SlideShare a Scribd company logo
ปริมาณทางกายภาพและหน่วย
รายวิชาฟิสิกส์พื้นฐาน ว 31101
สอนโดย ครูสมพร เหล่าทองสาร
โรงเรียนดงบังพิสัยนวการนุสรณ์ สพม.26
ปริมาณทางกายภาพและหน่วย
ปริมาณทางกายภาพ เป็นปริมาณที่สามารถวัดได้ด้วย
เครื่องมือโดยตรง หรือโดยอ้อม เป็นปริมาณที่มีความหมาย
เฉพาะเจาะจงอย่างใดอย่างหนึ่ง เช่น ปริมาตร มวล น้าหนัก แรง
ความเร็ว ความดัน เป็นต้น ปริมาณเหล่านี้จะต้องมีหน่วยกากับ
จึงจะมีความหมายชัดเจน เช่น ปริมาตร อาจจะมีหน่วย ลูกบาศก์
เซนติเมตร ลูกบาศก์เมตร หรือลูกบาศก์ฟุต และยังมีลิตร ถัง
แกลลอนอีก ซึ่งรวมแล้วมีหน่วยได้หลายอย่าง
ครูสมพร เหล่าทองสาร โรงเรียนดงบังพิสัยนวการนุสรณ์ สพม.26
ปริมาณทางกายภาพและหน่วย
แต่ที่นิยมใช้กันในที่ต่างๆ เพื่อให้การใช้หน่วยเป็นมาตรฐาน
เดียวกันทั่วโลก โดยเฉพาะในวงการทางวิทยาศาสตร์ องค์กร
ระหว่างชาติเพื่อการมาตรฐาน (ISO : International Organization
of Standardization) จึงได้กาหนดระบบหน่วยมาตรฐานที่เรียกว่า
ระบบหน่วยระหว่างชาติ (The International System of Units)
หรือระบบเอสไอ(SI) ให้ทุกประเทศใช้เป็นมาตรฐาน ระบบเอส
ไอประกอบด้วยหน่วยฐาน (base units) และหน่วยอนุพัทธ์
(Derived units) ดังรายละเอียดต่อไปนี้
ครูสมพร เหล่าทองสาร โรงเรียนดงบังพิสัยนวการนุสรณ์ สพม.26
ปริมาณทางกายภาพและหน่วย
หน่วยฐาน เป็นหน่วยหลักของระบบเอสไอ มีทั้งหมด
7 หน่วย ดังตารางที่ 1
ปริมาณฐาน ชื่อหน่วย สัญลักษณ์
ความยาว เมตร m
มวล กิโลกรัม Kg
เวลา วินาที s
กระแสไฟฟ้า แอมแปร์ A
อุณหภูมิอุณหพลวัต เคลวิน K
ปริมาณของสาร โมล mol
ความเข้มของการส่องสว่าง แคนเดลา cd
ปริมาณทางกายภาพและหน่วย
หน่วยอนุพัทธ์ เป็นหน่วยที่สร้างจากหน่วยฐาน เช่น หน่วย
ของแรงให้ชื่อว่า นิวตัน (Newton, N) ซึ่งเป็นชื่อที่ให้เกียรติกับ
เซอร์ ไอแซก นิวตัน โดยนิวตันจะเทียบกับ กิโลกรัม เมตรต่อ
วินาที2 หรือ kg m/s2 และหน่วยของพลังงานคือ จูล (joule, J) ซึ่ง
หน่วยจูลเทียบกับ นิวตัน.เมตร ซึ่งเทียบกับ กิโลกรัม เมตร2ต่อ
วินาที2 หรือ kg m2/s2 นอกจากนี้ระบบเอสไอยังได้กาหนด
คานาหน้าหน่วย (prefix) เพื่อทาให้หน่วยที่ใช้เล็กลงหรือโตขึ้น
คานาหน้าหน่วยที่สาคัญมีดังนี้
ครูสมพร เหล่าทองสาร โรงเรียนดงบังพิสัยนวการนุสรณ์ สพม.26
ปริมาณทางกายภาพและหน่วย
คานาหน้าหน่วย แสดง ดังตารางที่ 2
คานาหน้าหน่วย ชื่อภาษาไทย สัญลักษณ์ย่อ ตัวคูณที่เทียบเท่า
pico พิโก p 10-12
nano นาโน n 10-9
micro ไมโคร  10-6
milli มิลลิ m 10-3
centi เซนติ c 10-2
deci เดซิ d 10-1
ครูสมพร เหล่าทองสาร โรงเรียนดงบังพิสัยนวการนุสรณ์ สพม.26
ปริมาณทางกายภาพและหน่วย
คานาหน้าหน่วย แสดง ดังตารางที่ 2
คานาหน้าหน่วย ชื่อภาษาไทย สัญลักษณ์ย่อ ตัวคูณที่เทียบเท่า
kilo กิโล k 103
mega เมกะ M 106
giga จิกะ G 109
tera เทระ T 1012
ครูสมพร เหล่าทองสาร โรงเรียนดงบังพิสัยนวการนุสรณ์ สพม.26
ปริมาณทางกายภาพและหน่วย
หมายเหตุ
SI เป็นตัวย่อของ Le système international d’Unités
ซึ่งเป็นภาษาฝรั่งเศส
ครูสมพร เหล่าทองสาร โรงเรียนดงบังพิสัยนวการนุสรณ์ สพม.26

More Related Content

Viewers also liked

บทที่ 1 หน่วยวัดและปริมาณทางฟิสิกส์
บทที่ 1 หน่วยวัดและปริมาณทางฟิสิกส์บทที่ 1 หน่วยวัดและปริมาณทางฟิสิกส์
บทที่ 1 หน่วยวัดและปริมาณทางฟิสิกส์
Thepsatri Rajabhat University
 
การเคลื่อนแนวเส้นตรง
การเคลื่อนแนวเส้นตรงการเคลื่อนแนวเส้นตรง
การเคลื่อนแนวเส้นตรงthanakit553
 
เฉลยโค้วต้ามช คณิต2 ปี2553
เฉลยโค้วต้ามช คณิต2 ปี2553เฉลยโค้วต้ามช คณิต2 ปี2553
เฉลยโค้วต้ามช คณิต2 ปี2553171646167
 
คลื่นกล
คลื่นกลคลื่นกล
คลื่นกลthanakit553
 
แบบฝึกหัดแรงและการเคลื่อนที่
แบบฝึกหัดแรงและการเคลื่อนที่แบบฝึกหัดแรงและการเคลื่อนที่
แบบฝึกหัดแรงและการเคลื่อนที่nik2529
 
บทที่ 3 มวล แรงและกฏการเคลื่อนที่
บทที่ 3 มวล แรงและกฏการเคลื่อนที่บทที่ 3 มวล แรงและกฏการเคลื่อนที่
บทที่ 3 มวล แรงและกฏการเคลื่อนที่thanakit553
 
ใบงานที่ 1 mind map
ใบงานที่ 1 mind mapใบงานที่ 1 mind map
ใบงานที่ 1 mind mapkrupornpana55
 
บทที่ 2การเคลื่อนที่
บทที่ 2การเคลื่อนที่ บทที่ 2การเคลื่อนที่
บทที่ 2การเคลื่อนที่ thanakit553
 
ข้อสอบพร้อมเฉลยฟิสิกส์
ข้อสอบพร้อมเฉลยฟิสิกส์ข้อสอบพร้อมเฉลยฟิสิกส์
ข้อสอบพร้อมเฉลยฟิสิกส์Niraporn Pousiri
 

Viewers also liked (11)

การใช้งานเวอร์เนียร์คาร์ลิปเปอร์
การใช้งานเวอร์เนียร์คาร์ลิปเปอร์การใช้งานเวอร์เนียร์คาร์ลิปเปอร์
การใช้งานเวอร์เนียร์คาร์ลิปเปอร์
 
บทที่ 1 หน่วยวัดและปริมาณทางฟิสิกส์
บทที่ 1 หน่วยวัดและปริมาณทางฟิสิกส์บทที่ 1 หน่วยวัดและปริมาณทางฟิสิกส์
บทที่ 1 หน่วยวัดและปริมาณทางฟิสิกส์
 
การเคลื่อนแนวเส้นตรง
การเคลื่อนแนวเส้นตรงการเคลื่อนแนวเส้นตรง
การเคลื่อนแนวเส้นตรง
 
เฉลยโค้วต้ามช คณิต2 ปี2553
เฉลยโค้วต้ามช คณิต2 ปี2553เฉลยโค้วต้ามช คณิต2 ปี2553
เฉลยโค้วต้ามช คณิต2 ปี2553
 
คลื่นกล
คลื่นกลคลื่นกล
คลื่นกล
 
แบบฝึกหัดแรงและการเคลื่อนที่
แบบฝึกหัดแรงและการเคลื่อนที่แบบฝึกหัดแรงและการเคลื่อนที่
แบบฝึกหัดแรงและการเคลื่อนที่
 
บทที่ 3 มวล แรงและกฏการเคลื่อนที่
บทที่ 3 มวล แรงและกฏการเคลื่อนที่บทที่ 3 มวล แรงและกฏการเคลื่อนที่
บทที่ 3 มวล แรงและกฏการเคลื่อนที่
 
ใบงานที่ 1 mind map
ใบงานที่ 1 mind mapใบงานที่ 1 mind map
ใบงานที่ 1 mind map
 
บทที่ 2การเคลื่อนที่
บทที่ 2การเคลื่อนที่ บทที่ 2การเคลื่อนที่
บทที่ 2การเคลื่อนที่
 
ข้อสอบพร้อมเฉลยฟิสิกส์
ข้อสอบพร้อมเฉลยฟิสิกส์ข้อสอบพร้อมเฉลยฟิสิกส์
ข้อสอบพร้อมเฉลยฟิสิกส์
 
บทนำ
บทนำบทนำ
บทนำ
 

More from Somporn Laothongsarn

คู่มือการเข้าใช้งานบทเรียนออนไลน์โดยใช้เทคโนโลยีสื่อสังคม เรื่องไฟฟ้าสถิต 3
คู่มือการเข้าใช้งานบทเรียนออนไลน์โดยใช้เทคโนโลยีสื่อสังคม เรื่องไฟฟ้าสถิต 3คู่มือการเข้าใช้งานบทเรียนออนไลน์โดยใช้เทคโนโลยีสื่อสังคม เรื่องไฟฟ้าสถิต 3
คู่มือการเข้าใช้งานบทเรียนออนไลน์โดยใช้เทคโนโลยีสื่อสังคม เรื่องไฟฟ้าสถิต 3Somporn Laothongsarn
 
เรื่อง โพลาไรเซชันของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
เรื่อง  โพลาไรเซชันของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าเรื่อง  โพลาไรเซชันของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
เรื่อง โพลาไรเซชันของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าSomporn Laothongsarn
 
เรื่อง รังสีเอ็กซ์
เรื่อง  รังสีเอ็กซ์เรื่อง  รังสีเอ็กซ์
เรื่อง รังสีเอ็กซ์Somporn Laothongsarn
 
เรื่อง รังสีอัลตราไวโอเลต
เรื่อง  รังสีอัลตราไวโอเลตเรื่อง  รังสีอัลตราไวโอเลต
เรื่อง รังสีอัลตราไวโอเลตSomporn Laothongsarn
 
เรื่อง รังสีอินฟราเรด
เรื่อง  รังสีอินฟราเรดเรื่อง  รังสีอินฟราเรด
เรื่อง รังสีอินฟราเรดSomporn Laothongsarn
 
เรื่อง คลื่นไมโครเวฟ
เรื่อง  คลื่นไมโครเวฟเรื่อง  คลื่นไมโครเวฟ
เรื่อง คลื่นไมโครเวฟSomporn Laothongsarn
 
เรื่อง คลื่นโทรทัศน์
เรื่อง  คลื่นโทรทัศน์เรื่อง  คลื่นโทรทัศน์
เรื่อง คลื่นโทรทัศน์Somporn Laothongsarn
 
เรื่อง คลื่นวิทยุ
เรื่อง  คลื่นวิทยุเรื่อง  คลื่นวิทยุ
เรื่อง คลื่นวิทยุSomporn Laothongsarn
 

More from Somporn Laothongsarn (20)

คู่มือการเข้าใช้งานบทเรียนออนไลน์โดยใช้เทคโนโลยีสื่อสังคม เรื่องไฟฟ้าสถิต 3
คู่มือการเข้าใช้งานบทเรียนออนไลน์โดยใช้เทคโนโลยีสื่อสังคม เรื่องไฟฟ้าสถิต 3คู่มือการเข้าใช้งานบทเรียนออนไลน์โดยใช้เทคโนโลยีสื่อสังคม เรื่องไฟฟ้าสถิต 3
คู่มือการเข้าใช้งานบทเรียนออนไลน์โดยใช้เทคโนโลยีสื่อสังคม เรื่องไฟฟ้าสถิต 3
 
ภาคผนวก
ภาคผนวกภาคผนวก
ภาคผนวก
 
บรรณานุกรม
บรรณานุกรมบรรณานุกรม
บรรณานุกรม
 
บทที่ 5
บทที่ 5บทที่ 5
บทที่ 5
 
บทที่ 4
บทที่ 4บทที่ 4
บทที่ 4
 
บทที่ 3
บทที่ 3บทที่ 3
บทที่ 3
 
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
สารบัญ
สารบัญสารบัญ
สารบัญ
 
ปก
ปกปก
ปก
 
บทคัดย่อ
บทคัดย่อบทคัดย่อ
บทคัดย่อ
 
คำนำ
คำนำคำนำ
คำนำ
 
เรื่อง โพลาไรเซชันของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
เรื่อง  โพลาไรเซชันของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าเรื่อง  โพลาไรเซชันของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
เรื่อง โพลาไรเซชันของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
 
เรื่อง รังสีเอ็กซ์
เรื่อง  รังสีเอ็กซ์เรื่อง  รังสีเอ็กซ์
เรื่อง รังสีเอ็กซ์
 
เรื่อง รังสีอัลตราไวโอเลต
เรื่อง  รังสีอัลตราไวโอเลตเรื่อง  รังสีอัลตราไวโอเลต
เรื่อง รังสีอัลตราไวโอเลต
 
เรื่อง แสง
เรื่อง  แสงเรื่อง  แสง
เรื่อง แสง
 
เรื่อง รังสีอินฟราเรด
เรื่อง  รังสีอินฟราเรดเรื่อง  รังสีอินฟราเรด
เรื่อง รังสีอินฟราเรด
 
เรื่อง คลื่นไมโครเวฟ
เรื่อง  คลื่นไมโครเวฟเรื่อง  คลื่นไมโครเวฟ
เรื่อง คลื่นไมโครเวฟ
 
เรื่อง คลื่นโทรทัศน์
เรื่อง  คลื่นโทรทัศน์เรื่อง  คลื่นโทรทัศน์
เรื่อง คลื่นโทรทัศน์
 
เรื่อง คลื่นวิทยุ
เรื่อง  คลื่นวิทยุเรื่อง  คลื่นวิทยุ
เรื่อง คลื่นวิทยุ
 

Physical quantity and units