SlideShare a Scribd company logo
วิเคราะห์ กรอบนโยบายเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
ระยะพ.ศ. 2554-2563 ของประเทศไทย
วิเคราะห์ความแตกต่างของแผนแม่บทฉบับปัจจุบันกับที่ผ่านมา
วิเคราะห์ความแตกต่างของแผนแม่บทฉบับปัจจุบันกับที่ผ่านมา

แผนแม่บทคืออะไร

แผนแม่บท คือแผนที่ใช้เป็น
ต้นแบบหลักในการวางแผน
ปฏิบัติ (ซึ่งบางครั้งอาจเรียกว่า
แผนแม่บทย่อย) โดยแผนปฏิบัติ
ย่อยที่แตกหน่อต่อยอดจากแผน
แม่บทดังกล่าวนั้น จะต้อง
สอดคล้องต้องกัน และเป็นไปใน
ทิศทางเดียวกับแผนแม่บทหลัก
เสมอ
วิเคราะห์ความแตกต่างของแผนแม่บทฉบับปัจจุบันกับที่ผ่านมา
แผนแม่บทเทคโนโลยีสารสนเทศ
และการสื่อสาร
(ฉบับที่ 1)พ.ศ. 2545-2549

แผนแม่บทเทคโนโลยีสารสนเทศ
และการสื่อสาร
(ฉบับที่ 2)พ.ศ. 2552-2556

กรอบนโยบาย IT 2010 ได้ กาหนดเปาหมาย
้
สาคัญ3ประการ คือ
1) เพิมขีดความสามารถในการใช้ เทคโนโลยีเป็ นเครื่ องมือ
่
พัฒนาประเทศ เพื่อยกระดับประเทศไทยให้ อยู่ในกลุมประเทศ
่
ทีมีศกยภาพเป็ นผู้นา (potential leaders) อันดับต้ นๆ โดยใช้
ั
ดัชนีผลสัมฤทธิ์Xทางเทคโนโลยีของสานักงานโครงการพัฒนา
แห่งสหประชาชาติ (UNDP) เป็ นเครื่องประเมินวัด
2) เพิ่มจานวนแรงงานความรู้ของประเทศไทยให้ เป็ นร้ อยละ
30 ของแรงงานในประเทศทังหมด
้
3) พัฒนาเศรษฐกิจของประเทศ โดยเพิ่มสัดส่วนของมูลค่า
อุตสาหกรรมทีเกี่ยวข้ องกับการใช้ ความรู้เป็ นพื ้นฐานให้ มีมลค่า
ู
ถึงร้ อยละ 50 ของผลิตภัณฑ์มวลรวมประชาชาติ (GDP)

สรุ ปผลการวิเคราะห์ ปัญหาด้ าน ICT ของประเทศ
ไทย สถานภาพด้ านโครงสร้ างพืนฐาน ผลการ
้
วิเคราะห์พบว่า ประเทศไทยไม่มีปัญหาด้ านการพัฒนา
โครงข่ายหลัก (Backbone Network) แต่ปัญหาอยู่ที่
โครงข่ายระดับปลายทาง (Last Mile Access) ที่ไม่
เพียงพอ ไม่ครอบคลุม และด้ อยคุณภาพ ซึงเป็ นผลให้
่
พื ้นที่ห่างไกลและกลุมคนบางกลุมเช่น ผู้พิการ ผู้สงอายุ
่
่
ู
เป็ นต้ น ยังไม่สามารถเข้ าใช้ งานได้ ดีนก ทังนี ้เมื่อ
ั ้
เปรี ยบเทียบการเข้ าถึงเทคโนโลยีการสื่อสารดังเดิมเช่น
้
โทรทัศน์ วิทยุ เป็ นต้ น (แผนแม่บทใช้ คาว่า ปั ญหาความ
เหลื่อมล ้าในการเข้ าถึงสารสนเทศ)
วิเคราะห์ความแตกต่างของแผนแม่บทฉบับปัจจุบันกับที่ผ่านมา
แผนแม่บทเทคโนโลยีสารสนเทศ
และการสื่อสาร
(ฉบับที่ 1)พ.ศ. 2545-2549

กาหนดยุทธศาสตร์ หลักไว้ 7 ด้ าน ได้ แก่
1) พัฒนาอุตสาหกรรม ICT
2) ยกระดับคุณภาพชีวิตของคนไทยและสังคมไทย
3) ปฏิรูปและสร้ างศักยภาพการวิจยและพัฒนาด้ าน ICT
ั
4) ยกระดับพื ้นฐานสังคมไทยเพื่อการแข่งขันในอนาคต
5) พัฒนาศักยภาพผู้ประกอบการเพื่อมุ่งขยาย
ตลาดต่างประเทศ
6) ส่งเสริ มผู้ประกอบการขนาดกลางและขนาดย่อมใช้ ICT
7) ใช้ ICT ในการบริ หารและบริ การของภาครัฐ

แผนแม่บทเทคโนโลยีสารสนเทศ
และการสื่อสาร
(ฉบับที่ 2)พ.ศ. 2552-2556

สถานภาพของประชาชนทั่วไป ผลการวิเคราะห์พบว่า
คนไทยมีการใช้ ICT ในระดับต่า ส่วนผู้ที่เข้ าถึง ICT แล้ ว
นันก็ยงไม่ใช้ ICT ให้ เกิดประโยชน์อย่างแท้ จริง กล่าวคือ
้ ั
ใช้ เพื่อความบันเทิงเป็ นหลัก อีกทังมีการใช้ งาน ICT ที่ไม่
้
เหมาะสมอยูมาก ซึงดูได้ จากปริมาณของเนื ้อหาที่ไม่พง
่
่
ึ
ประสงค์ และอาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์ ที่มีเป็ น
จานวนมาก
สถานภาพด้ านบุคลากรทาง ICT ยังขาดบุคลากร
ทางด้ าน ICT อีกมาก ทังในด้ านคุณภาพและปริมาณ
้
วิเคราะห์ความแตกต่างของแผนแม่บทฉบับปัจจุบันกับที่ผ่านมา

แผนแม่บทเทคโนโลยีสารสนเทศ
และการสือสาร
่
(ฉบับที่ 1)พ.ศ. 2545-2549

แผนแม่บทเทคโนโลยีสารสนเทศ
และการสือสาร
่
(ฉบับที่ 2)พ.ศ. 2552-2556
สถานภาพด้ านบุคลากรในภาครัฐ ยังขาดบุคลากร
ทางด้ าน ICT ทังคุณภาพและปริมาณเช่นกัน โดยเน้ น
้
ด้ วยว่าเกิดจากผลตอบแทนต่าและขาดแรงจูงใจที่
เหมาะสม
สถานภาพด้ านการบริการจัดการ ประเทศไทยมี
หน่วยงานทางด้ าน ICT เป็ นจานวนมากพอสมควร แต่มี
การทางานที่ซ ้าซ้ อน ต่างคนต่างทา ไม่เป็ นเอกภาพ ไม่วา
่
จะเป็ นด้ านการวางแผน การกากับดูแล การจัดการ
งบประมาณ เป็ นต้ น เป็ นผลให้ งานต่าง ๆ ขาดการ
บูรณาการ ขาดผู้รับผิดชอบที่ชดเจน และขาดการ
ั
ประเมินผลและติดตามผลอย่างจริงจัง
วิเคราะห์ความแตกต่างของแผนแม่บทฉบับปัจจุบันกับที่ผ่านมา

แผนแม่บทเทคโนโลยีสารสนเทศ
และการสือสาร
่
(ฉบับที่ 1)พ.ศ. 2545-2549

แผนแม่บทเทคโนโลยีสารสนเทศ
และการสือสาร
่
(ฉบับที่ 2)พ.ศ. 2552-2556
สรุ ปวิสัยทัศน์ เปาหมายของแผนแม่ บท
้
วิสัยทัศน์ :
ประเทศไทยเป็ นสังคมอุดมปั ญญา (Smart Thailand)
ด้ วย ICT”สังคมอุดมปั ญญา”
วิเคราะห์ความแตกต่างของแผนแม่บทฉบับปัจจุบันกับที่ผ่านมา

แผนแม่บทเทคโนโลยีสารสนเทศ
และการสื่อสาร
(ฉบับที่ 1)พ.ศ. 2545-2549

แผนแม่บทเทคโนโลยีสารสนเทศ
และการสื่อสาร
(ฉบับที่ 2)พ.ศ. 2552-2556
เปาหมาย:
้
(1) ประชาชนไม่น้อยกว่าร้ อยละ 50 ของประชากรทัง
้
ประเทศ มีความรอบรู้ สามารถเข้ าถึง สร้ างสรรค์ และใช้
สารสนเทศอย่างมีวิจารณญาณ รู้เท่าทัน มีคณธรรมและ
ุ
จริยธรรม (Information Literacy) ก่อ เกิดประโยชน์ตอ
่
การเรี ยนรู้ การทางาน และการดารงชีวิตประจาวัน
(2) ยกระดับความพร้ อมทางด้ านเทคโนโลยีสารสนเทศ
และการสื่อสารของประเทศ ขึ ้นอย่างน้ อย 15 อันดับ ใน
Networked Readiness Index
(3) เพิ่มบทบาทและความสาคัญของอุตสาหกรรม

เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในระบบเศรษฐกิจ
ของประเทศ โดยมีสดส่วนมูลค่าเพิ่มของอุตสาหกรรม
ั
ICT ต่อ GDP ไม่น้อยกว่าร้ อยละ 20
วิเคราะห์ความแตกต่างของแผนแม่บทฉบับปัจจุบันกับที่ผ่านมา

แผนแม่บทเทคโนโลยีสารสนเทศ
และการสื่อสาร
(ฉบับที่ 1)พ.ศ. 2545-2549

แผนแม่บทเทคโนโลยีสารสนเทศ
และการสื่อสาร
(ฉบับที่ 2)พ.ศ. 2552-2556
สรุ ปแผนยุทธศาสตร์ ทง 6 ด้ านของแผนแม่ บท
ั้
ยุทธศาสตร์ ท่ ี 1: การพัฒนากาลังคนด้ าน ICT และ
บุคคลทัวไปให้ มีความสามารถในการสร้ างสรรค์ ผลิต
่
และใช้ สารสนเทศอย่างมีวิจารณญาณและรู้เท่าทัน
ยุทธศาสตร์ ท่ ี 2: การบริหารจัดการระบบ ICT ของ
ประเทศอย่างมีธรรมาภิบาล
ยุทธศาสตร์ ท่ ี 3: การพัฒนาโครงสร้ างพื ้นฐาน
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
วิเคราะห์ความแตกต่างของแผนแม่บทฉบับปัจจุบันกับที่ผ่านมา

แผนแม่บทเทคโนโลยีสารสนเทศ
และการสื่อสาร
(ฉบับที่ 1)พ.ศ. 2545-2549

แผนแม่บทเทคโนโลยีสารสนเทศ
และการสื่อสาร
(ฉบับที่ 2)พ.ศ. 2552-2556
ยุทธศาสตร์ ท่ ี 4: การใช้ เทคโนโลยีสารสนเทศและการ
สื่อสารเพื่อสนับสนุนการสร้ างธรรมาภิบาลในการบริหาร
และการบริการของภาครัฐ
ยุทธศาสตร์ ท่ ี 5: การยกระดับขีดความสามารถในการ
แข่งขันของอุตสาหกรรม ICT เพื่อสร้ างมูลค่าทาง
เศรษฐกิจและรายได้ เข้ าประเทศ
ยุทธศาสตร์ ท่ ี 6: การใช้ ICT เพื่อสนับสนุนการเพิ่มขีด
ความสามารถในการแข่งขันอย่างยังยืน
่
วิเคราะห์ความแตกต่างของแผนแม่บทฉบับปัจจุบันกับที่ผ่านมา

ลักษณะที่แตกต่างของแผนแม่บทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
ฉบับที2 กับแผนแม่บทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
่
ฉบับที่ 1 คือการปรับให้มีจุดเน้นในบางเรื่องที่เด่นชัดขึ้นจากแผนเทคโนโลยี
สารสนเทศและการสื่อสาร ฉบับแรก เพื่อตอบรับการเปลี่ยนแปลงทาง
เทคโนโลยี เศรษฐกิจ และสังคมที่เป็นทั้งโอกาสและความท้าทายของประเทศ
ไทย และพยายามแก้ไขส่วนที่ยังเป็นจุดอ่อน และต่อยอดส่วนที่เป็นจุดแข็งของ
ประเทศ เพื่อให้ประเทศไทยสามารถใช้ประโยชน์จากเทคโนโลยีสารสนเทศและ
การสื่อสารในการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมได้อย่างมีประสิทธิภาพและ
ประสิทธิผลสูงสุด อันจะช่วยนาไปสู่การบรรลุเป้าหมายของการพัฒนาประเทศ
ตามทีกาหนดในแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติได้ในทีสุด
่
่
วิเคราะห์ความแตกต่างของแผนแม่บทฉบับปัจจุบันกับที่ผ่านมา

"แผนแม่บทไอซีทีอาเซียน 2015"อาเซียนจึงให้ความสาคัญเรื่องความ
แตกต่างของการพัฒนา และการใช้ไอซีที ทั้งในระดับประเทศ และระหว่าง
ประเทศในภูมิภาค ซึ่งจะมุ่งเน้นเรื่องการลดความเลื่อมล้าในบริบทของความไม่
เท่าเทียมกันในการเข้าถึงเทคโนโลยี เพื่อส่งเสริมให้เกิดการใช้ไอซีทีในวงกว้าง
ตามแนวทางของ ASEAN ICT Master Plan 2015 ที่กาหนดเป็นแผนงานตาม
ยุทธศาสตร์ที่ 6 ในเรื่องของการลดความเหลื่อมล้าในการเข้าถึงเทคโนโลยี
(Bridging the Digital Divide) ซึ่งเป็นตัวขับเคลื่อนในเชิงยุทธศาสตร์ตัวที่ 6 ที่
ต้องยอมรับว่า ระดับการพัฒนาด้านไอซีทของแต่ละประเทศในอาเซียนนั้นไม่
ี
ทัดเทียมกัน
วิเคราะห์ความแตกต่างของแผนแม่บทฉบับปัจจุบันกับที่ผ่านมา

ดังนั้น จึงจาเป็นต้องเน้นการลดความเหลือมล้าในเรื่องการพัฒนาไอซีทีใน
อาเซียนด้วยมาตรการต่าง ๆ ดังที่จะกล่าวต่อไปนี้

มาตรการ 6.1 ทบทวนเรื่องพันธะการให้บริการอย่างทั่วถึง (USO) หรือนโยบาย
อื่นที่คล้ายกัน
มาตรการ 6.2 เชื่อมต่อโรงเรียนและชักนาให้เริ่มเรียนไอซีที เร็วขึ้น
มาตรการ 6.3 ปรับปรุงการเข้าถึงข้อมูลทีเกี่ยวข้องกัน
่
มาตรการ 6.4 ลดความเหลือมล้าในการเข้าถึงเทคโนโลยีภายในอาเซียน
่
วิเคราะห์ความแตกต่างของแผนแม่บทฉบับปัจจุบันกับที่ผ่านมา

กาหนดวิสยทัศน์ตามมาด้วยผลลัพธ์ทคาดว่าจะได้รับจากแผนแม่บทไอซีที
ั
ี่
อาเซียน 2015 4 ประการ ซึ่งพิจารณาได้ว่าเป็น Output – Outcome ที่ชัดเจน
คือ
1. ไอซีทีเป็นตัวขับเคลื่อนให้เกิดการเติบโตสาหรับอาเซียน
2. ยอมรับว่าอาเซียนเป็นศูนย์กลางไอซีทระดับโลก
ี
3. เพิ่มคุณภาพชีวิตที่ดีให้แก่ประชาชนในอาเซียน
4. มีผลต่อการรวมตัวในอาเซียน
ซึ่งผลลัพธ์ตามข้อสุดท้ายนี้ สรุปได้สั้น ๆ คือ ไอซีทีจะช่วยให้เกิดความร่วมมือกัน
มากมาย ระหว่างกลุ่มธุรกิจ และประชาชน จนนาไปสู่การรวมตัวของอาเซียน
วิเคราะห์ความแตกต่างของแผนแม่บทฉบับปัจจุบันกับที่ผ่านมา

ทั้งนี้ แผนแม่บทไอซีทีอาเซียน 2015 มีแรงขับเคลื่อนเชิงยุทธศาสตร์
6 ยุทธศาสตร์ด้วยกัน และก่อให้เกิดผลสัมฤทธิ์สรุปย่อ ๆ ดังนี้

1. การปฏิรูปทางเศรษฐกิจ
2. การเสริมสร้างพลังให้แก่ประชาชนและให้ประชาชนมีส่วนร่วม
3. การสร้างนวัตกรรม
4. การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน
5. การพัฒนาทุนมนุษย์
6. การลดความเหลือมล้าในการเข้าถึงเทคโนโลยี
่
วิเคราะห์ความแตกต่างของแผนแม่บทฉบับปัจจุบันกับที่ผ่านมา

อาเซียนจะให้ความสาคัญเรื่องความแตกต่างของการพัฒนา และการใช้
ไอซีที ทั้งในระดับประเทศ และระหว่างประเทศในภูมิภาค อาเซียนจะเน้นเรื่อง
การลดความเหลื่อมล้าในบริบทของความไม่เท่าเทียมกันในการเข้าถึงเทคโนโลยี
เพื่อส่งเสริมให้เกิดการใช้ไอซีทีในวงกว้าง ทั้งนี้ยังมีรายละเอียดที่เกี่ยวข้องใน
การกาหนดแผนงานและมีการอธิบายไว้อย่างชัดเจน สามารถเข้าใจได้ง่าย
นาไปปฏิบัติได้ ซึ่งน่าจะเป็นตัวอย่างที่ดีในการจัดทาแผนแม่บทไอซีทแห่งชาติ
ี
ฉบับที่ 3 ในอนาคตต่อไป
วิเคราะห์แนวโน้มในการพัฒนาด้านการศึกษา
วิเคราะห์แนวโน้มในการพัฒนาด้านการศึกษา

ด้ านการพัฒนาคน
1) ความเปลี่ยนแปลงด้านประชากร
ประชากรทัวราชอาณาจักรจะเพิ่มขึ ้นจาก 62 ล้ านคนในปี พ.ศ. 2543 เป็ น 74
่
ล้ านคน
โดยประมาณในปี พ.ศ. 2568 โดยมีอตราเพิมที่ลดลง คือจากเพิ่มขึ ้นร้ อยละ
ั
่
0.82 เป็ นร้ อยละ
0.61 ในห้ าปี แรกและห้ าปี หลังของช่วงเวลาดังกล่าวตามลาดับ
เมื่อพิจารณาจากประชากรเป็ น 3 กลุม คือ ประชากรวัยเด็ก ประชากรวัยแรงงาน และ
่
ประชากรวัยสูงอายุ พบว่า ความได้ เปรี ยบเชิงโครงสร้ างประชากรไทยกาลังจะหมดไป
หรื ออีกนัยหนึงการปั นผลทางประชากร (Demographic Dividend) ใกล้ สิ ้นสุดลง ซึง
่
่
หลังจากนันจะมีผลทาให้ ต้องเร่งเพิ่มผลิตภาพ (Productivity) ของประชากรวัยแรงงาน
้
อย่างจริงจังจากประสบการณ์ของหลาย
ประเทศในโลก
วิเคราะห์แนวโน้มในการพัฒนาด้านการศึกษา

1) ความเปลี่ยนแปลงด้ านประชากร

แผนภาพ โครงสร้ างประชากรไทย
เปรี ยบเทียบระหว่ างปี พ.ศ. 2543 และ พ.ศ. 2563
ที่มา: ศ.ดร.เกื ้อ วงศ์บญสินและคณะ, จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ุ
วิเคราะห์แนวโน้มในการพัฒนาด้านการศึกษา

ประชากรวัยเด็กได้ ลดลงอย่างต่อเนื่องจากร้ อยละ 24.65 ในพ.ศ. 2543
เป็ นร้ อยละ 19 ใน พ.ศ. 2563 ด้ วยหลายเหตุผล รวมถึงผลจากการ
คุมกาเนิด สถานภาพการสมรสที่เปลียนไป ทังที่เป็ นโสดมากขึ ้น คูสมรสมี
่
้
่
แนวโน้ มที่มีอายุแรกสมรสเพิ่มขึ ้น การมีบตรจานวนน้ อยลงและบุตรคน
ุ
แรกเกิดเมื่อคูสมรสมีอายุสงขึ ้น นอกจากนี ้ยังเป็ นผลจากการหย่าร้ างที่
่
ู
เพิ่มขึ ้นอีกด้ วย
วิเคราะห์แนวโน้มในการพัฒนาด้านการศึกษา

สัดส่วนประชากรวัยสูงอายุเพิ่มขึ ้นอย่างต่อเนื่องจากร้ อย
ละ 9.43 ใน พ.ศ. 2543 เป็ นร้ อยละ
16.78 ใน พ.ศ. 2563 เมื่อประเทศย่างเข้ าสูสงคมสูงอายุ
่ ั
การสาธารณสุขที่ก้าวหน้ าเอื ้อให้
ประชากรมีอายุที่ยืนยาวขึ ้น
วิเคราะห์แนวโน้มในการพัฒนาด้านการศึกษา

วัยแรงงานแม้ จะมีจานวนเพิ่มมากขึ ้นจาก 41 ล้ านคนใน พ.ศ. 2543 เป็ น
45 ล้ านคนโดยประมาณ
ใน พ.ศ. 2563 หากแต่โดยสัดส่วนประชากรแล้ ว วัยแรงงานจะมีสดส่วน
ั
ลดลง จากร้ อยละ 65.91
เป็ นร้ อยละ 64.21 ใน พ.ศ. 2543 และ พ.ศ. 2563 ตามลาดับ
วิเคราะห์แนวโน้มในการพัฒนาด้านการศึกษา

แผนภาพที่ 2 สัดส่ วนของประชากร 3 กลุ่ม
(ปี พ.ศ. 2550-2563)
ที่มา: ศ.ดร.เกื ้อ วงศ์บญสินและคณะ, จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
ุ
วิเคราะห์รูปแบบการศึกษาในอนาคต
วิเคราะห์รูปแบบการศึกษาในอนาคต

อนาคตมีการจัดการศึกษาที่เน้น เรื่องของความเหลื่อมล้าในการเข้าถึงเทคโนโลยี
(แผนแม่บทไอซีทีอาเซียน 2015 )อาจกล่าวได้ว่าเทคโนโลยีในด้านต่าง ๆ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง
เทคโนโลยีทางการสื่อสาร เทคโนโลยีไอซีทีได้เข้ามามีบทบาทมากขึ้นกับผู้คนทั่วโลกในยุค
ปัจจุบัน ไม่วาจะเป็นการมีการใช้โทรศัพท์มือถือ เครื่องคอมพิวเตอร์ แลปท๊อป อินเตอร์เน็ต
่
ฯลฯ เทคโนโลยีทั้งหลายเหล่านี้ล้วนได้รับความนิยมอย่างแพร่หลายในระยะเวลาอันรวดเร็ว
เนื่องจากเหตุผลที่ว่ายุคนี้เป็นยุคของการสื่อสาร เทคโนโลยีดังกล่าวเป็นเสมือนเครื่องมือที่
ช่วยอานวยความสะดวกรวดเร็ว ช่วยร่นระยะเวลาการทางาน การทากิจกรรมต่าง ๆ ต้อง
อาศัยเทคโนโลยีเข้าช่วย การเข้าถึงเทคโนโลยีจึงเป็นเรื่องจาเป็นสาหรับยุคนี้ และอนาคต
ข้างหน้า เพื่อส่งเสริมให้เกิดการใช้ไอซีทีในวงกว้าง ตามแนวทางของ ASEAN ICT Master
Plan 2015 ที่กาหนดเป็นแผนงานตามยุทธศาสตร์ที่ 6 ในเรื่องของการลดความเหลื่อมล้าใน
การเข้าถึงเทคโนโลยี (Bridging the Digital Divide) ซึ่งเป็นตัวขับเคลื่อนในเชิงยุทธศาสตร์ตัวที่
6 ที่ต้องยอมรับว่า ระดับการพัฒนาด้านไอซีทีของแต่ละประเทศในอาเซียนนั้นไม่ทัดเทียมกัน
วิเคราะห์รูปแบบการศึกษาในอนาคต

ดังนั้น จึงจาเป็นต้องเน้นการลดความเหลือมล้าในเรื่องการพัฒนา
ไอซีทีในอาเซียนด้วยมาตรการต่าง ๆ ดังที่จะกล่าวต่อไปนี้
มาตรการ 6.1 ทบทวนเรื่องพันธะการให้บริการอย่างทั่วถึง (USO)
หรือนโยบายอื่นที่คล้ายกัน
มาตรการ 6.2 เชื่อมต่อโรงเรียนและชักนาให้เริ่มเรียนไอซีที เร็วขึ้น
มาตรการ 6.3 ปรับปรุงการเข้าถึงข้อมูลทีเกี่ยวข้องกัน
่
มาตรการ 6.4 ลดความเหลือมล้าในการเข้าถึงเทคโนโลยีภายใน
่
อาเซียน
วิเคราะห์รูปแบบการศึกษาในอนาคต

จากหลักการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ ทั้ง 6 ตามแผนแม่บทไอซีที
อาเซียน 2015 ซึ่งจะมีแนวทางปฏิบัติทค่อนข้างชัดเจน เป็นรูปธรรม
ี่
และสามารถนาไปประยุกต์ใช้ เพื่อให้เกิดการบริหารแบบบูรณาการ
ดังที่ได้กล่าวในตอนที่แล้ว ถึงการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ทางการ
ปฏิรูปทางเศรษฐกิจตามยุทธศาสตร์ ข้อ 1. มี 2 มาตรการ คือ
มาตรการที่ 1 สร้างสภาพแวดล้อมทางธุรกิจที่ดึงดูดใจ ที่เอื้อให้
ธุรกิจเติบโตได้ จากอิทธิพลของไอซีที และมาตรการที่ 2 พัฒนา
ความร่วมมือระหว่างรัฐและเอกชน (Public-Private Partnership,
PPP) สาหรับอุตสาหกรรมไอซีที ที่ได้จัดทาเป็นแผนงานให้สามารถ
นาไปปฏิบติตามหลักยุทธศาสตร์นั้น ๆ ได้
ั
วิเคราะห์รูปแบบการศึกษาในอนาคต

แผนงานการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ ข้อที่ 2 คือ การให้ประชาชนมีส่วนร่วม
และเสริมสร้างพลัง ตามแผนแม่บทไอซีทีอาเซียน 2015 นี้ การเสริมสร้าง
พลังให้ประชาชน และให้ประชาชนมีส่วนร่วม ต้องเน้นการมีไอซีทีที่มีราคาไม่
แพง ซึ่งจะนาไปสู่การทาให้ประชาชนในอาเซียนมีคุณภาพชีวิตทีดีขึ้น
่
โดยเฉพาะในพื้นที่ที่มีมาตรฐานความเป็นอยู่ที่ต่ากว่ามาตรฐาน ที่ซึ่งการ
บริการบรอดแบนด์และโทรศัพท์เคลื่อนที่ยังถือว่าเป็นของฟุ่มเฟือย ใน
ยุทธศาสตร์ที่ 2 นี้ได้แบ่งเป็น 4 มาตรการ คือ
มาตรการ 2.1 ทาให้ทุกชุมชนสามารถเข้าถึงการบริการบรอดแบนด์ได้ด้วย
ราคาที่ไม่แพง
มาตรการ 2.2 ทาให้สินค้าไอซีทมีราคาที่ไม่แพง
ี
มาตรการ 2.3 ให้แน่ใจว่าการบริการแบบอิเล็กทรอนิกส์ รวมทั้งเนื้อหาและ
ระบบงานประยุกต์มราคาที่ไม่แพง และมีประสิทธิภาพ
ี
มาตรการ 2.4 สร้างความเชื่อมั่น
วิเคราะห์รูปแบบการศึกษาในอนาคต

วิสัยทัศน์ของแผนแม่บทไอซีทีอาเซียน 2015 ดังกล่าวมุ่งบรรลุผลดังต่อไปนี้
1. การเสริมสร้างพลัง จัดให้ผู้มีส่วนได้เสีย มีทักษะ มีเทคโนโลยี สามารถ
เชื่อมต่อ และมีข้อมูลข่าวสาร ทีจะช่วยให้ใช้ไอซีทีได้อย่างเต็มที่
่
2. ทาให้เกิดการปฎิรูป อาศัยไอซีทีทาให้เกิดการเปลียนแปลงขั้นพื้นฐาน ที่
่
เกี่ยวกับวิถีชีวิตของพวกเรา ทั้งในด้านความเป็นอยู่ การเรียนรู้ การทางาน
จนถึงด้านนันทนาการ
3. ทาได้อย่างทั่วถึง เกี่ยวข้องกับผู้ที่มีส่วนได้เสียทั้งหมดในอาเซียน ทั้ง
ภาครัฐ ภาคประชาคม และภาคธุรกิจ ทั้งที่พัฒนาแล้ว และที่กาลังพัฒนา ทั้ง
ที่อยู่ในเมือง และในชนบท ทั้งเยาวชน และผู้สูงอายุ รวมทั้งผู้ที่มีโอกาสและ
ที่ด้อยโอกาส
4. สร้างความคึกคัก สร้างสภาวะแวดล้อมที่เอื้อต่อการสร้างนวัตกรรม เอือ
้
ต่อการสร้างธุรกิจใหม่ และกระตุ่นให้ไอซีทีเบ่งบานและประสบความสาเร็จ
5. เกิดการรวมตัวกัน ทาให้เกิดการเชื่อมต่อกันในอาเซียน ระหว่าง
ประชาชน รัฐบาล และธุรกิจ
วิเคราะห์รูปแบบการศึกษาในอนาคต
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
วิสัยทัศน์นี้คาดว่าจะทาให้เกิดผลลัพธ์ 4 ประการ ซึ่งสะท้อนให้เห็นวิธีที่อาเซียนจะใช้
พัฒนาและปฎิรูปเศรษฐกิจและวัฒนธรรม
1. ไอซีทีเป็นตัวขับเคลื่อนให้เกิดการเติบโตสาหรับอาเซียน
ไอซีทีจะเป็นหนึ่งในกลุ่มเศรษฐกิจหลักของอาเซียน อีกทั้งยังเป็นตัวขับเคลื่อนที่ทาให้
เกิดศักยภาพการแข่งขันแก่อุตสาหกรรมอื่น ๆ ด้วย
2. ยอมรับว่าอาเซียนเป็นศูนย์กลางไอซีทีระดับโลก
อาเซียนจะสร้างความโดดเด่นให้ตัวเอง ด้วยการเป็นภูมิภาคที่มีโครงสร้างพื้นฐานไอซีที
ที่มีคุณภาพสูง มีกาลังคนที่มีสมรรถนะสูง และมีความสามารถทางนวัตกรรมด้าน
เทคโนโลยี
3. เพิ่มคุณภาพชีวิตที่ดีให้แก่ประชาชนในอาเซียน
การใช้ไอซีทีอย่างแพร่หลายจะช่วยให้ประชาชนของอาเซียนมีส่วนร่วม เข้าไปเกี่ยวข้อง
และมีโอกาสรับรู้ข้อมูลข่าวสาร ทั้งหมดนี้ จะส่งผลต่อความเป็นอยู่ การประกอบการ
งาน และด้านนันทนาการ
4. มีผลต่อการรวมตัวในอาเซียน
ไอซีทีจะช่วยให้เกิดความร่วมมือกันมากมาย ระหว่างกลุ่มธุรกิจ และประชาชน จน
นาไปสู่การรวมตัวของอาเซียน
Thank you!

More Related Content

What's hot

Digital Economy Plan of Thailand
Digital Economy Plan of ThailandDigital Economy Plan of Thailand
Digital Economy Plan of Thailand
Boonlert Aroonpiboon
 
Roiet
RoietRoiet
Roiet
atommm
 
Draft1_ICT2020_for_PublicHearing_Aug2010
Draft1_ICT2020_for_PublicHearing_Aug2010Draft1_ICT2020_for_PublicHearing_Aug2010
Draft1_ICT2020_for_PublicHearing_Aug2010ICT2020
 
20100701 I C T2020 Lifelong Presentation V3
20100701  I C T2020 Lifelong Presentation V320100701  I C T2020 Lifelong Presentation V3
20100701 I C T2020 Lifelong Presentation V3ICT2020
 
Factors influencing purchase decisions in thailand for clothing from vendors ...
Factors influencing purchase decisions in thailand for clothing from vendors ...Factors influencing purchase decisions in thailand for clothing from vendors ...
Factors influencing purchase decisions in thailand for clothing from vendors ...
PridaKaewchai
 
2555 Thailand e-Government Report
2555 Thailand e-Government Report2555 Thailand e-Government Report
2555 Thailand e-Government Report
Boonlert Aroonpiboon
 
Analize ICT 2020 Conceptual Framework
Analize ICT 2020 Conceptual Framework Analize ICT 2020 Conceptual Framework
Analize ICT 2020 Conceptual Framework Bunsasi
 
แผนพัฒนารัฐบาลดิจิทัลของประเทศไทย ระยะ 3 ปี (พ.ศ.2559 2561)
แผนพัฒนารัฐบาลดิจิทัลของประเทศไทย ระยะ 3 ปี (พ.ศ.2559 2561)แผนพัฒนารัฐบาลดิจิทัลของประเทศไทย ระยะ 3 ปี (พ.ศ.2559 2561)
แผนพัฒนารัฐบาลดิจิทัลของประเทศไทย ระยะ 3 ปี (พ.ศ.2559 2561)
Totsaporn Inthanin
 
20160530 Digital Thailand Master Plan
20160530 Digital Thailand Master Plan20160530 Digital Thailand Master Plan
Digital economy plan
Digital economy plan Digital economy plan
Digital economy plan
Utai Sukviwatsirikul
 
Introduction to Apply Social Networking for Goverment Agencies in Thailand
Introduction to Apply Social Networking for Goverment Agencies in ThailandIntroduction to Apply Social Networking for Goverment Agencies in Thailand
Introduction to Apply Social Networking for Goverment Agencies in Thailand
siriporn pongvinyoo
 
Data strategy พันเอก ดร. เศรษฐพงค์ มะลิสุวรรณ
Data strategy พันเอก ดร. เศรษฐพงค์ มะลิสุวรรณ  Data strategy พันเอก ดร. เศรษฐพงค์ มะลิสุวรรณ
Data strategy พันเอก ดร. เศรษฐพงค์ มะลิสุวรรณ
Settapong Malisuwan
 
สถานการณ์เศรษฐกิจไทยและเศรษฐกิจโลก, ความสำเร็จในการบริหารจากภาครัฐสู่ภาคเอกชน...
สถานการณ์เศรษฐกิจไทยและเศรษฐกิจโลก, ความสำเร็จในการบริหารจากภาครัฐสู่ภาคเอกชน...สถานการณ์เศรษฐกิจไทยและเศรษฐกิจโลก, ความสำเร็จในการบริหารจากภาครัฐสู่ภาคเอกชน...
สถานการณ์เศรษฐกิจไทยและเศรษฐกิจโลก, ความสำเร็จในการบริหารจากภาครัฐสู่ภาคเอกชน...
Settapong_CyberSecurity
 
แบบเสนอโครงร่างคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างคอมพิวเตอร์
MindMaeo
 
การสร้างกำลังอำนาจทางด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีของชาติ
การสร้างกำลังอำนาจทางด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีของชาติการสร้างกำลังอำนาจทางด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีของชาติ
การสร้างกำลังอำนาจทางด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีของชาติ
Strategic Challenges
 
บทสัมภาษณ์ ขับเคลื่อนแผนฯ 12 สู่อนาคตประเทศไทย
บทสัมภาษณ์ ขับเคลื่อนแผนฯ 12 สู่อนาคตประเทศไทยบทสัมภาษณ์ ขับเคลื่อนแผนฯ 12 สู่อนาคตประเทศไทย
บทสัมภาษณ์ ขับเคลื่อนแผนฯ 12 สู่อนาคตประเทศไทย
National Science and Technology Development Agency (NSTDA) - Thailand
 
AI เทคโนโลยีปัญญาประดิษฐ์
AI เทคโนโลยีปัญญาประดิษฐ์AI เทคโนโลยีปัญญาประดิษฐ์
AI เทคโนโลยีปัญญาประดิษฐ์
wisit2009
 

What's hot (18)

Digital Economy Plan of Thailand
Digital Economy Plan of ThailandDigital Economy Plan of Thailand
Digital Economy Plan of Thailand
 
Roiet
RoietRoiet
Roiet
 
Roiet
RoietRoiet
Roiet
 
Draft1_ICT2020_for_PublicHearing_Aug2010
Draft1_ICT2020_for_PublicHearing_Aug2010Draft1_ICT2020_for_PublicHearing_Aug2010
Draft1_ICT2020_for_PublicHearing_Aug2010
 
20100701 I C T2020 Lifelong Presentation V3
20100701  I C T2020 Lifelong Presentation V320100701  I C T2020 Lifelong Presentation V3
20100701 I C T2020 Lifelong Presentation V3
 
Factors influencing purchase decisions in thailand for clothing from vendors ...
Factors influencing purchase decisions in thailand for clothing from vendors ...Factors influencing purchase decisions in thailand for clothing from vendors ...
Factors influencing purchase decisions in thailand for clothing from vendors ...
 
2555 Thailand e-Government Report
2555 Thailand e-Government Report2555 Thailand e-Government Report
2555 Thailand e-Government Report
 
Analize ICT 2020 Conceptual Framework
Analize ICT 2020 Conceptual Framework Analize ICT 2020 Conceptual Framework
Analize ICT 2020 Conceptual Framework
 
แผนพัฒนารัฐบาลดิจิทัลของประเทศไทย ระยะ 3 ปี (พ.ศ.2559 2561)
แผนพัฒนารัฐบาลดิจิทัลของประเทศไทย ระยะ 3 ปี (พ.ศ.2559 2561)แผนพัฒนารัฐบาลดิจิทัลของประเทศไทย ระยะ 3 ปี (พ.ศ.2559 2561)
แผนพัฒนารัฐบาลดิจิทัลของประเทศไทย ระยะ 3 ปี (พ.ศ.2559 2561)
 
20160530 Digital Thailand Master Plan
20160530 Digital Thailand Master Plan20160530 Digital Thailand Master Plan
20160530 Digital Thailand Master Plan
 
Digital economy plan
Digital economy plan Digital economy plan
Digital economy plan
 
Introduction to Apply Social Networking for Goverment Agencies in Thailand
Introduction to Apply Social Networking for Goverment Agencies in ThailandIntroduction to Apply Social Networking for Goverment Agencies in Thailand
Introduction to Apply Social Networking for Goverment Agencies in Thailand
 
Data strategy พันเอก ดร. เศรษฐพงค์ มะลิสุวรรณ
Data strategy พันเอก ดร. เศรษฐพงค์ มะลิสุวรรณ  Data strategy พันเอก ดร. เศรษฐพงค์ มะลิสุวรรณ
Data strategy พันเอก ดร. เศรษฐพงค์ มะลิสุวรรณ
 
สถานการณ์เศรษฐกิจไทยและเศรษฐกิจโลก, ความสำเร็จในการบริหารจากภาครัฐสู่ภาคเอกชน...
สถานการณ์เศรษฐกิจไทยและเศรษฐกิจโลก, ความสำเร็จในการบริหารจากภาครัฐสู่ภาคเอกชน...สถานการณ์เศรษฐกิจไทยและเศรษฐกิจโลก, ความสำเร็จในการบริหารจากภาครัฐสู่ภาคเอกชน...
สถานการณ์เศรษฐกิจไทยและเศรษฐกิจโลก, ความสำเร็จในการบริหารจากภาครัฐสู่ภาคเอกชน...
 
แบบเสนอโครงร่างคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างคอมพิวเตอร์
 
การสร้างกำลังอำนาจทางด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีของชาติ
การสร้างกำลังอำนาจทางด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีของชาติการสร้างกำลังอำนาจทางด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีของชาติ
การสร้างกำลังอำนาจทางด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีของชาติ
 
บทสัมภาษณ์ ขับเคลื่อนแผนฯ 12 สู่อนาคตประเทศไทย
บทสัมภาษณ์ ขับเคลื่อนแผนฯ 12 สู่อนาคตประเทศไทยบทสัมภาษณ์ ขับเคลื่อนแผนฯ 12 สู่อนาคตประเทศไทย
บทสัมภาษณ์ ขับเคลื่อนแผนฯ 12 สู่อนาคตประเทศไทย
 
AI เทคโนโลยีปัญญาประดิษฐ์
AI เทคโนโลยีปัญญาประดิษฐ์AI เทคโนโลยีปัญญาประดิษฐ์
AI เทคโนโลยีปัญญาประดิษฐ์
 

Viewers also liked

แผนแม่บทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
แผนแม่บทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารแผนแม่บทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
แผนแม่บทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
องค์การบริหารส่วนตำบล ห้วยยาง
 
ภาคใต้กับประชาคมอาเซียน
ภาคใต้กับประชาคมอาเซียนภาคใต้กับประชาคมอาเซียน
ภาคใต้กับประชาคมอาเซียน
Teeranan
 
บทบาทของสถานภูมิภาคเทคโนโลยีอวกาศ และภูมิสารสนเทศ ด้านการให้บริการข้อมูล ภูมิ...
บทบาทของสถานภูมิภาคเทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศ ด้านการให้บริการข้อมูลภูมิ...บทบาทของสถานภูมิภาคเทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศ ด้านการให้บริการข้อมูลภูมิ...
บทบาทของสถานภูมิภาคเทคโนโลยีอวกาศ และภูมิสารสนเทศ ด้านการให้บริการข้อมูล ภูมิ...
Chingchai Humhong
 
Example of gis&rs applications
Example of gis&rs applicationsExample of gis&rs applications
Example of gis&rs applications
Prapaporn Boonplord
 
บทที่ 1 วิจัย
บทที่ 1 วิจัยบทที่ 1 วิจัย
บทที่ 1 วิจัยNatmol Thedsanabun
 
นำเสนอครั้งที่ 1-60258
นำเสนอครั้งที่ 1-60258นำเสนอครั้งที่ 1-60258
นำเสนอครั้งที่ 1-60258
Ampol Sonwises
 
Educational Technology at NSTDA
Educational Technology at NSTDAEducational Technology at NSTDA
Educational Technology at NSTDA
Boonlert Aroonpiboon
 
Interactive e leraning_ctu
Interactive e leraning_ctuInteractive e leraning_ctu
Interactive e leraning_ctu
Panita Wannapiroon Kmutnb
 
Introduction to Database
Introduction to DatabaseIntroduction to Database
Introduction to DatabaseOpas Kaewtai
 
Android room award 2556
Android room award 2556Android room award 2556
Android room award 2556
Anekwong Yoddumnern
 
Project present
Project presentProject present
Project present
Niyyin Chantani
 
เทคนิคและการทบทวนวรรณกรรมและการพัฒนากรอบแนวคิดงานวิจัย (ผศ.ดร.กชพร นำมาผล)
เทคนิคและการทบทวนวรรณกรรมและการพัฒนากรอบแนวคิดงานวิจัย (ผศ.ดร.กชพร นำมาผล)เทคนิคและการทบทวนวรรณกรรมและการพัฒนากรอบแนวคิดงานวิจัย (ผศ.ดร.กชพร นำมาผล)
เทคนิคและการทบทวนวรรณกรรมและการพัฒนากรอบแนวคิดงานวิจัย (ผศ.ดร.กชพร นำมาผล)
สร้างนักวิจัยรุ่นใหม่ ลูกไก่รุ่นที่สอง
 
การสร้าง Android Application จาก HTML5 ด้วย PhoneGap
การสร้าง Android Application จาก HTML5 ด้วย PhoneGapการสร้าง Android Application จาก HTML5 ด้วย PhoneGap
การสร้าง Android Application จาก HTML5 ด้วย PhoneGapDr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
Ppt เสนอโปรเจค2
Ppt เสนอโปรเจค2Ppt เสนอโปรเจค2
Ppt เสนอโปรเจค2
Lovely Pim
 
Mobile Application for Education (โมบายแอปพลิเคชันเพื่อการศึกษา)
Mobile Application for Education (โมบายแอปพลิเคชันเพื่อการศึกษา)Mobile Application for Education (โมบายแอปพลิเคชันเพื่อการศึกษา)
Mobile Application for Education (โมบายแอปพลิเคชันเพื่อการศึกษา)
Kanda Runapongsa Saikaew
 
เขียนเว็บไซต์ด้วย Html 5
เขียนเว็บไซต์ด้วย Html 5เขียนเว็บไซต์ด้วย Html 5
เขียนเว็บไซต์ด้วย Html 5
Samart Phetdee
 
NSTDA Educational Technology : R&D
NSTDA Educational Technology : R&DNSTDA Educational Technology : R&D
NSTDA Educational Technology : R&D
Boonlert Aroonpiboon
 
แนะนำ HTML5 แบบอ่านจบต้องรู้บ้างแหละ
แนะนำ HTML5 แบบอ่านจบต้องรู้บ้างแหละแนะนำ HTML5 แบบอ่านจบต้องรู้บ้างแหละ
แนะนำ HTML5 แบบอ่านจบต้องรู้บ้างแหละ
Withoon Wangsa-Nguankit
 

Viewers also liked (20)

แผนแม่บทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
แผนแม่บทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารแผนแม่บทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
แผนแม่บทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
 
ภาคใต้กับประชาคมอาเซียน
ภาคใต้กับประชาคมอาเซียนภาคใต้กับประชาคมอาเซียน
ภาคใต้กับประชาคมอาเซียน
 
บทบาทของสถานภูมิภาคเทคโนโลยีอวกาศ และภูมิสารสนเทศ ด้านการให้บริการข้อมูล ภูมิ...
บทบาทของสถานภูมิภาคเทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศ ด้านการให้บริการข้อมูลภูมิ...บทบาทของสถานภูมิภาคเทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศ ด้านการให้บริการข้อมูลภูมิ...
บทบาทของสถานภูมิภาคเทคโนโลยีอวกาศ และภูมิสารสนเทศ ด้านการให้บริการข้อมูล ภูมิ...
 
Example of gis&rs applications
Example of gis&rs applicationsExample of gis&rs applications
Example of gis&rs applications
 
บทที่ 1 วิจัย
บทที่ 1 วิจัยบทที่ 1 วิจัย
บทที่ 1 วิจัย
 
นำเสนอครั้งที่ 1-60258
นำเสนอครั้งที่ 1-60258นำเสนอครั้งที่ 1-60258
นำเสนอครั้งที่ 1-60258
 
Educational Technology at NSTDA
Educational Technology at NSTDAEducational Technology at NSTDA
Educational Technology at NSTDA
 
Interactive e leraning_ctu
Interactive e leraning_ctuInteractive e leraning_ctu
Interactive e leraning_ctu
 
1109291212453896 12111614140548
1109291212453896 121116141405481109291212453896 12111614140548
1109291212453896 12111614140548
 
Introduction to Database
Introduction to DatabaseIntroduction to Database
Introduction to Database
 
Android room award 2556
Android room award 2556Android room award 2556
Android room award 2556
 
Project present
Project presentProject present
Project present
 
เทคนิคและการทบทวนวรรณกรรมและการพัฒนากรอบแนวคิดงานวิจัย (ผศ.ดร.กชพร นำมาผล)
เทคนิคและการทบทวนวรรณกรรมและการพัฒนากรอบแนวคิดงานวิจัย (ผศ.ดร.กชพร นำมาผล)เทคนิคและการทบทวนวรรณกรรมและการพัฒนากรอบแนวคิดงานวิจัย (ผศ.ดร.กชพร นำมาผล)
เทคนิคและการทบทวนวรรณกรรมและการพัฒนากรอบแนวคิดงานวิจัย (ผศ.ดร.กชพร นำมาผล)
 
การสร้าง Android Application จาก HTML5 ด้วย PhoneGap
การสร้าง Android Application จาก HTML5 ด้วย PhoneGapการสร้าง Android Application จาก HTML5 ด้วย PhoneGap
การสร้าง Android Application จาก HTML5 ด้วย PhoneGap
 
คอม
คอมคอม
คอม
 
Ppt เสนอโปรเจค2
Ppt เสนอโปรเจค2Ppt เสนอโปรเจค2
Ppt เสนอโปรเจค2
 
Mobile Application for Education (โมบายแอปพลิเคชันเพื่อการศึกษา)
Mobile Application for Education (โมบายแอปพลิเคชันเพื่อการศึกษา)Mobile Application for Education (โมบายแอปพลิเคชันเพื่อการศึกษา)
Mobile Application for Education (โมบายแอปพลิเคชันเพื่อการศึกษา)
 
เขียนเว็บไซต์ด้วย Html 5
เขียนเว็บไซต์ด้วย Html 5เขียนเว็บไซต์ด้วย Html 5
เขียนเว็บไซต์ด้วย Html 5
 
NSTDA Educational Technology : R&D
NSTDA Educational Technology : R&DNSTDA Educational Technology : R&D
NSTDA Educational Technology : R&D
 
แนะนำ HTML5 แบบอ่านจบต้องรู้บ้างแหละ
แนะนำ HTML5 แบบอ่านจบต้องรู้บ้างแหละแนะนำ HTML5 แบบอ่านจบต้องรู้บ้างแหละ
แนะนำ HTML5 แบบอ่านจบต้องรู้บ้างแหละ
 

Similar to ICT 2020 Conceptual framwork

[Draft]thailand's 3rd ict master plan
[Draft]thailand's 3rd ict master plan[Draft]thailand's 3rd ict master plan
[Draft]thailand's 3rd ict master plan
Ben Cybergigz
 
ก้าวต่อไปของรัฐบาลดิจิทัลประเทศไทย โดย ดร.ศักดิ์ เสกขุนทด ผู้อำนวยการสำนักงาน...
ก้าวต่อไปของรัฐบาลดิจิทัลประเทศไทย โดย ดร.ศักดิ์ เสกขุนทด ผู้อำนวยการสำนักงาน...ก้าวต่อไปของรัฐบาลดิจิทัลประเทศไทย โดย ดร.ศักดิ์ เสกขุนทด ผู้อำนวยการสำนักงาน...
ก้าวต่อไปของรัฐบาลดิจิทัลประเทศไทย โดย ดร.ศักดิ์ เสกขุนทด ผู้อำนวยการสำนักงาน...
National Science and Technology Development Agency (NSTDA) - Thailand
 
การบูรณาการสมรรถนะเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อพัฒน...
การบูรณาการสมรรถนะเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อพัฒน...การบูรณาการสมรรถนะเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อพัฒน...
การบูรณาการสมรรถนะเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อพัฒน...
Panita Wannapiroon Kmutnb
 
แผนการดำเนินงานและงบประมาณ ปีงบประมาณ 2562 สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโ...
แผนการดำเนินงานและงบประมาณ   ปีงบประมาณ 2562  สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโ...แผนการดำเนินงานและงบประมาณ   ปีงบประมาณ 2562  สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโ...
แผนการดำเนินงานและงบประมาณ ปีงบประมาณ 2562 สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโ...
National Science and Technology Development Agency (NSTDA) - Thailand
 
แผนการดำเนินงานและงบประมาณ ปีงบประมาณ 2563 สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโ...
แผนการดำเนินงานและงบประมาณ   ปีงบประมาณ 2563  สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโ...แผนการดำเนินงานและงบประมาณ   ปีงบประมาณ 2563  สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโ...
แผนการดำเนินงานและงบประมาณ ปีงบประมาณ 2563 สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโ...
National Science and Technology Development Agency (NSTDA) - Thailand
 
(Draft) The Third Thailand Information and Communication Technology Master Pl...
(Draft) The Third Thailand Information and Communication Technology Master Pl...(Draft) The Third Thailand Information and Communication Technology Master Pl...
(Draft) The Third Thailand Information and Communication Technology Master Pl...
Boonlert Aroonpiboon
 
การใช้สื่อและกิจกรรมในงานประชาสัมพันธ์องค์กร
การใช้สื่อและกิจกรรมในงานประชาสัมพันธ์องค์กรการใช้สื่อและกิจกรรมในงานประชาสัมพันธ์องค์กร
การใช้สื่อและกิจกรรมในงานประชาสัมพันธ์องค์กร
Rattanaporn Sarapee
 
2560 project แอพพลิเคชัน Smart CHIANGMAI
2560 project แอพพลิเคชัน Smart CHIANGMAI 2560 project แอพพลิเคชัน Smart CHIANGMAI
2560 project แอพพลิเคชัน Smart CHIANGMAI
เซฟ หัวเกรียน
 
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารsmileoic
 
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารMapowzee Dahajee
 
ระบบแพลตฟอร์มข้อมูลเมืองเพื่อพัฒนาเมืองอัจฉริยะ
ระบบแพลตฟอร์มข้อมูลเมืองเพื่อพัฒนาเมืองอัจฉริยะระบบแพลตฟอร์มข้อมูลเมืองเพื่อพัฒนาเมืองอัจฉริยะ
ระบบแพลตฟอร์มข้อมูลเมืองเพื่อพัฒนาเมืองอัจฉริยะ
Sarit Tiyawongsuwan
 
2560 project แอพพลิเคชัน Smart CHIANGMAI
2560 project แอพพลิเคชัน Smart CHIANGMAI2560 project แอพพลิเคชัน Smart CHIANGMAI
2560 project แอพพลิเคชัน Smart CHIANGMAI
เซฟ หัวเกรียน
 
Action plan gap
Action plan gapAction plan gap
Action plan gapi_cavalry
 
3.2.1 ผู้บริหาร
3.2.1 ผู้บริหาร3.2.1 ผู้บริหาร
3.2.1 ผู้บริหาร
Naruepon Seenoilkhaw
 
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
Thawatchai2541
 

Similar to ICT 2020 Conceptual framwork (20)

[Draft]thailand's 3rd ict master plan
[Draft]thailand's 3rd ict master plan[Draft]thailand's 3rd ict master plan
[Draft]thailand's 3rd ict master plan
 
ก้าวต่อไปของรัฐบาลดิจิทัลประเทศไทย โดย ดร.ศักดิ์ เสกขุนทด ผู้อำนวยการสำนักงาน...
ก้าวต่อไปของรัฐบาลดิจิทัลประเทศไทย โดย ดร.ศักดิ์ เสกขุนทด ผู้อำนวยการสำนักงาน...ก้าวต่อไปของรัฐบาลดิจิทัลประเทศไทย โดย ดร.ศักดิ์ เสกขุนทด ผู้อำนวยการสำนักงาน...
ก้าวต่อไปของรัฐบาลดิจิทัลประเทศไทย โดย ดร.ศักดิ์ เสกขุนทด ผู้อำนวยการสำนักงาน...
 
การบูรณาการสมรรถนะเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อพัฒน...
การบูรณาการสมรรถนะเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อพัฒน...การบูรณาการสมรรถนะเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อพัฒน...
การบูรณาการสมรรถนะเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อพัฒน...
 
แผนการดำเนินงานและงบประมาณ ปีงบประมาณ 2562 สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโ...
แผนการดำเนินงานและงบประมาณ   ปีงบประมาณ 2562  สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโ...แผนการดำเนินงานและงบประมาณ   ปีงบประมาณ 2562  สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโ...
แผนการดำเนินงานและงบประมาณ ปีงบประมาณ 2562 สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโ...
 
แผนการดำเนินงานและงบประมาณ ปีงบประมาณ 2563 สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโ...
แผนการดำเนินงานและงบประมาณ   ปีงบประมาณ 2563  สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโ...แผนการดำเนินงานและงบประมาณ   ปีงบประมาณ 2563  สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโ...
แผนการดำเนินงานและงบประมาณ ปีงบประมาณ 2563 สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโ...
 
Bangkok1
Bangkok1Bangkok1
Bangkok1
 
Planict2552 2556
Planict2552 2556Planict2552 2556
Planict2552 2556
 
(Draft) The Third Thailand Information and Communication Technology Master Pl...
(Draft) The Third Thailand Information and Communication Technology Master Pl...(Draft) The Third Thailand Information and Communication Technology Master Pl...
(Draft) The Third Thailand Information and Communication Technology Master Pl...
 
กรอบนโยบายเทคโนโลยสารสนเทศและการสอสาร ระยะ พ.ศ. ๒๕๕๔-๒๕๖๓ ของประเทศไทย
กรอบนโยบายเทคโนโลยสารสนเทศและการสอสาร ระยะ พ.ศ. ๒๕๕๔-๒๕๖๓ ของประเทศไทยกรอบนโยบายเทคโนโลยสารสนเทศและการสอสาร ระยะ พ.ศ. ๒๕๕๔-๒๕๖๓ ของประเทศไทย
กรอบนโยบายเทคโนโลยสารสนเทศและการสอสาร ระยะ พ.ศ. ๒๕๕๔-๒๕๖๓ ของประเทศไทย
 
การใช้สื่อและกิจกรรมในงานประชาสัมพันธ์องค์กร
การใช้สื่อและกิจกรรมในงานประชาสัมพันธ์องค์กรการใช้สื่อและกิจกรรมในงานประชาสัมพันธ์องค์กร
การใช้สื่อและกิจกรรมในงานประชาสัมพันธ์องค์กร
 
2560 project แอพพลิเคชัน Smart CHIANGMAI
2560 project แอพพลิเคชัน Smart CHIANGMAI 2560 project แอพพลิเคชัน Smart CHIANGMAI
2560 project แอพพลิเคชัน Smart CHIANGMAI
 
Chapter6
Chapter6Chapter6
Chapter6
 
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
 
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
 
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
 
ระบบแพลตฟอร์มข้อมูลเมืองเพื่อพัฒนาเมืองอัจฉริยะ
ระบบแพลตฟอร์มข้อมูลเมืองเพื่อพัฒนาเมืองอัจฉริยะระบบแพลตฟอร์มข้อมูลเมืองเพื่อพัฒนาเมืองอัจฉริยะ
ระบบแพลตฟอร์มข้อมูลเมืองเพื่อพัฒนาเมืองอัจฉริยะ
 
2560 project แอพพลิเคชัน Smart CHIANGMAI
2560 project แอพพลิเคชัน Smart CHIANGMAI2560 project แอพพลิเคชัน Smart CHIANGMAI
2560 project แอพพลิเคชัน Smart CHIANGMAI
 
Action plan gap
Action plan gapAction plan gap
Action plan gap
 
3.2.1 ผู้บริหาร
3.2.1 ผู้บริหาร3.2.1 ผู้บริหาร
3.2.1 ผู้บริหาร
 
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
 

More from Bunsasi

A tutor map
A tutor mapA tutor map
A tutor mapBunsasi
 
Integrative
IntegrativeIntegrative
IntegrativeBunsasi
 
Active learning
Active learningActive learning
Active learningBunsasi
 
สถานการณ์ที่ 4
สถานการณ์ที่ 4สถานการณ์ที่ 4
สถานการณ์ที่ 4Bunsasi
 
Chapter 04
Chapter 04Chapter 04
Chapter 04Bunsasi
 
Chapter 05
Chapter 05Chapter 05
Chapter 05Bunsasi
 
Chapter 04
Chapter 04Chapter 04
Chapter 04Bunsasi
 
Introduction to technologies and educational media
Introduction to technologies and educational mediaIntroduction to technologies and educational media
Introduction to technologies and educational mediaBunsasi
 

More from Bunsasi (9)

A tutor map
A tutor mapA tutor map
A tutor map
 
Integrative
IntegrativeIntegrative
Integrative
 
Active learning
Active learningActive learning
Active learning
 
สถานการณ์ที่ 4
สถานการณ์ที่ 4สถานการณ์ที่ 4
สถานการณ์ที่ 4
 
Chapter 04
Chapter 04Chapter 04
Chapter 04
 
Chapter 05
Chapter 05Chapter 05
Chapter 05
 
Chapter 04
Chapter 04Chapter 04
Chapter 04
 
02
0202
02
 
Introduction to technologies and educational media
Introduction to technologies and educational mediaIntroduction to technologies and educational media
Introduction to technologies and educational media
 

Recently uploaded

3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
การเคลื่อนที่ของคลื่น ปรากฎการคลื่นกล ความเร็วคลื่น ส่วนประกอบของคลื่น
การเคลื่อนที่ของคลื่น ปรากฎการคลื่นกล ความเร็วคลื่น ส่วนประกอบของคลื่นการเคลื่อนที่ของคลื่น ปรากฎการคลื่นกล ความเร็วคลื่น ส่วนประกอบของคลื่น
การเคลื่อนที่ของคลื่น ปรากฎการคลื่นกล ความเร็วคลื่น ส่วนประกอบของคลื่น
RSapeTuaprakhon
 
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 

Recently uploaded (6)

3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
 
การเคลื่อนที่ของคลื่น ปรากฎการคลื่นกล ความเร็วคลื่น ส่วนประกอบของคลื่น
การเคลื่อนที่ของคลื่น ปรากฎการคลื่นกล ความเร็วคลื่น ส่วนประกอบของคลื่นการเคลื่อนที่ของคลื่น ปรากฎการคลื่นกล ความเร็วคลื่น ส่วนประกอบของคลื่น
การเคลื่อนที่ของคลื่น ปรากฎการคลื่นกล ความเร็วคลื่น ส่วนประกอบของคลื่น
 
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 

ICT 2020 Conceptual framwork