหนัง
- ผิวหนังมีสีคล้า หรือสีดาคล้า (acanthosis nigricans) ตามข้อพับ คอ รักแร้ ใต้ราวนม
อาจมีอาการอักเสบของผิวหนังบริเวณดังกล่าว
- ก้อนไขมันสีเหลือง (xanthoma) ขนาดต่างกัน พบบริเวณข้อเท้า ข้อเข่า หลังเอ็นร้อยหวาย
ผู้ที่มีก้อนไขมันสีเหลืองจะมีระดับคอเลสเตอรอลในเลือดสูงมาก และมักพบว่า
มีความเสี่ยงต่อภาวะเส้นเลือดหัวใจตีบสูงมาก
2.5.2. ความผิดปกติของกระดูกและข้อ
คนที่อ้วนมากๆ จะพบว่า การเคลื่อนไหวลาบาก และมักมีอาการปวดเข่า เนื่องจาก
เข่าต้องรับน้าหนักตัวมากเกินปกติ นอกจากนั้น ยังมีอาการปวดข้อเท้า ปวดหลัง ในเด็กที่กาลังเจริญเติบโต
และมีโรคอ้วนด้วย อาจพบกระดูกต้นขาโค้งงอ (bowed femur)
2.5.3. ความผิดปกติของระบบการหายใจ
คนอ้วนจะมีไขมันหนาที่ใต้ผิวหนังบริเวณทรวงอก ทาให้ช่องอกมีการขยายตัวน้อยกว่าที่ควร
และมีไขมันในช่องท้องมาก ทาให้กะบังลมเคลื่อนไหวน้อยลง จึงทาให้มีการหายใจเร็วและตื้น
และเกิดอาการหยุดหายใจขณะหลับ (sleep apnea) ซึ่งเป็นอันตรายมาก
2.5.4. ความผิดปกติของต่อมไร้ท่อ
นอกจากความผิดปกติของระดับอินซูลินแล้ว ยังอาจพบความผิดปกติของฮอร์โมนตัวอื่นๆ
ทาให้มีอาการจากความผิดปกติของฮอร์โมนนั้นๆ ร่วมด้วย
2.5.5.ความผิดปกติของตับ
คนอ้วนจะมีไขมันอยู่ตามอวัยวะภายในช่องท้อง โดยเฉพาะที่ตับ ซึ่งทาให้เกิดอาการตับอักเสบ
หรือตับแข็งในเวลาต่อมาได้
2.5.6. สมรรถภาพในการทางาน
คนอ้วนมักมีภาวะแทรกซ้อนจากโรคต่างๆ ที่กล่าวข้างต้น ทาให้เหนื่อยง่าย
สมรรถภาพในการทางานน้อยลงอย่างชัดเจน
2.5.7. บุคลิกภาพ
เด็กอ้วนและผู้ใหญ่อ้วนมักถูกญาติพี่น้องเพื่อนฝูงล้อเลียน ทาให้มีปัญหาทางด้านจิตใจ
และในการพัฒนาบุคลิกภาพได้ โดยอาจเป็นคนชอบเก็บตัว ไม่สนใจสังคม ซึมเศร้า
การดูแลช่วยเหลือต้องทาความเข้าใจกับผู้ป่วย ให้ถือว่า ไม่ใช่ปมด้อย แต่เป็นความไม่สมดุลกัน
ระหว่างพลังงานที่ได้กับพลังงานที่ใช้ไป ต้องกระตุ้นให้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภค
และการออกกาลังกาย โดยชักชวนให้ทาเป็นกลุ่มหรือหมู่คณะ
2.6 แนวทางการดูแลรักษาโรคอ้วน
การดูแลรักษาโรคอ้วนที่ปลอดภัยและได้ผลในระยะยาว คือ การปรับเปลี่ยนพฤติกรรม
ในเรื่องการบริโภคอาหาร และการทากิจกรรมออกกาลังกาย ซึ่งมีหลักการง่ายๆ ดังต่อไปนี้
1.กินอาหารตามโภชนาบัญญัติ 9ประการ หรือตามธงโภชนาการ
2.ลดอาหารที่มีคาร์โบไฮเดรต ไขมัน และน้าตาล รวมทั้งหลีกเลี่ยงอาหารทอด หรืออาหารผัด ที่ใช้น้ามัน
แกงหรือขนม ซึ่งใส่กะทิ เปลี่ยนมาใช้วิธีอบ ต้ม นึ่ง ย่าง เพื่อลดการใช้น้ามันปรุงอาหาร
3. กินอาหารมื้อหลักให้ครบ 3มื้อ มีอาหารว่างที่ไม่หวานและไม่มีไขมันมาก หากเป็นผลไม้
ควรเป็นผลไม้ที่ไม่หวาน เช่น มะละกอ ฝรั่ง ชมพู่
4. กินอาหารที่มีกากใยให้เพิ่มขึ้น เช่น ข้าวกล้อง ขนมปังโฮลวีตจากข้าวสาลี หรือธัญพืชชนิดอื่น ที่ไม่ขัดสี ผัก
ผลไม้
5.ควรออกกาลังกายอย่างสม่าเสมอ โดยประเภทและระยะเวลาในการออกกาลังกาย ต้องปรับตามสภาพ
และความพร้อมของร่างกาย
6. การใช้ยา ควรใช้โดยมีแพทย์คอยดูแลอย่างใกล้ชิดเท่านั้น ไม่ควรซื้อยามารับประทานเอง
2.7กิจกรรมการออกกาลังกาย
1. การเดิน เริ่มเดินช้าๆ ก้าวเท้าให้สม่าเสมอ แกว่งแขนสบายๆ ไปตามจังหวะ เพื่อบริหารกล้ามเนื้อส่วนต่างๆ
ที่ใช้ในการเดิน ควรสวมรองเท้าที่เหมาะสมสาหรับการเดิน
เพราะจะช่วยลดการบาดเจ็บที่ข้อและกล้ามเนื้อได้มาก ควรเพิ่มความเร็วของการเดิน
และระยะเวลาที่เดินในแต่ละครั้ง ไม่น้อยกว่าครั้งละ ๓๐ นาที จานวน ๓ - ๕ ครั้งต่อสัปดาห์
2.การวิ่งเหยาะๆ หากออกกาลังกายด้วยการเดินแล้วเป็นไปด้วยดี อาจเปลี่ยนเป็นวิ่งเหยาะๆ
เพื่อเพิ่มความแข็งแกร่งของกล้ามเนื้อ โดยเริ่มจากระยะเวลาสั้นๆ ก่อน
แล้วค่อยเพิ่มตามความเหมาะสมกับสภาพร่างกาย
3. ฝึกโยคะ หรือรามวยจีน หรือราไม้พลอง ควรเริ่มฝึกกับผู้ฝึกที่เชี่ยวชาญ จะเพิ่มความแข็งแรง
และความยืดหยุ่น ให้แก่ร่างกายได้อย่างดี
4.การออกกาลังกายแบบแอโรบิกชนิดต่างๆ เช่นว่ายน้า ขี่จักรยาน เต้นรา เต้นแอโรบิก
หากทาได้ควรทาอย่างน้อยครั้งละ 20-30 นาที จานวน 3-5ครั้ง ต่อสัปดาห์
กิจกรรมการออกกาลังกายควรเลือก ให้เหมาะสมกับสภาพร่างกายและอุปนิสัยของตนเอง
อาจเลือกสลับสับเปลี่ยนกันไปในแต่ละวันก็ได้ หลักการคือ ควรทาให้ได้อย่างน้อยวันละ 20-30 นาที จนรู้สึกว่า
มีเหงื่อ เริ่มเหนื่อย และมีอัตราการเต้นของหัวใจเร็วขึ้น ประมาณร้อยละ 60-80ของชีพจรสูงสุด
ซึ่งคานวณได้โดยใช้ค่า 220ลบด้วยอายุ เช่น อายุ 50 ปี คานวณค่าชีพจรสูงสุดจะเท่ากับ 220-50 เท่ากับ 170
ครั้งต่อนาที เมื่อออกกาลังกาย ควรให้อัตราการเต้นของหัวใจอยู่ที่ 102-136ครั้งต่อนาที ซึ่งเท่ากับร้อยละ 60-80
ของชีพจรสูงสุด
2.8 สถิติโรคอ้วนทั่วโลก
คลื่นโรคอ้วน กระหน่าทั่วโลก (Lisa) งานวิจัยร่วมของ Imperial College London, HarvardUniversity และ
WHO เปิดเผยว่าประชากรมากกว่า 500 ล้านคนทั่วโลก หรือประมาณ 1 ใน 9ของคนทั่วไป
ถือว่าอยู่ในขอบข่ายอ้วน (Obese ได้แก่ผู้ที่มีค่าดัชนีมวลกายมากกว่า 30 ) และด้วยเหตุนี้ทาให้ทุก ๆ ปี
มีคนเสียชีวิตก่อนวัยอันควรถึง 3 ล้านคน ไม่ว่าจะจากโรคหัวใจ โรคเบาหวาน
หรือมะเร็ง โดยถือเป็นปัญหาเร่งด่วนที่มนุษยชาติต้องร่วมกันแก้ไข นอกจากนี้
การวิจัยดังกล่าวยังเปรียบเทียบข้อมูลจากปี 1998 กับปี 2008 ตัวเลขที่น่าตกใจก็คือ
จานวนผู้ชายที่เป็นโรคอ้วนกระโดดจาก 4.8% ขึ้นมาเป็น 9.8% ส่วนผู้หญิงนั้นเดิมทีอยู่ที่ 7.9%
แต่ในการสารวจล่าสุดอยู่ที่ 13.8%
สถิติคนไทยเป็นโรคอ้วน และโรคเรื้อรังที่เกี่ยวข้อง
2.8.1 คนไทยเป็นโรคอ้วนอันดับ 5 ของเอเชีย-แปซิฟิก
ปัจจุบันทั่วโลกกาลังเร่งรณรงค์ต่อสู้กับปัญหาภาวะอ้วน (Obesity) และโรคอ้วนลงพุง (Metabolic Syndrome)
เพื่อลดภาวะความรุนแรงของโรควิถีชีวิต อันได้แก่โรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง
โรคหัวใจและหลอดเลือด โรคมะเร็ง และภาวะไตวายเรื้อรัง เป็นต้น “โรคอ้วน”
ถือเป็นภัยคุกคามที่กาลังระบาดในกลุ่มคนไทย โดยวัดจากอัตราการเสียชีวิตที่เพิ่มสูงขึ้น
จากกระทรวงสาธารณสุขรายงานว่า ปัจจุบันพบว่าคนไทยอ้วน และมีน้าหนักเกินมาตรฐานเป็นอันดับ 5
ของเอเชีย-แปซิฟิก เป็นผลของการที่คนไทย ใช้ชีวิตกินแล้วนั่งหรือนอน และขาดการออกกาลังกาย
นพ.ไพจิตร์ วราชิต กล่าวว่า ผลสารวจสุขภาพล่าสุดมีคนไทยอายุ 15ปีขึ้นไปเป็นโรคอ้วน ติดอันดับ 5
ของเอเชียแปซิฟิก โดยมีคนอ้วนมากถึง 17 ล้านคนทั่วประเทศ
และยังมีแนวโน้มเป็นโรคอ้วนเพิ่มขึ้นอีกประมาณ 4ล้านคนต่อปี
ทาให้รัฐบาลต้องสูญเสียค่าใช้จ่ายในการรักษาพยาบาล มากกว่าปีละ 1 แสนล้านบาท อีกทั้ง
คนที่เป็นโรคอ้วนจะมีความเสี่ยงที่เป็นโรคหัวใจและหลอดเลือด โรคมะเร็ง
และโรคข้อกระดูกเสื่อมสูงกว่าคนปกติ และยังส่งผลกระทบด้านอารมณ์อีกด้วย
ซึ่งผลสรุปจากรายงานการสารวจภาวะอาหารและโภชนาการของประเทศไทยครั้งที่ 5พ.ศ.2546 แสดงให้เห็นว่า
-คนไทยอายุ 20– 29ปี มีภาวะโรคอ้วนเพิ่มจาก
-ร้อยละ 2.9 เป็นร้อยละ 21.7 (7.5 เท่า)
-คนไทยอายุ 40– 49ปี อ้วนเพิ่ม 1.7 เท่า
-ปัจจุบันเด็กประถมมีภาวะโภชนาการเกิน ร้อยละ 13.4 เพิ่มขึ้นทุกปี
-คนไทยอ้วนเป็นอันดับ 5 ใน14 ประเทศแถบเอเชีย-แปซิฟิก
-คนไทยมีภาวะท้วมถึงอ้วนราว 10 ล้านคน
และหากนามาเปรียบเทียบกับรายงานผลการสารวจของสานักงานสถิติแห่งชาติปี 2550
ที่มีผลการสารวจใกล้เคียงกันนั้น แสดงให้เห็นว่า
-ปัจจุบันคนไทยมีภาวะท้วมถึงอ้วนราว 10 ล้านคน
-เด็กไทยอายุ 2-18ปี เป็นโรคอ้วนร้อยละ 8
-กลุ่มวัยรุ่น 13-18ปี ร้อยละ 9 เพิ่มขึ้นทุกปี
-ผลสารวจภาวะอ้วนลงพุงของคนไทยอายุ 15ปีขึ้นไปโดยใช้เกณฑ์เส้นรอบเอวไม่น้อยกว่า 90 ซม.ในผู้ชาย
และไม่น้อยกว่า 80ซม.ในผู้หญิง เป็นเกณฑ์ตัดสินอ้วนลงพุง ในปี 2550ภาวะอ้วนลงพุงในเพศชายพบ ร้อยละ
24 และในเพศหญิงพบร้อยละ 60.5
-ผลสารวจภาวะอ้วนลงพุงของคนไทยอายุ 15ปีขึ้นไปโดยใช้เกณฑ์เส้นรอบเอวไม่น้อยกว่า 90 ซม.ในผู้ชาย
และไม่น้อยกว่า 80ซม.ในผู้หญิง เป็นเกณฑ์ตัดสินอ้วนลงพุงสาหรับปี 2551
พบภาวะอ้วนลงพุงเพิ่มขึ้นในเพศชาย เป็นร้อยละ 33.5 แต่ในเพศหญิงสถานการณ์ภาวะอ้วนลงพุงดีขึ้น
เหลือร้อยละ 58.2
สาเหตุหลักคือวิถีการดาเนินชีวิตที่ไม่สมดุล มีการบริโภคมากเกินความต้องการของร่างกาย
ออกกาลังกายน้อย รายงานผลสารวจของกระทรวงสาธารณสุขเมื่อปี 2547 พบว่า คนไทยกินผักและผลไม้เพียง
275 กรัม/คน/วัน ซึ่งต่ากว่ามาตรฐานคือ 400กรัม/คน/วัน
ส่วนการกินน้าตาลและไขมันมีแนวโนเพิ่มสูงขึ้นเรื่อยๆ ขณะที่การเคลื่อนไหว หรือออกกาลังกายในกลุ่มอายุ 15
ปีขึ้นไป ลดลงจากร้อยละ 83.2 ในปี 2548 เหลือร้อยละ 78.1 ในปี 2549
แนวทางการแก้ปัญหาโรคอ้วนนั้นสามารถทาได้โดย
- สร้างปัจจัยเอื้อปรับสภาพแวดล้อมเอื้อต่อการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการกินและออกกาลังกาย
- สร้างองค์ความรู้ตามหลักการ 3อ. เพื่อใช้เป็นแนวทางการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม กินและออกกาลัง
สร้างความสุมดุลพลังงานของร่างกาย แต่การต่อสู้กับโรคอ้วนนั้น ไม่ใช่เรื่องที่จะทากันง่ายๆ
แต่ก็ไม่ใช่เรื่องที่ยากเกินความสามารถ ทุกอย่างจะเป็นไปได้
หากเริ่มจากการมีจิตใจที่เข้มแข็งและไม่ยอมแพ้ต่อความยากลาบากนั้นเอง

More Related Content

Similar to บทที่ 2

โรคไขมันอุดตันในเส้นเลือด M1 17 no na me (2)
โรคไขมันอุดตันในเส้นเลือด M1 17 no na me (2)โรคไขมันอุดตันในเส้นเลือด M1 17 no na me (2)
โรคไขมันอุดตันในเส้นเลือด M1 17 no na me (2)Jittys Supat
 
Metabolic syndrome หนังสือคู่มืออ้วนลงพุง
Metabolic syndrome หนังสือคู่มืออ้วนลงพุงMetabolic syndrome หนังสือคู่มืออ้วนลงพุง
Metabolic syndrome หนังสือคู่มืออ้วนลงพุงUtai Sukviwatsirikul
 
โรคอ้วน007
โรคอ้วน007โรคอ้วน007
โรคอ้วน007Anirut007
 
โรคที่เกิดจากสูบบุหรี่ (1)
โรคที่เกิดจากสูบบุหรี่ (1)โรคที่เกิดจากสูบบุหรี่ (1)
โรคที่เกิดจากสูบบุหรี่ (1)Wan Ngamwongwan
 
เรื่อง โรคหลอดเลือดแข็งตัว(Atherosclerosis)
เรื่อง โรคหลอดเลือดแข็งตัว(Atherosclerosis)เรื่อง โรคหลอดเลือดแข็งตัว(Atherosclerosis)
เรื่อง โรคหลอดเลือดแข็งตัว(Atherosclerosis)Wan Ngamwongwan
 
โรคไขมันอุดตันในเส้นเลือด M1 17 no na me (2)
โรคไขมันอุดตันในเส้นเลือด M1 17 no na me (2)โรคไขมันอุดตันในเส้นเลือด M1 17 no na me (2)
โรคไขมันอุดตันในเส้นเลือด M1 17 no na me (2)Jittys Supat
 
โรคไขมันอุดตันในเส้นเลือด M1 17 no na me (2)
โรคไขมันอุดตันในเส้นเลือด M1 17 no na me (2)โรคไขมันอุดตันในเส้นเลือด M1 17 no na me (2)
โรคไขมันอุดตันในเส้นเลือด M1 17 no na me (2)Jittys Supat
 
โรคไขมันอุดตันในเส้นเลือด M1 17 no na me (2)
โรคไขมันอุดตันในเส้นเลือด M1 17 no na me (2)โรคไขมันอุดตันในเส้นเลือด M1 17 no na me (2)
โรคไขมันอุดตันในเส้นเลือด M1 17 no na me (2)Jittys Supat
 
โรคไขมันอุดตันในเส้นเลือด M1 17 no na me (2)
โรคไขมันอุดตันในเส้นเลือด M1 17 no na me (2)โรคไขมันอุดตันในเส้นเลือด M1 17 no na me (2)
โรคไขมันอุดตันในเส้นเลือด M1 17 no na me (2)Jittys Supat
 
บทนำ โรคอ้วน
บทนำ โรคอ้วนบทนำ โรคอ้วน
บทนำ โรคอ้วนพัน พัน
 
Guidelines for management of dyslipidemia
Guidelines for management of dyslipidemiaGuidelines for management of dyslipidemia
Guidelines for management of dyslipidemiaUtai Sukviwatsirikul
 
Guidelines for management of dyslipidemia
Guidelines for management of dyslipidemiaGuidelines for management of dyslipidemia
Guidelines for management of dyslipidemiaUtai Sukviwatsirikul
 
สุขศึกษา ม. 5 หน่วยที่ 7.pptx
สุขศึกษา ม. 5 หน่วยที่ 7.pptxสุขศึกษา ม. 5 หน่วยที่ 7.pptx
สุขศึกษา ม. 5 หน่วยที่ 7.pptxKritwarongTheychasir
 
Final project
Final projectFinal project
Final projectlooknam7
 
เบาหวาน
เบาหวานเบาหวาน
เบาหวานiceconan25
 

Similar to บทที่ 2 (20)

Diabetes
DiabetesDiabetes
Diabetes
 
เบาหวาน
เบาหวานเบาหวาน
เบาหวาน
 
โรคไขมันอุดตันในเส้นเลือด M1 17 no na me (2)
โรคไขมันอุดตันในเส้นเลือด M1 17 no na me (2)โรคไขมันอุดตันในเส้นเลือด M1 17 no na me (2)
โรคไขมันอุดตันในเส้นเลือด M1 17 no na me (2)
 
Metabolic syndrome หนังสือคู่มืออ้วนลงพุง
Metabolic syndrome หนังสือคู่มืออ้วนลงพุงMetabolic syndrome หนังสือคู่มืออ้วนลงพุง
Metabolic syndrome หนังสือคู่มืออ้วนลงพุง
 
โรคอ้วน007
โรคอ้วน007โรคอ้วน007
โรคอ้วน007
 
โรคที่เกิดจากสูบบุหรี่ (1)
โรคที่เกิดจากสูบบุหรี่ (1)โรคที่เกิดจากสูบบุหรี่ (1)
โรคที่เกิดจากสูบบุหรี่ (1)
 
เรื่อง โรคหลอดเลือดแข็งตัว(Atherosclerosis)
เรื่อง โรคหลอดเลือดแข็งตัว(Atherosclerosis)เรื่อง โรคหลอดเลือดแข็งตัว(Atherosclerosis)
เรื่อง โรคหลอดเลือดแข็งตัว(Atherosclerosis)
 
โรคไขมันอุดตันในเส้นเลือด M1 17 no na me (2)
โรคไขมันอุดตันในเส้นเลือด M1 17 no na me (2)โรคไขมันอุดตันในเส้นเลือด M1 17 no na me (2)
โรคไขมันอุดตันในเส้นเลือด M1 17 no na me (2)
 
โรคไขมันอุดตันในเส้นเลือด M1 17 no na me (2)
โรคไขมันอุดตันในเส้นเลือด M1 17 no na me (2)โรคไขมันอุดตันในเส้นเลือด M1 17 no na me (2)
โรคไขมันอุดตันในเส้นเลือด M1 17 no na me (2)
 
โรคไขมันอุดตันในเส้นเลือด M1 17 no na me (2)
โรคไขมันอุดตันในเส้นเลือด M1 17 no na me (2)โรคไขมันอุดตันในเส้นเลือด M1 17 no na me (2)
โรคไขมันอุดตันในเส้นเลือด M1 17 no na me (2)
 
โรคไขมันอุดตันในเส้นเลือด M1 17 no na me (2)
โรคไขมันอุดตันในเส้นเลือด M1 17 no na me (2)โรคไขมันอุดตันในเส้นเลือด M1 17 no na me (2)
โรคไขมันอุดตันในเส้นเลือด M1 17 no na me (2)
 
บทนำ โรคอ้วน
บทนำ โรคอ้วนบทนำ โรคอ้วน
บทนำ โรคอ้วน
 
Guidelines for management of dyslipidemia
Guidelines for management of dyslipidemiaGuidelines for management of dyslipidemia
Guidelines for management of dyslipidemia
 
Guidelines for management of dyslipidemia
Guidelines for management of dyslipidemiaGuidelines for management of dyslipidemia
Guidelines for management of dyslipidemia
 
Ppt.DLP
Ppt.DLPPpt.DLP
Ppt.DLP
 
สุขศึกษา ม. 5 หน่วยที่ 7.pptx
สุขศึกษา ม. 5 หน่วยที่ 7.pptxสุขศึกษา ม. 5 หน่วยที่ 7.pptx
สุขศึกษา ม. 5 หน่วยที่ 7.pptx
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ โรคอ้วน
โครงงานคอมพิวเตอร์ โรคอ้วนโครงงานคอมพิวเตอร์ โรคอ้วน
โครงงานคอมพิวเตอร์ โรคอ้วน
 
Final project
Final projectFinal project
Final project
 
Ppt.dlp
Ppt.dlpPpt.dlp
Ppt.dlp
 
เบาหวาน
เบาหวานเบาหวาน
เบาหวาน
 

More from Wityaporn Pleeboot

More from Wityaporn Pleeboot (9)

โครงการ1
โครงการ1โครงการ1
โครงการ1
 
โครงการ
โครงการโครงการ
โครงการ
 
โครงการ Up And Down
โครงการ Up And Downโครงการ Up And Down
โครงการ Up And Down
 
Up and-down
Up and-downUp and-down
Up and-down
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
Up and-down
Up and-downUp and-down
Up and-down
 
wityaporn
wityapornwityaporn
wityaporn
 
โปรแกรมคอมพิวเตอร์
โปรแกรมคอมพิวเตอร์โปรแกรมคอมพิวเตอร์
โปรแกรมคอมพิวเตอร์
 
San disk เปิดตัว microsd ความจุ 128gb
San disk เปิดตัว microsd ความจุ 128gbSan disk เปิดตัว microsd ความจุ 128gb
San disk เปิดตัว microsd ความจุ 128gb
 

บทที่ 2

  • 1. บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง โรคอ้วน 2.โรคอ้วน (obesity) ปัจจุบันโรคอ้วนนับว่า เป็นโรคที่แพร่ระบาดไปทั่วโลก องค์การอนามัยโลกถือเป็นปัญหาสุขภาพสาคัญปัญหาหนึ่ง ที่จะต้องได้รับการแก้ไขอย่างเร่งด่วน ทั้งในประเทศที่พัฒนาแล้ว และประเทศที่กาลังพัฒนา 2.1เกณฑ์การวินิจฉัยโรคอ้วน วิธีที่ดีที่สุดที่ใช้ได้ทั้งเด็กและผู้ใหญ่ คือ การชั่งน้าหนัก และวัดส่วนสูง ในผู้ใหญ่ ซึ่งต้องการทราบความเสี่ยงต่อเมแทบอลิกซินโดรม จะวัดขนาดรอบเอวด้วย ตามมาตรฐานกรมอนามัย พ.ศ. 2542 เกณฑ์ที่ใช้ในเด็กอายุน้อยกว่า 18 ปี ลงมา ใช้เกณฑ์น้าหนักเทียบกับส่วนสูง ถ้าหากมีน้าหนักต่อส่วนสูงมากกว่าร้อยละ 50 บวกกับ 2 เท่าของค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน จะถือว่า น้าหนักเกิน และหากมากกว่า 50บวกกับ 3เท่า ของค่าเบี่ยงเบนมาตรฐานถือว่าอ้วน เกณฑ์ใช้วัดในผู้ใหญ่(อายุตั้งแต่ 18 ปีขึ้นไป) ใช้เกณฑ์ดัชนีมวลกาย (body mass index หรือ BMI) ซึ่งมีวิธีคานวณดังนี้ 1. ดัชนีมวลกาย BMI (bodymass index) ดัชนีมวลกาย = น้าหนัก )กก/ (.ส่วนสูง)ม(. ² 2. วัดเส้นรอบเอว เส้นรอบเอวที่เหมาะสมสาหรับคนเอเชียคือ ไม่เกิน 90ซม .ในผู้ชาย และไม่เกิน 80 ซม .ในผู้หญิง
  • 2. 2.2สาเหตุที่ทาให้เกิดโรคอ้วน 1.การรับประทานอาหาร หากรับประทานอาหารที่ให้พลังงานสูงเป็นประจา มากกว่าพลังงานที่ใช้ออกไป จะทาให้น้าหนักเกิน 2.ประเภทของอาหาร โดยเฉพาะผู้ที่ชอบรับประทานอาหารที่มีน้าตาล ไม่ว่าจะเป็นกลูโคส น้าหวาน เครื่องดื่ม ไวน์ เบียร์ 3.โรคต่อมไร้ท่อ เช่นต่อมไทรอยด์ทางานบกพร่อง โรคเนื้องอกต่อมใต้สมอง หรือต่อมหมวกไตบางชนิด 4.ยา เช่น ยาคุมกาเนิด ยาแก้โรคซึมเศร้า ยารักษาเบาหวาน ยาสเตียรอยด์ ยาลูกกลอน ยาแก้หอบ ยาชุด 5.กรรมพันธุ์ 2.3สาเหตุของโรคอ้วน แบ่งได้เป็น 2สาเหตุ คือ 2.3.1. โรคอ้วนที่เป็นอาการแสดงของโรคอื่น พบได้น้อยมาก เมื่อเทียบกับโรคอ้วนทั้งหมด โดยมีสาเหตุดังนี้ 1.1 โรคของระบบประสาทส่วนกลาง เช่นเนื้องอกในสมองบางส่วน การเจ็บ หรือติดเชื้อในสมอง 1.2 โรคทางต่อมไร้ท่อ ทาให้มีความผิดปกติของการหลั่งฮอร์โมนบางตัว 1.3 การใช้ยาคอร์ติโคสเตียรอยด์รักษาโรคบางอย่าง อาจทาให้อ้วนได้ 1.4 กลุ่มอาการที่เกิดจากความผิดปกติของโครโมโซม โรคเหล่านี้มักพบในเด็ก โดยจะมีลักษณะอ้วนเตี้ย และพบลักษณะผิดปกติอย่างอื่นด้วย ผู้ป่วยจะต้องได้รับการรักษาในโรงพยาบาล 2.3.2.โรคอ้วนจากการกินเกิน เมื่อบริโภคอาหารเข้าไปมากเกินความต้องการของร่างกาย ร่างกายนามาใช้เป็นพลังงานไม่หมด ส่วนที่เกินก็จะสะสมในรูปของไขมันอยู่ตามส่วนต่างๆ ของร่างกาย เช่นอวัยวะในช่องท้อง ใต้ผิวหนังหน้าท้อง เมื่อสะสมมากขึ้น ก็จะกลายเป็นโรคอ้วน ซึ่งจะพบว่า มีเซลล์ไขมัน (adipocyte) เพิ่มจานวนและเพิ่มขนาดขึ้นเป็นจานวนมาก
  • 3. กลไกการเกิดโรคอ้วน ทาให้เกิดโรคอื่นๆ ตามมา ดังแสดงในแผนภูมิที่ 1 2.3.3สถานการณ์ของโรคอ้วน ผลจากการสารวจภาวะอาหารและโภชนาการ และการศึกษาวิจัย ซึ่งดาเนินการ โดยหลายสถาบันพบตรงกันว่า ในระยะ 10ปีที่ผ่านมา ประเทศไทยมีความชุกของการขาดสารอาหารน้อยลงไปมาก แต่ที่น่าตกใจคือ ความชุกของโรคอ้วนและภาวะโภชนาการเกินเพิ่มขึ้นอย่างมาก การสารวจภาวะอาหาร และโภชนาการล่าสุด โดยกรมอนามัย ใน พ.ศ. 2546พบว่า หากใช้ดัชนีมวลกายเป็นตัวชี้วัด ในประชากรที่มีอายุระหว่าง 19 - 59 ปี ในเขตเมือง จะมีภาวะโภชนาการเกินถึงร้อยละ 26.7 และโรคอ้วนร้อยละ 12.1 ในขณะที่ประชากรวัยเดียวกัน ในเขตชนบท มีภาวะโภชนาการเกินร้อยละ 22.8 และโรคอ้วนร้อยละ 6.6 นอกจากนี้หากใช้เส้นรอบเอวมาเป็นเกณฑ์ชี้วัด พบว่า ในประชากรอายุ 19 - 59 ปี ทั้งเขตเมือง และชนบทรวมกัน ผู้ชายมีภาวะอ้วนลงพุง (เส้นรอบเอวมากกว่า 36 นิ้ว) ร้อยละ 10.7 ผู้หญิงมีภาวะอ้วนลงพุง (เส้นรอบเอวมากกว่า 32 นิ้ว) ร้อยละ 36.5 สาหรับความชุกของโรคอ้วนในเด็กนักเรียนระดับมัธยมศึกษา ในกรุงเทพมหานคร ใน พ.ศ. 2544แพทย์หญิงสุวรรณา เรืองกาญจนเศรษฐ์ และคณะ ได้ทาการศึกษาวิจัย พบภาวะอ้วนลงพุงร้อยละ 10.2 ในนักเรียนชายและร้อยละ 13.2 ในนักเรียนหญิง 2.4โรคอ้วนนาไปสู่โรคต่างๆ อย่างไร ในปัจจุบันการศึกษาวิจัยจากหลายสถาบันทาให้ทราบว่า โรคอ้วน เป็นสาเหตุตั้งต้น ของโรคกลุ่มเมแทบอลิกซินโดรม โดยทาให้เกิดอาการและโรคต่างๆ ดังนี้
  • 4. 2.4.1. โรคเบาหวานประเภทที่ 2(type 2diabetes) โรคอ้วนทาให้มีความผิดปกติในการเผาผลาญคาร์โบไฮเดรต เกิดภาวะดื้อต่ออินซูลิน เชื่อว่า เกิดจากการมีเซลล์ไขมันมาก และจะมีการย่อยสลายไขมันทาให้เกิดกรดไขมันอิสระ (freefattyacid) ออกมาในกระแสเลือดมาก และขัดขวางการออกฤทธิ์ของฮอร์โมนอินซูลิน ซึ่งปกติ จะทาหน้าที่รักษาระดับน้าตาลในเลือดให้เป็นปกติอยู่เสมอ การศึกษาเกี่ยวกับเมแทบอลิกซินโดรมในเด็ก พบว่า ภาวะนี้ มีความชุกเพิ่มขึ้น ตามความรุนแรงของโรคอ้วน ในกลุ่มเด็กที่อ้วนมาก อาจพบเมแทบอลิกซินโดรมได้มากกว่าเด็กปกติ ถึงร้อยละ 50 ในประเทศไทย มีการศึกษาวิจัย ที่คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล ในช่วง พ.ศ. 2539-2542พบว่า ความชุกของโรคอ้วนในเด็กเพิ่มสูงขึ้นมาก และมีความสัมพันธ์อย่างใกล้ชิดกับการเพิ่มขึ้น ของโรคเบาหวานประเภทที่ 2ในเด็กอ้วน 2.4.2.โรคไขมันในเลือดผิดปกติ (dyslipidemia) ภาวะที่พบในคนอ้วน ได้แก่ไตรกลีเซอไรด์ (triglyceride) มีระดับสูง แอลดีแอล คอเลสเตอรอล (low density lipoprotein cholesterol - LDL-C) มีระดับสูงกว่าปกต ส่วนเอชดีแอลคอเลสเตอรอล (high density lipoprotein cholesterol - HDL-C) มีระดับต่ากว่าปกติ ไตรกลีเซอไรด์ในเลือดที่มีมากเกินไป จะถูกนาไปเก็บสะสม หรือย่อยเป็นกรดไขมันอิสระ ซึ่งมีฤทธิ์เป็นพิษต่อบีตาเซลล์ในตับอ่อน ทาให้เกิดโรคเบาหวาน นอกจากนั้นระดับไขมันในเลือดสูง ยังทาให้หลอดเลือดอักเสบ ซึ่งนาไปสู่โรคหัวใจและหลอดเลือดในเวลาต่อมา 2.4.3. โรคความดันโลหิตสูง เมื่อมีระดับน้าตาลในเลือดสูงและไขมันในเลือดสูง ทาให้หลอดเลือดมีการอักเสบ หรือตีบตัน ความยืดหยุ่นของหลอดเลือดเสียไป เป็นผลทาให้เกิดโรคความดันโลหิตสูง 2.4.4. โรคหัวใจและหลอดเลือด จากสาเหตุของโรคในข้อ 2 และข้อ 3 หากมีการอักเสบหรือตีบตันในหลอดเลือดที่ไปเลี้ยงหัวใจ ก็ทาให้เกิดโรคหัวใจขาดเลือด ซึ่งเป็นสาเหตุหนึ่งที่ทาให้เสียชีวิตได้ อนึ่ง หากมีการตีบตันของหลอดเลือด ที่ไปเลี้ยงอวัยวะอื่นๆ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง จากการที่มีระดับน้าตาลและไขมันในเลือดสูง ก็จะมีผลเสียต่อร่างกายเช่นกัน เช่น เส้นเลือดที่สมองตีบ ทาให้เป็นอัมพาต หรืออัมพฤกษ์ 2.5ภาวะแทรกซ้อนอื่นของโรคอ้วน นอกจากโรคอ้วนจะนาไปสู่โรคต่าง ๆ ดังที่กล่าวมาแล้ว ยังมีภาวะแทรกซ้อนอื่นๆ ดังนี้ 2.5.1. ความผิดปกติของผิวหนัง - ผิวหนังมีสีคล้า หรือสีดาคล้า (acanthosis nigricans) ตามข้อพับ คอ รักแร้ ใต้ราวนม อาจมีอาการอักเสบของผิวหนังบริเวณดังกล่าว
  • 5. - ก้อนไขมันสีเหลือง (xanthoma) ขนาดต่างกัน พบบริเวณข้อเท้า ข้อเข่า หลังเอ็นร้อยหวาย ผู้ที่มีก้อนไขมันสีเหลืองจะมีระดับคอเลสเตอรอลในเลือดสูงมาก และมักพบว่า มีความเสี่ยงต่อภาวะเส้นเลือดหัวใจตีบสูงมาก 2.5.2. ความผิดปกติของกระดูกและข้อ คนที่อ้วนมากๆ จะพบว่า การเคลื่อนไหวลาบาก และมักมีอาการปวดเข่า เนื่องจาก เข่าต้องรับน้าหนักตัวมากเกินปกติ นอกจากนั้น ยังมีอาการปวดข้อเท้า ปวดหลัง ในเด็กที่กาลังเจริญเติบโต และมีโรคอ้วนด้วย อาจพบกระดูกต้นขาโค้งงอ (bowed femur) 2.5.3. ความผิดปกติของระบบการหายใจ คนอ้วนจะมีไขมันหนาที่ใต้ผิวหนังบริเวณทรวงอก ทาให้ช่องอกมีการขยายตัวน้อยกว่าที่ควร และมีไขมันในช่องท้องมาก ทาให้กะบังลมเคลื่อนไหวน้อยลง จึงทาให้มีการหายใจเร็วและตื้น และเกิดอาการหยุดหายใจขณะหลับ (sleep apnea) ซึ่งเป็นอันตรายมาก 2.5.4. ความผิดปกติของต่อมไร้ท่อ นอกจากความผิดปกติของระดับอินซูลินแล้ว ยังอาจพบความผิดปกติของฮอร์โมนตัวอื่นๆ ทาให้มีอาการจากความผิดปกติของฮอร์โมนนั้นๆ ร่วมด้วย 2.5.5.ความผิดปกติของตับ คนอ้วนจะมีไขมันอยู่ตามอวัยวะภายในช่องท้อง โดยเฉพาะที่ตับ ซึ่งทาให้เกิดอาการตับอักเสบ หรือตับแข็งในเวลาต่อมาได้ 2.5.6. สมรรถภาพในการทางาน คนอ้วนมักมีภาวะแทรกซ้อนจากโรคต่างๆ ที่กล่าวข้างต้น ทาให้เหนื่อยง่าย สมรรถภาพในการทางานน้อยลงอย่างชัดเจน 2.5.7. บุคลิกภาพ เด็กอ้วนและผู้ใหญ่อ้วนมักถูกญาติพี่น้องเพื่อนฝูงล้อเลียน ทาให้มีปัญหาทางด้านจิตใจ และในการพัฒนาบุคลิกภาพได้ โดยอาจเป็นคนชอบเก็บตัว ไม่สนใจสังคม ซึมเศร้า การดูแลช่วยเหลือต้องทาความเข้าใจกับผู้ป่วย ให้ถือว่า ไม่ใช่ปมด้อย แต่เป็นความไม่สมดุลกัน ระหว่างพลังงานที่ได้กับพลังงานที่ใช้ไป ต้องกระตุ้นให้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภค และการออกกาลังกาย โดยชักชวนให้ทาเป็นกลุ่มหรือหมู่คณะ 2.6 แนวทางการดูแลรักษาโรคอ้วน การดูแลรักษาโรคอ้วนที่ปลอดภัยและได้ผลในระยะยาว คือ การปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ในเรื่องการบริโภคอาหาร และการทากิจกรรมออกกาลังกาย ซึ่งมีหลักการง่ายๆ ดังต่อไปนี้
  • 6. 1.กินอาหารตามโภชนาบัญญัติ 9ประการ หรือตามธงโภชนาการ 2.ลดอาหารที่มีคาร์โบไฮเดรต ไขมัน และน้าตาล รวมทั้งหลีกเลี่ยงอาหารทอด หรืออาหารผัด ที่ใช้น้ามัน แกงหรือขนม ซึ่งใส่กะทิ เปลี่ยนมาใช้วิธีอบ ต้ม นึ่ง ย่าง เพื่อลดการใช้น้ามันปรุงอาหาร 3. กินอาหารมื้อหลักให้ครบ 3มื้อ มีอาหารว่างที่ไม่หวานและไม่มีไขมันมาก หากเป็นผลไม้ ควรเป็นผลไม้ที่ไม่หวาน เช่น มะละกอ ฝรั่ง ชมพู่ 4. กินอาหารที่มีกากใยให้เพิ่มขึ้น เช่น ข้าวกล้อง ขนมปังโฮลวีตจากข้าวสาลี หรือธัญพืชชนิดอื่น ที่ไม่ขัดสี ผัก ผลไม้ 5.ควรออกกาลังกายอย่างสม่าเสมอ โดยประเภทและระยะเวลาในการออกกาลังกาย ต้องปรับตามสภาพ และความพร้อมของร่างกาย 6. การใช้ยา ควรใช้โดยมีแพทย์คอยดูแลอย่างใกล้ชิดเท่านั้น ไม่ควรซื้อยามารับประทานเอง 2.7กิจกรรมการออกกาลังกาย 1. การเดิน เริ่มเดินช้าๆ ก้าวเท้าให้สม่าเสมอ แกว่งแขนสบายๆ ไปตามจังหวะ เพื่อบริหารกล้ามเนื้อส่วนต่างๆ ที่ใช้ในการเดิน ควรสวมรองเท้าที่เหมาะสมสาหรับการเดิน เพราะจะช่วยลดการบาดเจ็บที่ข้อและกล้ามเนื้อได้มาก ควรเพิ่มความเร็วของการเดิน และระยะเวลาที่เดินในแต่ละครั้ง ไม่น้อยกว่าครั้งละ ๓๐ นาที จานวน ๓ - ๕ ครั้งต่อสัปดาห์ 2.การวิ่งเหยาะๆ หากออกกาลังกายด้วยการเดินแล้วเป็นไปด้วยดี อาจเปลี่ยนเป็นวิ่งเหยาะๆ เพื่อเพิ่มความแข็งแกร่งของกล้ามเนื้อ โดยเริ่มจากระยะเวลาสั้นๆ ก่อน
  • 7. แล้วค่อยเพิ่มตามความเหมาะสมกับสภาพร่างกาย 3. ฝึกโยคะ หรือรามวยจีน หรือราไม้พลอง ควรเริ่มฝึกกับผู้ฝึกที่เชี่ยวชาญ จะเพิ่มความแข็งแรง และความยืดหยุ่น ให้แก่ร่างกายได้อย่างดี 4.การออกกาลังกายแบบแอโรบิกชนิดต่างๆ เช่นว่ายน้า ขี่จักรยาน เต้นรา เต้นแอโรบิก หากทาได้ควรทาอย่างน้อยครั้งละ 20-30 นาที จานวน 3-5ครั้ง ต่อสัปดาห์ กิจกรรมการออกกาลังกายควรเลือก ให้เหมาะสมกับสภาพร่างกายและอุปนิสัยของตนเอง อาจเลือกสลับสับเปลี่ยนกันไปในแต่ละวันก็ได้ หลักการคือ ควรทาให้ได้อย่างน้อยวันละ 20-30 นาที จนรู้สึกว่า มีเหงื่อ เริ่มเหนื่อย และมีอัตราการเต้นของหัวใจเร็วขึ้น ประมาณร้อยละ 60-80ของชีพจรสูงสุด ซึ่งคานวณได้โดยใช้ค่า 220ลบด้วยอายุ เช่น อายุ 50 ปี คานวณค่าชีพจรสูงสุดจะเท่ากับ 220-50 เท่ากับ 170 ครั้งต่อนาที เมื่อออกกาลังกาย ควรให้อัตราการเต้นของหัวใจอยู่ที่ 102-136ครั้งต่อนาที ซึ่งเท่ากับร้อยละ 60-80 ของชีพจรสูงสุด 2.8 สถิติโรคอ้วนทั่วโลก คลื่นโรคอ้วน กระหน่าทั่วโลก (Lisa) งานวิจัยร่วมของ Imperial College London, HarvardUniversity และ WHO เปิดเผยว่าประชากรมากกว่า 500 ล้านคนทั่วโลก หรือประมาณ 1 ใน 9ของคนทั่วไป ถือว่าอยู่ในขอบข่ายอ้วน (Obese ได้แก่ผู้ที่มีค่าดัชนีมวลกายมากกว่า 30 ) และด้วยเหตุนี้ทาให้ทุก ๆ ปี มีคนเสียชีวิตก่อนวัยอันควรถึง 3 ล้านคน ไม่ว่าจะจากโรคหัวใจ โรคเบาหวาน หรือมะเร็ง โดยถือเป็นปัญหาเร่งด่วนที่มนุษยชาติต้องร่วมกันแก้ไข นอกจากนี้
  • 8. การวิจัยดังกล่าวยังเปรียบเทียบข้อมูลจากปี 1998 กับปี 2008 ตัวเลขที่น่าตกใจก็คือ จานวนผู้ชายที่เป็นโรคอ้วนกระโดดจาก 4.8% ขึ้นมาเป็น 9.8% ส่วนผู้หญิงนั้นเดิมทีอยู่ที่ 7.9% แต่ในการสารวจล่าสุดอยู่ที่ 13.8% สถิติคนไทยเป็นโรคอ้วน และโรคเรื้อรังที่เกี่ยวข้อง
  • 9. 2.8.1 คนไทยเป็นโรคอ้วนอันดับ 5 ของเอเชีย-แปซิฟิก
  • 10. ปัจจุบันทั่วโลกกาลังเร่งรณรงค์ต่อสู้กับปัญหาภาวะอ้วน (Obesity) และโรคอ้วนลงพุง (Metabolic Syndrome) เพื่อลดภาวะความรุนแรงของโรควิถีชีวิต อันได้แก่โรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง โรคหัวใจและหลอดเลือด โรคมะเร็ง และภาวะไตวายเรื้อรัง เป็นต้น “โรคอ้วน” ถือเป็นภัยคุกคามที่กาลังระบาดในกลุ่มคนไทย โดยวัดจากอัตราการเสียชีวิตที่เพิ่มสูงขึ้น จากกระทรวงสาธารณสุขรายงานว่า ปัจจุบันพบว่าคนไทยอ้วน และมีน้าหนักเกินมาตรฐานเป็นอันดับ 5 ของเอเชีย-แปซิฟิก เป็นผลของการที่คนไทย ใช้ชีวิตกินแล้วนั่งหรือนอน และขาดการออกกาลังกาย นพ.ไพจิตร์ วราชิต กล่าวว่า ผลสารวจสุขภาพล่าสุดมีคนไทยอายุ 15ปีขึ้นไปเป็นโรคอ้วน ติดอันดับ 5 ของเอเชียแปซิฟิก โดยมีคนอ้วนมากถึง 17 ล้านคนทั่วประเทศ และยังมีแนวโน้มเป็นโรคอ้วนเพิ่มขึ้นอีกประมาณ 4ล้านคนต่อปี ทาให้รัฐบาลต้องสูญเสียค่าใช้จ่ายในการรักษาพยาบาล มากกว่าปีละ 1 แสนล้านบาท อีกทั้ง คนที่เป็นโรคอ้วนจะมีความเสี่ยงที่เป็นโรคหัวใจและหลอดเลือด โรคมะเร็ง และโรคข้อกระดูกเสื่อมสูงกว่าคนปกติ และยังส่งผลกระทบด้านอารมณ์อีกด้วย ซึ่งผลสรุปจากรายงานการสารวจภาวะอาหารและโภชนาการของประเทศไทยครั้งที่ 5พ.ศ.2546 แสดงให้เห็นว่า -คนไทยอายุ 20– 29ปี มีภาวะโรคอ้วนเพิ่มจาก -ร้อยละ 2.9 เป็นร้อยละ 21.7 (7.5 เท่า) -คนไทยอายุ 40– 49ปี อ้วนเพิ่ม 1.7 เท่า -ปัจจุบันเด็กประถมมีภาวะโภชนาการเกิน ร้อยละ 13.4 เพิ่มขึ้นทุกปี -คนไทยอ้วนเป็นอันดับ 5 ใน14 ประเทศแถบเอเชีย-แปซิฟิก -คนไทยมีภาวะท้วมถึงอ้วนราว 10 ล้านคน และหากนามาเปรียบเทียบกับรายงานผลการสารวจของสานักงานสถิติแห่งชาติปี 2550 ที่มีผลการสารวจใกล้เคียงกันนั้น แสดงให้เห็นว่า -ปัจจุบันคนไทยมีภาวะท้วมถึงอ้วนราว 10 ล้านคน -เด็กไทยอายุ 2-18ปี เป็นโรคอ้วนร้อยละ 8
  • 11. -กลุ่มวัยรุ่น 13-18ปี ร้อยละ 9 เพิ่มขึ้นทุกปี -ผลสารวจภาวะอ้วนลงพุงของคนไทยอายุ 15ปีขึ้นไปโดยใช้เกณฑ์เส้นรอบเอวไม่น้อยกว่า 90 ซม.ในผู้ชาย และไม่น้อยกว่า 80ซม.ในผู้หญิง เป็นเกณฑ์ตัดสินอ้วนลงพุง ในปี 2550ภาวะอ้วนลงพุงในเพศชายพบ ร้อยละ 24 และในเพศหญิงพบร้อยละ 60.5 -ผลสารวจภาวะอ้วนลงพุงของคนไทยอายุ 15ปีขึ้นไปโดยใช้เกณฑ์เส้นรอบเอวไม่น้อยกว่า 90 ซม.ในผู้ชาย และไม่น้อยกว่า 80ซม.ในผู้หญิง เป็นเกณฑ์ตัดสินอ้วนลงพุงสาหรับปี 2551 พบภาวะอ้วนลงพุงเพิ่มขึ้นในเพศชาย เป็นร้อยละ 33.5 แต่ในเพศหญิงสถานการณ์ภาวะอ้วนลงพุงดีขึ้น เหลือร้อยละ 58.2 สาเหตุหลักคือวิถีการดาเนินชีวิตที่ไม่สมดุล มีการบริโภคมากเกินความต้องการของร่างกาย ออกกาลังกายน้อย รายงานผลสารวจของกระทรวงสาธารณสุขเมื่อปี 2547 พบว่า คนไทยกินผักและผลไม้เพียง 275 กรัม/คน/วัน ซึ่งต่ากว่ามาตรฐานคือ 400กรัม/คน/วัน ส่วนการกินน้าตาลและไขมันมีแนวโนเพิ่มสูงขึ้นเรื่อยๆ ขณะที่การเคลื่อนไหว หรือออกกาลังกายในกลุ่มอายุ 15 ปีขึ้นไป ลดลงจากร้อยละ 83.2 ในปี 2548 เหลือร้อยละ 78.1 ในปี 2549 แนวทางการแก้ปัญหาโรคอ้วนนั้นสามารถทาได้โดย - สร้างปัจจัยเอื้อปรับสภาพแวดล้อมเอื้อต่อการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการกินและออกกาลังกาย - สร้างองค์ความรู้ตามหลักการ 3อ. เพื่อใช้เป็นแนวทางการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม กินและออกกาลัง สร้างความสุมดุลพลังงานของร่างกาย แต่การต่อสู้กับโรคอ้วนนั้น ไม่ใช่เรื่องที่จะทากันง่ายๆ แต่ก็ไม่ใช่เรื่องที่ยากเกินความสามารถ ทุกอย่างจะเป็นไปได้ หากเริ่มจากการมีจิตใจที่เข้มแข็งและไม่ยอมแพ้ต่อความยากลาบากนั้นเอง