SlideShare a Scribd company logo
แผนพัฒนาดานเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
 มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร ชวงป พ.ศ. 2552-2556




             มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร
                  พฤศจิกายน 2551
สารบัญ
บทสรุปสําหรับผูบริหาร
  สวนที่ 1 สถานภาพดานเทคโนโลยีและการสื่อสารของมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร                                 1
          สถานภาพดานระบบคอมพิวเตอรและสื่อสารภายในมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร                              1
          คอมพิวเตอรและผูใช                                                                           1
          ระบบเครือขายคอมพิวเตอร                                                                       2
          การเชื่อมตอเครือขายระหวางวิทยาเขต                                                           2
          การเชื่อมตออินเทอรเน็ต                                                                       2
          ระบบเครือขายไรสายของมหาวิทยาลัย                                                              3
          ระบบสื่อสาร                                                                                    4
          แผนพัฒนามหาวิทยาลัยสงขลานครินทรชวงป พ.ศ. 2550-2554                                          6
   สวนที่ 2 สาระสําคัญแผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศของมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร ป 2552-2556                  9
           ความเปนมา                                                                                     9
           วิสัยทัศน                                                                                     11
           พันธกิจ                                                                                        11
           ยุทธศาสตร กลยุทธ และตัวชี้วัด
           ยุทธศาสตรที่ 1 พัฒนาและเสริมสรางระบบโครงขายพื้นฐานและอุปกรณ ICT ใหทั่วทั้งมหาวิทยาลัย 11
                           โดยสอดรับกับการปรับเปลี่ยนทางเทคโนโลยีอยางเหมาะสม
           ยุทธศาสตรที่ 2 สงเสริมและพัฒนาระบบสารสนเทศเพื่อการศึกษาผานระบบเครือขาย และเพื่อเพิ่ม 12
                           ประสิทธิภาพในดานกาบริหารจัดการจัดการเรียน การสอน การวิจัย และการบริการวิชาการ
           ยุทธศาสตรที่ 3 พัฒนาระบบสารสนเทศพื้นฐานและปรับปรุงระบบฐานขอมูล เพื่อการบริหารจัดการ 13
                           และการบริการที่มีคุณภาพ
           ยุทธศาสตรที่ 4 จัดทํามาตรฐานการรักษาความมั่นคงปลอดภัยของคอมพิวเตอรและเครือขาย               14
           ยุทธศาสตรที่ 5 การจัดสรรงบประมาณสนับสนุนงานดานเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร                 14
   สวนที่ 3 การบริหารและจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร                                            16
           ความสอดคลองของแผนพัฒนาดานเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในชวงป 2552-2556                   16
           กับนโยบายและแผนพัฒนามหาวิทยาลัยสงขลานครินทร ในชวงป พ.ศ. 2550-2554 และ
           แผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (ฉบับที่ 2) ของประเทศไทย พ.ศ. 2552-2556
           ความสอดคลองของแผนพัฒนาดานเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารกับนโยบาย                            18
           และแผนพัฒนามหาวิทยาลัยสงขลานครินทร ในชวงป พ.ศ. 2550-2554
           แผนปฏิบัติการดานเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร                      21
           ป พ.ศ. 2552-2556
           แผนงบประมาณดานเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร                        26
           ป พ.ศ. 2552-2556
ภาคผนวก
     คําสั่งมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร เรื่องแตงตั้งคณะกรรมการนโยบายการพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศ
     และการสื่อสาร
     รายนามคณะทํางานจัดทํา รางแผนพัฒนาดานเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร มหาวิทยาลัยสงขลา
     นครินทร ชวงป พ.ศ. 2552—2556
     แผนการดําเนินการปรับปรุงระบบอินเทอรเน็ตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร ประจําปงบประมาณ พ.ศ. 2552
บทสรุปผูบริหาร

              แผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร พ.ศ. 2552-2556 หรือแผน
แมบทไอซีที (Information and Communication Technology : ICT) มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร จัดทําขึ้นเพื่อเปน
แนวทางในการพัฒนาดาน ICT ของมหาวิทยาลัย และเพื่อใหมีกรอบการดําเนินงาน รวมทั้งเพื่อใหสอดคลองกับแผน
นโยบายเทคโนโลยีสารสนเทศระยะ พ.ศ.2544-2553 แผนแมบทความมั่นคงปลอดภัยดานไอซีทีแหงชาติ (National
ICT Security Plan) พระราชบัญญัติวาดวยการกระทําความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร พ.ศ.2550 และประการสําคัญ
ที่สุด สอดคลองแนวทางการพัฒนาและบริหารมหาวิทยาลัยสงขลานครินทรในชวง 5-10 ปขางหนา และนโยบายและ
แผนพัฒนามหาวิทยาลัยในชวงป พ.ศ.2550-2554 ของมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร ซึ่งแผนงานตางๆ เนนการใช
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร เปนเครื่องมือในการขับเคลื่อนการพัฒนา โดยใชเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการ
พัฒนาดานการศึกษา (e-Education) เปนการพัฒนาและเตรียมความพรอมดานทรัพยากรมนุษย เพื่อรองรับการ
พัฒนาสูการเปนสังคมแหงภูมิปญญาและการเรียนรู และเปนองค กรที่มีการบริหารจัดการที่ดี โปรงใส สามารถ
ใหบริการวิชาการที่ดีมีประสิทธิภาพ โดยมหาวิทยาลัยไดตระหนักถึงความเปนมหาวิทยาลัยหลายวิทยาเขตและความ
รวมมือของหนวยงานตางๆ ทั้งภายในและภายนอกมหาวิทยาลัย ซึ่งในการจัดทําแผนแมบทครั้งนี้ เปนการทําแผน
ตอเนื่องจากแผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร พ.ศ. 2547-2551 และ
เพื่อเปนแนวทางในการพัฒนาและตอบสนองแผนกลยุทธ เปาหมาย และวัตถุประสงคของการดํา เนินงานของ
มหาวิทยาลัยใหเหมาะสมกับสภาวะเศรษฐกิจ สังคม ตลอดจนความกาวหนาทางเทคโนโลยีที่มีอยางตอเนื่อง
              ในการดําเนินการ มหาวิทยาลัยจําเปนตองมีแผนแมบทของการดําเนินงานดานเทคโนโลยีสารสนเทศและ
การสื่อสาร โดยไดกําหนดวิสัยทัศน และยุทธศาสตรที่สําคัญไว 5 ยุทธศาสตร ดังนี้
                  วิสัยทัศน
              มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร มุงมั่นที่จะพัฒนาและประยุกตใชเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร เพื่อ
เปนเครื่องมือในการขับเคลื่อนมหาวิทยาลัยไปสูการเปน Research University การเปน e-University อยางเต็ม
รูปแบบ และพัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อการจัดการการศึกษาสูการเปนองคกรแหงการ
เรียนรูที่ทันสมัยและยั่งยืน
                  ยุทธศาสตร
              ยุทธศาสตรที่ 1 พัฒนาและเสริมสรางระบบโครงขายพื้นฐานและอุปกรณ ICT ใหทั่วทั้งมหาวิทยาลัย โดย
สอดรับกับการปรับเปลี่ยนทางเทคโนโลยีอยางเหมาะสม
              ยุทธศาสตรที่ 2 สงเสริม และพั ฒ นาระบบสารสนเทศเพื่อ การศึก ษาผา นระบบเครือ ขา ย และเพื่อ เพิ่ ม
ประสิทธิภาพในดานการบริหารจัดการเรียนการสอน การวิจัย และการบริการวิชาการ
              ยุทธศาสตรที่ 3 พัฒนาระบบสารสนเทศพื้นฐานและปรับปรุงระบบฐานขอมูล เพื่อการบริหารจัดการและ
การบริการที่มีคุณภาพ
              ยุทธศาสตรที่ 4 จัดทํามาตรฐานการรักษาความมั่นคงปลอดภัยของคอมพิวเตอรและเครือขาย
              ยุทธศาสตรที่ 5 การจัดหาและบริหารงบประมาณอยางมีประสิทธิภาพเพื่อสนับสนุนงานดานเทคโนโลยี
สารสนเทศและการสื่อสารของมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร
11 โดยภาพรวมของแผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร ชวงป
พ.ศ. 2552-2556 นี้ แตละปกําหนดกรอบแผนการใชเงินไวประมาณปละ 120 ลาน รวมตลอดแผนใชเงินงบประมาณ
รวมทั้งสิ้น 581.04 ลานบาท โดยสวนใหญหรือรอยละ 51.6 เปนกรอบงบประมาณเพื่อจัดหาอุปกรณอื่นๆ ที่เกี่ยวกับ
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของคณะ/หนวยงาน รองลงมา รอยละ 17.9 เปนกรอบงบประมาณเพื่อจัดหา
อุปกรณเครือขายเพื่อการจัดทําโครงสรางพื้นฐานใหวิทยาเขต/เขตการศึกษาและคณะ/หนวยงานในเบื้องตน เชน
Router, Switch, IPS, Firewall, อุปกรณบริหารจัดการวงจรสื่อสาร, อุปกรณควบคุมการใชงานเครือขายและ
เครือขายไรสาย รอยละ 17.0 เปนกรอบงบประมาณในการเชาหรือขยายวงจรสื่อสาร และรอยละ 13.5 เปนกรอบ
งบประมาณอื่นๆ โดยที่แผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร ไดกําหนด
กลยุทธและตัวชี้วัด ตลอดจนโครงการ/กิจกรรมตางๆ ใหสอดคลองกับกรอบเงินงบประมาณที่วางไว เพื่อใหสามารถ
ดําเนินงานไปอยางมีทิศทางที่ชัดเจนและมีประสิทธิภาพสูงสุด
-1-


สวนที่ 1 : สถานภาพดานเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
            มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร
            แผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทรชวงป พ.ศ. 2552-2556
ไดมีการดํา เนิน การอยา งตอ เนื่อ งจากแผนแมบ ทเทคโนโลยีส ารสนเทศและการสื่อ สารของมหาวิท ยาลัย สงขลา
นครินทร พ.ศ. 2547-2551 หรือแผนแมบทไอซีที (ICT) มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร โดยมีการออกแบบวางระบบ
ตางๆ ไวกอนป พ.ศ. 2547 ตอมาไดมีการปรับปรุงและพัฒนาระบบอยางตอเนื่อง สําหรับสวนนี้จะไดเห็นพัฒนาการ
และสถานภาพดานเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร และการดําเนินงานตามแผนพัฒนามหาวิทยาลัยสงขลา
นครินทรในชวงป พ.ศ 2550-2554 ดังนี้

2.1 สถานภาพดานระบบคอมพิวเตอรและสื่อสารภายในมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร
           1. คอมพิวเตอรและผูใช
           การใหบริการของระบบคอมพิวเตอรกลางของมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร ซึ่งเปนมหาวิทยาลัยหลายวิทยา
เขตนั้น ดําเนินการโดยมีวิทยาเขตหาดใหญเปนวิทยาเขตหลัก และมีศูนยคอมพิวเตอรเปนผูใหบริการหลัก ภายใน
วิทยาเขตจะมีหนวยคอมพิวเตอรของคณะ/หนวยงานตางๆ ในแตละวิทยาเขตเปนผูใหบริการ หรือขอใชบริการผาน
ระบบเครือขายระยะไกล (Wide Area Network) มายังวิทยาเขตหาดใหญ
           จากการสํารวจขอมูลคอมพิวเตอรจากฐานขอมูลระบบบริหารจัดการการเงิน การบัญชี และการพัสดุ โดย
เกณฑพึงรับพึงจายในลักษณะ 3 มิติ และจํานวนผูใช พบวา มีจํานวนคอมพิวเตอรในวิทยาเขตตางๆ เพื่อการเรียนการ
สอน/งานวิชาการ และเพื่องานบริหาร ในอัตราสวนจํานวนเครื่องคอมพิวเตอรตอนักศึกษาและบุคลากรเปน 1 : 5.93
ดังรายละเอียดในตารางที่ 1
ตารางที่ 1 จํานวนคอมพิวเตอรเพื่อการเรียนการสอน/งานวิชาการ งานบริหาร/อื่นๆ
              วิทยาเขต                  หาดใหญ       ปตตานี        ภูเก็ต        ตรัง        สุราษฎรฯ        รวม
 เครื่องไมโครคอมพิวเตอรและ                 3,986        1,839          536           252             412        7,025
 คอมพิวเตอรแบบพกพา (เครื่อง)
 จํานวน servers (เครื่อง)                     130           31            23              9                7       200
 จํานวนนักศึกษา (คน)                      18,523         8,776        2,474         2,543           1,814       34,130
 จํานวนบุคลากร (คน)                         7,053        1,090          249               94          196        8,682
 คอมพิวเตอรตอ                          1 : 6.21     1 : 5.28     1 : 4.87     1 : 10.10       1 : 4.80       1 : 5.93
 นักศึกษาและบุคลากร
ที่มา : ระบบบริหารจัดการการเงิน การบัญชี และการพัสดุโดยเกณฑพึงรับ-พึงจายในลักษณะ 3 มิติ สํารวจระหวางวันที่ 28 พฤศจิกายน
2550 ถึงวันที่ 9 มกราคม 2551 (เปนการรวบรวบขอมูลของปงบประมาณ 2546-2550 สวนขอมูลบุคลากรและนักศึกษาจากเว็บไชตของ
กองแผนงาน ณ วันที่ 30 มิถุนายน 2551)




              แผนพัฒนาดานเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร ชวงป พ.ศ. 2552-2556
-2-

            2. ระบบเครือขายคอมพิวเตอร
            มหาวิทยาลัยฯ โดยศูนยคอมพิวเตอร ไดออกแบบและวางระบบเครือขายในวิทยาเขตหาดใหญตั้งแต
ปงบประมาณ 2536 โดยใชระบบใยแกวนําแสงเปนสื่อในการเชื่อมโยงเครือขายของคณะและหนวยงานตางๆ มี
ศูนยกลางของเครือขายอยูที่อาคารศูนยคอมพิวเตอร และไดปรับปรุงและพัฒนาอยางตอเนื่องเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพ
และความเร็วในการใชงานใหดียิ่งขึ้น โดยในชวงปงบประมาณ2539- 2541 ไดมีการนําระบบที่เปนเทคโนโลยี ATM
(Asynchronous Transfer Mode) มาใช ตอมาก็ไดนําอุปกรณ Ethernet Switch มาใชรวมกัน และในปงบประมาณ
2551 มหาวิทยาลัยโดยการดําเนินการของศูนยคอมพิวเตอรและความรวมมือของคณะและหนวยงานตางๆ ไดจัดซื้อ
ระบบและอุปกรณ ซึ่งเปนเทคโนโลยี Gigabit Ethernet Switch แบบ Layer 3 มาใชงานแทนอุปกรณ ATM Switch
เพื่อเพิ่มความเร็วในการเชื่อมตอกันระหวางคณะและหนวยงานภายในมหาวิทยาลัย และเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการ
บริหารจัดการเครือขายทั้งในระดับคณะและระดับมหาวิทยาลัย สวนในวิทยาเขต/เขตการศึกษา ไดมีการดําเนินการ
และวางระบบเครือขาย ดังนี้
                วิทยาเขตปตตานี ระบบเครือขายคอมพิวเตอรของวิทยาเขตปตตานีไดรับการออกแบบและวางระบบ
มาตั้งแตปงบประมาณ 2540 ไดมีการนําระบบที่เปนเทคโนโลยี ATM (Asynchronous Transfer Mode) มาใช และ
ตอมาก็ไดนําอุปกรณ Ethernet Switch มาใชรวมกันจนถึงปจจุบัน
                วิทยาเขตภูเก็ต วิทยาเขตสุราษฎรธานีและเขตการศึกษาตรัง ระบบเครือขายคอมพิวเตอรของ
วิทยาเขต/เขตการศึกษาทั้ง 3 แหงนี้ ไดรับการออกแบบและวางระบบโดยใช Ethernet Switch ตั้งแตปงบประมาณ
2541 จนถึงปจจุบัน

            3. การเชื่อมตอเครือขายระหวางวิทยาเขต การเชื่อมตอเครือขายระหวางวิทยาเขตตางๆ มายังวิทยา
เขตหาดใหญ ดวยวงจรความเร็ว 38 Mbps ระหวางวิทยาเขตหาดใหญกับวิทยาเขตปตตานี และวงจรความเร็ว 14
Mbps ระหวางวิทยาเขตหาดใหญกับวิทยาเขตสุราษฏรธานี วิทยาเขตภูเก็ต และเขตการศึกษาตรัง ซึ่งเปนการใชงาน
อินเทอรเน็ตและอินทราเน็ต ไมมีการเชื่อมตอระหวางวิทยาเขต 2 วิทยาเขตโดยตรง ซึ่งแตละวิทยาเขตมีความเร็วใน
การเชื่อมตอสายสัญญาณวงจรเชา (Leased Line) ดังนี้
             วิทยาเขต        วงจร             อินเทอรเน็ต             อินทราเน็ต + VCS (Backup)
             ปตตานี         38 Mbps          34Mbps                   4Mbps
             ตรัง            14 Mbps          10Mbps                   4Mbps
             สุราษฎรธานี    14 Mbps          10Mbps                   4Mbps
             ภูเก็ต          14 Mbps          10Mbps                   4Mbps

          4. การเชื่อมตออินเทอรเน็ต (Leased Line) มหาวิทยาลัยฯ เลือกใชบริการอินเทอรเน็ตจากสํานักงาน
บริหารเทคโนโลยี สารสนเทศเพื่อ พัฒนาการศึกษา (UniNet) ซึ่งเปนหน วยงานกลางที่ดูแลอินเทอรเน็ตใหกับ
มหาวิทยาลัยตางๆ ในประเทศไทย มีสมาชิกจากมหาวิทยาลัย / สถาบัน / หนวยงานราชการทั่วประเทศจํานวนทั้งสิ้น
133 แหง โดย UniNet เปนผูของบประมาณในภาพรวมของมหาวิทยาลัยทั้งประเทศ มีความเร็ว 100 Mbps วิ่งผาน
วงจรสื่อสารระหวางมหาวิทยาลัยสงขลานครินทรกับมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลาธนบุรีที่ความเร็ว 155
Mbps และออกตางประเทศไดที่ความเร็วไมจํากัดผานเราเตอร (Router) ของ UniNet ที่มี่ความเร็วชองพอรต 1 Gbps


            แผนพัฒนาดานเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร ชวงป พ.ศ. 2552-2556
-3-




ภาพประกอบ 1 แผนผังแสดงการเชื่อมตอระบบเครือขาย




           5. ระบบเครือขายไรสายของมหาวิทยาลัยฯ (PSU WiFi) มหาวิทยาลัยฯ ไดรับการสนับสนุงบประมาณ
แผนดินจํานวน 6,000,000 ลานบาท จากสํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา และเงินรายไดวิทยาเขต/เขต
การศึกษากับเงินรายไดสวนกลางมหาวิทยาลัยฯ สมทบอีกจํานวน 5,388,888.00 บาท โดย เพื่อใหบริการอินเทอรเน็ต
ไรสายแกนักศึกษาและบุคลากรในปงบประมาณ 2550 ซึ่งระบบไดรับการออกแบบใหมีการจัดการและควบคุมการ
ทํางานไดจากศูนยกลาง (center management) ที่ตั้งอยู ณ ศูนยคอมพิวเตอรหรือหนวยคอมพิวเตอรของวิทยาเขต/
เขตการศึกษาตาง ๆ ที่เชื่อมต อดวยสายใยแกวนําแสงแยกจากเครือขายหลักของมหาวิทยาลัยฯ และใชอุปกรณ
ควบคุมที่สามารถจัดการและควบคุมการทํางานของแอกเซสพอยน (Access point) และเนนการรักษาความปลอดภัย
ในการใชงาน โดยผูใชจะตองใชรหัส PSU Passport ในการ login เขาใชงาน โดยมีรูปแบบการใหบริการ 2 รูปแบบ คือ แบบ
web-based login และแบบ WPA login ใหผูใชบริการสามารถเลือกใชงานได สําหรับอุปกรณหลักในการใหบริการประกอบดวย
               1) อุปกรณควบคุมการทํางานเครือขาย (controller) ติดตั้งที่ศูนย/หนวยคอมพิวเตอรของวิทยาเขต/เขต
การศึกษา
               2) อุปกรณ RADIUS server และ Network management ติดตั้งที่ศูนย/หนวยคอมพิวเตอรของวิทยา
เขต/เขตการศึกษา


            แผนพัฒนาดานเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร ชวงป พ.ศ. 2552-2556
-4-

              3) อุปกรณแอกเซสพอยนติดตั้งที่คณะ/หนวยงาน
              4) อุปกรณสวิตชเลเยอร2 (L2 switch) ขนาด 24 พอรต ติดตั้งที่คณะ/หนวยงาน
              5) อุปกรณ media converter ติดตั้งที่คณะ/หนวยงาน
             ปจจุบันมีจุดใหบริการใชงานระบบเครือขายไรสาย แกนักศึกษาและบุคลากร ในวิทยาเขต/เขตการศึกษา
ดังนี้ วิทยาเขตหาดใหญ 112 จุด วิทยาเขตปตตานี 49 จุด วิทยาเขตภูเก็ต 16 จุด วิทยาเขตสุราษฎรธานี 9 จุด และ
เขตการศึกษาตรัง14 จุด
          6. ระบบสื่อสาร มหาวิทยาลัยฯ ไดวางระบบสื่อสาร โดยเริ่มจากระบบโทรศัพทเปนระบบแรก และปจจุบัน
มีระบบใหบริการ ดังนี้
               6.1 ระบบโทรศัพท เริ่มดําเนินการที่วิทยาเขตเขตหาดใหญ แบงเปน 3 ระยะ คือ ระยะที่ 1
ปงบประมาณ 2541 ระยะที่ 2 ปงบประมาณ 2542 และระยะที่ 3 ปงบประมาณ 2543 โดยใชเงินลงทุนทั้งสิ้น
26,980,309.52 บาท ปจจุบันมีตูสาขาจํานวน 14 ตู มีเลขหมายใหบริการทั้งสิ้น 4,300 เลขหมาย โดยศูนย
คอมพิวเตอรเปนหนวยงานกลางในการใหบริการ สวนที่ติดตั้งในคณะแพทยศาสตรอีกประมาณ 3,000 เลขหมาย
คณะไดมีการบริหารจัดการเอง นอกจากนี้ ยังมีระบบที่ติดตั้ง ณ วิทยาเขต/เขตการศึกษา โดยเจาหนาที่ของแตละ
วิทยาเขต/เขตการศึกษาเปนผูบริหารจัดการ และมีเจาหนาที่ของศูนยคอมพิวเตอรเปนที่ปรึกษา
               6.2 ระบบประชุมทางไกล (Telemeeting หรือ Video Conference) มหาวิทยาลัยมีนโยบายในการ
ติดตั้งระบบที่สามารถประชุมรวมกันไดทุกวิทยาเขต/เขตการศึกษา สวนหนึ่งเพื่อลดการเสียเวลาในการเดินทางและ
คาใชจายของผูเขารวมประชุมตางวิทยาเขต ในการดําเนินงามหาวิทยาลัยฯ จึงใหศูนยคอมพิวเตอรทําการติดตั้งและ
ใหบริการระบบประชุมทางไกลระหวางวิทยาเขตตั้งแตปงบประมาณ 2548 เปนตนมา โดยใชงบประมาณเงินรายได
สํานักงานอธิการบดี เงินรายไดสวนกลาง และเงินรายไดวิทยาเขต เปนเงินทั้งสิ้น 4,102,427 บาท และไดจัดสรร
งบประมาณจากเงินรายไดสวนกลางเพิ่มเติมอีกในปงบประมาณ 2550 และ 2551 เปนเงินปละ 1,500,000 บาท เพื่อ
ปรับปรุงระบบเพิ่มเติมใหครอบคลุมทุกวิทยาเขต/เขตการศึกษา และหนวยประสานงานที่กรุงเทพฯ
ภาพประกอบ 2 แผนผังแสดงการเชื่อมตอระบบประชุมทางไกล




            แผนพัฒนาดานเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร ชวงป พ.ศ. 2552-2556
-5-

                  6.3 ระบบโทรศัพทผานโครงขาย IP (Voice over IP: VoIP) เนื่องจากเทคโนโลยีระบบเครือขาย
คอมพิวเตอรมีความกาวหนา สามารถพัฒนาระบบโทรศัพทใหสามารถใชงานผานโครงขายอินเทอรเน็ตโปรโตคอลได
ซึ่งสามารถทําใหการสื่อสารระหวางวิทยาเขตสามารถทําไดโดยไมเสียคาใชจาย สามารถเลือกใชระบบนี้ทดแทนระบบ
เดิมที่เปนชนิดอนาลอก และมีคาใชจายเฉลี่ยตอเลขหมายถูกกวา สามารถใชเจาหนาที่ที่รับผิดชอบงานดานระบบ
เครื อ ข า ยมาดู แ ลได เ มื่ อ ได รั บ การฝ ก อบรมเพิ่ ม เติ ม ในขณะที่ ร ะบบโทรศั พ ท แ บบเดิ ม ไม ส ามารถทํ า ได เพราะ
สถาปตยกรรมแตละยี่หอแตกตางกันผูดูแลจึงตองเรียนรูระบบของแตละยี่หอ ดังนั้น มหาวิทยาลัยฯ จึงไดเลือกใช
ระบบโทรศัพทผานโครงขาย IP สําหรับอาคารใหมที่สรางในชวง 2 ปที่ผานมา และการติดตอระหวางวิทยาเขต/เขต
การศึกษาตั้งแตปงบประมาณ 2549 เปนตนมา โดยในระยะแรกไดลงทุนจัดซื้อเครื่องแมขายจํานวน 2 ชุด ที่ทํางาน
ทดแทนกันไดโดยอัตโนมัติ (redundant) เปนเงิน 820,000 บาท พรอมเกตเวยสําหรับเชื่อมตอระหวางวิทยาเขตจํานวน
5 ชุด และเครื่องโทรศัพทอีก 6 ชุด และตอมาไดขยายการเชื่อมตอไปที่วิทยาเขตตรังและสุราษฎรธานี ในปงบประมาณ
2549 และปงบประมาณ 2550 ตามลําดับ โดยลงทุนไปเปนเงิน 3,200,000 บาท
                  นอกจากนี้ ไดออกแบบระบบโทรศัพทผานโครงขายเพื่อติดตั้งที่อาคารทรัพยากรการเรียนรู สามารถ
รองรับการใชงานทั้ง 5 วิทยาเขต/เขตการศึกษา และงานประสานงานที่กรุงเทพฯ ในลักษณะ client-server ซึ่งเปนการ
ควบรวมระบบเครือขายสื่อสารและคอมพิวเตอรเขาดวยกัน (Network Convergence) โดยมีอุปกรณประกอบดวย
เครื่องแมขาย 4 เครื่อง และเครื่องโทรศัพท 150 เครื่อง พรอมเกตเวยเชื่อมตอกับโทรสาร เปนเงิน 5,000,000 บาท ซึ่ง
สามารถทําหนาที่ทดแทนตูสาขาระบบเดิมที่ลงทุนในปงบประมาณ 2541 ไดอยางสมบูรณแบบ
ภาพประกอบ 3 แผนผังการเชื่อมระบบโทรศัพทผานโครงขาย IP

                                             P S U IP ‐T elephony
                                                  T opolog y




              แผนพัฒนาดานเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร ชวงป พ.ศ. 2552-2556
-6-

              6.4 ระบบกลองวงจรปด เนื่องจากสถานการณความไมสงบที่เกิดขึ้นอยางตอเนื่องใน 5 จังหวัด
ชายแดนภาคใต และไดกระจายวงกวางไปยังอําเภอตางๆ เขตชุมชนที่มีประชาชนจํานวนมาก โดยเฉพาะอําเภอ
หาดใหญซึ่งเปนที่ตั้งของมหาวิทยาลัยสงขลานครินทรวิทยาเขตหาดใหญ ไดเกิดเหตุลอบวางระเบิดในรอบ 2 ปที่ผาน
มาจํานวน 3 ครั้ง ทําใหมีผูไดรับบาดเจ็บและเสียชีวิตหลายราย เหตุการณดังกลาวไดกอใหเกิดความรูสึกไมปลอดภัย
ตอชีวิตและทรัพยสินของนักศึกษา บุคลากร และผูที่มาติดตอราชการ มหาวิทยาลัยฯ จึงไดหาแนวทางและวิธีการเพื่อ
เสริมสรางความเขมแข็งของมาตรการการรักษาความปลอดภัยใหมีความรัดกุมและมีมาตรฐานในระดับสากล โดยได
ดําเนินการติดตั้งระบบโทรทัศนวงจรปด (Closed Circuit Television :CCTV) แบบ Digital ชนิด IP Network Camera
ในระยะแรกบริเวณประตูทางเขาออกหลักของมหาวิทยาลัยจํานวน 6 กลอง โดยใชเงินรายไดวิทยาเขตหาดใหญเปน
เงิน 1,600,000 บาท ในปงบประมาณ 2550 และในปงบประมาณ 2551 ไดขยายการติดตั้งเพิ่มเติมอีก 34 กลอง ดวย
เงินงบประมาณ (งบกลางมหาวิทยาลัย) เปนเงิน 9,600,000 บาท โดยครอบคลุมพื้นที่บริเวณประตูทางเขา-ออกทุก
ดาน สํานักงานอธิการบดี หนาศูนยคอมพิวเตอร หนาโรงยิมเนเซียม หนาสํานักงานหอพัก ปอมยามหนาตึกหุนยนต
และปอมยามหนาหอพักอาคาร 10

2.2 แผนพัฒนามหาวิทยาลัยสงขลานครินทรชวงป พ.ศ. 2550-2554
                                     
             การพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารดานการศึกษา (e-Education) ซึ่งมีเปาหมายเพื่อพัฒนา
และเตรียมความพรอมดานทรัพยากรมนุษยในทุกระดับของประเทศ เพื่อรองรับการพัฒนาสูการเปนสังคมแหงภูมิ
ปญญาและการเรียนรูดังกลาวแลวนั้น มหาวิทยาลัยสงขลานครินทรในฐานะมหาวิทยาลัยภูมิภาคที่ตองมีบทบาทใน
การนําสังคมและชุมชนไปสูสังคมแหงภูมิปญญาและการเรียนรู (Knowledge-Based Society) โดยผา น
กระบวนการศึกษา และฝกอบรมที่มีประสิทธิภาพและประสิทธิผล เพื่อใหผูที่ผานกระบวนการดังกลาวสามารถ
ประยุกตใชความรูเพื่อการเรียนรูตลอดชีวิต อันเปนปจจัยสําคัญของการสรางฐานกําลังคนใหมีจํานวนและคุณภาพที่
เหมาะสมและพอเพียงที่จะชวยสนับสนุนการพัฒนาประเทศ โดยใชประโยชนจากเทคโนโลยีสารสนเทศและการ
สื่อสารอยางเต็มศักยภาพ และตระหนักถึงการมีสวนรวมในการวางแผนดานทรัพยากรเทคโนโลยีสารสนเทศและการ
สื่อสาร เพื่อใหมีการใชประโยชนรวมกันผานระบบเครือขายอยางทั่วถึงและเทาเทียมกันในทุกวิทยาเขต/เขตการศึกษา
และการปรับแผนใหสอดคลองกับการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น รวมถึงการเปนองคกรที่มีระบบการบริหารจัดการที่ดี
สามารถใหบริการทางวิชาการไดอยางมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล
              ดังนั้น เพื่อใหบรรลุวิสัยทัศนและพันธกิจ ภายใตเงื่อนไขการพัฒนาที่สําคัญหลายประการที่จะขับเคลื่อน
นโยบายและแผนงานของมหาวิทยาลัยสงขลานครินทรไปสูการปฏิบัติอยางมีประสิทธิภาพ โดยการนํ าเทคโนโลยี
สารสนเทศและการสื่อสารมาประยุกตใชทั้งในสวนของการดําเนินงานและใหบริการอยางเต็มรูปแบบ เพื่อใหลดขอจํากัด
เสริ ม สร า งศั ก ยภาพในการแข ง ขั น เพิ่ ม ขึ้ น  และการสร างระบบบริ หารจั ดการที่ ดี พร อมทั้ งช วยสนั บสนุ นให
มหาวิทยาลั ยสงขลานครินทรเปนสั งคมแห งภูมิ ป ญญาและการเรี ยนรู ตลอดชี วิต โดยกํา หนดทิศ ทางการพัฒ นาที่
สอดคลองกับวิสัยทัศนและพันธกิจ ซึ่งจากการวิเคราะหบริบทภายนอกทั้งระดับโลก (Global) ระดับประเทศ และ
บริบทภายใน คือ รายงานผลการประเมินอธิการบดี รายงานผลการประเมินคุณภาพ และการวิเคราะห SWOT
มหาวิทยาลัยจึงไดกําหนดทิศทางการพัฒนาที่สอดรับกับวิสัยทัศนของมหาวิทยาลัยที่จะ เปนมหาวิทยาลัยชั้นนําใน
ภูมิภาคเอเชีย ทําหนาที่ผลิตบัณฑิต บริการวิชาการ และทํานุบํารุงวัฒนธรรม โดยมีการวิจัยเปนฐาน ไวในนโยบายและ
แผนพัฒนามหาวิทยาลัย ในชวงป พ.ศ. 2550-2554 ประกอบดวย 6 ทิศทาง คือ


             แผนพัฒนาดานเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร ชวงป พ.ศ. 2552-2556
-7-


             1. เปนมหาวิทยาลัยเนนวิจัย โดยมุงเนนการสรางระบบเพื่อเปลี่ยนวัฒนธรรมองคกรใหมุงสูวิจัยและ
บัณฑิตศึกษาใหมากขึ้น โดยใหทุกองคาพยพปฎิบัติภารกิจสู key results เดียวกัน คณะใหมจะมีการเตรียมพรอมที่
จะเปน research faculties ในอนาคตระยะยาว จะสรางสมดุลระหวางวิจัย สอน บริการวิชาการ บัณฑิตศึกษามุงสู
ปริญญาเอกและปริญญาโท research based programs บมเพาะอาจารยวิจัยรุนใหม ทุมเทใหอาจารยมีคุณวุฒิ
ป.เอก 50% วิจัยที่เชื่อมโยงกับอุตสาหกรรม วิจัยที่สอดคลองกับปญหาของพื้นที่ การใชประโยชนจากผลงานวิจัยมี
สถานวิจัยสถาบันวิจัยที่เชื่อมโยงศาสตร (interdisciplinary research centers) มีระบบ research marketing
รวมถึงการวิจัยสถาบันจะเชื่อมโยง (alignment) ระบบบุคลากร วิจัยและบัณฑิตศึกษาวิเทศสัมพันธ การงบประมาณ
การตรวจสอบและประเมิน การสื่อสารภายในองคกร การสรรหาผูบริหาร เขาสู chain value ที่มุงสูการเปน
มหาวิทยาลัยเนนวิจัย
             2. มีความเปนเลิศบางสาขา ความเปนเลิศในบางสาขาและบางเรื่องจะเปรียบเสมือนหอกแหลมที่จะพุง
นําพามหาวิทยาลัยไปขางหนากอน เปนความหวังที่จะสรางชื่อเสียงใหกับมหาวิทยาลัยพรอมๆ กับการสรางตัวอยาง
วัฒนธรรมองคกรใหทํางานมุงเนนพันธกิจหลักโดยมหาวิทยาลัยจะเปน authority ในเรื่องยางพารา ปาลมน้ํามัน
อาหารทะเล ทะเลสาบสงขลา และอิสลามศึกษา
             3. บัณฑิตเปนผูมีความรูความสามารถทางวิชาการ และเปนคนดีของชาติ มุงสูการผลิตบัณฑิตที่มี
ความรูที่เปนปจจุบัน มีศักยภาพเรียนรูดวยตนเอง มีทักษะการแกปญหา (problem-solving skills) และมีจิตสํานึก
ชวยเหลือสังคม เพื่อใหสอดคลองกับการทํางานในภาคเอกชน จําเปนตองมีการการปรับหลักสูตร การปรับปรุงเนื้อหาที่
สอน การเปลี่ยนแปลงวิธีการเรียนรู การเพิ่มความสามารถทางภาษาตางประเทศและคอมพิวเตอร เปนความจําเปน
เรงดวนการใชประโยชนจาก ICT สูกระบวนการเรียนรูและการสอนที่เชื่อมโยงระหวางวิทยาเขต การพัฒนาทักษะการ
ถายทอดใหกับอาจารย การเรียนในระดับปริญญาตรีที่สอดแทรกวิชา project มากขึ้นเพื่อใหนักศึกษาไดเรียนรูถึง
research methodology การมีหลักสูตรที่รองรับความกาวหนาของวิทยาการแหงอนาคตเชน Biomedical
Engineering การมีรายวิชาที่เชื่อมชองวางของศาสตร เชน Physiological Engineering การสอนแบบโจทยปญหาใน
บางหลักสูตร/วิชา บางหลักสูตรเปนสหกิจศึกษา การพัฒนานักศึกษาเพื่อใหบัณฑิตของมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร
เป น คนดีข องชาติจ ะเปนเรื่อ งสํ า คัญ และเปน ภารกิจหลักของการบริหารโดยมุง เนนใหนั กศึกษามีทั กษะชีวิตและ
จิตสํานึกสาธารณะ
             4. เปนมหาวิทยาลัยที่เอื้ออาทรตอการพัฒนาชุมชน (university-community engagement) โดยการ
สรางศักยภาพของชุมชนใหชุมชนมีความเขมแข็ง (nurturing community) มีความยั่งยืน ผานกระบวนการสอน บริการ
วิชาการ และการวิจัย โดยใชแนวทางสรางศักยภาพใหชุมชนสามารถเขาถึงแหลงความรูไดตลอดชีวิต รวมมือกับชุมชน
และทองถิ่น บนฐานของความเขาใจอันดีตอกัน ใหบริการวิชาการตอชุมชน โดยชุมชนมีสวนรวมแสดงความตองการ
เพื่อใหเกิดการพัฒนาที่ยั่งยืน และการใหบริการรักษาพยาบาลที่มีคุณภาพตอชุมชนวิธีการดําเนินงานเนนการใหความ
รวมมือกับจังหวัดในเขตที่ตั้งของวิทยาเขต การใหความชวยเหลือกับองคกรปกครองทองถิ่น ความเชื่อมโยงกับ
โรงเรียน ความเชื่อมโยงกับภาคอุตสาหกรรม การเขามีสวนรวมในการปฏิรูปการศึกษาในเขต 3 จังหวัดชายแดนที่กําลัง
มีความไมสงบ การวิจัยปญหาทองถิ่นและตอยอดภูมิปญญาทองถิ่นโดยมีชุมชนรวมวิจัย กระจายโอกาสทาง
การศึกษาใหกับภูมิภาค เคารพในความตางวัฒนธรรมของชุมชนและความเทาเทียมกันทุกชั้นของสังคม(social
inclusion) การดูแลเยาวชน ultra-poor (โครงการตนกลาสงขลานครินทร)โครงการบัณฑิตอาสา การนําผลงานวิจัย


            แผนพัฒนาดานเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร ชวงป พ.ศ. 2552-2556
-8-




           5. วิทยาเขตมีความเขมแข็ง มีโอกาสที่เทาเทียม และมีความรวมมือกันอยางใกลชิด การบริหารจะเนน
ที่ความชัดเจนของโครงสราง (PSU system / high-performance organization) ความชัดเจนของแผนพัฒนา แผน
ยุทธศาสตร แผนพัฒนาอาจารยและบุคลากร แผนการงบประมาณและการเงิน แผนการกระจายอํานาจ การติดตาม
ประเมินผล ความเชื่อมโยง และชวยเหลือระหวางวิทยาเขต พรอมเรงแกไขปญหาการขาดแคลนทรัพยากร แตละ
วิทยาเขตจะมีความเปน Flag ship campus ที่เปนเอกลักษณของตนเอง หาดใหญเดนทางวิทยาศาสตรเทคโนโลยี
วิทยาศาสตรสุขภาพและการบริหารจัดการ ปตตานีเดนทางสังคมศาสตรและอิสลามศึกษา ภูเก็ตเดนทางความ
เปนนานาชาติและสาขาการจัดการโรงแรม ตรังเดนทางสังคมศาสตรประยุกตธุรกิจและอุตสาหกรรมบริการ และ
สุราษฎรธานีเดนทางเทคโนโลยีประยุกต
           6. เปนองคกรที่ใชหลักธรรมาภิบาลควบคูกับการเปนองคกรแหงการเรียนรู และพัฒนาศักยภาพ
ของบุคลากร โดยเรงสรางวัฒนธรรมการประเมิน ตรวจสอบ โปรงใส รับผิดชอบชอบธรรมและยุติธรรม ใหกับ
มหาวิทยาลัยโดยใชหลัก share vision & collegiate decision ผูบริหารทุกระดับจะถูก spotlight สอง performance
ของบุคลากรสายภารกิจหลักจะถูกมองเห็นดวยระบบ KPIs และ load units พรอมกับการพัฒนาบุคลากรใหมี
ศักยภาพที่จะปฏิบัติภารกิจสูพันธกิจหลัก จัดสรรงบประมาณและทรัพยากรใหสอดคลองกับภารกิจหลัก สรางระบบ
การสรรหาผูบริหารที่มีการทํา commitments และมีการประเมิน เนนการสื่อสารภายในองคกรและประชาสัมพันธ
ภายนอก มหาวิทยาลัยสงขลานครินทรจะเปนองคกรแหงขอมูลเพื่อประกอบการตัดสินใจเชิงบริหาร ระบบ MIS ที่
กําลังพัฒนาอยู ระบบบุคลากร ระบบนักศึกษา และระบบการเงิน (7 hurdles) จะเชื่อมตอฐานขอมูลเปนหนึ่งเดียวทั้ง
5 วิทยาเขต จะเปนเครื่องมือสําหรับการจัดการอันทรงประสิทธิภาพ




            แผนพัฒนาดานเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร ชวงป พ.ศ. 2552-2556
-9-


สวนที่ 2 : สาระสําคัญแผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศ
            มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร ป 2552-2556
ความเปนมา
           มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร (Prince of Songkla University) จัดตั้งขึ้นในป พ.ศ.2508 สมัยการเรงรัดพัฒนา
ประเทศ โดยมีวัตถุป ระสงคเพื่อกระจายโอกาสทางการศึกษาระดับ อุดมศึกษาออกสูภูมิภาค ยกระดับ มาตรฐาน
การศึ ก ษาในท อ งถิ่น และสนั บ สนุน การพั ฒ นาภู มิ ภ าค มี ลัก ษณะพิเ ศษแตกต า งจากมหาวิ ท ยาลัย อื่ น ๆ คื อ เป น
มหาวิทยาลัยที่มีเจตนารมณที่จะใหเปนมหาวิทยาลัยหลายวิทยาเขต มีการกระจายคณะวิชาไปตั้งอยูตามจังหวัดตางๆ
ในภาคใต มีลักษณะทางกายภาพตั้งอยูใน 5 จังหวัดในภูมิภาคภาคใต มีลักษณะเปนวิทยาเขต 4 แหง และ 1 เขต
การศึกษา มีพื้นที่เพื่อการเรียนการสอน วิจัย บริการวิชาการ และอื่นๆ รวมทั้งสิ้น 11,888 ไร จําแนกตามวิทยาเขต ดังนี้
               1) วิทยาเขตหาดใหญ ตั้งอยูที่อําเภอหาดใหญ จังหวัดสงขลา และมีสถานีวิจัยสถานีปฏิบัติการ ศูนยวิจัย
ตั้งอยูที่จังหวัดสงขลา สตูล และพัทลุง 7 แหง นอกจากนี้มหาวิทยาลัยยังมีที่ดินที่อยูระหวางดําเนินการจายคาอาสิน
ใหแกราษฎร ตั้งอยูที่ตําบลทาขาม และตําบลทุงใหญ อําเภอหาดใหญ จังหวัดสงขลา มีพื้นที่ 4,993 ไร โดยมีหนวยงาน
เทียบเทาคณะ 20 คณะ/เทียบเทา เปนคณะเพื่อการจัดการเรียนการสอน 13 คณะ 1 บัณฑิตวิทยาลัย และหนวยงาน
ที่สนับสนุนการบริหาร 1 สถาบัน 2 สํานัก และ 3 ศูนย
               2) วิทยาเขตปตตานี ตั้งอยูที่ตําบลรูสะมิแล อําเภอเมือง จังหวัดปตตานี และศูนยบริการวิชาการ สถานี
วิจัยและฝกงาน ตั้งอยูที่จังหวัดปตตานี สงขลา และยะลา 4 แหง มีพื้นที่ 1,428 ไร โดยมีหนวยงานเทียบเทาคณะ 10
คณะ/เทียบเทา เปนคณะเพื่อการจัดการเรียนการสอน 6 คณะ 1 วิทยาลัย และหนวยงานที่สนับสนุนการบริหาร 2
สํานัก และ 1 สถาบัน
               3) วิทยาเขตภูเก็ต ตั้งอยูที่อําเภอกะทู จังหวัดภูเก็ต ศูนยบริการวิชาการและศูนยการศึกษาดานทรัพยากร
ชายฝง ตั้งอยูที่จังหวัดภูเก็ตและพังงา 2 แหง มีพื้นที่ 1,541 ไร โดยมีหนวยงานเทียบเทาคณะ 4 คณะ/เทียบเทา เปน
คณะเพื่อการจัดการเรียนการสอน 2 คณะ 1 วิทยาลัย และหนวยงานที่สนับสนุนการบริหาร 1 สํานัก
               4) วิทยาเขตสุราษฎรธานี ตั้งอยูที่เขาทาเพชร อําเภอเมือง จังหวัดสุราษฎรธานี และมีที่ดินตั้งอยูที่ ทุงไสไช
พุมเรียง อําเภอไชยา จังหวัดสุราษฎรธานี มีพื้นที่ 3,240 ไร โดยมีหนวยงานเทียบเทาคณะ 4 คณะ/เทียบเทา เปนคณะ
เพื่อการจัดการเรียนการสอน 2 คณะ 1 วิทยาลัย และหนวยงานที่สนับสนุนการบริหาร 1 สํานัก
               5) เขตการศึกษาตรัง ตั้งอยูที่ตําบลควนปริง อําเภอเมือง จังหวัดตรัง มีพื้นที่ 686 ไร โดยมีหนวยงานเทียบเทา
2 คณะ/เทียบเทา เปนคณะเพื่อการจัดการเรียนการสอน 1 คณะ และหนวยงานที่สนับสนุนการบริหาร 1 สํานัก
           การดําเนินงานของมหาวิทยาลัย ไดครอบคลุมการดําเนินงานในภาพรวมของมหาวิทยาลัยทุกวิทยาเขต/เขต
การศึกษา และทุกคณะ/หนวยงาน โดยแสดงความสําคัญในการพัฒนาภารกิจอยางตอเนื่อง และสอดคลองตามกรอบ
แนวทางการพัฒนามหาวิทยาลัย และยุทธศาสตรการบริหาร ที่เนนการทํางานเชิงระบบเพื่อขับเคลื่อนแนวทางการ
พัฒนามหาวิทยาลัย โดยการกําหนดนโยบายที่ชัดเจน มีระบบบริหารบุคลากร มีระบบบริหารที่ดีมีธรรมาภิบาล และมี
ฐานการเงินที่เขมแข็งในระยะยาว เพื่อมุงหวังใหมหาวิทยาลัยเขาสูเปาหมายการเปนมหาวิทยาลัยเนนวิจัย ตามที่ได
กําหนดวิสัยทัศนวา มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร เปนมหาวิทยาลัยชั้นนําในระดับภูมิภาคเอเชีย ทําหนาที่ผลิตบัณฑิต
บริการวิชาการ และทํานุบํารุงวัฒนธรรม โดยมีการวิจัยเปนฐาน จากการดําเนินงานภารกิจดานตางๆ มหาวิทยาลัย


              แผนพัฒนาดานเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร ชวงป พ.ศ. 2552-2556
-10-




             ปจจุบัน มหาวิทยาลัยมีหนวยงานที่ทําหนาที่จัดการเรียนการสอนรวมทุกวิทยาเขต/เขตการศึกษา รวม 26
คณะ/เทียบเทา จําแนกเปนหนวยงานที่ทําหนาที่จัดการเรียนการสอนในวิทยาเขตหาดใหญ 13 คณะ 1 หนวยงาน
(บัณฑิตวิทยาลัย) วิทยาเขตปตตานี 6 คณะ 1 หนวยงาน (วิทยาลัยอิสลามศึกษา) วิทยาเขตภูเก็ต 2 คณะ วิทยาเขต
สุราษฎรธานี 2 คณะ และเขตการศึกษาตรัง 1 คณะ จัดการเรียนการสอนทั้งในระดับปริญญาตรี ประกาศนียบัตร
บัณฑิต ปริญญาโท และปริญญาเอก ดังนี้
                 หลักสูตร ในปการศึกษา 2550 มีจํานวนสาขาวิชา ทั้งสิ้น 295 สาขาวิชา เปนระดับปริญญาตรี 149
สาขาวิชา ประกาศนียบัตรบัณฑิต 5 สาขาวิชา ปริญญาโท 91 สาขาวิชา ประกาศนียบัตรบัณฑิตชั้นสูง 2 สาขาวิชา
และปริญญาเอก 48 สาขาวิชา (ในจํานวนนี้เปนหลักสูตรนานาชาติ 18 สาขาวิชา และหลักสูตรภาษาตางประเทศ 3
สาขาวิ ช า จํ า แนกเป น หลั ก สู ต รระดั บ ปริ ญ ญาตรี 9 สาขาวิ ช า ปริ ญ ญาโท 8 สาขาวิ ช า และปริ ญ ญาเอก 4
สาขาวิชา) นอกจากนี้มหาวิท ยาลัย ยัง มีห ลักสู ตรที่เปน ความรว มมื อ กับ สถาบัน อื่น ทั้ ง ในและต า งประเทศ ไดแ ก
หลักสูตรวุฒิบัตรทางการแพทยเฉพาะทาง หลักสูตรวุฒิบัตรทันตแพทยเฉพาะทาง หลักสูตรพยาบาลศาสตรบัณฑิต
(พยาบาลสมทบ) และหลักสูตรที่เปนความรวมมือในการผลิตบัณฑิตระดับปริญญาโท-เอก ดานวิทยาศาสตรและ
เทคโนโลยี
                 นัก ศึกษาและผูสํา เร็จ การศึก ษา ป 2551 มีนั กศึกษาเขาใหม รวม 9,804 คน จํ าแนกเปนระดับ
ปริญญาตรี 8,301 คน ระดับบัณฑิตศึกษา 1,503 คน จํานวนนักศึกษาทั้งหมด 34,130 คน จําแนกเปนระดับปริญญาตรี
29,350 คน ระดับบัณฑิตศึกษา 4,780 คน สัดสวนนักศึกษาระดับปริญญาตรี : บัณฑิตศึกษา เปน 8.5 : 1.5 จํานวน
ผูสําเร็จการศึกษา รวม 6,859 คน จําแนกเปนระดับปริญญาตรี 5,679 คน ระดับบัณฑิตศึกษา 1,180 คน เปนนักศึกษาใน
วิทยาเขตหาดใหญ 18,543 คน วิทยาเขตปตตานี 8,933 คน วิทยาเขตภูเก็ต 2,415 คน วิทยาเขตสุราษฎรธานี 1,696
คน และเขตการศึกษาตรัง 2,543 คน
                 บุคลากร ป 2551 มหาวิทยาลัยมีบุคลากรทั้งสิ้น 8,821 คน จําแนกเปนบุคลการสายวิชาการ 1,967
คน บุคลากรสายสนับสนุน 6,854 คน เปนบุคลากรในวิทยาเขตหาดใหญ 7,167 คน วิทยาเขตปตตานี 1,053 คน
วิทยาเขตภูเก็ต 275 คน วิทยาเขตสุราษฎรธานี 216 คน และเขตการศึกษาตรัง 110 คน
             มหาวิทยาลัยมีแนวนโยบายหลักที่สําคัญ คือ ใหการจัดการเรียนการสอน การวิจัย การบริการวิชาการ
การทํานุบํารุงศิลปวัฒนธรรม และการบริหารจัดการมหาวิทยาลัย ขับเคลื่อนไปสูการเปน Research University การ
เปน e-University อยางเต็มรูปแบบ และมุงสูการเปนมหาวิทยาลัยชั้นนําใหเทาเทียมกับนานาประเทศ ตลอดจนการ
สรางสรรคผลงานและนวัตกรรมตางๆ เพื่อที่จะนําไปสูการเผยแพร และถายทอดองคความรูสูชุมชนและสังคมโดยรวม

          แผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร พ.ศ. 2552-2556 หรือแผน
แมบทไอซีที (Information and Communication Technology : ICT) มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร จัดทําขึ้นเพื่อ
เปนแนวทางในการพัฒนาดาน ICT ของมหาวิทยาลัย เพื่อใหมีกรอบการดําเนินงานอีกทั้งเพื่อใหสอดคลองกับแผน
นโยบายเทคโนโลยีสารสนเทศระยะ พ.ศ.2544-2553 แผนแมบทความมั่นคงปลอดภัยดานไอซีทีแหงชาติ (National


             แผนพัฒนาดานเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร ชวงป พ.ศ. 2552-2556
-11-




วิสัยทัศน
          มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร มุงมั่นที่พัฒนาและประยุกตใชเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร เพื่อเปน
เครื่องมือในการขับเคลื่อนมหาวิทยาลัยไปสูการเปน Research University การเปน e-University อยางเต็มรูปแบบ
และพัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร เพื่อการจัดการการศึกษาสูการเปนองคกรแหงการเรียนรูที่
ทันสมัยและยั่งยืน

พันธกิจ
          1. วางแผนและพัฒนาโครงสรางพื้นฐานทางดานเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารใหเกิดประสิทธิภาพ
และเกิดประโยชนสูงสุด
          2. ผลิตบัณฑิตที่มีความรูพื้นฐานทางดานเทคโนโลยีสารสนเทศระดับแนวหนาของประเทศ และสามารถใช
ประโยชนจากเทคโนโลยีสารสนเทศ (ICT) อยางมีคุณธรรม พรอมกับการกาวสูสังคม e- Society
          3. พัฒนาระบบสารสนเทศเพื่อจัดการการศึกษา ระบบการเรียนรู การบริหารการวิจัย และการบริการ
วิชาการที่สอดคลองกับแผนแมบทของมหาวิทยาลัย
          4. พั ฒ นาและจัดการทรัพยากรสารสนเทศและเครือ ขา ยอยา งมีร ะบบพร อ มการใชสารสนเทศอยา งมี
ประสิทธิภาพและการใหบริการอยางทั่วถึง
          5. วางระบบและกลไกการกาวสูการเปน e-University อยางเต็มรูปแบบ




1
    แนวคิดการพัฒนามหาวิทยาลยสงขลานครินทรสูอนาคต โดย รศ.ดร.บุญสม ศิริบํารุงสุข


                แผนพัฒนาดานเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร ชวงป พ.ศ. 2552-2556
-12-

ยุทธศาสตร
        มหาวิทยาลัยไดกําหนดแผนยุทธศาสตรเทคโนโลยีสารสนเทศของมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร ป 2552-
2556 ดังนี้
ยุทธศาสตรที่ 1 พัฒนาและเสริมสรางระบบโครงขายพื้นฐานและอุปกรณ ICT ใหทั่วทั้งมหาวิทยาลัย โดยสอดรับกับ
การปรับเปลี่ยนทางเทคโนโลยีอยางเหมาะสม
        กลยุทธ
        1. จัดทําแผนพัฒนาดานเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารที่มีความตอเนื่อง
        2. สรางเครือขายความรวมมือในการบริหารจัดการดานเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
        3. ใหมีการเชื่อมโยงเครือขายระหวางวิทยาเขต/เขตการศึกษา รวมทั้งการเชื่อมโยงเครือขายอินเทอรเน็ตไป
           ทุกพื้นที่อยางมีประสิทธิภาพ
        4. จัดระบบใหมีความยืดหยุนเพื่อรองรับการเปลี่ยนแปลงและประยุกตใชเทคโนโลยีสารสนเทเศและการ
           สื่อสารไดอยางเหมาะสมมีระบบและอุปกรณทางดาน ICT ที่สามารถใหบริการไดอยางมีประสิทธิภาพ
        5. สรางมาตรฐานการเขาถึงและพัฒนาคุณภาพของระบบเครือขาย
        ตัวชี้วัด
        1. มีแผนพัฒนาดานเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารภายใตการกํากับดูแลของคณะกรรมการนโยบายฯ
           ของมหาวิทยาลัย
        2. การปรับปรุงและทบทวนแผนใหเหมาะสมทุกป
        3. มีการประชุม อบรม สัมมนา รวมกันของผูดูแลระบบไมนอยกวา 2 ครั้ง/ป
        4. มีสื่อเผยแพรความรูดานบริหารจัดการระบบสารสนเทศและการสื่อสารที่ทันสมัย
        5. มีการดําเนินการตามพระราชบัญญัติวาดวยการกระทําความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร พ.ศ. 2550
        6. อัตราสวนของคอมพิวเตอรตอบุคลากร และอัตราสวนของคอมพิวเตอรตอนักศึกษา
        7. วงจรสื่ อ สาร (bandwidth)        เพื่ อ เชื่ อ มต อ อิ น ทราเน็ ต และอิ น เตอร เ น็ ต มี อั ต ราการใช ง านไม เ กิ น
           รอยละ 80 ของขนาดวงจร และมีวงจรสํารองกรณีวงจรหลักขัดของ
        8. พื้นที่ในการใหบริการระบบเครือขายไรสายเพิ่มขึ้นทุกป
        9. มีมาตรฐานในการเชื่อมตอเครือขายของหนวยงานกับเครือขายของมหาวิทยาลัย

ยุทธศาสตรที่ 2 สงเสริมและพัฒนาระบบสารสนเทศเพื่อการศึกษาผานระบบเครือขาย และเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพใน
การบริหารจัดการเรียน การสอน การวิจัย และการบริการวิชาการ
        กลยุทธ
        1. มีการนําและประยุกตใช ICT ในการเรียนการสอนเพิ่มมากขึ้น โดยกําหนดเปนเปาหมายหลักของ
           มหาวิทยาลัย
        2. สรางกระบวนการเรียนรูผานระบบเครือขาย (e-learning)
        3. สรางสภาพแวดลอมที่สนับสนุนการเรียนรู โดยใชเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
        4. บูรณาการเทคโนโลยีและการสื่อสารเขาในทุกระบบของกระบวนการวิจัย



            แผนพัฒนาดานเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร ชวงป พ.ศ. 2552-2556
-13-

        5. ใหความชว ยเหลือดานเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารแกคณะ/หนวยงานที่มีความตองการใช
           เทคโนโลยี แตขาดบุคลากร ดานการเรียน การสอนและงานวิจัย เพื่อเพิ่มขีดความสามารถในการใช
           ทรัพยากรอยางคุมคา
        6. ใหมีหนวยงานที่ชัดเจนในการรับผิดชอบการบริหารจัดการการเรียนรูผานระบบเครือขาย
        7. สนับสนุนใหนักศึกษาและบุคลากรมีความรูทางดานเทคโนโลยีสารสนเทศ
        ตัวชี้วัด
        1. จํานวนสาระความรูที่เพิ่มขึ้นในระบบ
        2. จํานวนสื่อการเรียนการสอนอิเล็กทรอนิกสที่ผลิต
        3. จํานวนหลักสูตรทีเปดใหเรียนรูผานระบบเครือขาย
        4. จํานวนรายวิชาที่มีใหบริการบนระบบเครือขายมหาวิทยาลัย
        5. จํานวนหองเรียนที่สามารถเขาถึงระบบเครือขายมหาวิทยาลัย
        6. พื้นที่ในการใหบริการบนระบบเครือขายไรสายเพิ่มจํานวนทุกป
        7. การพัฒนาระบบบริหารจัดการงานวิจัยและบริการวิชาการเสร็จภายในป 2553
        8. จํานวนโครงการที่จัดฝกอบรมหลักสูตร ผลิตสื่อ การสืบคน หรือโปรแกรมประยุกตที่เปนเครื่องมือในการ
            ทําวิจัย
        9. มีสื่อเผยแพรความรูทางดานเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่ออํานวยความสะดวกกับอาจารย
            นักศึกษาและบุคลากร
        10. ความพึงพอใจของนายจางตอบัณฑิต ดานเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพิ่มขึ้นทุกป
        11. จํานวนนักศึกษาที่ผานการทดสอบจากระบบศูนยทดสอบ


ยุทธศาสตรที่ 3 พัฒนาระบบสารสนเทศพื้นฐานและปรับปรุงระบบฐานขอมูล เพื่อการบริหารจัดการและการบริการที่
มีคุณภาพ
        กลยุทธ
        1. พัฒนาระบบคลังขอมูลขนาดใหญเพื่อชวยในการตัดสินใจของฝายบริหาร
        2. สรางคลังความรูในรูปแบบดิจิตอล
        3. พัฒนาทักษะบุคลากรที่ปฏิบัติงานดานเทคโนโลยีสารสเทศและการสื่อสาร
        4. พัฒนาและการใหบริการระบบสารสนเทศเพื่อการบริหารจัดการที่มีคุณภาพ
        5. พัฒนาระบบการใหบริการผูใชระบบ (customer support)
        ตัวชี้วัด
        1. ระบบฐานขอมูลและระบบสารสนเทศไดรับการปรับปรุงและพัฒนาใหแลวเสร็จและใชงานจริงภายในป
           2556 ไดแก ระบบบริหารจัดการนักศึกษา ระบบบริหารจัดการทรัพยากรบุคคล ระบบบริหารการเงิน
           การคลังและพัสดุ ระบบบริหารจัดการทรัพยากรการเรียนรู และระบบบริหารจัดการทั่วไป
        2. ระบบฐานขอมูลมีความถูกตอง เชื่อถือได ทันสมัย ใชเปนหลักฐานอางอิงได และสนับสนุนการตัดสินใจ
           ของฝายบริหารได
        3. ระบบการดูแลขอมูล และการพัฒนาปรับปรุงระบบอยางตอเนื่อง

           แผนพัฒนาดานเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร ชวงป พ.ศ. 2552-2556
Planict2552 2556
Planict2552 2556
Planict2552 2556
Planict2552 2556
Planict2552 2556
Planict2552 2556
Planict2552 2556
Planict2552 2556
Planict2552 2556
Planict2552 2556
Planict2552 2556
Planict2552 2556
Planict2552 2556
Planict2552 2556
Planict2552 2556
Planict2552 2556
Planict2552 2556
Planict2552 2556
Planict2552 2556
Planict2552 2556
Planict2552 2556
Planict2552 2556
Planict2552 2556
Planict2552 2556
Planict2552 2556
Planict2552 2556
Planict2552 2556
Planict2552 2556
Planict2552 2556
Planict2552 2556
Planict2552 2556
Planict2552 2556
Planict2552 2556
Planict2552 2556
Planict2552 2556
Planict2552 2556
Planict2552 2556
Planict2552 2556
Planict2552 2556
Planict2552 2556

More Related Content

What's hot

07 เสนอจัดตังศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการศึกษาสพป.สพม. เป็นการภายใน
07 เสนอจัดตังศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการศึกษาสพป.สพม. เป็นการภายใน07 เสนอจัดตังศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการศึกษาสพป.สพม. เป็นการภายใน
07 เสนอจัดตังศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการศึกษาสพป.สพม. เป็นการภายใน
Prachoom Rangkasikorn
 
(Draft) The Third Thailand Information and Communication Technology Master Pl...
(Draft) The Third Thailand Information and Communication Technology Master Pl...(Draft) The Third Thailand Information and Communication Technology Master Pl...
(Draft) The Third Thailand Information and Communication Technology Master Pl...
Boonlert Aroonpiboon
 
2555 Thailand e-Government Report
2555 Thailand e-Government Report2555 Thailand e-Government Report
2555 Thailand e-Government Report
Boonlert Aroonpiboon
 
โหลดแนวข้อสอบ นักวิชาการศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร
โหลดแนวข้อสอบ  นักวิชาการศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนครโหลดแนวข้อสอบ  นักวิชาการศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร
โหลดแนวข้อสอบ นักวิชาการศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร
trucks2
 
การทำงานของคอมพิวเตอร์
การทำงานของคอมพิวเตอร์การทำงานของคอมพิวเตอร์
การทำงานของคอมพิวเตอร์
พัน พัน
 
ICT 2020
ICT 2020ICT 2020
อบรมครูตามเกณฑ์ใหม่
อบรมครูตามเกณฑ์ใหม่อบรมครูตามเกณฑ์ใหม่
อบรมครูตามเกณฑ์ใหม่
suwat Unthanon
 
วิธีปฏิบัติที่เป็นเลิศ
วิธีปฏิบัติที่เป็นเลิศวิธีปฏิบัติที่เป็นเลิศ
วิธีปฏิบัติที่เป็นเลิศnattayos paluang
 
Regulations2003
Regulations2003Regulations2003
Regulations2003vipmcu
 
เผยแพร่ผลงานทางวิชาการ ครูกนกศักดิ์ บัวทอง
เผยแพร่ผลงานทางวิชาการ ครูกนกศักดิ์ บัวทองเผยแพร่ผลงานทางวิชาการ ครูกนกศักดิ์ บัวทอง
เผยแพร่ผลงานทางวิชาการ ครูกนกศักดิ์ บัวทอง
กนกศักดิ์ บัวทอง
 
มุมอีสานสนเทศ
มุมอีสานสนเทศมุมอีสานสนเทศ
มุมอีสานสนเทศRitoru Usagi Oum
 
Librarian 1 to Librarian 2 - Lib CMU
Librarian 1 to Librarian 2 - Lib CMULibrarian 1 to Librarian 2 - Lib CMU
วิเคราะห์กรอบนโยบายเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ระยะ พ.ศ. 2554-2563 ของประเ...
วิเคราะห์กรอบนโยบายเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารระยะ พ.ศ. 2554-2563 ของประเ...วิเคราะห์กรอบนโยบายเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารระยะ พ.ศ. 2554-2563 ของประเ...
วิเคราะห์กรอบนโยบายเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ระยะ พ.ศ. 2554-2563 ของประเ...
Sathapron Wongchiranuwat
 
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
พัน พัน
 
รายงานวิจัยแนวทางการพัฒนาเว็บไซต์ในการประชาสัมพันธ์ของ สพฐ.
รายงานวิจัยแนวทางการพัฒนาเว็บไซต์ในการประชาสัมพันธ์ของ สพฐ. รายงานวิจัยแนวทางการพัฒนาเว็บไซต์ในการประชาสัมพันธ์ของ สพฐ.
รายงานวิจัยแนวทางการพัฒนาเว็บไซต์ในการประชาสัมพันธ์ของ สพฐ.
Ajchara Thangmo
 
คำอธิบายรายวิชา ม.1
คำอธิบายรายวิชา ม.1คำอธิบายรายวิชา ม.1
คำอธิบายรายวิชา ม.1sariya25
 
ICT 2020 Conceptual framwork
ICT 2020 Conceptual framworkICT 2020 Conceptual framwork
ICT 2020 Conceptual framworkBunsasi
 

What's hot (19)

07 เสนอจัดตังศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการศึกษาสพป.สพม. เป็นการภายใน
07 เสนอจัดตังศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการศึกษาสพป.สพม. เป็นการภายใน07 เสนอจัดตังศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการศึกษาสพป.สพม. เป็นการภายใน
07 เสนอจัดตังศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการศึกษาสพป.สพม. เป็นการภายใน
 
(Draft) The Third Thailand Information and Communication Technology Master Pl...
(Draft) The Third Thailand Information and Communication Technology Master Pl...(Draft) The Third Thailand Information and Communication Technology Master Pl...
(Draft) The Third Thailand Information and Communication Technology Master Pl...
 
Good practice watcharee
Good practice watchareeGood practice watcharee
Good practice watcharee
 
2555 Thailand e-Government Report
2555 Thailand e-Government Report2555 Thailand e-Government Report
2555 Thailand e-Government Report
 
โหลดแนวข้อสอบ นักวิชาการศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร
โหลดแนวข้อสอบ  นักวิชาการศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนครโหลดแนวข้อสอบ  นักวิชาการศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร
โหลดแนวข้อสอบ นักวิชาการศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร
 
การทำงานของคอมพิวเตอร์
การทำงานของคอมพิวเตอร์การทำงานของคอมพิวเตอร์
การทำงานของคอมพิวเตอร์
 
ICT 2020
ICT 2020ICT 2020
ICT 2020
 
อบรมครูตามเกณฑ์ใหม่
อบรมครูตามเกณฑ์ใหม่อบรมครูตามเกณฑ์ใหม่
อบรมครูตามเกณฑ์ใหม่
 
วิธีปฏิบัติที่เป็นเลิศ
วิธีปฏิบัติที่เป็นเลิศวิธีปฏิบัติที่เป็นเลิศ
วิธีปฏิบัติที่เป็นเลิศ
 
Regulations2003
Regulations2003Regulations2003
Regulations2003
 
เผยแพร่ผลงานทางวิชาการ ครูกนกศักดิ์ บัวทอง
เผยแพร่ผลงานทางวิชาการ ครูกนกศักดิ์ บัวทองเผยแพร่ผลงานทางวิชาการ ครูกนกศักดิ์ บัวทอง
เผยแพร่ผลงานทางวิชาการ ครูกนกศักดิ์ บัวทอง
 
มุมอีสานสนเทศ
มุมอีสานสนเทศมุมอีสานสนเทศ
มุมอีสานสนเทศ
 
Aec
AecAec
Aec
 
Librarian 1 to Librarian 2 - Lib CMU
Librarian 1 to Librarian 2 - Lib CMULibrarian 1 to Librarian 2 - Lib CMU
Librarian 1 to Librarian 2 - Lib CMU
 
วิเคราะห์กรอบนโยบายเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ระยะ พ.ศ. 2554-2563 ของประเ...
วิเคราะห์กรอบนโยบายเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารระยะ พ.ศ. 2554-2563 ของประเ...วิเคราะห์กรอบนโยบายเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารระยะ พ.ศ. 2554-2563 ของประเ...
วิเคราะห์กรอบนโยบายเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ระยะ พ.ศ. 2554-2563 ของประเ...
 
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
 
รายงานวิจัยแนวทางการพัฒนาเว็บไซต์ในการประชาสัมพันธ์ของ สพฐ.
รายงานวิจัยแนวทางการพัฒนาเว็บไซต์ในการประชาสัมพันธ์ของ สพฐ. รายงานวิจัยแนวทางการพัฒนาเว็บไซต์ในการประชาสัมพันธ์ของ สพฐ.
รายงานวิจัยแนวทางการพัฒนาเว็บไซต์ในการประชาสัมพันธ์ของ สพฐ.
 
คำอธิบายรายวิชา ม.1
คำอธิบายรายวิชา ม.1คำอธิบายรายวิชา ม.1
คำอธิบายรายวิชา ม.1
 
ICT 2020 Conceptual framwork
ICT 2020 Conceptual framworkICT 2020 Conceptual framwork
ICT 2020 Conceptual framwork
 

Viewers also liked

Kmutnb
KmutnbKmutnb
เรื่องที่ 4 การเคลื่อนที่แบบต่างๆ
เรื่องที่ 4 การเคลื่อนที่แบบต่างๆเรื่องที่ 4 การเคลื่อนที่แบบต่างๆ
เรื่องที่ 4 การเคลื่อนที่แบบต่างๆthanakit553
 
สภาพสมดุล
สภาพสมดุลสภาพสมดุล
สภาพสมดุลthanakit553
 
เรื่องที่ 10 ความร้อน
เรื่องที่ 10  ความร้อนเรื่องที่ 10  ความร้อน
เรื่องที่ 10 ความร้อนthanakit553
 
เรื่องที่ 12 เสียง
เรื่องที่ 12  เสียงเรื่องที่ 12  เสียง
เรื่องที่ 12 เสียงthanakit553
 
เฉลย06กฎการเคลื่อนที่
เฉลย06กฎการเคลื่อนที่เฉลย06กฎการเคลื่อนที่
เฉลย06กฎการเคลื่อนที่
กิตติพงษ์ เสียงเสนาะ
 
เรื่องที่ 7 การเคลื่อนที่แบบหมุน
เรื่องที่ 7 การเคลื่อนที่แบบหมุนเรื่องที่ 7 การเคลื่อนที่แบบหมุน
เรื่องที่ 7 การเคลื่อนที่แบบหมุนthanakit553
 
ใบความรู้เรื่องแสง
ใบความรู้เรื่องแสงใบความรู้เรื่องแสง
ใบความรู้เรื่องแสง
พัน พัน
 
เรื่องที่ 8 สภาพสมดุลยืดหยุ่น
เรื่องที่ 8   สภาพสมดุลยืดหยุ่นเรื่องที่ 8   สภาพสมดุลยืดหยุ่น
เรื่องที่ 8 สภาพสมดุลยืดหยุ่นthanakit553
 
เฉลย09การชนและโมเมนตัม
เฉลย09การชนและโมเมนตัมเฉลย09การชนและโมเมนตัม
เฉลย09การชนและโมเมนตัม
กิตติพงษ์ เสียงเสนาะ
 
เรื่องที่ 11 คลื่นกล
เรื่องที่ 11  คลื่นกลเรื่องที่ 11  คลื่นกล
เรื่องที่ 11 คลื่นกลthanakit553
 
เรื่องที่ 9 ของไหล
เรื่องที่ 9   ของไหลเรื่องที่ 9   ของไหล
เรื่องที่ 9 ของไหลthanakit553
 
เรื่องที่ 6 โมเมนตัม
เรื่องที่ 6 โมเมนตัมเรื่องที่ 6 โมเมนตัม
เรื่องที่ 6 โมเมนตัมthanakit553
 
เรื่องที่ 5 งานและพลังงาน
เรื่องที่ 5 งานและพลังงานเรื่องที่ 5 งานและพลังงาน
เรื่องที่ 5 งานและพลังงานthanakit553
 
02แบบฝึกพลังงาน
02แบบฝึกพลังงาน02แบบฝึกพลังงาน
02แบบฝึกพลังงาน
Phanuwat Somvongs
 
เรื่องที่ 13 แสง
เรื่องที่ 13  แสงเรื่องที่ 13  แสง
เรื่องที่ 13 แสงthanakit553
 
เฉลย08งานพลังงาน
เฉลย08งานพลังงานเฉลย08งานพลังงาน
เฉลย08งานพลังงาน
กิตติพงษ์ เสียงเสนาะ
 

Viewers also liked (20)

Kmutnb
KmutnbKmutnb
Kmutnb
 
Kmutnb
KmutnbKmutnb
Kmutnb
 
เรื่องที่ 4 การเคลื่อนที่แบบต่างๆ
เรื่องที่ 4 การเคลื่อนที่แบบต่างๆเรื่องที่ 4 การเคลื่อนที่แบบต่างๆ
เรื่องที่ 4 การเคลื่อนที่แบบต่างๆ
 
สภาพสมดุล
สภาพสมดุลสภาพสมดุล
สภาพสมดุล
 
Robotic13
Robotic13Robotic13
Robotic13
 
เรื่องที่ 10 ความร้อน
เรื่องที่ 10  ความร้อนเรื่องที่ 10  ความร้อน
เรื่องที่ 10 ความร้อน
 
เรื่องที่ 12 เสียง
เรื่องที่ 12  เสียงเรื่องที่ 12  เสียง
เรื่องที่ 12 เสียง
 
เฉลย06กฎการเคลื่อนที่
เฉลย06กฎการเคลื่อนที่เฉลย06กฎการเคลื่อนที่
เฉลย06กฎการเคลื่อนที่
 
เรื่องที่ 7 การเคลื่อนที่แบบหมุน
เรื่องที่ 7 การเคลื่อนที่แบบหมุนเรื่องที่ 7 การเคลื่อนที่แบบหมุน
เรื่องที่ 7 การเคลื่อนที่แบบหมุน
 
ใบความรู้เรื่องแสง
ใบความรู้เรื่องแสงใบความรู้เรื่องแสง
ใบความรู้เรื่องแสง
 
เรื่องที่ 8 สภาพสมดุลยืดหยุ่น
เรื่องที่ 8   สภาพสมดุลยืดหยุ่นเรื่องที่ 8   สภาพสมดุลยืดหยุ่น
เรื่องที่ 8 สภาพสมดุลยืดหยุ่น
 
เฉลย09การชนและโมเมนตัม
เฉลย09การชนและโมเมนตัมเฉลย09การชนและโมเมนตัม
เฉลย09การชนและโมเมนตัม
 
เรื่องที่ 11 คลื่นกล
เรื่องที่ 11  คลื่นกลเรื่องที่ 11  คลื่นกล
เรื่องที่ 11 คลื่นกล
 
เฉลย07สมดลกล
เฉลย07สมดลกลเฉลย07สมดลกล
เฉลย07สมดลกล
 
เรื่องที่ 9 ของไหล
เรื่องที่ 9   ของไหลเรื่องที่ 9   ของไหล
เรื่องที่ 9 ของไหล
 
เรื่องที่ 6 โมเมนตัม
เรื่องที่ 6 โมเมนตัมเรื่องที่ 6 โมเมนตัม
เรื่องที่ 6 โมเมนตัม
 
เรื่องที่ 5 งานและพลังงาน
เรื่องที่ 5 งานและพลังงานเรื่องที่ 5 งานและพลังงาน
เรื่องที่ 5 งานและพลังงาน
 
02แบบฝึกพลังงาน
02แบบฝึกพลังงาน02แบบฝึกพลังงาน
02แบบฝึกพลังงาน
 
เรื่องที่ 13 แสง
เรื่องที่ 13  แสงเรื่องที่ 13  แสง
เรื่องที่ 13 แสง
 
เฉลย08งานพลังงาน
เฉลย08งานพลังงานเฉลย08งานพลังงาน
เฉลย08งานพลังงาน
 

Similar to Planict2552 2556

สำนักปลัดIct
สำนักปลัดIctสำนักปลัดIct
สำนักปลัดIct
karan boobpahom
 
หลักสูตรที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการบริหาร
หลักสูตรที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการบริหารหลักสูตรที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการบริหาร
หลักสูตรที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการบริหาร
Duangnapa Inyayot
 
Journal techno 1
Journal techno 1Journal techno 1
Journal techno 1
Ornrutai
 
โครงการเทคโนโลยีสารสนเทศ เพื่อการศึกษาของโรงเรียนพระปริยัติธรรม (pra pariyatt...
โครงการเทคโนโลยีสารสนเทศ เพื่อการศึกษาของโรงเรียนพระปริยัติธรรม (pra pariyatt...โครงการเทคโนโลยีสารสนเทศ เพื่อการศึกษาของโรงเรียนพระปริยัติธรรม (pra pariyatt...
โครงการเทคโนโลยีสารสนเทศ เพื่อการศึกษาของโรงเรียนพระปริยัติธรรม (pra pariyatt...
ThaiprincessIT
 
Journal 2
Journal 2 Journal 2
Journal 2
Ornrutai
 
eDLTV/eDLRU เพื่อพัฒนาการเรียนรู้ของเยาวชนและเพิ่มศักยภาพด้านอาชีพของชุมชนในท...
eDLTV/eDLRU เพื่อพัฒนาการเรียนรู้ของเยาวชนและเพิ่มศักยภาพด้านอาชีพของชุมชนในท...eDLTV/eDLRU เพื่อพัฒนาการเรียนรู้ของเยาวชนและเพิ่มศักยภาพด้านอาชีพของชุมชนในท...
eDLTV/eDLRU เพื่อพัฒนาการเรียนรู้ของเยาวชนและเพิ่มศักยภาพด้านอาชีพของชุมชนในท...
ThaiprincessIT
 
เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการสื่อสาร คณะนิเทศศาสตร์
เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการสื่อสาร คณะนิเทศศาสตร์เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการสื่อสาร คณะนิเทศศาสตร์
เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการสื่อสาร คณะนิเทศศาสตร์
สราวุฒิ จบศรี
 
2009 stks-annual-report
2009 stks-annual-report2009 stks-annual-report
2009 stks-annual-report
Boonlert Aroonpiboon
 
2009 06 12 Information Literacy2 Praditta
2009 06 12 Information Literacy2 Praditta2009 06 12 Information Literacy2 Praditta
2009 06 12 Information Literacy2 Praditta
Praditta Siripan
 
หนังสือประชาสัมพันธ์โครงการฯ (การผลิตและพัฒนาสื่อฯ ประจำปี 2557)
หนังสือประชาสัมพันธ์โครงการฯ  (การผลิตและพัฒนาสื่อฯ ประจำปี 2557)หนังสือประชาสัมพันธ์โครงการฯ  (การผลิตและพัฒนาสื่อฯ ประจำปี 2557)
หนังสือประชาสัมพันธ์โครงการฯ (การผลิตและพัฒนาสื่อฯ ประจำปี 2557)
Jaturapad Pratoom
 
[Draft]thailand's 3rd ict master plan
[Draft]thailand's 3rd ict master plan[Draft]thailand's 3rd ict master plan
[Draft]thailand's 3rd ict master plan
Ben Cybergigz
 
วิชาโครงงาน
วิชาโครงงานวิชาโครงงาน
วิชาโครงงาน
AjBenny Pong
 
แผนแม่บท Ict ศธ
แผนแม่บท Ict ศธแผนแม่บท Ict ศธ
แผนแม่บท Ict ศธ
กัมปนาท สุขสงวน
 
1ผลการวิเคราะห์ swot ของศูนย์คอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏเลย
1ผลการวิเคราะห์ swot   ของศูนย์คอมพิวเตอร์  มหาวิทยาลัยราชภัฏเลย1ผลการวิเคราะห์ swot   ของศูนย์คอมพิวเตอร์  มหาวิทยาลัยราชภัฏเลย
1ผลการวิเคราะห์ swot ของศูนย์คอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏเลยjeabjeabloei
 
การพัฒนาโปรแกรมบทเรียน เรื่อง ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์ วิชา เทคโนโลยีสารสนเท...
การพัฒนาโปรแกรมบทเรียน เรื่อง ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์  วิชา เทคโนโลยีสารสนเท...การพัฒนาโปรแกรมบทเรียน เรื่อง ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์  วิชา เทคโนโลยีสารสนเท...
การพัฒนาโปรแกรมบทเรียน เรื่อง ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์ วิชา เทคโนโลยีสารสนเท...
Noppakhun Suebloei
 
The Development of Web-based Training to Develop Job Competencies for Instruc...
The Development of Web-based Training to Develop Job Competencies for Instruc...The Development of Web-based Training to Develop Job Competencies for Instruc...
The Development of Web-based Training to Develop Job Competencies for Instruc...Panita Wannapiroon Kmutnb
 

Similar to Planict2552 2556 (20)

สำนักปลัดIct
สำนักปลัดIctสำนักปลัดIct
สำนักปลัดIct
 
Email system
Email systemEmail system
Email system
 
หลักสูตรที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการบริหาร
หลักสูตรที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการบริหารหลักสูตรที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการบริหาร
หลักสูตรที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการบริหาร
 
Journal techno 1
Journal techno 1Journal techno 1
Journal techno 1
 
โครงการเทคโนโลยีสารสนเทศ เพื่อการศึกษาของโรงเรียนพระปริยัติธรรม (pra pariyatt...
โครงการเทคโนโลยีสารสนเทศ เพื่อการศึกษาของโรงเรียนพระปริยัติธรรม (pra pariyatt...โครงการเทคโนโลยีสารสนเทศ เพื่อการศึกษาของโรงเรียนพระปริยัติธรรม (pra pariyatt...
โครงการเทคโนโลยีสารสนเทศ เพื่อการศึกษาของโรงเรียนพระปริยัติธรรม (pra pariyatt...
 
Journal 2
Journal 2 Journal 2
Journal 2
 
eDLTV/eDLRU เพื่อพัฒนาการเรียนรู้ของเยาวชนและเพิ่มศักยภาพด้านอาชีพของชุมชนในท...
eDLTV/eDLRU เพื่อพัฒนาการเรียนรู้ของเยาวชนและเพิ่มศักยภาพด้านอาชีพของชุมชนในท...eDLTV/eDLRU เพื่อพัฒนาการเรียนรู้ของเยาวชนและเพิ่มศักยภาพด้านอาชีพของชุมชนในท...
eDLTV/eDLRU เพื่อพัฒนาการเรียนรู้ของเยาวชนและเพิ่มศักยภาพด้านอาชีพของชุมชนในท...
 
เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการสื่อสาร คณะนิเทศศาสตร์
เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการสื่อสาร คณะนิเทศศาสตร์เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการสื่อสาร คณะนิเทศศาสตร์
เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการสื่อสาร คณะนิเทศศาสตร์
 
Is pre
Is preIs pre
Is pre
 
2009 stks-annual-report
2009 stks-annual-report2009 stks-annual-report
2009 stks-annual-report
 
2009 06 12 Information Literacy2 Praditta
2009 06 12 Information Literacy2 Praditta2009 06 12 Information Literacy2 Praditta
2009 06 12 Information Literacy2 Praditta
 
Bangkok1
Bangkok1Bangkok1
Bangkok1
 
หนังสือประชาสัมพันธ์โครงการฯ (การผลิตและพัฒนาสื่อฯ ประจำปี 2557)
หนังสือประชาสัมพันธ์โครงการฯ  (การผลิตและพัฒนาสื่อฯ ประจำปี 2557)หนังสือประชาสัมพันธ์โครงการฯ  (การผลิตและพัฒนาสื่อฯ ประจำปี 2557)
หนังสือประชาสัมพันธ์โครงการฯ (การผลิตและพัฒนาสื่อฯ ประจำปี 2557)
 
[Draft]thailand's 3rd ict master plan
[Draft]thailand's 3rd ict master plan[Draft]thailand's 3rd ict master plan
[Draft]thailand's 3rd ict master plan
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์  เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
วิชาโครงงาน
วิชาโครงงานวิชาโครงงาน
วิชาโครงงาน
 
แผนแม่บท Ict ศธ
แผนแม่บท Ict ศธแผนแม่บท Ict ศธ
แผนแม่บท Ict ศธ
 
1ผลการวิเคราะห์ swot ของศูนย์คอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏเลย
1ผลการวิเคราะห์ swot   ของศูนย์คอมพิวเตอร์  มหาวิทยาลัยราชภัฏเลย1ผลการวิเคราะห์ swot   ของศูนย์คอมพิวเตอร์  มหาวิทยาลัยราชภัฏเลย
1ผลการวิเคราะห์ swot ของศูนย์คอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏเลย
 
การพัฒนาโปรแกรมบทเรียน เรื่อง ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์ วิชา เทคโนโลยีสารสนเท...
การพัฒนาโปรแกรมบทเรียน เรื่อง ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์  วิชา เทคโนโลยีสารสนเท...การพัฒนาโปรแกรมบทเรียน เรื่อง ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์  วิชา เทคโนโลยีสารสนเท...
การพัฒนาโปรแกรมบทเรียน เรื่อง ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์ วิชา เทคโนโลยีสารสนเท...
 
The Development of Web-based Training to Develop Job Competencies for Instruc...
The Development of Web-based Training to Develop Job Competencies for Instruc...The Development of Web-based Training to Develop Job Competencies for Instruc...
The Development of Web-based Training to Develop Job Competencies for Instruc...
 

More from กิตติพงษ์ เสียงเสนาะ

ปฏิทินเรียนพิเศษ ฟิสิกส์ Summer พฤษภาคม 2555 ฉบับ แก้ไข
ปฏิทินเรียนพิเศษ ฟิสิกส์ Summer  พฤษภาคม 2555 ฉบับ แก้ไขปฏิทินเรียนพิเศษ ฟิสิกส์ Summer  พฤษภาคม 2555 ฉบับ แก้ไข
ปฏิทินเรียนพิเศษ ฟิสิกส์ Summer พฤษภาคม 2555 ฉบับ แก้ไข
กิตติพงษ์ เสียงเสนาะ
 
ปฏิทินเรียนพิเศษ ฟิสิกส์ Summer พฤษภาคม 2555 ฉบับ แก้ไข
ปฏิทินเรียนพิเศษ ฟิสิกส์ Summer  พฤษภาคม 2555 ฉบับ แก้ไขปฏิทินเรียนพิเศษ ฟิสิกส์ Summer  พฤษภาคม 2555 ฉบับ แก้ไข
ปฏิทินเรียนพิเศษ ฟิสิกส์ Summer พฤษภาคม 2555 ฉบับ แก้ไข
กิตติพงษ์ เสียงเสนาะ
 
กราฟคะแนน
กราฟคะแนนกราฟคะแนน
07สมดุลกล
07สมดุลกล07สมดุลกล
ประกาศเรียนปิดเทอม 1
 ประกาศเรียนปิดเทอม 1 ประกาศเรียนปิดเทอม 1
ประกาศเรียนปิดเทอม 1
กิตติพงษ์ เสียงเสนาะ
 
03 มวลแรงและการเคลื่อนที่
03 มวลแรงและการเคลื่อนที่03 มวลแรงและการเคลื่อนที่
03 มวลแรงและการเคลื่อนที่
กิตติพงษ์ เสียงเสนาะ
 
08งานและพลังงาน
08งานและพลังงาน08งานและพลังงาน
08งานและพลังงาน
กิตติพงษ์ เสียงเสนาะ
 
ตะลุยโจทย์ข้อสอบ งานและพลังงาน
ตะลุยโจทย์ข้อสอบ งานและพลังงานตะลุยโจทย์ข้อสอบ งานและพลังงาน
ตะลุยโจทย์ข้อสอบ งานและพลังงาน
กิตติพงษ์ เสียงเสนาะ
 
ตะลุยโจทย์ข้อสอบ งานและพลังงาน
ตะลุยโจทย์ข้อสอบ งานและพลังงานตะลุยโจทย์ข้อสอบ งานและพลังงาน
ตะลุยโจทย์ข้อสอบ งานและพลังงาน
กิตติพงษ์ เสียงเสนาะ
 

More from กิตติพงษ์ เสียงเสนาะ (19)

Kmutnb
KmutnbKmutnb
Kmutnb
 
เฉลย14สมบัติเชิงกลของสาร
เฉลย14สมบัติเชิงกลของสารเฉลย14สมบัติเชิงกลของสาร
เฉลย14สมบัติเชิงกลของสาร
 
ค้างชำระ 5.1 (55)
ค้างชำระ 5.1 (55)ค้างชำระ 5.1 (55)
ค้างชำระ 5.1 (55)
 
ดร.พฤฒิพล
ดร.พฤฒิพลดร.พฤฒิพล
ดร.พฤฒิพล
 
รศ.มานัส
รศ.มานัสรศ.มานัส
รศ.มานัส
 
ดร.พฤฒิพล
ดร.พฤฒิพลดร.พฤฒิพล
ดร.พฤฒิพล
 
เด็กดีมีที่เรียน
เด็กดีมีที่เรียนเด็กดีมีที่เรียน
เด็กดีมีที่เรียน
 
ลงทะเบียนไม่ได้
ลงทะเบียนไม่ได้ลงทะเบียนไม่ได้
ลงทะเบียนไม่ได้
 
ปฏิทินเรียนพิเศษ ฟิสิกส์ Summer พฤษภาคม 2555 ฉบับ แก้ไข
ปฏิทินเรียนพิเศษ ฟิสิกส์ Summer  พฤษภาคม 2555 ฉบับ แก้ไขปฏิทินเรียนพิเศษ ฟิสิกส์ Summer  พฤษภาคม 2555 ฉบับ แก้ไข
ปฏิทินเรียนพิเศษ ฟิสิกส์ Summer พฤษภาคม 2555 ฉบับ แก้ไข
 
ปฏิทินเรียนพิเศษ ฟิสิกส์ Summer พฤษภาคม 2555 ฉบับ แก้ไข
ปฏิทินเรียนพิเศษ ฟิสิกส์ Summer  พฤษภาคม 2555 ฉบับ แก้ไขปฏิทินเรียนพิเศษ ฟิสิกส์ Summer  พฤษภาคม 2555 ฉบับ แก้ไข
ปฏิทินเรียนพิเศษ ฟิสิกส์ Summer พฤษภาคม 2555 ฉบับ แก้ไข
 
ปฏิทินเรียนพิเศษ ฟิสิกส์ Summer 2555
ปฏิทินเรียนพิเศษ ฟิสิกส์ Summer 2555ปฏิทินเรียนพิเศษ ฟิสิกส์ Summer 2555
ปฏิทินเรียนพิเศษ ฟิสิกส์ Summer 2555
 
กราฟคะแนน
กราฟคะแนนกราฟคะแนน
กราฟคะแนน
 
12การชนและโมเมนตัม
12การชนและโมเมนตัม12การชนและโมเมนตัม
12การชนและโมเมนตัม
 
07สมดุลกล
07สมดุลกล07สมดุลกล
07สมดุลกล
 
ประกาศเรียนปิดเทอม 1
 ประกาศเรียนปิดเทอม 1 ประกาศเรียนปิดเทอม 1
ประกาศเรียนปิดเทอม 1
 
03 มวลแรงและการเคลื่อนที่
03 มวลแรงและการเคลื่อนที่03 มวลแรงและการเคลื่อนที่
03 มวลแรงและการเคลื่อนที่
 
08งานและพลังงาน
08งานและพลังงาน08งานและพลังงาน
08งานและพลังงาน
 
ตะลุยโจทย์ข้อสอบ งานและพลังงาน
ตะลุยโจทย์ข้อสอบ งานและพลังงานตะลุยโจทย์ข้อสอบ งานและพลังงาน
ตะลุยโจทย์ข้อสอบ งานและพลังงาน
 
ตะลุยโจทย์ข้อสอบ งานและพลังงาน
ตะลุยโจทย์ข้อสอบ งานและพลังงานตะลุยโจทย์ข้อสอบ งานและพลังงาน
ตะลุยโจทย์ข้อสอบ งานและพลังงาน
 

Planict2552 2556

  • 2. สารบัญ บทสรุปสําหรับผูบริหาร สวนที่ 1 สถานภาพดานเทคโนโลยีและการสื่อสารของมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร 1 สถานภาพดานระบบคอมพิวเตอรและสื่อสารภายในมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร 1 คอมพิวเตอรและผูใช 1 ระบบเครือขายคอมพิวเตอร 2 การเชื่อมตอเครือขายระหวางวิทยาเขต 2 การเชื่อมตออินเทอรเน็ต 2 ระบบเครือขายไรสายของมหาวิทยาลัย 3 ระบบสื่อสาร 4 แผนพัฒนามหาวิทยาลัยสงขลานครินทรชวงป พ.ศ. 2550-2554 6 สวนที่ 2 สาระสําคัญแผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศของมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร ป 2552-2556 9 ความเปนมา 9 วิสัยทัศน 11 พันธกิจ 11 ยุทธศาสตร กลยุทธ และตัวชี้วัด ยุทธศาสตรที่ 1 พัฒนาและเสริมสรางระบบโครงขายพื้นฐานและอุปกรณ ICT ใหทั่วทั้งมหาวิทยาลัย 11 โดยสอดรับกับการปรับเปลี่ยนทางเทคโนโลยีอยางเหมาะสม ยุทธศาสตรที่ 2 สงเสริมและพัฒนาระบบสารสนเทศเพื่อการศึกษาผานระบบเครือขาย และเพื่อเพิ่ม 12 ประสิทธิภาพในดานกาบริหารจัดการจัดการเรียน การสอน การวิจัย และการบริการวิชาการ ยุทธศาสตรที่ 3 พัฒนาระบบสารสนเทศพื้นฐานและปรับปรุงระบบฐานขอมูล เพื่อการบริหารจัดการ 13 และการบริการที่มีคุณภาพ ยุทธศาสตรที่ 4 จัดทํามาตรฐานการรักษาความมั่นคงปลอดภัยของคอมพิวเตอรและเครือขาย 14 ยุทธศาสตรที่ 5 การจัดสรรงบประมาณสนับสนุนงานดานเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 14 สวนที่ 3 การบริหารและจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 16 ความสอดคลองของแผนพัฒนาดานเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในชวงป 2552-2556 16 กับนโยบายและแผนพัฒนามหาวิทยาลัยสงขลานครินทร ในชวงป พ.ศ. 2550-2554 และ แผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (ฉบับที่ 2) ของประเทศไทย พ.ศ. 2552-2556 ความสอดคลองของแผนพัฒนาดานเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารกับนโยบาย 18 และแผนพัฒนามหาวิทยาลัยสงขลานครินทร ในชวงป พ.ศ. 2550-2554 แผนปฏิบัติการดานเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร 21 ป พ.ศ. 2552-2556 แผนงบประมาณดานเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร 26 ป พ.ศ. 2552-2556
  • 3. ภาคผนวก คําสั่งมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร เรื่องแตงตั้งคณะกรรมการนโยบายการพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสาร รายนามคณะทํางานจัดทํา รางแผนพัฒนาดานเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร มหาวิทยาลัยสงขลา นครินทร ชวงป พ.ศ. 2552—2556 แผนการดําเนินการปรับปรุงระบบอินเทอรเน็ตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร ประจําปงบประมาณ พ.ศ. 2552
  • 4. บทสรุปผูบริหาร แผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร พ.ศ. 2552-2556 หรือแผน แมบทไอซีที (Information and Communication Technology : ICT) มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร จัดทําขึ้นเพื่อเปน แนวทางในการพัฒนาดาน ICT ของมหาวิทยาลัย และเพื่อใหมีกรอบการดําเนินงาน รวมทั้งเพื่อใหสอดคลองกับแผน นโยบายเทคโนโลยีสารสนเทศระยะ พ.ศ.2544-2553 แผนแมบทความมั่นคงปลอดภัยดานไอซีทีแหงชาติ (National ICT Security Plan) พระราชบัญญัติวาดวยการกระทําความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร พ.ศ.2550 และประการสําคัญ ที่สุด สอดคลองแนวทางการพัฒนาและบริหารมหาวิทยาลัยสงขลานครินทรในชวง 5-10 ปขางหนา และนโยบายและ แผนพัฒนามหาวิทยาลัยในชวงป พ.ศ.2550-2554 ของมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร ซึ่งแผนงานตางๆ เนนการใช เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร เปนเครื่องมือในการขับเคลื่อนการพัฒนา โดยใชเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการ พัฒนาดานการศึกษา (e-Education) เปนการพัฒนาและเตรียมความพรอมดานทรัพยากรมนุษย เพื่อรองรับการ พัฒนาสูการเปนสังคมแหงภูมิปญญาและการเรียนรู และเปนองค กรที่มีการบริหารจัดการที่ดี โปรงใส สามารถ ใหบริการวิชาการที่ดีมีประสิทธิภาพ โดยมหาวิทยาลัยไดตระหนักถึงความเปนมหาวิทยาลัยหลายวิทยาเขตและความ รวมมือของหนวยงานตางๆ ทั้งภายในและภายนอกมหาวิทยาลัย ซึ่งในการจัดทําแผนแมบทครั้งนี้ เปนการทําแผน ตอเนื่องจากแผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร พ.ศ. 2547-2551 และ เพื่อเปนแนวทางในการพัฒนาและตอบสนองแผนกลยุทธ เปาหมาย และวัตถุประสงคของการดํา เนินงานของ มหาวิทยาลัยใหเหมาะสมกับสภาวะเศรษฐกิจ สังคม ตลอดจนความกาวหนาทางเทคโนโลยีที่มีอยางตอเนื่อง ในการดําเนินการ มหาวิทยาลัยจําเปนตองมีแผนแมบทของการดําเนินงานดานเทคโนโลยีสารสนเทศและ การสื่อสาร โดยไดกําหนดวิสัยทัศน และยุทธศาสตรที่สําคัญไว 5 ยุทธศาสตร ดังนี้ วิสัยทัศน มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร มุงมั่นที่จะพัฒนาและประยุกตใชเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร เพื่อ เปนเครื่องมือในการขับเคลื่อนมหาวิทยาลัยไปสูการเปน Research University การเปน e-University อยางเต็ม รูปแบบ และพัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อการจัดการการศึกษาสูการเปนองคกรแหงการ เรียนรูที่ทันสมัยและยั่งยืน ยุทธศาสตร ยุทธศาสตรที่ 1 พัฒนาและเสริมสรางระบบโครงขายพื้นฐานและอุปกรณ ICT ใหทั่วทั้งมหาวิทยาลัย โดย สอดรับกับการปรับเปลี่ยนทางเทคโนโลยีอยางเหมาะสม ยุทธศาสตรที่ 2 สงเสริม และพั ฒ นาระบบสารสนเทศเพื่อ การศึก ษาผา นระบบเครือ ขา ย และเพื่อ เพิ่ ม ประสิทธิภาพในดานการบริหารจัดการเรียนการสอน การวิจัย และการบริการวิชาการ ยุทธศาสตรที่ 3 พัฒนาระบบสารสนเทศพื้นฐานและปรับปรุงระบบฐานขอมูล เพื่อการบริหารจัดการและ การบริการที่มีคุณภาพ ยุทธศาสตรที่ 4 จัดทํามาตรฐานการรักษาความมั่นคงปลอดภัยของคอมพิวเตอรและเครือขาย ยุทธศาสตรที่ 5 การจัดหาและบริหารงบประมาณอยางมีประสิทธิภาพเพื่อสนับสนุนงานดานเทคโนโลยี สารสนเทศและการสื่อสารของมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร
  • 5. 11 โดยภาพรวมของแผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร ชวงป พ.ศ. 2552-2556 นี้ แตละปกําหนดกรอบแผนการใชเงินไวประมาณปละ 120 ลาน รวมตลอดแผนใชเงินงบประมาณ รวมทั้งสิ้น 581.04 ลานบาท โดยสวนใหญหรือรอยละ 51.6 เปนกรอบงบประมาณเพื่อจัดหาอุปกรณอื่นๆ ที่เกี่ยวกับ เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของคณะ/หนวยงาน รองลงมา รอยละ 17.9 เปนกรอบงบประมาณเพื่อจัดหา อุปกรณเครือขายเพื่อการจัดทําโครงสรางพื้นฐานใหวิทยาเขต/เขตการศึกษาและคณะ/หนวยงานในเบื้องตน เชน Router, Switch, IPS, Firewall, อุปกรณบริหารจัดการวงจรสื่อสาร, อุปกรณควบคุมการใชงานเครือขายและ เครือขายไรสาย รอยละ 17.0 เปนกรอบงบประมาณในการเชาหรือขยายวงจรสื่อสาร และรอยละ 13.5 เปนกรอบ งบประมาณอื่นๆ โดยที่แผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร ไดกําหนด กลยุทธและตัวชี้วัด ตลอดจนโครงการ/กิจกรรมตางๆ ใหสอดคลองกับกรอบเงินงบประมาณที่วางไว เพื่อใหสามารถ ดําเนินงานไปอยางมีทิศทางที่ชัดเจนและมีประสิทธิภาพสูงสุด
  • 6. -1- สวนที่ 1 : สถานภาพดานเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร แผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทรชวงป พ.ศ. 2552-2556 ไดมีการดํา เนิน การอยา งตอ เนื่อ งจากแผนแมบ ทเทคโนโลยีส ารสนเทศและการสื่อ สารของมหาวิท ยาลัย สงขลา นครินทร พ.ศ. 2547-2551 หรือแผนแมบทไอซีที (ICT) มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร โดยมีการออกแบบวางระบบ ตางๆ ไวกอนป พ.ศ. 2547 ตอมาไดมีการปรับปรุงและพัฒนาระบบอยางตอเนื่อง สําหรับสวนนี้จะไดเห็นพัฒนาการ และสถานภาพดานเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร และการดําเนินงานตามแผนพัฒนามหาวิทยาลัยสงขลา นครินทรในชวงป พ.ศ 2550-2554 ดังนี้ 2.1 สถานภาพดานระบบคอมพิวเตอรและสื่อสารภายในมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร 1. คอมพิวเตอรและผูใช การใหบริการของระบบคอมพิวเตอรกลางของมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร ซึ่งเปนมหาวิทยาลัยหลายวิทยา เขตนั้น ดําเนินการโดยมีวิทยาเขตหาดใหญเปนวิทยาเขตหลัก และมีศูนยคอมพิวเตอรเปนผูใหบริการหลัก ภายใน วิทยาเขตจะมีหนวยคอมพิวเตอรของคณะ/หนวยงานตางๆ ในแตละวิทยาเขตเปนผูใหบริการ หรือขอใชบริการผาน ระบบเครือขายระยะไกล (Wide Area Network) มายังวิทยาเขตหาดใหญ จากการสํารวจขอมูลคอมพิวเตอรจากฐานขอมูลระบบบริหารจัดการการเงิน การบัญชี และการพัสดุ โดย เกณฑพึงรับพึงจายในลักษณะ 3 มิติ และจํานวนผูใช พบวา มีจํานวนคอมพิวเตอรในวิทยาเขตตางๆ เพื่อการเรียนการ สอน/งานวิชาการ และเพื่องานบริหาร ในอัตราสวนจํานวนเครื่องคอมพิวเตอรตอนักศึกษาและบุคลากรเปน 1 : 5.93 ดังรายละเอียดในตารางที่ 1 ตารางที่ 1 จํานวนคอมพิวเตอรเพื่อการเรียนการสอน/งานวิชาการ งานบริหาร/อื่นๆ วิทยาเขต หาดใหญ ปตตานี ภูเก็ต ตรัง สุราษฎรฯ รวม เครื่องไมโครคอมพิวเตอรและ 3,986 1,839 536 252 412 7,025 คอมพิวเตอรแบบพกพา (เครื่อง) จํานวน servers (เครื่อง) 130 31 23 9 7 200 จํานวนนักศึกษา (คน) 18,523 8,776 2,474 2,543 1,814 34,130 จํานวนบุคลากร (คน) 7,053 1,090 249 94 196 8,682 คอมพิวเตอรตอ 1 : 6.21 1 : 5.28 1 : 4.87 1 : 10.10 1 : 4.80 1 : 5.93 นักศึกษาและบุคลากร ที่มา : ระบบบริหารจัดการการเงิน การบัญชี และการพัสดุโดยเกณฑพึงรับ-พึงจายในลักษณะ 3 มิติ สํารวจระหวางวันที่ 28 พฤศจิกายน 2550 ถึงวันที่ 9 มกราคม 2551 (เปนการรวบรวบขอมูลของปงบประมาณ 2546-2550 สวนขอมูลบุคลากรและนักศึกษาจากเว็บไชตของ กองแผนงาน ณ วันที่ 30 มิถุนายน 2551) แผนพัฒนาดานเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร ชวงป พ.ศ. 2552-2556
  • 7. -2- 2. ระบบเครือขายคอมพิวเตอร มหาวิทยาลัยฯ โดยศูนยคอมพิวเตอร ไดออกแบบและวางระบบเครือขายในวิทยาเขตหาดใหญตั้งแต ปงบประมาณ 2536 โดยใชระบบใยแกวนําแสงเปนสื่อในการเชื่อมโยงเครือขายของคณะและหนวยงานตางๆ มี ศูนยกลางของเครือขายอยูที่อาคารศูนยคอมพิวเตอร และไดปรับปรุงและพัฒนาอยางตอเนื่องเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพ และความเร็วในการใชงานใหดียิ่งขึ้น โดยในชวงปงบประมาณ2539- 2541 ไดมีการนําระบบที่เปนเทคโนโลยี ATM (Asynchronous Transfer Mode) มาใช ตอมาก็ไดนําอุปกรณ Ethernet Switch มาใชรวมกัน และในปงบประมาณ 2551 มหาวิทยาลัยโดยการดําเนินการของศูนยคอมพิวเตอรและความรวมมือของคณะและหนวยงานตางๆ ไดจัดซื้อ ระบบและอุปกรณ ซึ่งเปนเทคโนโลยี Gigabit Ethernet Switch แบบ Layer 3 มาใชงานแทนอุปกรณ ATM Switch เพื่อเพิ่มความเร็วในการเชื่อมตอกันระหวางคณะและหนวยงานภายในมหาวิทยาลัย และเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการ บริหารจัดการเครือขายทั้งในระดับคณะและระดับมหาวิทยาลัย สวนในวิทยาเขต/เขตการศึกษา ไดมีการดําเนินการ และวางระบบเครือขาย ดังนี้ วิทยาเขตปตตานี ระบบเครือขายคอมพิวเตอรของวิทยาเขตปตตานีไดรับการออกแบบและวางระบบ มาตั้งแตปงบประมาณ 2540 ไดมีการนําระบบที่เปนเทคโนโลยี ATM (Asynchronous Transfer Mode) มาใช และ ตอมาก็ไดนําอุปกรณ Ethernet Switch มาใชรวมกันจนถึงปจจุบัน วิทยาเขตภูเก็ต วิทยาเขตสุราษฎรธานีและเขตการศึกษาตรัง ระบบเครือขายคอมพิวเตอรของ วิทยาเขต/เขตการศึกษาทั้ง 3 แหงนี้ ไดรับการออกแบบและวางระบบโดยใช Ethernet Switch ตั้งแตปงบประมาณ 2541 จนถึงปจจุบัน 3. การเชื่อมตอเครือขายระหวางวิทยาเขต การเชื่อมตอเครือขายระหวางวิทยาเขตตางๆ มายังวิทยา เขตหาดใหญ ดวยวงจรความเร็ว 38 Mbps ระหวางวิทยาเขตหาดใหญกับวิทยาเขตปตตานี และวงจรความเร็ว 14 Mbps ระหวางวิทยาเขตหาดใหญกับวิทยาเขตสุราษฏรธานี วิทยาเขตภูเก็ต และเขตการศึกษาตรัง ซึ่งเปนการใชงาน อินเทอรเน็ตและอินทราเน็ต ไมมีการเชื่อมตอระหวางวิทยาเขต 2 วิทยาเขตโดยตรง ซึ่งแตละวิทยาเขตมีความเร็วใน การเชื่อมตอสายสัญญาณวงจรเชา (Leased Line) ดังนี้ วิทยาเขต วงจร อินเทอรเน็ต อินทราเน็ต + VCS (Backup) ปตตานี 38 Mbps 34Mbps 4Mbps ตรัง 14 Mbps 10Mbps 4Mbps สุราษฎรธานี 14 Mbps 10Mbps 4Mbps ภูเก็ต 14 Mbps 10Mbps 4Mbps 4. การเชื่อมตออินเทอรเน็ต (Leased Line) มหาวิทยาลัยฯ เลือกใชบริการอินเทอรเน็ตจากสํานักงาน บริหารเทคโนโลยี สารสนเทศเพื่อ พัฒนาการศึกษา (UniNet) ซึ่งเปนหน วยงานกลางที่ดูแลอินเทอรเน็ตใหกับ มหาวิทยาลัยตางๆ ในประเทศไทย มีสมาชิกจากมหาวิทยาลัย / สถาบัน / หนวยงานราชการทั่วประเทศจํานวนทั้งสิ้น 133 แหง โดย UniNet เปนผูของบประมาณในภาพรวมของมหาวิทยาลัยทั้งประเทศ มีความเร็ว 100 Mbps วิ่งผาน วงจรสื่อสารระหวางมหาวิทยาลัยสงขลานครินทรกับมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลาธนบุรีที่ความเร็ว 155 Mbps และออกตางประเทศไดที่ความเร็วไมจํากัดผานเราเตอร (Router) ของ UniNet ที่มี่ความเร็วชองพอรต 1 Gbps แผนพัฒนาดานเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร ชวงป พ.ศ. 2552-2556
  • 8. -3- ภาพประกอบ 1 แผนผังแสดงการเชื่อมตอระบบเครือขาย 5. ระบบเครือขายไรสายของมหาวิทยาลัยฯ (PSU WiFi) มหาวิทยาลัยฯ ไดรับการสนับสนุงบประมาณ แผนดินจํานวน 6,000,000 ลานบาท จากสํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา และเงินรายไดวิทยาเขต/เขต การศึกษากับเงินรายไดสวนกลางมหาวิทยาลัยฯ สมทบอีกจํานวน 5,388,888.00 บาท โดย เพื่อใหบริการอินเทอรเน็ต ไรสายแกนักศึกษาและบุคลากรในปงบประมาณ 2550 ซึ่งระบบไดรับการออกแบบใหมีการจัดการและควบคุมการ ทํางานไดจากศูนยกลาง (center management) ที่ตั้งอยู ณ ศูนยคอมพิวเตอรหรือหนวยคอมพิวเตอรของวิทยาเขต/ เขตการศึกษาตาง ๆ ที่เชื่อมต อดวยสายใยแกวนําแสงแยกจากเครือขายหลักของมหาวิทยาลัยฯ และใชอุปกรณ ควบคุมที่สามารถจัดการและควบคุมการทํางานของแอกเซสพอยน (Access point) และเนนการรักษาความปลอดภัย ในการใชงาน โดยผูใชจะตองใชรหัส PSU Passport ในการ login เขาใชงาน โดยมีรูปแบบการใหบริการ 2 รูปแบบ คือ แบบ web-based login และแบบ WPA login ใหผูใชบริการสามารถเลือกใชงานได สําหรับอุปกรณหลักในการใหบริการประกอบดวย 1) อุปกรณควบคุมการทํางานเครือขาย (controller) ติดตั้งที่ศูนย/หนวยคอมพิวเตอรของวิทยาเขต/เขต การศึกษา 2) อุปกรณ RADIUS server และ Network management ติดตั้งที่ศูนย/หนวยคอมพิวเตอรของวิทยา เขต/เขตการศึกษา แผนพัฒนาดานเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร ชวงป พ.ศ. 2552-2556
  • 9. -4- 3) อุปกรณแอกเซสพอยนติดตั้งที่คณะ/หนวยงาน 4) อุปกรณสวิตชเลเยอร2 (L2 switch) ขนาด 24 พอรต ติดตั้งที่คณะ/หนวยงาน 5) อุปกรณ media converter ติดตั้งที่คณะ/หนวยงาน ปจจุบันมีจุดใหบริการใชงานระบบเครือขายไรสาย แกนักศึกษาและบุคลากร ในวิทยาเขต/เขตการศึกษา ดังนี้ วิทยาเขตหาดใหญ 112 จุด วิทยาเขตปตตานี 49 จุด วิทยาเขตภูเก็ต 16 จุด วิทยาเขตสุราษฎรธานี 9 จุด และ เขตการศึกษาตรัง14 จุด 6. ระบบสื่อสาร มหาวิทยาลัยฯ ไดวางระบบสื่อสาร โดยเริ่มจากระบบโทรศัพทเปนระบบแรก และปจจุบัน มีระบบใหบริการ ดังนี้ 6.1 ระบบโทรศัพท เริ่มดําเนินการที่วิทยาเขตเขตหาดใหญ แบงเปน 3 ระยะ คือ ระยะที่ 1 ปงบประมาณ 2541 ระยะที่ 2 ปงบประมาณ 2542 และระยะที่ 3 ปงบประมาณ 2543 โดยใชเงินลงทุนทั้งสิ้น 26,980,309.52 บาท ปจจุบันมีตูสาขาจํานวน 14 ตู มีเลขหมายใหบริการทั้งสิ้น 4,300 เลขหมาย โดยศูนย คอมพิวเตอรเปนหนวยงานกลางในการใหบริการ สวนที่ติดตั้งในคณะแพทยศาสตรอีกประมาณ 3,000 เลขหมาย คณะไดมีการบริหารจัดการเอง นอกจากนี้ ยังมีระบบที่ติดตั้ง ณ วิทยาเขต/เขตการศึกษา โดยเจาหนาที่ของแตละ วิทยาเขต/เขตการศึกษาเปนผูบริหารจัดการ และมีเจาหนาที่ของศูนยคอมพิวเตอรเปนที่ปรึกษา 6.2 ระบบประชุมทางไกล (Telemeeting หรือ Video Conference) มหาวิทยาลัยมีนโยบายในการ ติดตั้งระบบที่สามารถประชุมรวมกันไดทุกวิทยาเขต/เขตการศึกษา สวนหนึ่งเพื่อลดการเสียเวลาในการเดินทางและ คาใชจายของผูเขารวมประชุมตางวิทยาเขต ในการดําเนินงามหาวิทยาลัยฯ จึงใหศูนยคอมพิวเตอรทําการติดตั้งและ ใหบริการระบบประชุมทางไกลระหวางวิทยาเขตตั้งแตปงบประมาณ 2548 เปนตนมา โดยใชงบประมาณเงินรายได สํานักงานอธิการบดี เงินรายไดสวนกลาง และเงินรายไดวิทยาเขต เปนเงินทั้งสิ้น 4,102,427 บาท และไดจัดสรร งบประมาณจากเงินรายไดสวนกลางเพิ่มเติมอีกในปงบประมาณ 2550 และ 2551 เปนเงินปละ 1,500,000 บาท เพื่อ ปรับปรุงระบบเพิ่มเติมใหครอบคลุมทุกวิทยาเขต/เขตการศึกษา และหนวยประสานงานที่กรุงเทพฯ ภาพประกอบ 2 แผนผังแสดงการเชื่อมตอระบบประชุมทางไกล แผนพัฒนาดานเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร ชวงป พ.ศ. 2552-2556
  • 10. -5- 6.3 ระบบโทรศัพทผานโครงขาย IP (Voice over IP: VoIP) เนื่องจากเทคโนโลยีระบบเครือขาย คอมพิวเตอรมีความกาวหนา สามารถพัฒนาระบบโทรศัพทใหสามารถใชงานผานโครงขายอินเทอรเน็ตโปรโตคอลได ซึ่งสามารถทําใหการสื่อสารระหวางวิทยาเขตสามารถทําไดโดยไมเสียคาใชจาย สามารถเลือกใชระบบนี้ทดแทนระบบ เดิมที่เปนชนิดอนาลอก และมีคาใชจายเฉลี่ยตอเลขหมายถูกกวา สามารถใชเจาหนาที่ที่รับผิดชอบงานดานระบบ เครื อ ข า ยมาดู แ ลได เ มื่ อ ได รั บ การฝ ก อบรมเพิ่ ม เติ ม ในขณะที่ ร ะบบโทรศั พ ท แ บบเดิ ม ไม ส ามารถทํ า ได เพราะ สถาปตยกรรมแตละยี่หอแตกตางกันผูดูแลจึงตองเรียนรูระบบของแตละยี่หอ ดังนั้น มหาวิทยาลัยฯ จึงไดเลือกใช ระบบโทรศัพทผานโครงขาย IP สําหรับอาคารใหมที่สรางในชวง 2 ปที่ผานมา และการติดตอระหวางวิทยาเขต/เขต การศึกษาตั้งแตปงบประมาณ 2549 เปนตนมา โดยในระยะแรกไดลงทุนจัดซื้อเครื่องแมขายจํานวน 2 ชุด ที่ทํางาน ทดแทนกันไดโดยอัตโนมัติ (redundant) เปนเงิน 820,000 บาท พรอมเกตเวยสําหรับเชื่อมตอระหวางวิทยาเขตจํานวน 5 ชุด และเครื่องโทรศัพทอีก 6 ชุด และตอมาไดขยายการเชื่อมตอไปที่วิทยาเขตตรังและสุราษฎรธานี ในปงบประมาณ 2549 และปงบประมาณ 2550 ตามลําดับ โดยลงทุนไปเปนเงิน 3,200,000 บาท นอกจากนี้ ไดออกแบบระบบโทรศัพทผานโครงขายเพื่อติดตั้งที่อาคารทรัพยากรการเรียนรู สามารถ รองรับการใชงานทั้ง 5 วิทยาเขต/เขตการศึกษา และงานประสานงานที่กรุงเทพฯ ในลักษณะ client-server ซึ่งเปนการ ควบรวมระบบเครือขายสื่อสารและคอมพิวเตอรเขาดวยกัน (Network Convergence) โดยมีอุปกรณประกอบดวย เครื่องแมขาย 4 เครื่อง และเครื่องโทรศัพท 150 เครื่อง พรอมเกตเวยเชื่อมตอกับโทรสาร เปนเงิน 5,000,000 บาท ซึ่ง สามารถทําหนาที่ทดแทนตูสาขาระบบเดิมที่ลงทุนในปงบประมาณ 2541 ไดอยางสมบูรณแบบ ภาพประกอบ 3 แผนผังการเชื่อมระบบโทรศัพทผานโครงขาย IP P S U IP ‐T elephony T opolog y แผนพัฒนาดานเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร ชวงป พ.ศ. 2552-2556
  • 11. -6- 6.4 ระบบกลองวงจรปด เนื่องจากสถานการณความไมสงบที่เกิดขึ้นอยางตอเนื่องใน 5 จังหวัด ชายแดนภาคใต และไดกระจายวงกวางไปยังอําเภอตางๆ เขตชุมชนที่มีประชาชนจํานวนมาก โดยเฉพาะอําเภอ หาดใหญซึ่งเปนที่ตั้งของมหาวิทยาลัยสงขลานครินทรวิทยาเขตหาดใหญ ไดเกิดเหตุลอบวางระเบิดในรอบ 2 ปที่ผาน มาจํานวน 3 ครั้ง ทําใหมีผูไดรับบาดเจ็บและเสียชีวิตหลายราย เหตุการณดังกลาวไดกอใหเกิดความรูสึกไมปลอดภัย ตอชีวิตและทรัพยสินของนักศึกษา บุคลากร และผูที่มาติดตอราชการ มหาวิทยาลัยฯ จึงไดหาแนวทางและวิธีการเพื่อ เสริมสรางความเขมแข็งของมาตรการการรักษาความปลอดภัยใหมีความรัดกุมและมีมาตรฐานในระดับสากล โดยได ดําเนินการติดตั้งระบบโทรทัศนวงจรปด (Closed Circuit Television :CCTV) แบบ Digital ชนิด IP Network Camera ในระยะแรกบริเวณประตูทางเขาออกหลักของมหาวิทยาลัยจํานวน 6 กลอง โดยใชเงินรายไดวิทยาเขตหาดใหญเปน เงิน 1,600,000 บาท ในปงบประมาณ 2550 และในปงบประมาณ 2551 ไดขยายการติดตั้งเพิ่มเติมอีก 34 กลอง ดวย เงินงบประมาณ (งบกลางมหาวิทยาลัย) เปนเงิน 9,600,000 บาท โดยครอบคลุมพื้นที่บริเวณประตูทางเขา-ออกทุก ดาน สํานักงานอธิการบดี หนาศูนยคอมพิวเตอร หนาโรงยิมเนเซียม หนาสํานักงานหอพัก ปอมยามหนาตึกหุนยนต และปอมยามหนาหอพักอาคาร 10 2.2 แผนพัฒนามหาวิทยาลัยสงขลานครินทรชวงป พ.ศ. 2550-2554  การพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารดานการศึกษา (e-Education) ซึ่งมีเปาหมายเพื่อพัฒนา และเตรียมความพรอมดานทรัพยากรมนุษยในทุกระดับของประเทศ เพื่อรองรับการพัฒนาสูการเปนสังคมแหงภูมิ ปญญาและการเรียนรูดังกลาวแลวนั้น มหาวิทยาลัยสงขลานครินทรในฐานะมหาวิทยาลัยภูมิภาคที่ตองมีบทบาทใน การนําสังคมและชุมชนไปสูสังคมแหงภูมิปญญาและการเรียนรู (Knowledge-Based Society) โดยผา น กระบวนการศึกษา และฝกอบรมที่มีประสิทธิภาพและประสิทธิผล เพื่อใหผูที่ผานกระบวนการดังกลาวสามารถ ประยุกตใชความรูเพื่อการเรียนรูตลอดชีวิต อันเปนปจจัยสําคัญของการสรางฐานกําลังคนใหมีจํานวนและคุณภาพที่ เหมาะสมและพอเพียงที่จะชวยสนับสนุนการพัฒนาประเทศ โดยใชประโยชนจากเทคโนโลยีสารสนเทศและการ สื่อสารอยางเต็มศักยภาพ และตระหนักถึงการมีสวนรวมในการวางแผนดานทรัพยากรเทคโนโลยีสารสนเทศและการ สื่อสาร เพื่อใหมีการใชประโยชนรวมกันผานระบบเครือขายอยางทั่วถึงและเทาเทียมกันในทุกวิทยาเขต/เขตการศึกษา และการปรับแผนใหสอดคลองกับการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น รวมถึงการเปนองคกรที่มีระบบการบริหารจัดการที่ดี สามารถใหบริการทางวิชาการไดอยางมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล ดังนั้น เพื่อใหบรรลุวิสัยทัศนและพันธกิจ ภายใตเงื่อนไขการพัฒนาที่สําคัญหลายประการที่จะขับเคลื่อน นโยบายและแผนงานของมหาวิทยาลัยสงขลานครินทรไปสูการปฏิบัติอยางมีประสิทธิภาพ โดยการนํ าเทคโนโลยี สารสนเทศและการสื่อสารมาประยุกตใชทั้งในสวนของการดําเนินงานและใหบริการอยางเต็มรูปแบบ เพื่อใหลดขอจํากัด เสริ ม สร า งศั ก ยภาพในการแข ง ขั น เพิ่ ม ขึ้ น และการสร างระบบบริ หารจั ดการที่ ดี พร อมทั้ งช วยสนั บสนุ นให มหาวิทยาลั ยสงขลานครินทรเปนสั งคมแห งภูมิ ป ญญาและการเรี ยนรู ตลอดชี วิต โดยกํา หนดทิศ ทางการพัฒ นาที่ สอดคลองกับวิสัยทัศนและพันธกิจ ซึ่งจากการวิเคราะหบริบทภายนอกทั้งระดับโลก (Global) ระดับประเทศ และ บริบทภายใน คือ รายงานผลการประเมินอธิการบดี รายงานผลการประเมินคุณภาพ และการวิเคราะห SWOT มหาวิทยาลัยจึงไดกําหนดทิศทางการพัฒนาที่สอดรับกับวิสัยทัศนของมหาวิทยาลัยที่จะ เปนมหาวิทยาลัยชั้นนําใน ภูมิภาคเอเชีย ทําหนาที่ผลิตบัณฑิต บริการวิชาการ และทํานุบํารุงวัฒนธรรม โดยมีการวิจัยเปนฐาน ไวในนโยบายและ แผนพัฒนามหาวิทยาลัย ในชวงป พ.ศ. 2550-2554 ประกอบดวย 6 ทิศทาง คือ แผนพัฒนาดานเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร ชวงป พ.ศ. 2552-2556
  • 12. -7- 1. เปนมหาวิทยาลัยเนนวิจัย โดยมุงเนนการสรางระบบเพื่อเปลี่ยนวัฒนธรรมองคกรใหมุงสูวิจัยและ บัณฑิตศึกษาใหมากขึ้น โดยใหทุกองคาพยพปฎิบัติภารกิจสู key results เดียวกัน คณะใหมจะมีการเตรียมพรอมที่ จะเปน research faculties ในอนาคตระยะยาว จะสรางสมดุลระหวางวิจัย สอน บริการวิชาการ บัณฑิตศึกษามุงสู ปริญญาเอกและปริญญาโท research based programs บมเพาะอาจารยวิจัยรุนใหม ทุมเทใหอาจารยมีคุณวุฒิ ป.เอก 50% วิจัยที่เชื่อมโยงกับอุตสาหกรรม วิจัยที่สอดคลองกับปญหาของพื้นที่ การใชประโยชนจากผลงานวิจัยมี สถานวิจัยสถาบันวิจัยที่เชื่อมโยงศาสตร (interdisciplinary research centers) มีระบบ research marketing รวมถึงการวิจัยสถาบันจะเชื่อมโยง (alignment) ระบบบุคลากร วิจัยและบัณฑิตศึกษาวิเทศสัมพันธ การงบประมาณ การตรวจสอบและประเมิน การสื่อสารภายในองคกร การสรรหาผูบริหาร เขาสู chain value ที่มุงสูการเปน มหาวิทยาลัยเนนวิจัย 2. มีความเปนเลิศบางสาขา ความเปนเลิศในบางสาขาและบางเรื่องจะเปรียบเสมือนหอกแหลมที่จะพุง นําพามหาวิทยาลัยไปขางหนากอน เปนความหวังที่จะสรางชื่อเสียงใหกับมหาวิทยาลัยพรอมๆ กับการสรางตัวอยาง วัฒนธรรมองคกรใหทํางานมุงเนนพันธกิจหลักโดยมหาวิทยาลัยจะเปน authority ในเรื่องยางพารา ปาลมน้ํามัน อาหารทะเล ทะเลสาบสงขลา และอิสลามศึกษา 3. บัณฑิตเปนผูมีความรูความสามารถทางวิชาการ และเปนคนดีของชาติ มุงสูการผลิตบัณฑิตที่มี ความรูที่เปนปจจุบัน มีศักยภาพเรียนรูดวยตนเอง มีทักษะการแกปญหา (problem-solving skills) และมีจิตสํานึก ชวยเหลือสังคม เพื่อใหสอดคลองกับการทํางานในภาคเอกชน จําเปนตองมีการการปรับหลักสูตร การปรับปรุงเนื้อหาที่ สอน การเปลี่ยนแปลงวิธีการเรียนรู การเพิ่มความสามารถทางภาษาตางประเทศและคอมพิวเตอร เปนความจําเปน เรงดวนการใชประโยชนจาก ICT สูกระบวนการเรียนรูและการสอนที่เชื่อมโยงระหวางวิทยาเขต การพัฒนาทักษะการ ถายทอดใหกับอาจารย การเรียนในระดับปริญญาตรีที่สอดแทรกวิชา project มากขึ้นเพื่อใหนักศึกษาไดเรียนรูถึง research methodology การมีหลักสูตรที่รองรับความกาวหนาของวิทยาการแหงอนาคตเชน Biomedical Engineering การมีรายวิชาที่เชื่อมชองวางของศาสตร เชน Physiological Engineering การสอนแบบโจทยปญหาใน บางหลักสูตร/วิชา บางหลักสูตรเปนสหกิจศึกษา การพัฒนานักศึกษาเพื่อใหบัณฑิตของมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร เป น คนดีข องชาติจ ะเปนเรื่อ งสํ า คัญ และเปน ภารกิจหลักของการบริหารโดยมุง เนนใหนั กศึกษามีทั กษะชีวิตและ จิตสํานึกสาธารณะ 4. เปนมหาวิทยาลัยที่เอื้ออาทรตอการพัฒนาชุมชน (university-community engagement) โดยการ สรางศักยภาพของชุมชนใหชุมชนมีความเขมแข็ง (nurturing community) มีความยั่งยืน ผานกระบวนการสอน บริการ วิชาการ และการวิจัย โดยใชแนวทางสรางศักยภาพใหชุมชนสามารถเขาถึงแหลงความรูไดตลอดชีวิต รวมมือกับชุมชน และทองถิ่น บนฐานของความเขาใจอันดีตอกัน ใหบริการวิชาการตอชุมชน โดยชุมชนมีสวนรวมแสดงความตองการ เพื่อใหเกิดการพัฒนาที่ยั่งยืน และการใหบริการรักษาพยาบาลที่มีคุณภาพตอชุมชนวิธีการดําเนินงานเนนการใหความ รวมมือกับจังหวัดในเขตที่ตั้งของวิทยาเขต การใหความชวยเหลือกับองคกรปกครองทองถิ่น ความเชื่อมโยงกับ โรงเรียน ความเชื่อมโยงกับภาคอุตสาหกรรม การเขามีสวนรวมในการปฏิรูปการศึกษาในเขต 3 จังหวัดชายแดนที่กําลัง มีความไมสงบ การวิจัยปญหาทองถิ่นและตอยอดภูมิปญญาทองถิ่นโดยมีชุมชนรวมวิจัย กระจายโอกาสทาง การศึกษาใหกับภูมิภาค เคารพในความตางวัฒนธรรมของชุมชนและความเทาเทียมกันทุกชั้นของสังคม(social inclusion) การดูแลเยาวชน ultra-poor (โครงการตนกลาสงขลานครินทร)โครงการบัณฑิตอาสา การนําผลงานวิจัย แผนพัฒนาดานเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร ชวงป พ.ศ. 2552-2556
  • 13. -8- 5. วิทยาเขตมีความเขมแข็ง มีโอกาสที่เทาเทียม และมีความรวมมือกันอยางใกลชิด การบริหารจะเนน ที่ความชัดเจนของโครงสราง (PSU system / high-performance organization) ความชัดเจนของแผนพัฒนา แผน ยุทธศาสตร แผนพัฒนาอาจารยและบุคลากร แผนการงบประมาณและการเงิน แผนการกระจายอํานาจ การติดตาม ประเมินผล ความเชื่อมโยง และชวยเหลือระหวางวิทยาเขต พรอมเรงแกไขปญหาการขาดแคลนทรัพยากร แตละ วิทยาเขตจะมีความเปน Flag ship campus ที่เปนเอกลักษณของตนเอง หาดใหญเดนทางวิทยาศาสตรเทคโนโลยี วิทยาศาสตรสุขภาพและการบริหารจัดการ ปตตานีเดนทางสังคมศาสตรและอิสลามศึกษา ภูเก็ตเดนทางความ เปนนานาชาติและสาขาการจัดการโรงแรม ตรังเดนทางสังคมศาสตรประยุกตธุรกิจและอุตสาหกรรมบริการ และ สุราษฎรธานีเดนทางเทคโนโลยีประยุกต 6. เปนองคกรที่ใชหลักธรรมาภิบาลควบคูกับการเปนองคกรแหงการเรียนรู และพัฒนาศักยภาพ ของบุคลากร โดยเรงสรางวัฒนธรรมการประเมิน ตรวจสอบ โปรงใส รับผิดชอบชอบธรรมและยุติธรรม ใหกับ มหาวิทยาลัยโดยใชหลัก share vision & collegiate decision ผูบริหารทุกระดับจะถูก spotlight สอง performance ของบุคลากรสายภารกิจหลักจะถูกมองเห็นดวยระบบ KPIs และ load units พรอมกับการพัฒนาบุคลากรใหมี ศักยภาพที่จะปฏิบัติภารกิจสูพันธกิจหลัก จัดสรรงบประมาณและทรัพยากรใหสอดคลองกับภารกิจหลัก สรางระบบ การสรรหาผูบริหารที่มีการทํา commitments และมีการประเมิน เนนการสื่อสารภายในองคกรและประชาสัมพันธ ภายนอก มหาวิทยาลัยสงขลานครินทรจะเปนองคกรแหงขอมูลเพื่อประกอบการตัดสินใจเชิงบริหาร ระบบ MIS ที่ กําลังพัฒนาอยู ระบบบุคลากร ระบบนักศึกษา และระบบการเงิน (7 hurdles) จะเชื่อมตอฐานขอมูลเปนหนึ่งเดียวทั้ง 5 วิทยาเขต จะเปนเครื่องมือสําหรับการจัดการอันทรงประสิทธิภาพ แผนพัฒนาดานเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร ชวงป พ.ศ. 2552-2556
  • 14. -9- สวนที่ 2 : สาระสําคัญแผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร ป 2552-2556 ความเปนมา มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร (Prince of Songkla University) จัดตั้งขึ้นในป พ.ศ.2508 สมัยการเรงรัดพัฒนา ประเทศ โดยมีวัตถุป ระสงคเพื่อกระจายโอกาสทางการศึกษาระดับ อุดมศึกษาออกสูภูมิภาค ยกระดับ มาตรฐาน การศึ ก ษาในท อ งถิ่น และสนั บ สนุน การพั ฒ นาภู มิ ภ าค มี ลัก ษณะพิเ ศษแตกต า งจากมหาวิ ท ยาลัย อื่ น ๆ คื อ เป น มหาวิทยาลัยที่มีเจตนารมณที่จะใหเปนมหาวิทยาลัยหลายวิทยาเขต มีการกระจายคณะวิชาไปตั้งอยูตามจังหวัดตางๆ ในภาคใต มีลักษณะทางกายภาพตั้งอยูใน 5 จังหวัดในภูมิภาคภาคใต มีลักษณะเปนวิทยาเขต 4 แหง และ 1 เขต การศึกษา มีพื้นที่เพื่อการเรียนการสอน วิจัย บริการวิชาการ และอื่นๆ รวมทั้งสิ้น 11,888 ไร จําแนกตามวิทยาเขต ดังนี้ 1) วิทยาเขตหาดใหญ ตั้งอยูที่อําเภอหาดใหญ จังหวัดสงขลา และมีสถานีวิจัยสถานีปฏิบัติการ ศูนยวิจัย ตั้งอยูที่จังหวัดสงขลา สตูล และพัทลุง 7 แหง นอกจากนี้มหาวิทยาลัยยังมีที่ดินที่อยูระหวางดําเนินการจายคาอาสิน ใหแกราษฎร ตั้งอยูที่ตําบลทาขาม และตําบลทุงใหญ อําเภอหาดใหญ จังหวัดสงขลา มีพื้นที่ 4,993 ไร โดยมีหนวยงาน เทียบเทาคณะ 20 คณะ/เทียบเทา เปนคณะเพื่อการจัดการเรียนการสอน 13 คณะ 1 บัณฑิตวิทยาลัย และหนวยงาน ที่สนับสนุนการบริหาร 1 สถาบัน 2 สํานัก และ 3 ศูนย 2) วิทยาเขตปตตานี ตั้งอยูที่ตําบลรูสะมิแล อําเภอเมือง จังหวัดปตตานี และศูนยบริการวิชาการ สถานี วิจัยและฝกงาน ตั้งอยูที่จังหวัดปตตานี สงขลา และยะลา 4 แหง มีพื้นที่ 1,428 ไร โดยมีหนวยงานเทียบเทาคณะ 10 คณะ/เทียบเทา เปนคณะเพื่อการจัดการเรียนการสอน 6 คณะ 1 วิทยาลัย และหนวยงานที่สนับสนุนการบริหาร 2 สํานัก และ 1 สถาบัน 3) วิทยาเขตภูเก็ต ตั้งอยูที่อําเภอกะทู จังหวัดภูเก็ต ศูนยบริการวิชาการและศูนยการศึกษาดานทรัพยากร ชายฝง ตั้งอยูที่จังหวัดภูเก็ตและพังงา 2 แหง มีพื้นที่ 1,541 ไร โดยมีหนวยงานเทียบเทาคณะ 4 คณะ/เทียบเทา เปน คณะเพื่อการจัดการเรียนการสอน 2 คณะ 1 วิทยาลัย และหนวยงานที่สนับสนุนการบริหาร 1 สํานัก 4) วิทยาเขตสุราษฎรธานี ตั้งอยูที่เขาทาเพชร อําเภอเมือง จังหวัดสุราษฎรธานี และมีที่ดินตั้งอยูที่ ทุงไสไช พุมเรียง อําเภอไชยา จังหวัดสุราษฎรธานี มีพื้นที่ 3,240 ไร โดยมีหนวยงานเทียบเทาคณะ 4 คณะ/เทียบเทา เปนคณะ เพื่อการจัดการเรียนการสอน 2 คณะ 1 วิทยาลัย และหนวยงานที่สนับสนุนการบริหาร 1 สํานัก 5) เขตการศึกษาตรัง ตั้งอยูที่ตําบลควนปริง อําเภอเมือง จังหวัดตรัง มีพื้นที่ 686 ไร โดยมีหนวยงานเทียบเทา 2 คณะ/เทียบเทา เปนคณะเพื่อการจัดการเรียนการสอน 1 คณะ และหนวยงานที่สนับสนุนการบริหาร 1 สํานัก การดําเนินงานของมหาวิทยาลัย ไดครอบคลุมการดําเนินงานในภาพรวมของมหาวิทยาลัยทุกวิทยาเขต/เขต การศึกษา และทุกคณะ/หนวยงาน โดยแสดงความสําคัญในการพัฒนาภารกิจอยางตอเนื่อง และสอดคลองตามกรอบ แนวทางการพัฒนามหาวิทยาลัย และยุทธศาสตรการบริหาร ที่เนนการทํางานเชิงระบบเพื่อขับเคลื่อนแนวทางการ พัฒนามหาวิทยาลัย โดยการกําหนดนโยบายที่ชัดเจน มีระบบบริหารบุคลากร มีระบบบริหารที่ดีมีธรรมาภิบาล และมี ฐานการเงินที่เขมแข็งในระยะยาว เพื่อมุงหวังใหมหาวิทยาลัยเขาสูเปาหมายการเปนมหาวิทยาลัยเนนวิจัย ตามที่ได กําหนดวิสัยทัศนวา มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร เปนมหาวิทยาลัยชั้นนําในระดับภูมิภาคเอเชีย ทําหนาที่ผลิตบัณฑิต บริการวิชาการ และทํานุบํารุงวัฒนธรรม โดยมีการวิจัยเปนฐาน จากการดําเนินงานภารกิจดานตางๆ มหาวิทยาลัย แผนพัฒนาดานเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร ชวงป พ.ศ. 2552-2556
  • 15. -10- ปจจุบัน มหาวิทยาลัยมีหนวยงานที่ทําหนาที่จัดการเรียนการสอนรวมทุกวิทยาเขต/เขตการศึกษา รวม 26 คณะ/เทียบเทา จําแนกเปนหนวยงานที่ทําหนาที่จัดการเรียนการสอนในวิทยาเขตหาดใหญ 13 คณะ 1 หนวยงาน (บัณฑิตวิทยาลัย) วิทยาเขตปตตานี 6 คณะ 1 หนวยงาน (วิทยาลัยอิสลามศึกษา) วิทยาเขตภูเก็ต 2 คณะ วิทยาเขต สุราษฎรธานี 2 คณะ และเขตการศึกษาตรัง 1 คณะ จัดการเรียนการสอนทั้งในระดับปริญญาตรี ประกาศนียบัตร บัณฑิต ปริญญาโท และปริญญาเอก ดังนี้ หลักสูตร ในปการศึกษา 2550 มีจํานวนสาขาวิชา ทั้งสิ้น 295 สาขาวิชา เปนระดับปริญญาตรี 149 สาขาวิชา ประกาศนียบัตรบัณฑิต 5 สาขาวิชา ปริญญาโท 91 สาขาวิชา ประกาศนียบัตรบัณฑิตชั้นสูง 2 สาขาวิชา และปริญญาเอก 48 สาขาวิชา (ในจํานวนนี้เปนหลักสูตรนานาชาติ 18 สาขาวิชา และหลักสูตรภาษาตางประเทศ 3 สาขาวิ ช า จํ า แนกเป น หลั ก สู ต รระดั บ ปริ ญ ญาตรี 9 สาขาวิ ช า ปริ ญ ญาโท 8 สาขาวิ ช า และปริ ญ ญาเอก 4 สาขาวิชา) นอกจากนี้มหาวิท ยาลัย ยัง มีห ลักสู ตรที่เปน ความรว มมื อ กับ สถาบัน อื่น ทั้ ง ในและต า งประเทศ ไดแ ก หลักสูตรวุฒิบัตรทางการแพทยเฉพาะทาง หลักสูตรวุฒิบัตรทันตแพทยเฉพาะทาง หลักสูตรพยาบาลศาสตรบัณฑิต (พยาบาลสมทบ) และหลักสูตรที่เปนความรวมมือในการผลิตบัณฑิตระดับปริญญาโท-เอก ดานวิทยาศาสตรและ เทคโนโลยี นัก ศึกษาและผูสํา เร็จ การศึก ษา ป 2551 มีนั กศึกษาเขาใหม รวม 9,804 คน จํ าแนกเปนระดับ ปริญญาตรี 8,301 คน ระดับบัณฑิตศึกษา 1,503 คน จํานวนนักศึกษาทั้งหมด 34,130 คน จําแนกเปนระดับปริญญาตรี 29,350 คน ระดับบัณฑิตศึกษา 4,780 คน สัดสวนนักศึกษาระดับปริญญาตรี : บัณฑิตศึกษา เปน 8.5 : 1.5 จํานวน ผูสําเร็จการศึกษา รวม 6,859 คน จําแนกเปนระดับปริญญาตรี 5,679 คน ระดับบัณฑิตศึกษา 1,180 คน เปนนักศึกษาใน วิทยาเขตหาดใหญ 18,543 คน วิทยาเขตปตตานี 8,933 คน วิทยาเขตภูเก็ต 2,415 คน วิทยาเขตสุราษฎรธานี 1,696 คน และเขตการศึกษาตรัง 2,543 คน บุคลากร ป 2551 มหาวิทยาลัยมีบุคลากรทั้งสิ้น 8,821 คน จําแนกเปนบุคลการสายวิชาการ 1,967 คน บุคลากรสายสนับสนุน 6,854 คน เปนบุคลากรในวิทยาเขตหาดใหญ 7,167 คน วิทยาเขตปตตานี 1,053 คน วิทยาเขตภูเก็ต 275 คน วิทยาเขตสุราษฎรธานี 216 คน และเขตการศึกษาตรัง 110 คน มหาวิทยาลัยมีแนวนโยบายหลักที่สําคัญ คือ ใหการจัดการเรียนการสอน การวิจัย การบริการวิชาการ การทํานุบํารุงศิลปวัฒนธรรม และการบริหารจัดการมหาวิทยาลัย ขับเคลื่อนไปสูการเปน Research University การ เปน e-University อยางเต็มรูปแบบ และมุงสูการเปนมหาวิทยาลัยชั้นนําใหเทาเทียมกับนานาประเทศ ตลอดจนการ สรางสรรคผลงานและนวัตกรรมตางๆ เพื่อที่จะนําไปสูการเผยแพร และถายทอดองคความรูสูชุมชนและสังคมโดยรวม แผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร พ.ศ. 2552-2556 หรือแผน แมบทไอซีที (Information and Communication Technology : ICT) มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร จัดทําขึ้นเพื่อ เปนแนวทางในการพัฒนาดาน ICT ของมหาวิทยาลัย เพื่อใหมีกรอบการดําเนินงานอีกทั้งเพื่อใหสอดคลองกับแผน นโยบายเทคโนโลยีสารสนเทศระยะ พ.ศ.2544-2553 แผนแมบทความมั่นคงปลอดภัยดานไอซีทีแหงชาติ (National แผนพัฒนาดานเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร ชวงป พ.ศ. 2552-2556
  • 16. -11- วิสัยทัศน มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร มุงมั่นที่พัฒนาและประยุกตใชเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร เพื่อเปน เครื่องมือในการขับเคลื่อนมหาวิทยาลัยไปสูการเปน Research University การเปน e-University อยางเต็มรูปแบบ และพัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร เพื่อการจัดการการศึกษาสูการเปนองคกรแหงการเรียนรูที่ ทันสมัยและยั่งยืน พันธกิจ 1. วางแผนและพัฒนาโครงสรางพื้นฐานทางดานเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารใหเกิดประสิทธิภาพ และเกิดประโยชนสูงสุด 2. ผลิตบัณฑิตที่มีความรูพื้นฐานทางดานเทคโนโลยีสารสนเทศระดับแนวหนาของประเทศ และสามารถใช ประโยชนจากเทคโนโลยีสารสนเทศ (ICT) อยางมีคุณธรรม พรอมกับการกาวสูสังคม e- Society 3. พัฒนาระบบสารสนเทศเพื่อจัดการการศึกษา ระบบการเรียนรู การบริหารการวิจัย และการบริการ วิชาการที่สอดคลองกับแผนแมบทของมหาวิทยาลัย 4. พั ฒ นาและจัดการทรัพยากรสารสนเทศและเครือ ขา ยอยา งมีร ะบบพร อ มการใชสารสนเทศอยา งมี ประสิทธิภาพและการใหบริการอยางทั่วถึง 5. วางระบบและกลไกการกาวสูการเปน e-University อยางเต็มรูปแบบ 1 แนวคิดการพัฒนามหาวิทยาลยสงขลานครินทรสูอนาคต โดย รศ.ดร.บุญสม ศิริบํารุงสุข แผนพัฒนาดานเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร ชวงป พ.ศ. 2552-2556
  • 17. -12- ยุทธศาสตร มหาวิทยาลัยไดกําหนดแผนยุทธศาสตรเทคโนโลยีสารสนเทศของมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร ป 2552- 2556 ดังนี้ ยุทธศาสตรที่ 1 พัฒนาและเสริมสรางระบบโครงขายพื้นฐานและอุปกรณ ICT ใหทั่วทั้งมหาวิทยาลัย โดยสอดรับกับ การปรับเปลี่ยนทางเทคโนโลยีอยางเหมาะสม กลยุทธ 1. จัดทําแผนพัฒนาดานเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารที่มีความตอเนื่อง 2. สรางเครือขายความรวมมือในการบริหารจัดการดานเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 3. ใหมีการเชื่อมโยงเครือขายระหวางวิทยาเขต/เขตการศึกษา รวมทั้งการเชื่อมโยงเครือขายอินเทอรเน็ตไป ทุกพื้นที่อยางมีประสิทธิภาพ 4. จัดระบบใหมีความยืดหยุนเพื่อรองรับการเปลี่ยนแปลงและประยุกตใชเทคโนโลยีสารสนเทเศและการ สื่อสารไดอยางเหมาะสมมีระบบและอุปกรณทางดาน ICT ที่สามารถใหบริการไดอยางมีประสิทธิภาพ 5. สรางมาตรฐานการเขาถึงและพัฒนาคุณภาพของระบบเครือขาย ตัวชี้วัด 1. มีแผนพัฒนาดานเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารภายใตการกํากับดูแลของคณะกรรมการนโยบายฯ ของมหาวิทยาลัย 2. การปรับปรุงและทบทวนแผนใหเหมาะสมทุกป 3. มีการประชุม อบรม สัมมนา รวมกันของผูดูแลระบบไมนอยกวา 2 ครั้ง/ป 4. มีสื่อเผยแพรความรูดานบริหารจัดการระบบสารสนเทศและการสื่อสารที่ทันสมัย 5. มีการดําเนินการตามพระราชบัญญัติวาดวยการกระทําความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร พ.ศ. 2550 6. อัตราสวนของคอมพิวเตอรตอบุคลากร และอัตราสวนของคอมพิวเตอรตอนักศึกษา 7. วงจรสื่ อ สาร (bandwidth) เพื่ อ เชื่ อ มต อ อิ น ทราเน็ ต และอิ น เตอร เ น็ ต มี อั ต ราการใช ง านไม เ กิ น รอยละ 80 ของขนาดวงจร และมีวงจรสํารองกรณีวงจรหลักขัดของ 8. พื้นที่ในการใหบริการระบบเครือขายไรสายเพิ่มขึ้นทุกป 9. มีมาตรฐานในการเชื่อมตอเครือขายของหนวยงานกับเครือขายของมหาวิทยาลัย ยุทธศาสตรที่ 2 สงเสริมและพัฒนาระบบสารสนเทศเพื่อการศึกษาผานระบบเครือขาย และเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพใน การบริหารจัดการเรียน การสอน การวิจัย และการบริการวิชาการ กลยุทธ 1. มีการนําและประยุกตใช ICT ในการเรียนการสอนเพิ่มมากขึ้น โดยกําหนดเปนเปาหมายหลักของ มหาวิทยาลัย 2. สรางกระบวนการเรียนรูผานระบบเครือขาย (e-learning) 3. สรางสภาพแวดลอมที่สนับสนุนการเรียนรู โดยใชเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 4. บูรณาการเทคโนโลยีและการสื่อสารเขาในทุกระบบของกระบวนการวิจัย แผนพัฒนาดานเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร ชวงป พ.ศ. 2552-2556
  • 18. -13- 5. ใหความชว ยเหลือดานเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารแกคณะ/หนวยงานที่มีความตองการใช เทคโนโลยี แตขาดบุคลากร ดานการเรียน การสอนและงานวิจัย เพื่อเพิ่มขีดความสามารถในการใช ทรัพยากรอยางคุมคา 6. ใหมีหนวยงานที่ชัดเจนในการรับผิดชอบการบริหารจัดการการเรียนรูผานระบบเครือขาย 7. สนับสนุนใหนักศึกษาและบุคลากรมีความรูทางดานเทคโนโลยีสารสนเทศ ตัวชี้วัด 1. จํานวนสาระความรูที่เพิ่มขึ้นในระบบ 2. จํานวนสื่อการเรียนการสอนอิเล็กทรอนิกสที่ผลิต 3. จํานวนหลักสูตรทีเปดใหเรียนรูผานระบบเครือขาย 4. จํานวนรายวิชาที่มีใหบริการบนระบบเครือขายมหาวิทยาลัย 5. จํานวนหองเรียนที่สามารถเขาถึงระบบเครือขายมหาวิทยาลัย 6. พื้นที่ในการใหบริการบนระบบเครือขายไรสายเพิ่มจํานวนทุกป 7. การพัฒนาระบบบริหารจัดการงานวิจัยและบริการวิชาการเสร็จภายในป 2553 8. จํานวนโครงการที่จัดฝกอบรมหลักสูตร ผลิตสื่อ การสืบคน หรือโปรแกรมประยุกตที่เปนเครื่องมือในการ ทําวิจัย 9. มีสื่อเผยแพรความรูทางดานเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่ออํานวยความสะดวกกับอาจารย นักศึกษาและบุคลากร 10. ความพึงพอใจของนายจางตอบัณฑิต ดานเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพิ่มขึ้นทุกป 11. จํานวนนักศึกษาที่ผานการทดสอบจากระบบศูนยทดสอบ ยุทธศาสตรที่ 3 พัฒนาระบบสารสนเทศพื้นฐานและปรับปรุงระบบฐานขอมูล เพื่อการบริหารจัดการและการบริการที่ มีคุณภาพ กลยุทธ 1. พัฒนาระบบคลังขอมูลขนาดใหญเพื่อชวยในการตัดสินใจของฝายบริหาร 2. สรางคลังความรูในรูปแบบดิจิตอล 3. พัฒนาทักษะบุคลากรที่ปฏิบัติงานดานเทคโนโลยีสารสเทศและการสื่อสาร 4. พัฒนาและการใหบริการระบบสารสนเทศเพื่อการบริหารจัดการที่มีคุณภาพ 5. พัฒนาระบบการใหบริการผูใชระบบ (customer support) ตัวชี้วัด 1. ระบบฐานขอมูลและระบบสารสนเทศไดรับการปรับปรุงและพัฒนาใหแลวเสร็จและใชงานจริงภายในป 2556 ไดแก ระบบบริหารจัดการนักศึกษา ระบบบริหารจัดการทรัพยากรบุคคล ระบบบริหารการเงิน การคลังและพัสดุ ระบบบริหารจัดการทรัพยากรการเรียนรู และระบบบริหารจัดการทั่วไป 2. ระบบฐานขอมูลมีความถูกตอง เชื่อถือได ทันสมัย ใชเปนหลักฐานอางอิงได และสนับสนุนการตัดสินใจ ของฝายบริหารได 3. ระบบการดูแลขอมูล และการพัฒนาปรับปรุงระบบอยางตอเนื่อง แผนพัฒนาดานเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร ชวงป พ.ศ. 2552-2556