SlideShare a Scribd company logo
1 of 7
Download to read offline
1
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
รหัสวิชา ง33201-33202 ชื่อวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 5- 6
ปีการศึกษา 2561
ชื่อโครงงาน มื้อเช้า มื้ออาหารที่สาคัญ (Breakfast Is Important)
ชื่อผู้ทาโครงงาน
นางสาวผุสดี เตจ๊ะฝั้น เลขที่ 28 ชั้น ม.6 ห้อง 5
ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์
ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 2561
โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34
2
ใบงาน
การจัดทาข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์
นางสาวผุสดี เตจ๊ะฝั้น เลขที่ 28
คาชี้แจง ให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มเขียนข้อเสนอโครงงานตามหัวข้อต่อไปนี้
ชื่อโครงงาน (ภาษาไทย)
มื้อเช้า มื้ออาหารที่สาคัญ
ชื่อโครงงาน (ภาษาอังกฤษ)
Breakfast Is Important
ประเภทโครงงาน โครงงานเพื่อการศึกษา
ชื่อผู้ทาโครงงาน นางสาวผุสดี เตจ๊ะฝั้น
ชื่อที่ปรึกษา ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์
ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 2
ที่มาและความสาคัญของโครงงาน (อธิบายถึงที่มา แนวคิด และเหตุผล ของการทาโครงงาน)
ในปัจจุบันที่มีความก้าวหน้าของเทคโนโลยีเพิ่มมากขึ้น เป็นช่วงเวลาที่ทุกคนต่างต้องแข่งขันกันเพื่อให้สามารถ
ใช้ชีวิตอยู่ในโลกที่มีการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีอยู่ตลอดเวลา ผู้คนต่างให้ความสนใจกับสิ่งเหล่านั้นมากกว่าให้
ความสนใจกับตัวเอง โดยเฉพาะเรื่องของ “การรับประทานอาหารเช้า” ที่หลายคนมักคิดว่าเรื่องนี้ไม่สาคัญ อาหาร
เช้าเป็นมื้อสาคัญที่สุดของวันแต่กลับเป็นมื้ออาหารที่หลายคนละเลยมากที่สุด ซึ่งอาจเกิดจากหลายสาเหตุ ไม่ว่าจะ
เป็นการตื่นสาย ต้องรีบไปโรงเรียน รีบไปทางาน หรืออยากลดน้าหนัก ทาให้คนเหล่านี้ลืมที่จะให้ความสนใจกับการ
รับประทานอาหารเช้า ไม่เว้นแม้แต่ผู้จัดทาโครงงานเองด้วย ที่ไม่สามารถรับประทานอาหารเช้าได้ มีงานวิจัยหลายๆ
เรื่องเกี่ยวกับความจาเป็นและประโยชน์ของอาหารเช้า ทั้งในเรื่องของการทางานและฮอร์โมนต่างๆในร่างกาย ซึ่งมี
ผลกระทบหากไม่รับประทานอาหารเช้า ยิ่งในเด็กเล็ก หรือเด็กที่อยู่ในวัยเจริญเติบโตตั้งแต่อนุบาล ประถม จาเป็น
อย่างยิ่งที่ต้องรับประทานอาหารเช้า เพราะมีส่วนช่วยในการทางานกลไกของสมองซึ่งส่งผลต่อพัฒนาการของเด็ก
จากเหตุผลทั้งหมด จึงทาให้เกิดโครงงานนี้ขึ้นมา เพื่อศึกษาผลกระทบที่เกิดขึ้น และโรคที่มากับการไม่รับประทาน
อาหารเช้า เพื่อศึกษาหาเมนูอาหารที่เหมาะสาหรับเป็นมื้อเช้า เพื่อให้ผู้คนตระหนักถึงความสาคัญ และประโยชน์ของ
การรับประทานอาหารเช้า และเพื่อเป็นการปรับพฤติกรรมที่เสี่ยงต่อสุขภาพนี้ด้วย
วัตถุประสงค์ (สิ่งที่ต้องการในการทาโครงงาน ระบุเป็นข้อ)
1. เพื่อศึกษาผลกระทบที่เกิดขึ้นจากการไม่สามารถรับประทานอาหารเช้าได้
2. เพื่อศึกษาโรคที่มากับการไม่รับประทานอาหารเช้า
3. เพื่อศึกษาเมนูอาหารที่เหมาะสาหรับเป็นมื้อเช้า
4. เพื่อให้ผู้คนตระหนักถึงความสาคัญของการรับประทานอาหารเช้า
3
ขอบเขตโครงงาน (คุณลักษณะ ขอบเขต เงื่อนไขและข้อจากัดของการทาโครงงาน)
1. ศึกษาผลกระทบที่เกิดขึ้นจากการไม่สามารถรับประทานอาหารเช้าได้
2. ศึกษาโรคที่มากับการไม่รับประทานอาหารเช้า
3. ศึกษาเมนูอาหารที่เหมาะสาหรับเป็นมื้อเช้า
หลักการและทฤษฎี (ความรู้ หลักการ หรือทฤษฎีที่สนับสนุนการทาโครงงาน)
อาหารเช้ามื้อสาคัญที่สุดของวันแต่กลับเป็นมื้ออาหารที่คนละเลยมากที่สุด ไม่ว่าจะว่าจะมีสาเหตุมาจากการ
ตื่นสาย ต้องรีบไปโรงเรียน รีบไปทางาน หรืออยากลดน้าหนัก มื้อนี้เลยจาต้องงดไปอย่างน่าเสียดาย ทั้งที่อาหารเช้า
ให้ประโยชน์กับร่างกายของเราเป็นอย่างมาก แล้วจะเกิดอะไรขึ้นล่ะเมื่อเราไม่กินอาหารเช้า
ดร.นพ.พรเทพ ศิริวนารังสรรค์ อธิบดีกรมอนามัย เปิดเผยว่า เผยผลการสารวจพฤติกรรมไม่กินอาหารเช้า
ของเด็กวัยเรียนอายุ 6-11 ปี พบว่า ไม่กินอาหารเช้า ร้อยละ 30 และเด็กนักเรียนหญิงอายุ 12-14 ปี ไม่กินอาหารเช้า
ถึงร้อยละ 52 ทาให้การขาดสารอาหารในตอนเช้า โดยจะส่งผลกระทบดังนี้
 เด็กที่อดอาหารเช้าเป็นประจา จะทาให้ร่างกายได้รับสารอาหารไม่เพียงพอต่อความต้องการของร่างกาย
ส่งผลให้ร่างกายไม่แข็งแรง การเจริญเติบโตไม่เป็นไปตามเกณฑ์
 เด็กวัยเรียนจะขาดสมาธิง่าย ส่งผลต่อสติปัญญา การเรียน เพราะอาหารเช้าจะช่วยเติมพลังสมองที่เกี่ยวข้อง
กับความจา การเรียนรู้ ความกระตือรือร้น ทาให้การทากิจกรรมในแต่ละวันมีประสิทธิภาพมากขึ้น
 คนไม่ทานอาหารเช้ามีแนวโน้มเป็นโรคอ้วนมากกว่าคนทานอาหารเช้าเป็นประจา เพราะการไม่ทานอาหาร
เช้าจะทาให้ระบบ เผาผลาญเริ่มต้นช้าลง ระดับน้าตาลในเลือดต่าลง ร่างกายจึงรู้สึกหิวอยู่ตลอดเวลา เมื่อ
เป็นแบบนี้เราก็ยิ่งทานมากขึ้นในมื้อต่อไป
 เสี่ยงโรคเส้นเลือดสมองและโรคหัวใจ เพราะในตอนเช้าเลือดมีความเข้มข้นสูง ทาให้เส้นเลือดที่ส่งไปเลี้ยง
สมองหรือหัวใจอุดตันได้ แต่ถ้าเราทานอาหารเช้าจะช่วยเจือจางระดับความเข้มข้นในเลือดได้
 คนที่รับประทานอาหารเช้าจะมีภาวะผิดปกติของฮอร์โมนอินซูลิน หรือที่เรียกว่า "ภาวะดื้อต่ออินซูลิน" ซึ่ง
เป็นสาเหตุของโรคเบาหวานลดลงถึงร้อยละ 35-50 แต่ถ้าใครไม่ชอบทานอาหารเช้าก็เท่ากับว่า คุณเสี่ยงต่อ
การเป็น "โรคเบาหวาน" เพิ่มขึ้น
 มีโอกาสเป็นโรคนิ่ว ฟังดูไม่น่าเกี่ยวกัน แต่มีความสัมพันธ์กันจริง ๆ เพราะการไม่ทานอาหารนานกว่า 14
ชั่วโมง จะทาให้คอเลสเตอรอลในถุงน้าดีจับตัวกันนานเกินไป ยิ่งนานเข้าสิ่งที่จับตัวกันนั้นจะกลายเป็นก้อน
นิ่ว แต่ถ้าเรากินอาหารเช้าเข้าไป อาหารเช้าจะไปกระตุ้นให้ตับปล่อยน้าดีออกมาละลายคอเลสเตอรอลที่จับ
ตัวกันได้ด้วย
การเลือกอาหารเช้าเพื่อสุขภาพ
นอกจากการรับประทานอาหารเช้าเป็นประจาจะส่งผลดีต่อสุขภาพ การเลือกประเภทอาหารก็สาคัญไม่แพ้
กัน คารโบไฮเดรตจัดเป็นกลุ่มสารอาหารหลักที่ร่างกายนาไปเผาผลาญเป็นพลังงานได้ทันที จากนั้นจึงเป็นโปรตีน
ในขณะที่ไฟเบอร์จะช่วยให้รู้สึกอิ่มนานขึ้น โดยไม่ได้รับพลังงานส่วนเกินมากไป อีกทั้งยังช่วยลดอาการท้องผูกและ
ช่วยให้ระบบการย่อยอาหารเป็นไปตามปกติ กลุ่มอาหารที่รับประทานเป็นมื้อเช้าจึงควรผสมผสานสารอาหารหลาย
ประเภทเพื่อช่วยให้ระบบเผาผลาญของร่างกายเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ ลองปรับอาหารเช้าให้ตรงกับความชอบ
ของตนเองโดยพยายามเลือกเมนูที่มีสารอาหารอย่างน้อย 3 กลุ่มขึ้นไป
4
ตัวอย่างกลุ่มอาหารสาคัญที่ควรเลือกเป็นอาหารเช้า ได้แก่
o คารโบไฮเดรต เช่น ซีเรียลธัญพืช ข้าวกล้อง ขนมปังธัญพืช เป็นต้น
o ผักและผลไม้ อาจรับประทานแบบสด แช่แข็ง ผลิตภัณฑ์เครื่องกระป๋อง เครื่องดื่ม แต่ควรระมัดระวังน้าตาล
และสารปรุงแต่งที่ใส่เพิ่มเติมลงไป
o โปรตีนจากเนื้อสัตว์ไม่ติดมัน ไข่ ถั่ว
o นมหรือผลิตภัณฑ์จากนมที่มีไขมันต่า เช่น นมพร่องมันเนย โยเกิร์ตหรือชีสไขมันต่า
ในกรณีที่รีบเร่งจนไม่มีเวลารับประทานอาหารเช้า ควรหาอะไรรองท้องเล็กน้อย โดยปรับเปลี่ยนประเภทอาหาร
ให้เหมาะสม เช่น รับประทานขนมปังธัญพืชแทนขนมปังขาว เปลี่ยนจากการทาเนยเป็นชีสไขมันต่าหรือแยมเล็กน้อย
เลือกซีเรียลธัญพืชคู่กับนมไขมันต่า ดื่มน้าผลไม้สด จับคู่โยเกิร์ตไขมันต่าหรือไขมัน 0% กับผลไม้สด
คาแนะนาในการรับประทานอาหารเช้า
พฤติกรรมการรับประทานอาหารเช้านับเป็นสิ่งสาคัญไม่แพ้สารอาหารที่ควรได้รับ เพราะจะช่วยส่งเสริมให้มี
สุขภาพที่ดีขึ้นไปพร้อมกัน โดยมีหลักง่าย ๆ ใรการปฏิบัติตัวดังนี้
 กินให้สมดุล อาหารที่รับประทานควรมีความสมดุลตามพลังงานที่ต้องใช้ในแต่ละวัน เลือกอาหารที่มีแคลอ
รี่ สารอาหารตามกิจกรรมในแต่ละวันที่เหมาะสมกัน จากข้อมูลของกองโภชนาการ กรมอนามัย กระทรวง
สาธารณสุขระบุว่า สัดส่วนของปริมาณอาหารและสารอาหารที่ควรได้รับประจาวันสาหรับคนไทยทั่วไปควรมี
การกระจายในแต่ละมื้ออย่างสมดุล โดยมื้อเช้าควรอยู่ที่ร้อยละ 20 ของปริมาณทั้งหมด สาหรับมื้อกลางวัน
และเย็นควรอยู่ประมาณ ร้อยละ 30 ขณะที่อาหารว่างควรอยู่ประมาณร้อยละ 10
 รับประทานโดยไม่รีบเร่ง ปริมาณพอเพียง ควรให้เวลาในการรับประทานมื้อเช้าอย่างเต็มที่ ไม่รีบเร่ง ไม่ทา
กิจกรรมอื่นที่ดึงดูดความสนใจในขณะรับประทาน เพราะอาจทาให้รับประทานปริมาณมากเกินไปโดยไม่รู้ตัว
รวมถึงสังเกตสัญญาณที่บ่งบอกว่าร่างกายกาลังหิวหรืออิ่มเพื่อช่วยเตือนให้ทราบว่าควรรับประทานใน
ปริมาณเท่าไร ไม่มากหรือน้อยเกินไป
 เลือกภาชนะที่เหมาะสม กรณีที่รับประทานอาหารเช้าที่บ้านอาจเลือกภาชนะที่ใส่อาหารที่มีขนาดพอดี เพื่อ
ช่วยกะปริมาณอาหารไม่ให้เยอะเกินไป
 เน้นรับประทานอาหารที่มีประโยชน์ก่อนเสมอ โดยทั่วไปเวลาหิว คนส่วนใหญ่มักจะมีแนวโน้มเลือกอาหาร
ประเภทแป้งและน้าตาลได้ง่าย ลองปรับเปลี่ยนประเภทอาหารมาเป็นผัก ผลไม้ ธัญพืช หรือผลิตภัณฑ์จาก
นมที่มีไขมันต่าก่อนอาหารประเภทอื่น ซึ่งกลุ่มอาหารเหล่านี้จะอุดมไปด้วยสารอาหาร วิตามิน แร่ธาตุที่
จาเป็นต่อร่างกาย อีกทั้งยังช่วยลดปริมาณความต้องการกลุ่มสารอาหารที่ให้พลังงานสูงลงได้บ้าง
 เปลี่ยนพฤติกรรมการเลือกอาหาร อาหารเช้าที่ดีควรมีสัดส่วนของผักและธัญพืชอย่างน้อยครึ่งหนึ่งในมื้อ
อาหาร โดยอาจเลือกผักผลไม้หลากหลายสี ธัญพืชประเภทต่าง ๆ รวมถึงปรับอาหารบางชนิดที่ทดแทนกันได้
และดีต่อสุขภาพมากกว่า เช่น เลือกเป็นนมไขมันต่าหรือไขมัน 0% แทนสูตรปกติ เพราะจะได้รับพลังงาน
และไขมันน้อยกว่า แต่สารอาหารยังคงครบถ้วน รับประทานข้าวกล้องแทนข้าวขาว ดื่มน้าเปล่าหรือน้าผลไม้
สดแทนเครื่องดื่มปรุงแต่ง
 หลีกเลี่ยงอาหารที่มีสารปรุงแต่งสูง ลดปริมาณอาหารที่เต็มไปด้วยไขมันอิ่มตัว เติมน้าตาลหรือเกลือปริมาณ
มาก เช่น เค้ก ไอศกรีม เครื่องดื่มที่มีรสหวาน พิซซ่า ไส้กรอก เบคอน อาหารกระป๋อง ซึ่งไม่ควรรับประทาน
เป็นมื้อเช้าเป็นประจา แต่อาจรับประทานได้เป็นครั้งคราว
นายแพทย์เจษฎา โชคดารงสุข จากกรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข แนะนาว่า อาหารเช้าที่เหมาะสมสาหรับ
ทุกกลุ่มวัยควรมีค่าพลังงานประมาณ 400-450 กิโลแคลอรี่ โดยใช้หลักการเลือกอาหารที่หลากหลายตามหมวดหมู่ที่
ร่างกายต้องการ หากต้องหาซื้อรับประทานนอกบ้านก็สามารถทาได้ แต่ควรเลือกอาหารแบบปรุงสุก สด ใหม่ และ
ประกอบด้วยสารอาหารจากหลายกลุ่ม หลีกเลี่ยงอาหารสาเร็จรูปที่มีประโยชน์น้อย และมีโซเดียมสูง นอกจากนี้ ควร
เสริมสารอาหารเพิ่มเติมจากจานหลักด้วยนม ผักหรือผลไม้สด
5
ตัวอย่างเมนูอาหารเช้าที่ควรรับประทาน
 ข้าวต้มเครื่อง โจ๊กหมู
 ข้าวผัด
 ข้าวไข่เจียวใส่ผัก
 อาหารประเภทซีเรียลกับนมรสจืด
 สลัดไก่หรือสลัดทูน่า
 แซนด์วิชประกอบด้วยเนื้อสัตว์ไม่ติดมันหรือปลา และผักสด โดยเปลี่ยนขนมปังขาวเป็นขนมปังธัญพืชแบบ
ต่าง ๆ แทน
ตัวอย่างเมนูอาหารเช้าที่ควรหลีกเลี่ยงหรือรับประทานแต่น้อย
 น้าหวาน เครื่องดื่มที่เติมน้าตาล น้าผลไม้สาเร็จรูป เช่น กาแฟเย็น ชาเขียว ชาเย็น โกโก้ น้าผลไม้ชนิดขวด
หรือกระป๋อง เป็นต้น
 อาหารปิ้งย่างกับข้าวเหนียว เช่น หมูปิ้ง ไก่ย่าง ตับย่าง หากรับประทานควรเลือกเนื้อสัตว์ไม่ติดมัน ไม่ไหม้
เกรียมมากเกินไป
 ข้าวเหนียวไก่ทอดหรือหมูทอด
 อาหารฟาสต์ฟู๊ด
 อาหารเช้าแบบสาเร็จรูป อาหารกระป๋อง บะหมี่กึ่งสาเร็จรูป โจ๊กสาเร็จรูป
5 โรคที่จะเกิดขึ้นถ้า "อดอาหารเช้า"
1. โรคอ้วน
การอดอาหารมื้อเช้านอกจากจะไม่ได้ทาให้ผอมลงแล้ว ยังส่งผลเสียกลับมาทาให้อ้วนขึ้นได้อย่างง่ายดาย เพราะ
ระดับน้าตาลในเลือดจะลดต่าลง ส่งผลให้เกิดความอยากอาหารมากขึ้น ทาให้ทานอาหารมื้อต่อไปในปริมาณมาก
อยากทานของหวาน กินแบบเกินพอดี น้าหนักตัวจึงเพิ่มจนกลายเป็นโรคอ้วนในที่สุด
2. โรคเบาหวาน
การงดอาหารเช้าจะทาให้เกิดภาวะดื้อต่ออินซูลิน ซึ่งเป็นสาเหตุให้เกิดโรคเบาหวานตามมา ดังนั้นถ้าไม่อยากล้ม
หมอนนอนเสื่อด้วยโรคร้ายแรงอย่างเบาหวาน ก็แนะนาให้ทานอาหารมื้อเช้าเป็นประจา เพราะจะช่วยลดภาวะ
ผิดปกติดังกล่าวลงได้ถึง 40-50
3. โรคอัลไซเมอร์
สมอง กับ ข้าวเช้า เกี่ยวข้องกันเนื่องจากน้าตาลในเลือดเป็นอาหารที่สาคัญสาหรับสมอง ซึ่งหลังจากที่ตื่นนอน
ขึ้นมา ร่างกายคนเราจะไม่ได้รับสารอาหารนานถึง 12 ชั่วโมง ซึ่งแน่นอนว่าจะต้องทาให้เกิดการอ่อนเพลีย ถ้าไม่ทาน
อาหารเช้าก็จะทาให้น้าตาลในเลือดต่าลง และส่งไปหล่อเลี้ยงสมองน้อยลง ส่งผลให้สมองส่วนความจาทางานได้ไม่
เต็มที่ และค่อยๆ เสื่อมประสิทธิภาพ จนกลายเป็นโรคอัลไซเมอร์ในระยะยาว
4. โรคหัวใจและหลอดเลือด
การไม่ทานอาหารเช้าจะทาให้มีโรคอ้วนและโรคเบาหวานตามมา ซึ่งเมื่อ 2 โรคร้ายนี้มาเยือน ก็จะส่งผลไปถึง
หัวใจทันที เพราะปริมาณคอเลสเตอรอลในร่างกายจะสูงขึ้น ทาให้เสี่ยงต่อการเกิดโรคหัวใจและหลอดเลือด ซึ่งผล
สารวจพบว่า คนที่ไม่ชอบทานอาหารเช้า จะมีโอกาสเกิดโรคหัวใจและโรคหลอดเลือดได้มากกว่าคนทั่วไปถึง 20%
5. โรคกรดไหลย้อน
โดยปกติแล้วกระเพาะอาหารจะหลั่งน้าย่อยออกมาเพื่อมาย่อยอาหาร ซึ่งถ้าเมื่อไหร่เราทาพฤติกรรมที่ผิดไปจาก
วิสัยที่ไม่ควรจะเป็น เช่น ไม่ทานอาหารเช้า ก็จะทาให้น้าย่อยไม่ได้ถูกนามาใช้งานและถูกขังอยู่ในร่างกาย ส่งผลให้
หลอดอาหาร และเยื่อบุกระเพาะอาหารระคายเคือง เมื่อเป็นแบบนี้ต่อไปเรื่อยๆ กรดน้าย่อยก็จะไหลย้อนจากหลอด
อาหารขึ้นไปจนถึงคอหอย ทาให้กลายเป็นโรคกรดไหลย้อนในที่สุด
6
วิธีดาเนินงาน
แนวทางการดาเนินงาน
1. ปรึกษาเลือกหัวข้อ
2. นาเสนอหัวข้อกับครูผู้สอน
3. ศึกษารวบรวมข้อมูล
4. จักทารายงาน
5. นาเสนอครู
6. ปรับปรุงและแก้ไข
เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้
1. อินเตอร์เน็ต
2. หนังสือที่เกี่ยวข้อง
3. คอมพิวเตอร์
4. โทรศัพท์
งบประมาณ
100 บาท
ขั้นตอนและแผนดาเนินงาน
ลาดับ
ที่
ขั้นตอน สัปดาห์ที่ ผู้รับผิดชอบ
1 2 3 4 5 6 7 8 9 10
1 คิดหัวข้อโครงงาน
2 ศึกษาและค้นคว้าข้อมูล
3 จัดทาโครงร่างงาน
4 ปฏิบัติการสร้างโครงงาน
5 ปรับปรุงทดสอบ
6 การทาเอกสารรายงาน
7 ประเมินผลงาน
8 นาเสนอโครงงาน
7
ผลที่คาดว่าจะได้รับ (ผลลัพธ์ที่ต้องการให้เกิดขึ้นเมื่อสิ้นสุดการทาโครงงาน)
1. ผู้คนตระหนักถึงความสาคัญของการรับประทานอาหารเช้า
2. ผู้คนเห็นถึงผลกระทบที่เกิดขึ้นจากการไม่รับประทานอาหารเช้า
3. ตระหนักโรคต่างๆที่มากับการไม่รับประทานอาหารเช้า
4. ผู้คนเกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม และเริ่มจะหาเมนูอาหารที่เหมาะสาหรับเป็นมื้อเช้า
สถานที่ดาเนินการ
1. ห้องคอมพิวเตอร์ โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย
2. ห้องสมุด โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย
กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้อง
1. กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
2. กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี
3. กลุ่มราระการเรียนรู้สุขศึกษาศึกษาและพลศึกษา
4. กลุ่มพัฒนาผู้เรียน
แหล่งอ้างอิง (เอกสาร หรือแหล่งข้อมูลต่าง ๆ ที่นามาใช้การทาโครงงาน)
"จะเกิดอะไรขึ้นเมื่อเราไม่กินอาหารเช้า"(2560).[ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก
http://okclicklove.com/th/news/detail/จะเกิดอะไรขึ้นเมื่อเราไม่กินอาหารเช้า_30.html
(วันที่สืบค้นข้อมูล : 20 พฤศจิกายน 2561 )
อาหารเช้า มื้อสาคัญที่ไม่ควรมองข้าม(2560).[ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก
https://www.pobpad.com/อาหารเช้ามื้อสาคัญที่ไ (วันที่สืบค้นข้อมูล : 20 พฤศจิกายน 2561 )
5 โรคร้ายที่อาจเกิดกับคุณถ้าไม่กินอาหารเช้า(2560).[ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก
https://play.scblife.co.th/โรคร้ายที่อาจเกิดกับคุณถ้าไม่กินอาหารเช้า/
(วันที่สืบค้นข้อมูล : 20 พฤศจิกายน 2561 )

More Related Content

What's hot

โครงงาน เรื่อง ขนมวง
โครงงาน เรื่อง ขนมวงโครงงาน เรื่อง ขนมวง
โครงงาน เรื่อง ขนมวงThanakorn Chanamai
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์Thanakorn Chanamai
 
โครงงานคอมพิวเตอร์เรื่องเปลือกไข่สารพัดประโยชน์
โครงงานคอมพิวเตอร์เรื่องเปลือกไข่สารพัดประโยชน์โครงงานคอมพิวเตอร์เรื่องเปลือกไข่สารพัดประโยชน์
โครงงานคอมพิวเตอร์เรื่องเปลือกไข่สารพัดประโยชน์supansa phuprasong
 
มิสเขม6
มิสเขม6มิสเขม6
มิสเขม6nutty_npk
 
โครงงานคอมพิวเตอร์เรื่องเปลือกไข่สารพัดประโยชน์
โครงงานคอมพิวเตอร์เรื่องเปลือกไข่สารพัดประโยชน์โครงงานคอมพิวเตอร์เรื่องเปลือกไข่สารพัดประโยชน์
โครงงานคอมพิวเตอร์เรื่องเปลือกไข่สารพัดประโยชน์supansa phuprasong
 
Work1 phattraphorn
Work1 phattraphornWork1 phattraphorn
Work1 phattraphornssuser08841b
 

What's hot (7)

โครงงาน เรื่อง ขนมวง
โครงงาน เรื่อง ขนมวงโครงงาน เรื่อง ขนมวง
โครงงาน เรื่อง ขนมวง
 
Work1.
Work1.Work1.
Work1.
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
โครงงานคอมพิวเตอร์เรื่องเปลือกไข่สารพัดประโยชน์
โครงงานคอมพิวเตอร์เรื่องเปลือกไข่สารพัดประโยชน์โครงงานคอมพิวเตอร์เรื่องเปลือกไข่สารพัดประโยชน์
โครงงานคอมพิวเตอร์เรื่องเปลือกไข่สารพัดประโยชน์
 
มิสเขม6
มิสเขม6มิสเขม6
มิสเขม6
 
โครงงานคอมพิวเตอร์เรื่องเปลือกไข่สารพัดประโยชน์
โครงงานคอมพิวเตอร์เรื่องเปลือกไข่สารพัดประโยชน์โครงงานคอมพิวเตอร์เรื่องเปลือกไข่สารพัดประโยชน์
โครงงานคอมพิวเตอร์เรื่องเปลือกไข่สารพัดประโยชน์
 
Work1 phattraphorn
Work1 phattraphornWork1 phattraphorn
Work1 phattraphorn
 

Similar to Project com-28

Bubble milk tea
Bubble milk teaBubble milk tea
Bubble milk teayyokky
 
2560 project โครงงาน20
2560 project โครงงาน202560 project โครงงาน20
2560 project โครงงาน20arisara pianlai
 
Bubble milk tea
Bubble milk teaBubble milk tea
Bubble milk teayyokky
 
โครงงานสื่อการสอนวิชาสุขศึกษา
โครงงานสื่อการสอนวิชาสุขศึกษาโครงงานสื่อการสอนวิชาสุขศึกษา
โครงงานสื่อการสอนวิชาสุขศึกษาnammint
 
แบบเสนอโครงงาน (ล าส ด)
แบบเสนอโครงงาน (ล าส ด)แบบเสนอโครงงาน (ล าส ด)
แบบเสนอโครงงาน (ล าส ด)Nuties Electron
 
โครงงานคอมเทอม2
โครงงานคอมเทอม2โครงงานคอมเทอม2
โครงงานคอมเทอม2nampingtcn
 
โครงงานเพื่อการศึกษา
โครงงานเพื่อการศึกษาโครงงานเพื่อการศึกษา
โครงงานเพื่อการศึกษาBream Mie
 
2560 project 602
2560  project 6022560  project 602
2560 project 602opor kwn
 
โครงงานคอมอาหาร
โครงงานคอมอาหารโครงงานคอมอาหาร
โครงงานคอมอาหารBenaun Pbll
 
2558 project-มิ้น
2558 project-มิ้น2558 project-มิ้น
2558 project-มิ้นKanokwan Rapol
 
การดูแลสุขภาพโดยการออกกำลังกาย
การดูแลสุขภาพโดยการออกกำลังกายการดูแลสุขภาพโดยการออกกำลังกาย
การดูแลสุขภาพโดยการออกกำลังกายPatitta Sitti
 
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ อาหารเพื่อสุขภาพ
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ อาหารเพื่อสุขภาพโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ อาหารเพื่อสุขภาพ
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ อาหารเพื่อสุขภาพMewBesty
 
แบบเสนอโครงร างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร างโครงงานคอมพิวเตอร์Kanoksak Kangwanwong
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ (2)
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ (2)แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ (2)
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ (2)Jutamas123
 

Similar to Project com-28 (20)

Bubble milk tea
Bubble milk teaBubble milk tea
Bubble milk tea
 
2560 project โครงงาน20
2560 project โครงงาน202560 project โครงงาน20
2560 project โครงงาน20
 
Bubble milk tea
Bubble milk teaBubble milk tea
Bubble milk tea
 
2560 project -1
2560 project -12560 project -1
2560 project -1
 
โครงงานสื่อการสอนวิชาสุขศึกษา
โครงงานสื่อการสอนวิชาสุขศึกษาโครงงานสื่อการสอนวิชาสุขศึกษา
โครงงานสื่อการสอนวิชาสุขศึกษา
 
Work1
Work1Work1
Work1
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอม
 
แบบเสนอโครงงาน (ล าส ด)
แบบเสนอโครงงาน (ล าส ด)แบบเสนอโครงงาน (ล าส ด)
แบบเสนอโครงงาน (ล าส ด)
 
โครงงานคอมเทอม2
โครงงานคอมเทอม2โครงงานคอมเทอม2
โครงงานคอมเทอม2
 
โครงงานเพื่อการศึกษา
โครงงานเพื่อการศึกษาโครงงานเพื่อการศึกษา
โครงงานเพื่อการศึกษา
 
2560 project 602
2560  project 6022560  project 602
2560 project 602
 
2559 project -1
2559 project -12559 project -1
2559 project -1
 
โครงงานคอมอาหาร
โครงงานคอมอาหารโครงงานคอมอาหาร
โครงงานคอมอาหาร
 
2558 project-มิ้น
2558 project-มิ้น2558 project-มิ้น
2558 project-มิ้น
 
การดูแลสุขภาพโดยการออกกำลังกาย
การดูแลสุขภาพโดยการออกกำลังกายการดูแลสุขภาพโดยการออกกำลังกาย
การดูแลสุขภาพโดยการออกกำลังกาย
 
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ อาหารเพื่อสุขภาพ
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ อาหารเพื่อสุขภาพโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ อาหารเพื่อสุขภาพ
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ อาหารเพื่อสุขภาพ
 
แบบเสนอโครงร างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ (2)
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ (2)แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ (2)
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ (2)
 
Ngan ku krongrang1
Ngan ku krongrang1Ngan ku krongrang1
Ngan ku krongrang1
 
Ngan ku krongrang1
Ngan ku krongrang1Ngan ku krongrang1
Ngan ku krongrang1
 

Project com-28

  • 1. 1 แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ รหัสวิชา ง33201-33202 ชื่อวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 5- 6 ปีการศึกษา 2561 ชื่อโครงงาน มื้อเช้า มื้ออาหารที่สาคัญ (Breakfast Is Important) ชื่อผู้ทาโครงงาน นางสาวผุสดี เตจ๊ะฝั้น เลขที่ 28 ชั้น ม.6 ห้อง 5 ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์ ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 2561 โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่ สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34
  • 2. 2 ใบงาน การจัดทาข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์ นางสาวผุสดี เตจ๊ะฝั้น เลขที่ 28 คาชี้แจง ให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มเขียนข้อเสนอโครงงานตามหัวข้อต่อไปนี้ ชื่อโครงงาน (ภาษาไทย) มื้อเช้า มื้ออาหารที่สาคัญ ชื่อโครงงาน (ภาษาอังกฤษ) Breakfast Is Important ประเภทโครงงาน โครงงานเพื่อการศึกษา ชื่อผู้ทาโครงงาน นางสาวผุสดี เตจ๊ะฝั้น ชื่อที่ปรึกษา ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์ ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 2 ที่มาและความสาคัญของโครงงาน (อธิบายถึงที่มา แนวคิด และเหตุผล ของการทาโครงงาน) ในปัจจุบันที่มีความก้าวหน้าของเทคโนโลยีเพิ่มมากขึ้น เป็นช่วงเวลาที่ทุกคนต่างต้องแข่งขันกันเพื่อให้สามารถ ใช้ชีวิตอยู่ในโลกที่มีการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีอยู่ตลอดเวลา ผู้คนต่างให้ความสนใจกับสิ่งเหล่านั้นมากกว่าให้ ความสนใจกับตัวเอง โดยเฉพาะเรื่องของ “การรับประทานอาหารเช้า” ที่หลายคนมักคิดว่าเรื่องนี้ไม่สาคัญ อาหาร เช้าเป็นมื้อสาคัญที่สุดของวันแต่กลับเป็นมื้ออาหารที่หลายคนละเลยมากที่สุด ซึ่งอาจเกิดจากหลายสาเหตุ ไม่ว่าจะ เป็นการตื่นสาย ต้องรีบไปโรงเรียน รีบไปทางาน หรืออยากลดน้าหนัก ทาให้คนเหล่านี้ลืมที่จะให้ความสนใจกับการ รับประทานอาหารเช้า ไม่เว้นแม้แต่ผู้จัดทาโครงงานเองด้วย ที่ไม่สามารถรับประทานอาหารเช้าได้ มีงานวิจัยหลายๆ เรื่องเกี่ยวกับความจาเป็นและประโยชน์ของอาหารเช้า ทั้งในเรื่องของการทางานและฮอร์โมนต่างๆในร่างกาย ซึ่งมี ผลกระทบหากไม่รับประทานอาหารเช้า ยิ่งในเด็กเล็ก หรือเด็กที่อยู่ในวัยเจริญเติบโตตั้งแต่อนุบาล ประถม จาเป็น อย่างยิ่งที่ต้องรับประทานอาหารเช้า เพราะมีส่วนช่วยในการทางานกลไกของสมองซึ่งส่งผลต่อพัฒนาการของเด็ก จากเหตุผลทั้งหมด จึงทาให้เกิดโครงงานนี้ขึ้นมา เพื่อศึกษาผลกระทบที่เกิดขึ้น และโรคที่มากับการไม่รับประทาน อาหารเช้า เพื่อศึกษาหาเมนูอาหารที่เหมาะสาหรับเป็นมื้อเช้า เพื่อให้ผู้คนตระหนักถึงความสาคัญ และประโยชน์ของ การรับประทานอาหารเช้า และเพื่อเป็นการปรับพฤติกรรมที่เสี่ยงต่อสุขภาพนี้ด้วย วัตถุประสงค์ (สิ่งที่ต้องการในการทาโครงงาน ระบุเป็นข้อ) 1. เพื่อศึกษาผลกระทบที่เกิดขึ้นจากการไม่สามารถรับประทานอาหารเช้าได้ 2. เพื่อศึกษาโรคที่มากับการไม่รับประทานอาหารเช้า 3. เพื่อศึกษาเมนูอาหารที่เหมาะสาหรับเป็นมื้อเช้า 4. เพื่อให้ผู้คนตระหนักถึงความสาคัญของการรับประทานอาหารเช้า
  • 3. 3 ขอบเขตโครงงาน (คุณลักษณะ ขอบเขต เงื่อนไขและข้อจากัดของการทาโครงงาน) 1. ศึกษาผลกระทบที่เกิดขึ้นจากการไม่สามารถรับประทานอาหารเช้าได้ 2. ศึกษาโรคที่มากับการไม่รับประทานอาหารเช้า 3. ศึกษาเมนูอาหารที่เหมาะสาหรับเป็นมื้อเช้า หลักการและทฤษฎี (ความรู้ หลักการ หรือทฤษฎีที่สนับสนุนการทาโครงงาน) อาหารเช้ามื้อสาคัญที่สุดของวันแต่กลับเป็นมื้ออาหารที่คนละเลยมากที่สุด ไม่ว่าจะว่าจะมีสาเหตุมาจากการ ตื่นสาย ต้องรีบไปโรงเรียน รีบไปทางาน หรืออยากลดน้าหนัก มื้อนี้เลยจาต้องงดไปอย่างน่าเสียดาย ทั้งที่อาหารเช้า ให้ประโยชน์กับร่างกายของเราเป็นอย่างมาก แล้วจะเกิดอะไรขึ้นล่ะเมื่อเราไม่กินอาหารเช้า ดร.นพ.พรเทพ ศิริวนารังสรรค์ อธิบดีกรมอนามัย เปิดเผยว่า เผยผลการสารวจพฤติกรรมไม่กินอาหารเช้า ของเด็กวัยเรียนอายุ 6-11 ปี พบว่า ไม่กินอาหารเช้า ร้อยละ 30 และเด็กนักเรียนหญิงอายุ 12-14 ปี ไม่กินอาหารเช้า ถึงร้อยละ 52 ทาให้การขาดสารอาหารในตอนเช้า โดยจะส่งผลกระทบดังนี้  เด็กที่อดอาหารเช้าเป็นประจา จะทาให้ร่างกายได้รับสารอาหารไม่เพียงพอต่อความต้องการของร่างกาย ส่งผลให้ร่างกายไม่แข็งแรง การเจริญเติบโตไม่เป็นไปตามเกณฑ์  เด็กวัยเรียนจะขาดสมาธิง่าย ส่งผลต่อสติปัญญา การเรียน เพราะอาหารเช้าจะช่วยเติมพลังสมองที่เกี่ยวข้อง กับความจา การเรียนรู้ ความกระตือรือร้น ทาให้การทากิจกรรมในแต่ละวันมีประสิทธิภาพมากขึ้น  คนไม่ทานอาหารเช้ามีแนวโน้มเป็นโรคอ้วนมากกว่าคนทานอาหารเช้าเป็นประจา เพราะการไม่ทานอาหาร เช้าจะทาให้ระบบ เผาผลาญเริ่มต้นช้าลง ระดับน้าตาลในเลือดต่าลง ร่างกายจึงรู้สึกหิวอยู่ตลอดเวลา เมื่อ เป็นแบบนี้เราก็ยิ่งทานมากขึ้นในมื้อต่อไป  เสี่ยงโรคเส้นเลือดสมองและโรคหัวใจ เพราะในตอนเช้าเลือดมีความเข้มข้นสูง ทาให้เส้นเลือดที่ส่งไปเลี้ยง สมองหรือหัวใจอุดตันได้ แต่ถ้าเราทานอาหารเช้าจะช่วยเจือจางระดับความเข้มข้นในเลือดได้  คนที่รับประทานอาหารเช้าจะมีภาวะผิดปกติของฮอร์โมนอินซูลิน หรือที่เรียกว่า "ภาวะดื้อต่ออินซูลิน" ซึ่ง เป็นสาเหตุของโรคเบาหวานลดลงถึงร้อยละ 35-50 แต่ถ้าใครไม่ชอบทานอาหารเช้าก็เท่ากับว่า คุณเสี่ยงต่อ การเป็น "โรคเบาหวาน" เพิ่มขึ้น  มีโอกาสเป็นโรคนิ่ว ฟังดูไม่น่าเกี่ยวกัน แต่มีความสัมพันธ์กันจริง ๆ เพราะการไม่ทานอาหารนานกว่า 14 ชั่วโมง จะทาให้คอเลสเตอรอลในถุงน้าดีจับตัวกันนานเกินไป ยิ่งนานเข้าสิ่งที่จับตัวกันนั้นจะกลายเป็นก้อน นิ่ว แต่ถ้าเรากินอาหารเช้าเข้าไป อาหารเช้าจะไปกระตุ้นให้ตับปล่อยน้าดีออกมาละลายคอเลสเตอรอลที่จับ ตัวกันได้ด้วย การเลือกอาหารเช้าเพื่อสุขภาพ นอกจากการรับประทานอาหารเช้าเป็นประจาจะส่งผลดีต่อสุขภาพ การเลือกประเภทอาหารก็สาคัญไม่แพ้ กัน คารโบไฮเดรตจัดเป็นกลุ่มสารอาหารหลักที่ร่างกายนาไปเผาผลาญเป็นพลังงานได้ทันที จากนั้นจึงเป็นโปรตีน ในขณะที่ไฟเบอร์จะช่วยให้รู้สึกอิ่มนานขึ้น โดยไม่ได้รับพลังงานส่วนเกินมากไป อีกทั้งยังช่วยลดอาการท้องผูกและ ช่วยให้ระบบการย่อยอาหารเป็นไปตามปกติ กลุ่มอาหารที่รับประทานเป็นมื้อเช้าจึงควรผสมผสานสารอาหารหลาย ประเภทเพื่อช่วยให้ระบบเผาผลาญของร่างกายเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ ลองปรับอาหารเช้าให้ตรงกับความชอบ ของตนเองโดยพยายามเลือกเมนูที่มีสารอาหารอย่างน้อย 3 กลุ่มขึ้นไป
  • 4. 4 ตัวอย่างกลุ่มอาหารสาคัญที่ควรเลือกเป็นอาหารเช้า ได้แก่ o คารโบไฮเดรต เช่น ซีเรียลธัญพืช ข้าวกล้อง ขนมปังธัญพืช เป็นต้น o ผักและผลไม้ อาจรับประทานแบบสด แช่แข็ง ผลิตภัณฑ์เครื่องกระป๋อง เครื่องดื่ม แต่ควรระมัดระวังน้าตาล และสารปรุงแต่งที่ใส่เพิ่มเติมลงไป o โปรตีนจากเนื้อสัตว์ไม่ติดมัน ไข่ ถั่ว o นมหรือผลิตภัณฑ์จากนมที่มีไขมันต่า เช่น นมพร่องมันเนย โยเกิร์ตหรือชีสไขมันต่า ในกรณีที่รีบเร่งจนไม่มีเวลารับประทานอาหารเช้า ควรหาอะไรรองท้องเล็กน้อย โดยปรับเปลี่ยนประเภทอาหาร ให้เหมาะสม เช่น รับประทานขนมปังธัญพืชแทนขนมปังขาว เปลี่ยนจากการทาเนยเป็นชีสไขมันต่าหรือแยมเล็กน้อย เลือกซีเรียลธัญพืชคู่กับนมไขมันต่า ดื่มน้าผลไม้สด จับคู่โยเกิร์ตไขมันต่าหรือไขมัน 0% กับผลไม้สด คาแนะนาในการรับประทานอาหารเช้า พฤติกรรมการรับประทานอาหารเช้านับเป็นสิ่งสาคัญไม่แพ้สารอาหารที่ควรได้รับ เพราะจะช่วยส่งเสริมให้มี สุขภาพที่ดีขึ้นไปพร้อมกัน โดยมีหลักง่าย ๆ ใรการปฏิบัติตัวดังนี้  กินให้สมดุล อาหารที่รับประทานควรมีความสมดุลตามพลังงานที่ต้องใช้ในแต่ละวัน เลือกอาหารที่มีแคลอ รี่ สารอาหารตามกิจกรรมในแต่ละวันที่เหมาะสมกัน จากข้อมูลของกองโภชนาการ กรมอนามัย กระทรวง สาธารณสุขระบุว่า สัดส่วนของปริมาณอาหารและสารอาหารที่ควรได้รับประจาวันสาหรับคนไทยทั่วไปควรมี การกระจายในแต่ละมื้ออย่างสมดุล โดยมื้อเช้าควรอยู่ที่ร้อยละ 20 ของปริมาณทั้งหมด สาหรับมื้อกลางวัน และเย็นควรอยู่ประมาณ ร้อยละ 30 ขณะที่อาหารว่างควรอยู่ประมาณร้อยละ 10  รับประทานโดยไม่รีบเร่ง ปริมาณพอเพียง ควรให้เวลาในการรับประทานมื้อเช้าอย่างเต็มที่ ไม่รีบเร่ง ไม่ทา กิจกรรมอื่นที่ดึงดูดความสนใจในขณะรับประทาน เพราะอาจทาให้รับประทานปริมาณมากเกินไปโดยไม่รู้ตัว รวมถึงสังเกตสัญญาณที่บ่งบอกว่าร่างกายกาลังหิวหรืออิ่มเพื่อช่วยเตือนให้ทราบว่าควรรับประทานใน ปริมาณเท่าไร ไม่มากหรือน้อยเกินไป  เลือกภาชนะที่เหมาะสม กรณีที่รับประทานอาหารเช้าที่บ้านอาจเลือกภาชนะที่ใส่อาหารที่มีขนาดพอดี เพื่อ ช่วยกะปริมาณอาหารไม่ให้เยอะเกินไป  เน้นรับประทานอาหารที่มีประโยชน์ก่อนเสมอ โดยทั่วไปเวลาหิว คนส่วนใหญ่มักจะมีแนวโน้มเลือกอาหาร ประเภทแป้งและน้าตาลได้ง่าย ลองปรับเปลี่ยนประเภทอาหารมาเป็นผัก ผลไม้ ธัญพืช หรือผลิตภัณฑ์จาก นมที่มีไขมันต่าก่อนอาหารประเภทอื่น ซึ่งกลุ่มอาหารเหล่านี้จะอุดมไปด้วยสารอาหาร วิตามิน แร่ธาตุที่ จาเป็นต่อร่างกาย อีกทั้งยังช่วยลดปริมาณความต้องการกลุ่มสารอาหารที่ให้พลังงานสูงลงได้บ้าง  เปลี่ยนพฤติกรรมการเลือกอาหาร อาหารเช้าที่ดีควรมีสัดส่วนของผักและธัญพืชอย่างน้อยครึ่งหนึ่งในมื้อ อาหาร โดยอาจเลือกผักผลไม้หลากหลายสี ธัญพืชประเภทต่าง ๆ รวมถึงปรับอาหารบางชนิดที่ทดแทนกันได้ และดีต่อสุขภาพมากกว่า เช่น เลือกเป็นนมไขมันต่าหรือไขมัน 0% แทนสูตรปกติ เพราะจะได้รับพลังงาน และไขมันน้อยกว่า แต่สารอาหารยังคงครบถ้วน รับประทานข้าวกล้องแทนข้าวขาว ดื่มน้าเปล่าหรือน้าผลไม้ สดแทนเครื่องดื่มปรุงแต่ง  หลีกเลี่ยงอาหารที่มีสารปรุงแต่งสูง ลดปริมาณอาหารที่เต็มไปด้วยไขมันอิ่มตัว เติมน้าตาลหรือเกลือปริมาณ มาก เช่น เค้ก ไอศกรีม เครื่องดื่มที่มีรสหวาน พิซซ่า ไส้กรอก เบคอน อาหารกระป๋อง ซึ่งไม่ควรรับประทาน เป็นมื้อเช้าเป็นประจา แต่อาจรับประทานได้เป็นครั้งคราว นายแพทย์เจษฎา โชคดารงสุข จากกรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข แนะนาว่า อาหารเช้าที่เหมาะสมสาหรับ ทุกกลุ่มวัยควรมีค่าพลังงานประมาณ 400-450 กิโลแคลอรี่ โดยใช้หลักการเลือกอาหารที่หลากหลายตามหมวดหมู่ที่ ร่างกายต้องการ หากต้องหาซื้อรับประทานนอกบ้านก็สามารถทาได้ แต่ควรเลือกอาหารแบบปรุงสุก สด ใหม่ และ ประกอบด้วยสารอาหารจากหลายกลุ่ม หลีกเลี่ยงอาหารสาเร็จรูปที่มีประโยชน์น้อย และมีโซเดียมสูง นอกจากนี้ ควร เสริมสารอาหารเพิ่มเติมจากจานหลักด้วยนม ผักหรือผลไม้สด
  • 5. 5 ตัวอย่างเมนูอาหารเช้าที่ควรรับประทาน  ข้าวต้มเครื่อง โจ๊กหมู  ข้าวผัด  ข้าวไข่เจียวใส่ผัก  อาหารประเภทซีเรียลกับนมรสจืด  สลัดไก่หรือสลัดทูน่า  แซนด์วิชประกอบด้วยเนื้อสัตว์ไม่ติดมันหรือปลา และผักสด โดยเปลี่ยนขนมปังขาวเป็นขนมปังธัญพืชแบบ ต่าง ๆ แทน ตัวอย่างเมนูอาหารเช้าที่ควรหลีกเลี่ยงหรือรับประทานแต่น้อย  น้าหวาน เครื่องดื่มที่เติมน้าตาล น้าผลไม้สาเร็จรูป เช่น กาแฟเย็น ชาเขียว ชาเย็น โกโก้ น้าผลไม้ชนิดขวด หรือกระป๋อง เป็นต้น  อาหารปิ้งย่างกับข้าวเหนียว เช่น หมูปิ้ง ไก่ย่าง ตับย่าง หากรับประทานควรเลือกเนื้อสัตว์ไม่ติดมัน ไม่ไหม้ เกรียมมากเกินไป  ข้าวเหนียวไก่ทอดหรือหมูทอด  อาหารฟาสต์ฟู๊ด  อาหารเช้าแบบสาเร็จรูป อาหารกระป๋อง บะหมี่กึ่งสาเร็จรูป โจ๊กสาเร็จรูป 5 โรคที่จะเกิดขึ้นถ้า "อดอาหารเช้า" 1. โรคอ้วน การอดอาหารมื้อเช้านอกจากจะไม่ได้ทาให้ผอมลงแล้ว ยังส่งผลเสียกลับมาทาให้อ้วนขึ้นได้อย่างง่ายดาย เพราะ ระดับน้าตาลในเลือดจะลดต่าลง ส่งผลให้เกิดความอยากอาหารมากขึ้น ทาให้ทานอาหารมื้อต่อไปในปริมาณมาก อยากทานของหวาน กินแบบเกินพอดี น้าหนักตัวจึงเพิ่มจนกลายเป็นโรคอ้วนในที่สุด 2. โรคเบาหวาน การงดอาหารเช้าจะทาให้เกิดภาวะดื้อต่ออินซูลิน ซึ่งเป็นสาเหตุให้เกิดโรคเบาหวานตามมา ดังนั้นถ้าไม่อยากล้ม หมอนนอนเสื่อด้วยโรคร้ายแรงอย่างเบาหวาน ก็แนะนาให้ทานอาหารมื้อเช้าเป็นประจา เพราะจะช่วยลดภาวะ ผิดปกติดังกล่าวลงได้ถึง 40-50 3. โรคอัลไซเมอร์ สมอง กับ ข้าวเช้า เกี่ยวข้องกันเนื่องจากน้าตาลในเลือดเป็นอาหารที่สาคัญสาหรับสมอง ซึ่งหลังจากที่ตื่นนอน ขึ้นมา ร่างกายคนเราจะไม่ได้รับสารอาหารนานถึง 12 ชั่วโมง ซึ่งแน่นอนว่าจะต้องทาให้เกิดการอ่อนเพลีย ถ้าไม่ทาน อาหารเช้าก็จะทาให้น้าตาลในเลือดต่าลง และส่งไปหล่อเลี้ยงสมองน้อยลง ส่งผลให้สมองส่วนความจาทางานได้ไม่ เต็มที่ และค่อยๆ เสื่อมประสิทธิภาพ จนกลายเป็นโรคอัลไซเมอร์ในระยะยาว 4. โรคหัวใจและหลอดเลือด การไม่ทานอาหารเช้าจะทาให้มีโรคอ้วนและโรคเบาหวานตามมา ซึ่งเมื่อ 2 โรคร้ายนี้มาเยือน ก็จะส่งผลไปถึง หัวใจทันที เพราะปริมาณคอเลสเตอรอลในร่างกายจะสูงขึ้น ทาให้เสี่ยงต่อการเกิดโรคหัวใจและหลอดเลือด ซึ่งผล สารวจพบว่า คนที่ไม่ชอบทานอาหารเช้า จะมีโอกาสเกิดโรคหัวใจและโรคหลอดเลือดได้มากกว่าคนทั่วไปถึง 20% 5. โรคกรดไหลย้อน โดยปกติแล้วกระเพาะอาหารจะหลั่งน้าย่อยออกมาเพื่อมาย่อยอาหาร ซึ่งถ้าเมื่อไหร่เราทาพฤติกรรมที่ผิดไปจาก วิสัยที่ไม่ควรจะเป็น เช่น ไม่ทานอาหารเช้า ก็จะทาให้น้าย่อยไม่ได้ถูกนามาใช้งานและถูกขังอยู่ในร่างกาย ส่งผลให้ หลอดอาหาร และเยื่อบุกระเพาะอาหารระคายเคือง เมื่อเป็นแบบนี้ต่อไปเรื่อยๆ กรดน้าย่อยก็จะไหลย้อนจากหลอด อาหารขึ้นไปจนถึงคอหอย ทาให้กลายเป็นโรคกรดไหลย้อนในที่สุด
  • 6. 6 วิธีดาเนินงาน แนวทางการดาเนินงาน 1. ปรึกษาเลือกหัวข้อ 2. นาเสนอหัวข้อกับครูผู้สอน 3. ศึกษารวบรวมข้อมูล 4. จักทารายงาน 5. นาเสนอครู 6. ปรับปรุงและแก้ไข เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้ 1. อินเตอร์เน็ต 2. หนังสือที่เกี่ยวข้อง 3. คอมพิวเตอร์ 4. โทรศัพท์ งบประมาณ 100 บาท ขั้นตอนและแผนดาเนินงาน ลาดับ ที่ ขั้นตอน สัปดาห์ที่ ผู้รับผิดชอบ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 1 คิดหัวข้อโครงงาน 2 ศึกษาและค้นคว้าข้อมูล 3 จัดทาโครงร่างงาน 4 ปฏิบัติการสร้างโครงงาน 5 ปรับปรุงทดสอบ 6 การทาเอกสารรายงาน 7 ประเมินผลงาน 8 นาเสนอโครงงาน
  • 7. 7 ผลที่คาดว่าจะได้รับ (ผลลัพธ์ที่ต้องการให้เกิดขึ้นเมื่อสิ้นสุดการทาโครงงาน) 1. ผู้คนตระหนักถึงความสาคัญของการรับประทานอาหารเช้า 2. ผู้คนเห็นถึงผลกระทบที่เกิดขึ้นจากการไม่รับประทานอาหารเช้า 3. ตระหนักโรคต่างๆที่มากับการไม่รับประทานอาหารเช้า 4. ผู้คนเกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม และเริ่มจะหาเมนูอาหารที่เหมาะสาหรับเป็นมื้อเช้า สถานที่ดาเนินการ 1. ห้องคอมพิวเตอร์ โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย 2. ห้องสมุด โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้อง 1. กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ 2. กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี 3. กลุ่มราระการเรียนรู้สุขศึกษาศึกษาและพลศึกษา 4. กลุ่มพัฒนาผู้เรียน แหล่งอ้างอิง (เอกสาร หรือแหล่งข้อมูลต่าง ๆ ที่นามาใช้การทาโครงงาน) "จะเกิดอะไรขึ้นเมื่อเราไม่กินอาหารเช้า"(2560).[ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก http://okclicklove.com/th/news/detail/จะเกิดอะไรขึ้นเมื่อเราไม่กินอาหารเช้า_30.html (วันที่สืบค้นข้อมูล : 20 พฤศจิกายน 2561 ) อาหารเช้า มื้อสาคัญที่ไม่ควรมองข้าม(2560).[ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก https://www.pobpad.com/อาหารเช้ามื้อสาคัญที่ไ (วันที่สืบค้นข้อมูล : 20 พฤศจิกายน 2561 ) 5 โรคร้ายที่อาจเกิดกับคุณถ้าไม่กินอาหารเช้า(2560).[ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก https://play.scblife.co.th/โรคร้ายที่อาจเกิดกับคุณถ้าไม่กินอาหารเช้า/ (วันที่สืบค้นข้อมูล : 20 พฤศจิกายน 2561 )