SlideShare a Scribd company logo
กลุ่มอาการฉุกเฉินต้องช่วยเหลือ
กลุ่มอาการฉุกเฉินต้องช่วยเหลือ
เบื้องต้นและส่งต่อทันที
เบื้องต้นและส่งต่อทันที
ธนพร วรรณกูล
ธนพร วรรณกูล RN., M.Sc., N.P
RN., M.Sc., N.P
(primary medical care)
(primary medical care)
การจาแนกผู้ป
่ วย
การจาแนกผู้ป
่ วย

ซักประวัติ ตรวจร่างกาย
ซักประวัติ ตรวจร่างกาย

กลุ่ม
กลุ่ม 1
1 อาการฉุกเฉิน
อาการฉุกเฉิน :
: ปฐมพยาบาลเบื้องต้นและส่งต่อทันที
ปฐมพยาบาลเบื้องต้นและส่งต่อทันที

อาการไม่ฉุกเฉิน วินิจฉัยแยกกลุ่ม กลุ่ม
อาการไม่ฉุกเฉิน วินิจฉัยแยกกลุ่ม กลุ่ม 2
2 หรือกลุ่ม
หรือกลุ่ม 3
3

 กลุ่ม
กลุ่ม 2
2 ต้องการวินิจฉัยเพิ่มเติม
ต้องการวินิจฉัยเพิ่มเติม :
: ให้บรรเทาอาการและส่ง
ให้บรรเทาอาการและส่ง
ปรึกษาแพทย์เพื่อวินิจฉัยเพิ่มเติมใน
ปรึกษาแพทย์เพื่อวินิจฉัยเพิ่มเติมใน 1
1-
-7
7 วัน
วัน

กลุ่ม
กลุ่ม 3
3 สามารถวินิจฉัยและรักษาโรคเบื้องต้น
สามารถวินิจฉัยและรักษาโรคเบื้องต้น :
: ให้ยาบรรเทา
ให้ยาบรรเทา
แนะนาการดูแลตนเอง ติดตามผล หากไม่ดีขึ้นส่งปรึกษา
แนะนาการดูแลตนเอง ติดตามผล หากไม่ดีขึ้นส่งปรึกษา
แพทย์
แพทย์
กลุ่ม
กลุ่ม 2
2

กลุ่มอาการที่ต้องได้รับการวินิจฉัยเพิ่มเติม
กลุ่มอาการที่ต้องได้รับการวินิจฉัยเพิ่มเติม

มีไข้เกิน
มีไข้เกิน 7
7 วัน
วัน,
, ไข้หนาวสั่น
ไข้หนาวสั่น,
, ดีซ่าน
ดีซ่าน,
, บวม
บวม,
, ท้องมาน
ท้องมาน,
, น้าหนักลด
น้าหนักลด
หรือเพิ่มอย่างรวดเร็ว
หรือเพิ่มอย่างรวดเร็ว,
, ตามัว เห็นภาพซ้อน
ตามัว เห็นภาพซ้อน,
, หูอื้อ หูตึง
หูอื้อ หูตึง,
, กลืน
กลืน
ลาบาก
ลาบาก,
, อาเจียนเป็ นเลือด
อาเจียนเป็ นเลือด,
, ไอเป็ นเลือด
ไอเป็ นเลือด,
, ป
ั สสาวะ อุจจาระเป็ น
ป
ั สสาวะ อุจจาระเป็ น
เลือด
เลือด,
, เลือดออกจากช่องคลอด ประจาเดือนมามากผิดปกติ
เลือดออกจากช่องคลอด ประจาเดือนมามากผิดปกติ,
,
คอพอก
คอพอก,
, มีก้อนในที่ต่างๆ
มีก้อนในที่ต่างๆ,
, มีจุดแดง จ้าเขียว
มีจุดแดง จ้าเขียว,
, แขนขาเกร็ง
แขนขาเกร็ง
อ่อนแรง
อ่อนแรง,
, มือสั่น
มือสั่น,
, กล้ามเนื้ออ่อนแรง
กล้ามเนื้ออ่อนแรง,
, หนังตาตก
หนังตาตก,
, ข้อมือ
ข้อมือ/
/ข้อ
ข้อ
เท้าตก
เท้าตก,
, ปากเบี้ยว
ปากเบี้ยว,
, ข้ออักเสบ
ข้ออักเสบ,
, หนองไหลจากท่อป
ั สสาวะ
หนองไหลจากท่อป
ั สสาวะ,
, หูด
หูด
หงอนไก่
หงอนไก่,
, ปวดศีรษะรุนแรง
ปวดศีรษะรุนแรง,
, เวียนศีรษะ
เวียนศีรษะ,
, ไอเกิน
ไอเกิน 14
14 วัน
วัน
กลุ่ม
กลุ่ม 3
3

กลุ่มอาการที่ต้องวินิจฉัยแยกโรคและให้การรักษาเบื้องต้น
กลุ่มอาการที่ต้องวินิจฉัยแยกโรคและให้การรักษาเบื้องต้น

อาการระบบทางเดินหายใจ
อาการระบบทางเดินหายใจ :
: ไข้หวัด คัดจมูก น้ามูกไหล ไอ
ไข้หวัด คัดจมูก น้ามูกไหล ไอ
หอบ เสียงแหบ
หอบ เสียงแหบ

อาการทางตา หู คอ จมูก
อาการทางตา หู คอ จมูก :
: ตามัว คันตา ตาแดง ตาแฉะ
ตามัว คันตา ตาแดง ตาแฉะ
ปวดตา เคืองตา เจ็บคอ เจ็บหู หูอื้อ หูตึง
ปวดตา เคืองตา เจ็บคอ เจ็บหู หูอื้อ หูตึง

อาการระบบทางเดินอาหาร
อาการระบบทางเดินอาหาร :
: ปวดฟ
ั น มีรอยโรคในช่องปาก
ปวดฟ
ั น มีรอยโรคในช่องปาก
ปวดท้อง เบื่ออาหาร ท้องเดิน ท้องผูก คลื่นไส้ อาเจียน
ปวดท้อง เบื่ออาหาร ท้องเดิน ท้องผูก คลื่นไส้ อาเจียน

อาการทางโลหิตวิทยา
อาการทางโลหิตวิทยา/
/ ระบบหัวใจและหลอดเลือด
ระบบหัวใจและหลอดเลือด :
: จุดแดง จ้า
จุดแดง จ้า
เขียว เจ็บหน้าอก ใจสั่น ซีด
เขียว เจ็บหน้าอก ใจสั่น ซีด(
(ที่ไม่มีข้อบ่งชี้โรคร้ายแรง
ที่ไม่มีข้อบ่งชี้โรคร้ายแรง)
)

ระบบสืบพันธุ์และทางเดินป
ั สสาวะ
ระบบสืบพันธุ์และทางเดินป
ั สสาวะ :
: ป
ั สสาวะบ่อย ขัดเบา ตกขาว
ป
ั สสาวะบ่อย ขัดเบา ตกขาว
ประจาเดือนไม่มา
ประจาเดือนไม่มา

อาการทางผิวหนัง
อาการทางผิวหนัง :
: ผื่น ตุ่ม คัน
ผื่น ตุ่ม คัน

ระบบประสาท กล้ามเนื้อ กระดูก ข้อ
ระบบประสาท กล้ามเนื้อ กระดูก ข้อ :
: ชา ชัก มือเท้าเกร็ง
ชา ชัก มือเท้าเกร็ง
ปวดศีรษะ เวียนศีรษะ ปวดข้อ ปวดเมื่อยกล้ามเนื้อ
ปวดศีรษะ เวียนศีรษะ ปวดข้อ ปวดเมื่อยกล้ามเนื้อ/
/ข้อ ปวด
ข้อ ปวด
หลัง
หลัง

ระบบอื่นๆ
ระบบอื่นๆ ;
; ไข้ อ่อนเพลีย บวม
ไข้ อ่อนเพลีย บวม (
(ที่ไม่มีข้อบ่งชี้โรคร้ายแรง
ที่ไม่มีข้อบ่งชี้โรคร้ายแรง)
)
กลุ่ม
กลุ่ม 1
1

กลุ่มอาการฉุกเฉินต้องช่วยเหลือ
กลุ่มอาการฉุกเฉินต้องช่วยเหลือ
เบื้องต้นและ ส่งต่อทันที
เบื้องต้นและ ส่งต่อทันที 38
38 อาการ
อาการ
กลุ่มอาการฉุกเฉินต้องช่วยเหลือเบื้องต้นและส่งต่อทันที
กลุ่มอาการฉุกเฉินต้องช่วยเหลือเบื้องต้นและส่งต่อทันที
แนวทางปฏิบัติในการรักษาพยาบาลเบื้องต้น
- การหยุดหายใจและระบบไหลเวียนโลหิตไม่ทางาน
(cardiopulmonary arrest)
sign&symptom
ไม่รู้สึกตัว หยุดหายใจ คลาpulse ไม่ได้
การรักษาเบื้องต้น
- ประเมิน ABCs A:airway นอนราบศีรษะต่าเล็กน้อย
ตะแคงหน้า ล้วงสิ่งของในปากออก
B:breathing จัดท่าให้ทางเดินหายใจโล่ง
 คลายเสื้อผ้าให้หลวม ห่มผ้าให้ความอบอุ่น
 อาจช่วยหายใจ โดยใช้อุปกรณ์ต่างๆ เพื่อป
้ องกันการสัมผัสกับปาก
ผู้ป
่ วยโดยตรง เช่น pocket mask, face shield ถ้าไม่มีให้ใช้
ถุงพลาสติกเจาะรูแล้ววางที่ปากผู้ป
่ วย
หากพบว่าระบบไหลเวียนไม่ทางาน ต้องนวดหัวใจ(C:circulation)
โดยเป
่ าลม 2 ครั้งสลับนวดหัวใจ 30 ครั้ง
ให้ isotonic solution IV
ให้ Adrenaline 1:1000 3-5 ml. IV ตาม standing order
ส่งต่อ
การหมดสติ
การหมดสติ
sign&symptom: BP สูงหรือต่ากว่าปกติ หายใจ
ผิดปกติ ไข้สูง บาดแผลที่ศีรษะ อาการทางระบบประสาท
ร่วมด้วยเช่นชักเกร็ง ขนาดรูม่านตาเปลี่ยน
ประเมินความรู้สึกตัว ABCs
ให้ Oxygen , IV
จัดให้นอนตะแคงกึ่งคว่า ไม่หนุนหมอน จับศีรษะและคอเชิด
ขึ้นเล็กน้อย ป
้ องกันลิ้นตกอุดทางเดินหายใจ
ห่มผ้า NPO
กรณีหมดสติร่วมกับน้าตาลในเลือดต่า ควรให้ 50%
glucose IV
กรณีหมดสติจากการรับประทานสารพิษ มาภายใน 1ชม.
ให้ใส่สายสวนและล้างกระเพาะอาหาร (on NG tube c
lavage) ยกเว้นรับประทานกรดหรือด่าง
ส่งต่อ
ภาวะช็อค
ภาวะช็อค
sign&symptom: ระบบไหลเวียนล้มเหลว เช่น BP<90/60
pulse pressure<20 mmHg กระสับกระส่าย ชีพจรเบาเร็ว
เหงื่อออก ตัวเย็น อาเจียน ป
ั สสาวะออกน้อยหรือไม่ออก หายใจ
เร็ว ถี่ ไม่สม่าเสมอ หมดสติ อาจมีม่านตาไม่ค่อยตอบสนองต่อ
แสง
ประเมินความรู้สึกตัว ABCs
จัดให้นอนราบยกขาสูง ห่มผ้า NPOให้ Oxygen , IV
Retain F/C
แก้สาเหตุของการช็อค เช่นเสียเลือดจากแผล ทาการห้ามเลือด
ส่งต่อ
ชัก
ชัก

sign&symptom
sign&symptom :
: เกร็งกระตุก เหม่อลอย ตาค้าง น้าลายไหล
เกร็งกระตุก เหม่อลอย ตาค้าง น้าลายไหล
คลื่นไส้อาเจียน จาเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นไม่ได้ หมดสติในเวลาต่อมา
คลื่นไส้อาเจียน จาเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นไม่ได้ หมดสติในเวลาต่อมา

ประเมินความรู้สึกตัว
ประเมินความรู้สึกตัว ABCs
ABCs

ให้
ให้ Oxygen , IV
Oxygen , IV ไว้ฉีดยาเวลาชักซ้า
ไว้ฉีดยาเวลาชักซ้า

จัดให้นอนตะแคงกึ่งคว่า ไม่หนุนหมอน จับศีรษะและคอเชิดขึ้น
จัดให้นอนตะแคงกึ่งคว่า ไม่หนุนหมอน จับศีรษะและคอเชิดขึ้น
เล็กน้อย ป
้ องกันลิ้นตกอุดทางเดินหายใจ ให้อยู่ในสถานที่ปลอดภัย
เล็กน้อย ป
้ องกันลิ้นตกอุดทางเดินหายใจ ให้อยู่ในสถานที่ปลอดภัย
ป
้ องกันอุบัติเหตุ ยกไม้กั้นเตียง
ป
้ องกันอุบัติเหตุ ยกไม้กั้นเตียง

ลดไข้ถ้ามีไข้สูง
ลดไข้ถ้ามีไข้สูง

ส่งต่อ
ส่งต่อ
การแพ้อย่างรุนแรง(anaphylaxis)
sign&symptom : ผื่นคันไอจาม คัดจมูก น้ามูกไหล ใจสั่นเป็ น
ลม การรู้สึกตัวเปลี่ยนแปลง ช็อก เป็ นลม หมดสติ เสียชีวิต
ประเมินความรู้สึกตัว ABCs
ให้ Oxygen , IV
ให้ adrenaline 1:1000 ขนาด 0.3-0.5 ml. IM, IV
ให้ยาแก้แพ้ ถ้ามี bronchospasm ให้ยาพ่นขยายหลอดลม
ตาม standing order
ส่งต่อ
เป็ นลม หมดสติ
sign&symptom :ไม่รู้สึกตัว ชีพจรเบาเร็ว หายใจผิดปกติ
อาเจียน กระวนกระวาย หมดสติ แน่นหน้าอก หายใจหอบถี่แรง
เหงื่อออกมาก
ประเมินความรู้สึกตัว ABCs
ให้อยู่ในที่ร่ม อากาศถ่ายเท นอนราบไม่หนุนหมอน คลายเสื้อผ้า
ให้หลวม
ถ้ามีระบบหายใจและระบบไหลเวียนไม่ทางาน ให้ช่วยฟื้ นคืนชีพ
ถ้าภาวะน้าตาลผิดปกติ ให้การรักษาตามแนวทาง
ส่งต่อ
โรคหลอดเลือดสมอง
Sign&symptom : หมดสติ อ่อนแรงทั้งตัวหรือบางส่วน ชา
ครึ่งซีกหรือเฉพาะส่วน คอแข็ง ตามัวหรือมองไม่เห็น
ทันทีทันใด พูดไม่ชัด ตะกุกตะกัก ไม่เข้าใจคาพูด ปวดศีรษะ
เฉียบพลันและรุนแรงชนิดที่ไม่เคยเป็ นมาก่อน เดินลาบาก เป็ น
ลม
ประเมินความรู้สึกตัว ABCs
ถ้ามีระบบหายใจและระบบไหลเวียนไม่ทางาน ให้ช่วยฟื้ นคืนชีพ
ให้ oxygen, IV
NPO
ส่งต่อ
จมน้า
จมน้า
Sign&symptom : หมดสติ ชักเกร็ง ระบบไหลเวียนและ
ระบบหายใจหยุดทางาน ได้รับบาดเจ็บเช่นกะโหลกศีรษะ
แตก คอหัก มีบาดแผลตามร่างกาย หัวใจเต้นผิด
จังหวะ ความดันโลหิตลดลง ช็อก มีการสูดสาลัก
ประเมินความรู้สึกตัว ABCs ตรวจดูสิ่งแปลกปลอมที่
อุดกั้นทางเดินหายใจ
ถ้ามีระบบหายใจและระบบไหลเวียนไม่ทางาน ให้ช่วยฟื้ นคืน
ชีพ
ให้ oxygen, ให้ความอบอุ่นแก่ร่างกาย, ให้ IV ถ้าจมน้า
จืดให้ isotonic solution ถ้าจมน้าเค็มให้ hypotonic
sol.
ดูแลบาดแผลและอาการบาดเจ็บร่วม เช่นกระดูกสันหลัง
หัก บาดเจ็บที่ศีรษะ ให้ดูแลตาม protocal
ส่งต่อ
ตกเลือดรุนแรง
Sign&symptom :กระสับกระส่าย เหงื่อออก ตัวเย็น ซึม หน้า
มือ หมดสติ วิงเวียน ชัก ความดันโลหิตลดลง ป
ั สสาวะไม่
ออก ได้รับบาดเจ็บ มีบาดแผลตามร่างกาย
ประเมินสภาพผู้ป
่ วย ความรู้สึกตัว ระบบหายใจและระบบ
ไหลเวียนโลหิต
ให้ oxygen, ให้ IV
Retain F/C
ส่งต่อ
ไฟฟ
้ าช็อต
Sign&symptom : ไม่รู้สึกตัว ความรู้สึกตัวเปลี่ยนแปลง ระบบ
ไหลเวียนโลหิตผิดปกติ หัวใจเต้นผิดปกติ มีบาดแผลไหม้โดยเฉพาะ
บริเวณทางเข้าและทางออกของกระแสไฟฟ
้ า มีกระดูกหักหรือข้อ
เคลื่อน กระดูกสันหลังหัก ไตวายเฉียบพลัน
ประเมินความรู้สึกตัว ABCs
ถ้ามีระบบหายใจและระบบไหลเวียนไม่ทางาน ให้ช่วยฟื้ นคืนชีพ
ให้ oxygen, ให้ความอบอุ่นแก่ร่างกาย, ให้ IV
ดูแลบาดแผลและอาการบาดเจ็บร่วม เช่นกระดูกสันหลังหัก บาดเจ็บที่
ศีรษะ ให้ดูแลตาม protocal
ส่งต่อ
ฟ
้ าผ่า
Sign&symptom : ระบบไหลเวียนและระบบหายใจหยุดทางาน
กระสับกระส่าย ความรู้สึกตัวเปลี่ยนแปลง มีบาดแผลไหม้ตาม
ร่างกาย มีบาดแผล มีกระดูกหัก
ประเมินความรู้สึกตัว ABCs
ถ้ามีระบบหายใจและระบบไหลเวียนไม่ทางาน ให้ช่วยฟื้ นคืนชีพ
ให้ oxygen, ให้ IV
ดูแลบาดแผลและอาการบาดเจ็บร่วม เช่นกระดูกหัก ให้ดูแล
ตาม protocal
ส่งต่อ
ตกจากที่สูง
Sign&symptom : หมดสติ ความรู้สึกตัวเปลี่ยนแปลง การ
บาดเจ็บของศีรษะ กระดูกสันหลัง กระดูกแขนขา การบาดเจ็บ
ของทรวงอกและอวัยวะภายใน มีบาดแผลตามร่างกาย มี
เลือดออกมาก ความดันโลหิตลดลง
ประเมินความรู้สึกตัว ABCs
ถ้ามีระบบหายใจและระบบไหลเวียนไม่ทางาน ให้ช่วยฟื้ นคืนชีพ
ประเมินการบาดเจ็บและความรุนแรง และรักษาการบาดเจ็บ
เฉพาะแห่ง เช่นบาดเจ็บช่องท้อง ทรวงอก ตาม protocal
NPO
ส่งต่อ
กระดูกหัก
กระดูกหัก
Sign&symptom : กระดูกหักชนิดมีแผลเปิ ด แผล
สกปรก กระดูกหักที่มีการเสียเลือดมาก กระดูกหักที่มี
การทาลายเส้นเลือดแดงหรือเส้นประสาทกล้ามเนื้อ มี
การเคลื่อนไหวตาแหน่งที่บาดเจ็บลดลง บวมผิดรูป
หมดสติจากเสียเลือดมาก
ประเมินความรู้สึกตัว ABCs
ให้ oxygen, ให้ IV
ประเมินตาแหน่งที่มีการบาดเจ็บ ห้ามเลือดถ้ามี
เลือดออก ล้างแผลให้สะอาด
ประคบเย็นเพื่อลดบวมและปวด ให้ยาแก้ปวด จัดท่าให้
เหมาะสม
NPO กรณีที่มีแผลเปิ ด
ส่งต่อ
สิ่งแปลกปลอมติดคอ
Sign&symptom : สิ่งแปลกปลอมขนาดใหญ่ เช่นอาหารชิ้น
ใหญ่ติดทางเดินหายใจส่วนบน ทาให้หายใจลาบาก สาลัก
เขียวและหยุดหายใจ
ทา heimlich maneuver หรือ abdominalthrust ทันทีในที่
เกิดเหตุ โดยโอบหลังเอามือประสานกัน กดลงที่ท้องส่วนบน
ในเด็กเล็กอุ้มพาดตักแล้วตบหลัง หรืออุ้มโดยให้นอนคว่า ใช้
แขนและมือประคองให้ศีรษะต่าเล็กน้อย มืออีกข้างตบหลังเบาๆ
ถ้าไม่ออกให้จัดท่านอนราบ ดูแลภาวะฉุกเฉิน ABCs แล้วส่งต่อ
การบาดเจ็บที่ศีรษะ
Sign&symptom : หมดสติ ปลุกไม่ตื่น ซึมอาการปวดศีรษะ
ไม่ดีขึ้นหรือเป็ นมากขึ้น ชักเกร็ง อาเจียน ความรู้สึกตัวเปลี่ยน
แขนขาอ่อนแรง รูม่านตาผิดปกติ มีเลือดหรือน้าใสไหลออก
จากจมูก/หู มีบาดแผลหรือศีรษะแตก
ประเมินความรู้สึกตัว ABCs
ประเมินการบาดเจ็บที่คอ และที่อื่นๆ

ให้
ให้ oxygen,
oxygen, ให้
ให้ IV
IV

ดูแล
ดูแลบาดแผลและอาการบาดเจ็บร่วม ถ้ามีบาดเจ็บที่
บาดแผลและอาการบาดเจ็บร่วม ถ้ามีบาดเจ็บที่
กระดูกคอหรือไม่แน่ใจ ควรใส่
กระดูกคอหรือไม่แน่ใจ ควรใส่ cervical collar
cervical collar

Retain F/C
Retain F/C ถ้าสามารถทาได้รวดเร็ว
ถ้าสามารถทาได้รวดเร็ว

ส่งต่อ
ส่งต่อ
ถ้าไม่มีอาการดังกล่าว
ถ้าไม่มีอาการดังกล่าว(
(หน้าที่แล้ว
หน้าที่แล้ว)
)
Sign&symptom : กะโหลกศีรษะแตก รู้สึกตัวดี glasgow coma
score เต็ม 15 มีบาดแผลไม่รุนแรง ไม่มีประวัติหมดสติขณะได้รับ
บาดเจ็บ
ประเมินและดูแลบาดแผล
ให้ยาแก้ปวด
สังเกตอาการทางระบบประสาทอย่างใกล้ชิดใน 24 ชม.แรก หรือให้
คาแนะนาผู้ป
่ วยและญาติให้สังเกตอาการที่บ้าน
ถ้ามีอาการผิดปกติหรือมีวัตถุเสียบคาอยู่ ห้ามดึงออก ให้ NPO
แล้วส่งต่อ
การบาดเจ็บทรวงอก
Sign&symptom : หมดสติ ความรู้สึกตัวเปลี่ยน ช็อก แน่น
หน้าอก หายใจไม่สะดวก กระสับกระส่าย เสียงหายใจเข้า 2
ข้างไม่เท่ากัน มีเสียงลมรั่วเข้าออกบริเวณหน้าอก เสียเลือด
มากจากแผล การเคลื่อนไหวของหน้าอกผิดปกติ
ประเมินความรู้สึกตัว ABCs
ให้ oxygen, ให้ IV
ห้ามเลือดถ้ามีเลือดออก ถ้ามีวัตถุเสียบอยู่ ห้ามดึงออก
ถ้ามีopen pneumothorax ให้ปิ ดบาดแผลที่ผนังช่อง
อกด้วย sterile occlusive dressing
จัดให้นอนศีรษะต่า เอียงศีรษะไปข้างใดข้างหนึ่ง เพื่อ
ป
้ องกันสิ่งแปลกปลอม เช่นเลือด น้าลาย เสมหะ อุด
กั้นทางเดินหายใจและป
้ องกันการสูดสาลัก
NPO
ส่งต่อ
การบาดเจ็บช่องท้อง

Sign&symptom
Sign&symptom :
: มีเลือดออกในช่องท้อง ได้รับบาดเจ็บอวัยวะ
มีเลือดออกในช่องท้อง ได้รับบาดเจ็บอวัยวะ
ภายใน เช่นมีการฉีกขาดของลาไส้ หลอดเลือด มีการแตกของ
ภายใน เช่นมีการฉีกขาดของลาไส้ หลอดเลือด มีการแตกของ
อวัยวะ เช่น ตับ ม้าม ไต มีอาการเกร็ง กดเจ็บที่หน้าท้อง
อวัยวะ เช่น ตับ ม้าม ไต มีอาการเกร็ง กดเจ็บที่หน้าท้อง
(
(guarding)
guarding) ปวดท้องไม่ดีขึ้น
ปวดท้องไม่ดีขึ้น N/V
N/V อาเจียน
อาเจียน/
/ป
ั สสาวะเป็ นเลือด
ป
ั สสาวะเป็ นเลือด
หมดสติ ช็อก
หมดสติ ช็อก

ประเมินความรู้สึกตัว
ประเมินความรู้สึกตัว ABCs
ABCs ให้
ให้ oxygen,
oxygen, ให้
ให้ IV
IV

ประเมินตาแหน่งที่มีการบาดเจ็บ ปิ ดบาดแผลด้วย
ประเมินตาแหน่งที่มีการบาดเจ็บ ปิ ดบาดแผลด้วยก๊อซ
ก๊อซชุบ
ชุบNSS
NSS
อย่าดันอวัยวะกลับเข้าไปในช่องท้อง ถ้ามีของมีคมเช่นมีดเสียบคา
อย่าดันอวัยวะกลับเข้าไปในช่องท้อง ถ้ามีของมีคมเช่นมีดเสียบคา
อยู่ อย่าดึงออก
อยู่ อย่าดึงออก

NPO
NPO ส่งต่อ
ส่งต่อ
การบาดเจ็บที่สันหลัง
Sign&symptom : หมดสติ ชักเกร็ง ระบบไหลเวียนและระบบหายใจ
หยุดทางาน แขนขาขาหรืออ่อนแรง เป็ นอัมพฤกษ์ อัมพาต
สูญเสียความรู้สึกของลาตัวและแขนขา มีภาวะเกร็งหรือกระตุก
ความดันโลหิตลดต่าลง สูญเสียการควบคุมระบบประสาทอัตโนมัติ
เช่นไม่สามารถกลั้นอุจจาระ ป
ั สสาวะได้
ประเมินความรู้สึกตัว ABCs
ประเมินที่มีตาแหน่งที่มีการบาดเจ็บต่อไขสันหลัง อาการชา อ่อนแรง
และการทางานของระบบประสาทอัตโนมัติ
ให้การพยาบาลเบื้องต้น
ส่งต่ออย่างระมัดระวัง ป
้ องกันการบาดเจ็บเพิ่มที่เกิดจากการขนย้าย
หลักการเคลื่อนย้ายผู้ป
่ วยบาดเจ็บที่สันหลัง
ให้กระดูกสันหลังอยู่ในแนวตรง
เคลื่อนย้ายพร้อมกันทั้งตัว ห้ามหามหัวหามท้าย ให้นอนบน
เปลแข็งหรือไม้กระดานแข็ง ศีรษะอยู่นิ่ง วางหมอนทรายขนาบ
ทั้งสองข้าง ถ้าไม่แน่ใจว่าผู้ป
่ วยมีการบาดเจ็บของกระดูกสัน
หลังบริเวณคอด้วยหรือไม่ ควรใส่ collar หรือใช้กระดาษแข็ง/
กระดาษหนังสือพิมพ์พันคอแทน ถ้าไม่มีกระดาษแข็งให้นอน
คว่า
การแบ่งความรุนแรงของแผลไหม้
ขนาดแผล 1 ฝ่ ามือของผู้ป
่ วย = 1% ของ พท.ผิวหนังของ
ผู้ป
่ วย
ความลึกของบาดแผล
แผลไหม้ระดับหนึ่ง (1st degree burn) ลึกถึงชั้นหนังกาพร้า
ผิวหนังมีสีแดง บวมเล็กน้อย ปวดแสบปวดร้อน ไม่มีตุ่มน้า
พองใส
ระดับสอง มีการไหม้ของหนังกาพร้าและหนังแท้บางส่วน มีตุ่ม
น้าพองใส แดง เจ็บ น้าเหลืองซึม
ระดับสาม ถึงชั้นไขมันใต้ผิวหนัง ผิวหนังแห้งแข็ง ไม่ยืดหยุ่น
อาจมีสีขาวใสเพราะเนื้อเยื่อตายหมด ไม่รู้สึกเจ็บปวด
แผลไหม้เล็กน้อย
ดูแลบาดแผล
ให้ยาแก้ปวด
อาจให้ antibiotic เพื่อป
้ องกันการติดเชื้อ
ให้ TT
นัดตรวจซ้าเพื่อประเมินติดตามการรักษา
แผลไหม้
Sign&symptom : แผลไหม้ระดับ 2 ตั้งแต่ 15%ของ พท.,
ระดับ 2 หรือ 3 บริเวณหน้า มือ เท้า อวัยวะเพศ ข้อต่อ, ระดับ
3 ที่มากกว่า 5% ของ พท., แผลไหม้ที่เกี่ยวข้องกับทางเดิน
หายใจ, จากกระแสไฟฟ
้ าแรงสูง, จากสารเคมี, ในผู้ป
่ วยที่ช่วย
ตัวเองไม่ได้เช่นทารก ผู้สูงอายุ ผู้เมาสุรา, ผู้ที่มีโรคประจาตัว
หรือภูมิคุ้มกันบกพร่อง, มีการบาดเจ็บอื่นร่วม, ระดับ 2 และ 3
รวมกันมากกว่า 10% ในผู้ที่อายุ < 10 ปี หรืออายุมากกว่า
50 ปี
ประเมินความรู้สึกตัว ABCs
ประเมินการบาดเจ็บร่วมเช่น กระดูกหัก บาดเจ็บที่ศีรษะ
ถอดเครื่องประดับ นาฬิกา ป
้ องกันการบวมของเนื้อเยื่อ/การกด
รัด
ถ้าท้องอืด ใส่ NG tube
แผลไหม้ >= 20% ให้ IV retain F/C+ไหม้บริเวณอวัยวะเพศ
ใช้สบู่และ NSS ทาความสะอาดแผล เอาสิ่งแปลกปลอมหรือ
เนื้อเยื่อที่สกปรกออก อาจต้องโกนขนเพื่อความสะดวกในการทา
ความสะอาด
ใช้ผ้าชุบน้าเย็นประคบ เพื่อลดการทาลายเนื้อเยื่อ ยกเว้นในผู้ที่
แผลไหม้ระดับ 2 ที่ > 10%
ส่งต่อ
ภาวะฉุกเฉินทางตา
จากอุบัติเหตุ ถูกทาร้าย แมลง/สิ่งแปลกปลอมเข้าตา
สารเคมีเข้าตา
เปลือกตาฉีก ; ทาแผล ส่งต่อเพื่อเย็บ
ตาบวม เขียวช้า มีเลือดออก ; ประคบเย็น ส่งต่อ
มีเลือดออกในตา ตามัว ตาแดง ปวดตา ใช้ไฟฉายส่องพบ
เลือดในตาดา; absolute bed rest ศีรษะสูง 30-40º ปิ ด
ตาทั้ง 2 ข้าง ให้ยาแก้ปวด ส่งต่อ
สิ่งแปลกปลอมเข้าตา
ถ้าเป็ นโลหะ ติดแน่น เคืองตา ปวดตา น้าตาไหล; หยอดยาชา
(ถ้าทาได้) ให้ยาแก้ปวด ส่งต่อทันที
ถ้ามองเห็นสิ่งแปลกปลอมชัดเจน และมีอาการเพียงระคายเคือง
; ล้างตา/เขี่ยออก ป
้ ายยา นัด F/U 24 ชม. หากพบ
บาดแผลบนแก้วตาให้ส่งต่อ
ถ้าเป็ นสารเคมี แสบตา ปวดตามาก ; ล้างตาด้วยNSS นาน
1/2 ชม. อย่างน้อย 2 ลิตร ส่งต่อ
เลือดออกใต้ตาขาว เห็นเลือดใต้ตาขาวหลังขยี้ตาแรงๆ หรือไอ
จามอย่างแรง แต่มองเห็นชัดดี ; อาการจะหายเองใน 2 wk.
ถ้ามีอาการอื่นร่วมเช่นตามัว ส่งต่อ
ตาแดงรอบๆ กระจกตา ปวดศีรษะ ปวดกระบอกตามาก ตา
มองเห็นไม่ชัด ; ปิ ดตา ส่งต่อทันที
เยื่อบุตาฉีกขาด ตามองเห็นชัดแก้วตาปกติ ; หยอดตาปฏิชีวนะ
หรือป
้ ายยาปฏิชีวนะแล้วส่งต่อ
แก้วตาอักเสบจากแสงยูวี ; หยอดยาชา ป
้ ายด้วย eye
ointment ปิ ดตาแล้วส่งต่อ
แก้วตาทะลุ มีเนื้อเยื่อในช่องลูกตาหลุดออกมา ; ห้ามหยอดตา
ห้ามป
้ ายตา ห้ามปิ ดตา NPO ใช้ที่ครอบตาหรือแว่นยา ให้TT
ส่งต่อ
ภาวะฉุกเฉินทางหู
จากอุบัติเหตุ ถูกทาร้าย แมลง/สิ่งแปลกปลอมเข้าหู หูอื้อ
จากความดันบรรยากาศเปลี่ยนเมื่อขึ้นที่สูงหรือดาน้า
แผลฉีกขาดที่ใบหู ; ทาแผล ให้ยาแก้ปวด ส่งต่อเพื่อเย็บแผล
มีเลือดหรือ CSF ไหลออกจากหู ; absolute bed rest ส่งต่อ
สิ่งแปลกปลอมเข้าหู
วัตถุต่างๆ เข้าหู ปวดหูมาก ; ถ้าอยู่ตื้น คีบออก ถ้าคีบไม่
ออกหรือมองไม่เห็นให้ส่งต่อ
ถ้าน้าเข้าหู จะหูอื้อทันที ; ใช้น้าหยอด ให้ไปรวมกับน้าที่ค้าง
แล้วตะแคงหน้าเทออก เช็ดช่องหูให้แห้ง
แมลงเข้าหู จะปวดหูมาก ถ้ายังไม่ตายจะมีเสียงผิดปกติใน
หู ; ส่องไฟถ้ายังมีชีวิต อาจเดินออกมาเอง ถ้าตายแล้วอยู่
ตื้นให้คีบออก ถ้ายังไม่ตายแต่มองไม่เห็น และเยื่อแก้วหูไม่
ทะลุ ให้หยอดหูด้วยน้ามัน ถ้าตายแต่ไม่ออก ให้ส่งต่อเพื่อ
ล้างหู
เยื่อแก้วหูฉีกขาดจากการแคะหู มีหูอื้อ ปวดหู ; ห้าม
หยอด แคะหรือล้างหู ให้ยาแก้ปวด F/U ต่อเนื่อง
ปกติเยื่อแก้วหูจะติดเองใน 3-7 วัน ถ้ามี discharge
ไหลให้ส่งต่อ
หูอื้อ ปวดหูจากความดันบรรยากาศเปลี่ยน ; แนะนา
กลืน ให้ยาแก้ปวดและยา decongestant( เช่น
pseudoephedrine) ถ้าไม่ดีขึ้น ส่งต่อ
ภาวะฉุกเฉินทางจมูก
เลือดกาเดาออก สิ่งแปลกปลอมเข้าจมูก
เลือดกาเดาไหลร่วมกับมีโรคประจาตัวเช่น HT CAจมูก โรคเลือด
; ให้นั่งก้มศีรษะมาด้านหน้าเล็กน้อย บีบจมูกแน่นๆ 5-8 นาที
หายใจทางปากแทน ประคบเย็น ส่งต่อ
เลือดกาเดาออกจากบริเวณ anterior septum มักเกิดจากการ
แคะ หรืออากาศแห้งๆ ; ปฏิบัติเหมือนด้านบน ถ้าเลือดยังไม่หยุด
ให้ใช้ลาสีชุบ adrenaline 1:1000 อุดไว้ 10 นาที (ถ้าแน่ใจว่าไม่
มี HT)
สิ่งแปลกปลอมเข้าจมูก มักพบในเด็ก ; ถ้ามองเห็น
ให้คีบออก ถ้ามองไม่เห็นหรือเด็กดิ้นมาก ส่งต่อ
ได้รับสารพิษ / ยาเกินขนาด
Sign&symptom : หมดสติ N/V ปวดท้อง อุจจาระ-ป
ั สสาวะ
ราด มีการเปลี่ยนแปลงของระบบประสาทเช่นขนาดรูม่านตา ซึม
กระสับกระส่าย ความดันโลหิตลดลง ช็อก
ประเมินความรู้สึกตัว ABCs
ถ้ามีระบบหายใจและระบบไหลเวียนไม่ทางาน ให้ช่วยฟื้ นคืนชีพ
ให้ IV , oxygen ยกเว้น pt. กินพาราควอต ห้ามให้
ขจัดหรือลดความรุนแรงของสารพิษหรือยา โดย
- ถอดเสื้อผ้าที่เปื้ อนสารพิษ อาบน้า ทาให้อาเจียนในรายที่
รู้สึกตัวดี ยกเว้นในรายที่รับประทานกรดหรือด่าง
ล้างท้อง ยกเว้นในรายที่รับประทานกรดหรือด่างเข้มข้น
ใส่สารช่วยดูดซึมสารพิษ ได้แก่
- ผงถ่านกัมมันต์ กรณีไม่ใช่พาราควอตและยาพาราเซตามอล
- ใส่ผงดิน (fural earth) กรณีพาราควอต
- NPO
- เมื่อพ้นภาวะวิกฤตให้ส่งต่อ
งูกัด
งูที่มีพิษต่อระบบประสาท เช่นงูเห่า จงอาง สามเหลี่ยม
ทับสมิงคลา อาการ มึนงง เวียนศีรษะ หนังตาตก ลืมตาไม่ขึ้น
ขากรรไกรแข็ง อ้าปากไม่ขึ้น อ่อนเพลีย หมดแรง กระวน
กระวาย หายใจลาบาก หมดสติ ตาย
งูมีพิษต่อระบบเลือด เช่นงูกะปะ แมวเซา เขียวหางไหม้ อาการ
ปวด-บวมมาก มีเลือดออกจากแผล ไรฟ
ั น เหงือก ริมฝีปาก
มีจ้าเลือด ป
ั สสาวะเป็ นเลือด กระสับกระส่าย ชีพจรเบาเร็ว
ความดันโลหิตลดต่า ปวดท้อง แน่นหน้าอก หมดสติ
งูที่มีพิษต่อระบบกล้ามเนื้อ ได้แก่งูทะเลบางชนิดเช่นงูคออ่อน
ชายธง แสมรัง อาการ ปวดเมื่อยตามแขนขา ลาตัว เอี้ยวคอ
ลาบาก กลอกตาไม่ได้ ไม่สามารถเคลื่อนไหวแขนขาและ
ร่างกายได้ กล้ามเนื้ออักเสบรุนแรง ป
ั สสาวะเป็ นสีโค้ก ระบบ
หายใจล้มเหลว
งูพิษกัด : ห้ามกรีดแผล
ประเมินความรู้สึกตัว ABCs
ถ้ามีระบบหายใจและระบบไหลเวียนไม่ทางาน ให้ช่วยฟื้ นคืนชีพ
ตรวจดูบาดแผลและรอยเขี้ยวพิษ ดูแลแผล
ถ้างูเห่าพ่นพิษถูกใบหน้าหรือตา ให้ล้างน้าสะอาดมากๆ
NPO ถ้าเป็ นงูทะเลต้องดื่มน้ามากๆ เพื่อขับป
ั สสาวะและพิษ
งู

เคลื่อนไหว
เคลื่อนไหวร่างกายให้น้อยที่สุด โดยเฉพาะบริเวณที่ถูกกัด
ร่างกายให้น้อยที่สุด โดยเฉพาะบริเวณที่ถูกกัด

อธิบายให้ผู้ป
่ วยคลายความกังวล เพื่อหลีกเลี่ยงอาการ
อธิบายให้ผู้ป
่ วยคลายความกังวล เพื่อหลีกเลี่ยงอาการ
หัวใจเต้นเร็วขึ้น ช่วยให้พิษเข้าสู่กระแสเลือดช้าลง
หัวใจเต้นเร็วขึ้น ช่วยให้พิษเข้าสู่กระแสเลือดช้าลง

ไม่ใช้ปากดูดที่แผล
ไม่ใช้ปากดูดที่แผล

ไม่ใช้ยาสมุนไพรพอกที่แผล
ไม่ใช้ยาสมุนไพรพอกที่แผล

ส่งต่อ
ส่งต่อ
กรณีงูไม่มีพิษกัด
ทาความสะอาดบาดแผลด้วยน้าสะอาดและสบู่
รักษาตามอาการ เช่นประคบเย็น ให้ยาแก้ปวด ยา
ปฏิชีวนะป
้ องกันการติดเชื้อ(dicloxacillin หรือ
amoxycillin) นาน 5-10 วัน
ให้ TT
สังเกตอาการและนัดตรวจซ้า
*** ถ้าไม่ทราบชนิดของงู ให้ดูแลหมือนงูพิษกัด
สัตว์กัด (สุนัข ลิง หนู ค้างคาว)
Sign&symptom : บาดแผลฉีกขาดเหวอะหวะ หรือบาดแผล
บริเวณใบหน้า, ถูกกัด ถูกข่วนเป็ นแผล มีเลือดออก ถูกเลียหรือ
มีน้าลาย ถูกเยื่อเมือก ตา ปากหรือมีแผล ผิวหนัง และ
สัมผัสเนื้อสมอง สัตว์ และหรือชาแหละ ซากสัตว์, ถูกงับเป็ น
รอยช้าที่ผิวหนังไม่มีเลือดออก ถูกข่วนไม่มีเลือดออกหรือออก
เพียงซิบๆ ถูกเลีย ถูกผิวหนังที่มีแผล รอยถลอก ขีดข่วน
ดูแล ล้าง รักษาแผล
ส่งต่อไปที่มีความพร้อมในการให้ยาป
้ องกันพิษสุนัขบ้า
ถูกต้องสัตว์ หรือป
้ อนน้าป
้ อนอาหาร ผิวหนังไม่มีรอยถลอก
ถูกและสัมผัสน้าลาย หรือเลือดสัตว์ ผิวหนังไม่มีรอยถลอก
หรือบาดแผล
ล้างบริเวณที่สัมผัส ไม่ต้องฉีดวัคซีน
การล้างและดูแลแผล : ล้างด้วยสบู่น้าหลายๆครั้ง ถ้าลึกต้อง
ล้างถึงก้นแผล แต่ระวังอย่าให้แผลช้า เช็ดแผลด้วย
povidoneiodine ไม่เย็บแผล ถ้าจาเป็ นควรรอ 3-4 วัน
ยกเว้นเลือกออกมากหรือแผลใหญ่ให้เย็บหลวมๆ และใส่ท่อ
ระบาย พิจารณาให้ TT และ ATB. ให้ยาแก้ปวดตามอาการ
ผึ้ง ต่อ แตนต่อย
ฉุกเฉิน รุนแรง Sign&symptom :หมดสติ ชัก หายใจลาบาก
หัวใจเต้นผิดปกติ เขียว หอบ N/V เจ็บ-แน่นหน้าอก เป็ นลม
ปวด บวมมาก
ประเมินความรู้สึกตัว ABCs
ถ้ามีระบบหายใจและระบบไหลเวียนไม่ทางาน ให้ช่วยฟื้ นคืนชีพ
รักษาแบบ anaphylaxis
ให้ oxygen, IV
ส่งต่อ
อาการไม่มาก Sign&symptom : ปวดบวมเฉพาะที่ ระบบ
ไหลเวียนและหายใจปกติ ไม่มีอาการกระสับกระส่าย
เอาเหล็กในออก(ถ้ามีคาอยู่) เพื่อลดพิษ โดยใช้ปลายเข็มสะกิด
ออก หรือใช้รูกุญแจ/รูปากกา กดออก
ประคบเย็น ทาบริเวณที่ถูกกัดด้วยสเตียรอยด์ หรือแอมโมเนีย
เพื่อลดการอักเสบ
ยกส่วนที่ถูกต่อยให้สูงเพื่อให้ยุบบวม ให้ยาแก้ปวด ให้ยาแก้แพ้
ในกรณีแพ้ คันหรือบวม สังเกตอาการ
หากถูกต่อต่อย ให้ติดตามอาการไตวายเฉียบพลันใน 24-72
ชม.
แมงป
่ องต่อย ตะขาบ แมงมุมกัด
ฉุกเฉิน รุนแรง Sign&symptom :หมดสติ ชัก หายใจลาบาก
หัวใจเต้นผิดปกติ เขียว หอบ N/V เจ็บ-แน่นหน้าอก
กระสับกระส่าย มีภาวะ anaphylaxis
ประเมินความรู้สึกตัว ABCs
ถ้ามีระบบหายใจและระบบไหลเวียนไม่ทางาน ให้ช่วยฟื้ นคืนชีพ
รักษาแบบ anaphylaxis
ให้ oxygen, IV
ส่งต่อ
อาการไม่มาก Sign&symptom : ปวดบวมเฉพาะที่ ระบบ
ไหลเวียนและหายใจปกติ ไม่มีอาการกระสับกระส่าย
ประคบเย็น ทาบริเวณที่ถูกกัดด้วยสเตียรอยด์ หรือแอมโมเนีย
เพื่อลดการอักเสบ
ยกส่วนที่ถูกต่อยให้สูงเพื่อให้ยุบบวม
ให้ยาแก้ปวด ให้ยาแก้แพ้ในกรณีแพ้ คันหรือบวม ให้ยา ATB.
และ TT
สังเกตอาการลิดตามการรักษา
เจ็บอกจากกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือด(angina pectoris) และ
กล้ามเนื้อหัวใจตายเฉียบพลัน(AcuteMI)
Sign&symptom : ไม่สุขสบาย เหงื่อออก หายใจฝืด BP
ลดลง Pผิดปกติ ช็อก หมดสติ
ประเมินความรู้สึกตัว ABCs
ให้ oxygen IV
อมยา NTG 5 mg., กลืนยา aspirin 300 mg.และตามด้วย
เคี้ยวและกลืนอีก1 เม็ดทันที
ถ้าช็อกหรือหยุดหายใจให้ช่วยฟื้ นคืนชีพ
ส่งต่อ
หืดจับรุนแรงและต่อเนื่อง(status asthmaticus)
Def: ผู้ป
่ วยหอบหืดที่ได้รับยาขยายหลอดลม แต่อาการไม่ดี
ขึ้น มีอาการรุนแรงและอาจมีระบบหายใจล้มเหลวได้
Sign&symptom : ไอ หอบ หายใจลาบาก เหนื่อย
กระสับกระส่าย ได้ยินเสียง wheezing มีการเปลี่ยนแปลงการรู้
สติ พูดไม่ได้/ไม่เป็ นประโยคเพราะเหนื่อย เขียว เหงื่อแตก
ประเมินความรู้สึกตัว ABCs ให้ oxygen IV
ให้ยาพ่นโดยวิธี nebulization ที่ต่อกับ oxygen
ถ้าช็อกหรือหยุดหายใจให้ช่วยฟื้ นคืนชีพ
ส่งต่อ
ภาวะป
่ วยจากความร้อน (heat stroke)
 Def: สัมผัสความร้อนนาน จนร่างกายควบคุม T ไม่ได้ ศูนย์ควบคุม T ใน
สมองหยุดทางาน T>40.5 °c มีภาวะขาดน้ารุนแรงและระบบประสาทสมอง
ส่วนกลางผิดปกติ
 Sign&symptom : ช็อก เป็ นตะคริว อาเจียน เวียนศีรษะ สับสน ไข้สูง มี
เลือดออกในอวัยวะต่างๆ เช่นเลือดกาเดา ชัก หมดสติ
 ประเมินความรู้สึกตัว ถอดเสื้อผ้าออกให้หมด เปิ ดพัดลม
 ให้ oxygen IV
 เช็ดตัวทั่วร่างกายด้วยน้าอุณหภูมิห้อง จน T<38°c ถ้ามีเครื่องฉีดพ่นน้าให้
พ่นน้า
 ส่งต่อ
ซิปติดหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศ
ปวด เมื่อซิปหนีบ ; มาให้ซิปแตก โดยใช้ towel clips
2 อัน หนีบซิปข้างละอันตรงระหว่างตัวรูด แล้วดึงให้
ซิปถ่างออก ใช้ยาชาเฉพาะที่ ใช้คีมตัดเงี่ยงซิปด้านหนึ่ง
ออก ทาแผล พิจารณาให้ยา dicloxacillin
ถ้าทาไม่สาเร็จ ส่งต่อ
คนกัด
ถ้าแผลสกปรก ใหญ่เหวอะหวะบริเวณใบหน้า; ประเมิน
V/S ล้างแผล ให้ TT ส่งต่อ
แผลเล็กน้อย ให้ antibiotic( amoxycillin,
dicloxacillin) ให้ TT ไม่ควรเย็บแผลทันที ยกเว้นแผล
ที่หน้าที่ไม่ช้าหรือสกปรกมาก นัดF/U ถ้ามีไข้ หรือติด
เชื้อรุนแรง เช่น cellulitis ส่งต่อ
(หอย)เม่นทะเลตา
local reaction ปวดเหมือนหนามตา ต่อมาจะชา ถ้า
หนามของหอยเม่นหักคาจะปวดมาก ; ทุบหนามที่หักคาให้
แหลก โดยใช้น้าส้มสายชูหรือน้ามะนาวทาที่แผลสลับการ
ทุบ เพื่อลดอาการชา ให้ยาแก้ปวด ยาแก้แพ้ ทาด้วย
แอมโมเนียเพื่อลดปวด
Systemic reaction มีอาการแพ้โดยเฉพาะ
anaphylaxis ; ประเมินความรู้สึกตัว ABCs ถ้า
ระบบหายใจและไหลเวียนหยุดทางาน ให้ทา CPR ให้
ออกซิเจนถ้าหายใจไม่ดี ให้ IVถ้าช็อคหรือ BP รักษา
เหมือน local reaction ส่งต่อ
ได้รับพิษจากแมงกระพรุน
Fatal reaction อาการ anaphylaxis, cardio pulmonary
arrest ; ประเมิน ABCs ถ้าระบบหายใจและไหลเวียนหยุด
ทางาน ให้ทา CPR
Local reaction บวมแดงเป็ นแนวเส้นตามรอยหนวดที่สัมผัส
เจ็บ คัน อาจมีตุ่มพอง อาจเกิดทันทีหรือหลังสัมผัส 1-4
wks. ; ดูแลระบบหายใจโดยเฉพาะภาวะหลอดลมตีบ มีเสียง
วี๊ด หายใจลาบาก เขียว ให้ IV ให้ยาแก้แพ้ ออกซิเจน ส่ง
ต่อ
Systemic reaction ปวด เวียนศีรษะ คลื่นไส้อาเจียน เหงื่อ
ออก น้าตาไหล ไข้ กล้ามเนื้อกระตุก ชา แน่นหน้าอก ; ห้ามถู
แผล ลดการเคลื่อนไหวบริเวณแผล อุ่นน้าทะเลที่ T39º เท
ราดแผล (ห้ามใช้น้าจืด alcohol เพราะจะทาให้ถุงพิษแตก
เข็มพิษจะกระจายมากขึ้น) ใช้แป
้ งโรยเพื่อเอาหนวดออก รักษา
ตามอาการ ให้ยาแก้แพ้ แก้ปวด ถ้าแผลลึกมาๆ อาจให้
ATB แนะนาเฝ้ าระวังอาการ anaphylaxis
พยายามฆ่าตัวตาย
พยายามฆ่าตัวตาย
มีบาดแผลทาร้ายร่างกาย ได้รับสารพิษจากการทาร้ายตนเอง
ใช้สารเสพติด โรคจิต เครียด/กังวลสูง กาลังอยู่ในช่วงดื่ม
สุราจัดหรือขาดสุรา ; ประเมินความรู้สึกตัว ABCs ประเมินการ
บาดเจ็บหรือได้รับสารพิษ ค้นหาสาเหตุ ป
้ องกันการทาร้าย
ตนเอง ไม่ทิ้งให้อยู่คนเดียว จัดสิ่งแวดล้อมเก็บสิ่งของมีคม
หรือที่อาจนามาทาร้ายตนเอง อาจต้องผูกรัด นัด F/U ให้
คาปรึกษา ส่งต่อจิตแพทย์
ถูกข่มขืน
แผลบวมช้า แผลฉีกขาด แผลจากการต่อสู้ เสีย
เลือดมาก กระดูกหัก อวัยวะเพศมีการฉีกขาด ;
ประเมินภาวะอันตรายเช่นเสียเลือด ช็อค จัดให้อยู่ใน
สถานที่เป็ นส่วนตัวและปลอดภัย ปฐมพยาบาลดูแล
บาดแผลเบื้องต้น แต่ต้องไม่กระทบต่อการตรวจหา
หลักฐานและวัตถุพยานตามร่างกายผู้ป
่ วย ส่งต่อ
คลุ้มคลั่ง อาละวาด
ก้าวร้าว โดยอาจเป็ นคาพูดหรือการกระทา
จากดื่มจัด ขาดสุรา บุคลิกภาพแปรปรวน ผู้ป
่ วยจิตเวช
ชนิดหวาดระแวงหรือ mania มีความผิดปกติของสมอง
กาลังมีภาวะคับข้องใจ มีภาวะสูญเสีย ผิดหวังรุนแรง
พฤติกรรมเปลี่ยนแปลง ควบคุมตนเองไม่ได้ ทาลายของ ทา
ร้ายผู้อื่น อารมณ์ดุร้ายเปลี่ยนแปลงเร็ว พูดเรื่อยเปื่ อยไม่เป็ น
เรื่องราว หลงผิด หวาดระแวง หูแว่ว ประสาทหลอน อาจ
ทาตามที่หูแว่ว เอะอะโวยวาย ไม่กินไม่นอน
ระวังการเข้าใกล้ผู้ป
่ วย ถ้าไม่แน่ใจ
นั่งในระดับที่มองเห็นผู้ป
่ วยได้ชัดเจน ไม่นั่งขวางทางหรือขวาง
ประตู เปิ ดประตูไว้
ถ้าผู้ป
่ วยยังมีอาการดุร้าย ควรยืนห่างอย่างน้อย 8 ฟุต และ
อยู่ในท่าที่เตรียมพร้อมสาหรับการหนีหรือการช่วยเหลือตนเอง
อาจต้องผูกมัด ถ้าผู้ป
่ วยมีแนวโน้มควบคุมตนเองไม่ได้
ส่งต่อหลังผู้ป
่ วยสงบ

More Related Content

Similar to กลุ่มอาการฉุกเฉิน.pdf

Psychiatric Emergency
Psychiatric EmergencyPsychiatric Emergency
Psychiatric Emergency
Narenthorn EMS Center
 
First aid by Narenthorn 2016
First aid by Narenthorn 2016First aid by Narenthorn 2016
First aid by Narenthorn 2016
Narenthorn EMS Center
 
สุทธิดา วิชชุดา
สุทธิดา   วิชชุดาสุทธิดา   วิชชุดา
สุทธิดา วิชชุดาsupphawan
 
Presedation assessment
Presedation assessmentPresedation assessment
Presedation assessment
taem
 
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีอารมณ์ผิดปกติ โดย อ.วิไลวรรณ บุญเรือง
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีอารมณ์ผิดปกติ โดย อ.วิไลวรรณ  บุญเรืองการพยาบาลผู้ป่วยที่มีอารมณ์ผิดปกติ โดย อ.วิไลวรรณ  บุญเรือง
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีอารมณ์ผิดปกติ โดย อ.วิไลวรรณ บุญเรือง
Utai Sukviwatsirikul
 
การจัดการ ภาวะหมดสติ เจ็บอก ปวดท้อง จากสถานการณ์พิเศษ
การจัดการ ภาวะหมดสติ เจ็บอก ปวดท้อง จากสถานการณ์พิเศษการจัดการ ภาวะหมดสติ เจ็บอก ปวดท้อง จากสถานการณ์พิเศษ
การจัดการ ภาวะหมดสติ เจ็บอก ปวดท้อง จากสถานการณ์พิเศษ
taem
 
emergency_2552.ppt
emergency_2552.pptemergency_2552.ppt
emergency_2552.ppt
SantoshKumar240890
 
โรคหลอดเลือดหัวใจ
โรคหลอดเลือดหัวใจโรคหลอดเลือดหัวใจ
โรคหลอดเลือดหัวใจWan Ngamwongwan
 
Rehabilitabtion for Elderly
Rehabilitabtion for ElderlyRehabilitabtion for Elderly
Rehabilitabtion for Elderlytaem
 
Conference
ConferenceConference
Conference
mane-name
 
Case conference-mooknc
Case conference-mookncCase conference-mooknc
Case conference-mooknc
Toey Sutisa
 
การบรรเทาความปวดด้วยวิธีไม่ใช้ยา
การบรรเทาความปวดด้วยวิธีไม่ใช้ยาการบรรเทาความปวดด้วยวิธีไม่ใช้ยา
การบรรเทาความปวดด้วยวิธีไม่ใช้ยาPain clinic pnk
 
ภูมิปัญญาด้านการรักษาโรค ป.2+534+55t2his p02 f08-1page
ภูมิปัญญาด้านการรักษาโรค ป.2+534+55t2his p02 f08-1pageภูมิปัญญาด้านการรักษาโรค ป.2+534+55t2his p02 f08-1page
ภูมิปัญญาด้านการรักษาโรค ป.2+534+55t2his p02 f08-1page
Prachoom Rangkasikorn
 
สไลด์ ภูมิปัญญาไทยด้านการรักษาโรค+534+dltvhisp2+55t2his p02 f08-1page
สไลด์  ภูมิปัญญาไทยด้านการรักษาโรค+534+dltvhisp2+55t2his p02 f08-1pageสไลด์  ภูมิปัญญาไทยด้านการรักษาโรค+534+dltvhisp2+55t2his p02 f08-1page
สไลด์ ภูมิปัญญาไทยด้านการรักษาโรค+534+dltvhisp2+55t2his p02 f08-1page
Prachoom Rangkasikorn
 
การดูแลผู้ป่วยที่ได้รับยาเคมีที่มีความเสี่ยงสูง
การดูแลผู้ป่วยที่ได้รับยาเคมีที่มีความเสี่ยงสูงการดูแลผู้ป่วยที่ได้รับยาเคมีที่มีความเสี่ยงสูง
การดูแลผู้ป่วยที่ได้รับยาเคมีที่มีความเสี่ยงสูงtechno UCH
 
2562 final-project 22
2562 final-project 222562 final-project 22
2562 final-project 22
Napisa22
 

Similar to กลุ่มอาการฉุกเฉิน.pdf (20)

Psychiatric Emergency
Psychiatric EmergencyPsychiatric Emergency
Psychiatric Emergency
 
First aid by Narenthorn 2016
First aid by Narenthorn 2016First aid by Narenthorn 2016
First aid by Narenthorn 2016
 
สุทธิดา วิชชุดา
สุทธิดา   วิชชุดาสุทธิดา   วิชชุดา
สุทธิดา วิชชุดา
 
Case study : dengue fever
Case study : dengue feverCase study : dengue fever
Case study : dengue fever
 
Presedation assessment
Presedation assessmentPresedation assessment
Presedation assessment
 
ชีพจร
ชีพจรชีพจร
ชีพจร
 
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีอารมณ์ผิดปกติ โดย อ.วิไลวรรณ บุญเรือง
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีอารมณ์ผิดปกติ โดย อ.วิไลวรรณ  บุญเรืองการพยาบาลผู้ป่วยที่มีอารมณ์ผิดปกติ โดย อ.วิไลวรรณ  บุญเรือง
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีอารมณ์ผิดปกติ โดย อ.วิไลวรรณ บุญเรือง
 
การจัดการ ภาวะหมดสติ เจ็บอก ปวดท้อง จากสถานการณ์พิเศษ
การจัดการ ภาวะหมดสติ เจ็บอก ปวดท้อง จากสถานการณ์พิเศษการจัดการ ภาวะหมดสติ เจ็บอก ปวดท้อง จากสถานการณ์พิเศษ
การจัดการ ภาวะหมดสติ เจ็บอก ปวดท้อง จากสถานการณ์พิเศษ
 
emergency_2552.ppt
emergency_2552.pptemergency_2552.ppt
emergency_2552.ppt
 
โรคหลอดเลือดหัวใจ
โรคหลอดเลือดหัวใจโรคหลอดเลือดหัวใจ
โรคหลอดเลือดหัวใจ
 
Rehabilitabtion for Elderly
Rehabilitabtion for ElderlyRehabilitabtion for Elderly
Rehabilitabtion for Elderly
 
Conference
ConferenceConference
Conference
 
Con10
Con10Con10
Con10
 
Triage
TriageTriage
Triage
 
Case conference-mooknc
Case conference-mookncCase conference-mooknc
Case conference-mooknc
 
การบรรเทาความปวดด้วยวิธีไม่ใช้ยา
การบรรเทาความปวดด้วยวิธีไม่ใช้ยาการบรรเทาความปวดด้วยวิธีไม่ใช้ยา
การบรรเทาความปวดด้วยวิธีไม่ใช้ยา
 
ภูมิปัญญาด้านการรักษาโรค ป.2+534+55t2his p02 f08-1page
ภูมิปัญญาด้านการรักษาโรค ป.2+534+55t2his p02 f08-1pageภูมิปัญญาด้านการรักษาโรค ป.2+534+55t2his p02 f08-1page
ภูมิปัญญาด้านการรักษาโรค ป.2+534+55t2his p02 f08-1page
 
สไลด์ ภูมิปัญญาไทยด้านการรักษาโรค+534+dltvhisp2+55t2his p02 f08-1page
สไลด์  ภูมิปัญญาไทยด้านการรักษาโรค+534+dltvhisp2+55t2his p02 f08-1pageสไลด์  ภูมิปัญญาไทยด้านการรักษาโรค+534+dltvhisp2+55t2his p02 f08-1page
สไลด์ ภูมิปัญญาไทยด้านการรักษาโรค+534+dltvhisp2+55t2his p02 f08-1page
 
การดูแลผู้ป่วยที่ได้รับยาเคมีที่มีความเสี่ยงสูง
การดูแลผู้ป่วยที่ได้รับยาเคมีที่มีความเสี่ยงสูงการดูแลผู้ป่วยที่ได้รับยาเคมีที่มีความเสี่ยงสูง
การดูแลผู้ป่วยที่ได้รับยาเคมีที่มีความเสี่ยงสูง
 
2562 final-project 22
2562 final-project 222562 final-project 22
2562 final-project 22
 

More from praphan khunti

คู่มิอยา.pdf
คู่มิอยา.pdfคู่มิอยา.pdf
คู่มิอยา.pdf
praphan khunti
 
การติดตามอาการไม่พึงประสงค์จากการใช้ยา.pdf
การติดตามอาการไม่พึงประสงค์จากการใช้ยา.pdfการติดตามอาการไม่พึงประสงค์จากการใช้ยา.pdf
การติดตามอาการไม่พึงประสงค์จากการใช้ยา.pdf
praphan khunti
 
สรุปเปรียบเทียบโรคแผนปัจจุบันในคัมภีร์ตักศิลา.pdf
สรุปเปรียบเทียบโรคแผนปัจจุบันในคัมภีร์ตักศิลา.pdfสรุปเปรียบเทียบโรคแผนปัจจุบันในคัมภีร์ตักศิลา.pdf
สรุปเปรียบเทียบโรคแผนปัจจุบันในคัมภีร์ตักศิลา.pdf
praphan khunti
 
การเขียนใบสั่งยา65.pdf
การเขียนใบสั่งยา65.pdfการเขียนใบสั่งยา65.pdf
การเขียนใบสั่งยา65.pdf
praphan khunti
 
แบบทดสอบศัพท์แพทย์ 65.doc
แบบทดสอบศัพท์แพทย์ 65.docแบบทดสอบศัพท์แพทย์ 65.doc
แบบทดสอบศัพท์แพทย์ 65.doc
praphan khunti
 
DM 65.ppt
DM 65.pptDM 65.ppt
DM 65.ppt
praphan khunti
 
Hemoto 65.ppt
Hemoto 65.pptHemoto 65.ppt
Hemoto 65.ppt
praphan khunti
 
Legionnaires 65.ppt
Legionnaires 65.pptLegionnaires 65.ppt
Legionnaires 65.ppt
praphan khunti
 
corona virus 65.ppt
corona virus 65.pptcorona virus 65.ppt
corona virus 65.ppt
praphan khunti
 
Hanta virus 65.ppt
Hanta virus 65.pptHanta virus 65.ppt
Hanta virus 65.ppt
praphan khunti
 

More from praphan khunti (10)

คู่มิอยา.pdf
คู่มิอยา.pdfคู่มิอยา.pdf
คู่มิอยา.pdf
 
การติดตามอาการไม่พึงประสงค์จากการใช้ยา.pdf
การติดตามอาการไม่พึงประสงค์จากการใช้ยา.pdfการติดตามอาการไม่พึงประสงค์จากการใช้ยา.pdf
การติดตามอาการไม่พึงประสงค์จากการใช้ยา.pdf
 
สรุปเปรียบเทียบโรคแผนปัจจุบันในคัมภีร์ตักศิลา.pdf
สรุปเปรียบเทียบโรคแผนปัจจุบันในคัมภีร์ตักศิลา.pdfสรุปเปรียบเทียบโรคแผนปัจจุบันในคัมภีร์ตักศิลา.pdf
สรุปเปรียบเทียบโรคแผนปัจจุบันในคัมภีร์ตักศิลา.pdf
 
การเขียนใบสั่งยา65.pdf
การเขียนใบสั่งยา65.pdfการเขียนใบสั่งยา65.pdf
การเขียนใบสั่งยา65.pdf
 
แบบทดสอบศัพท์แพทย์ 65.doc
แบบทดสอบศัพท์แพทย์ 65.docแบบทดสอบศัพท์แพทย์ 65.doc
แบบทดสอบศัพท์แพทย์ 65.doc
 
DM 65.ppt
DM 65.pptDM 65.ppt
DM 65.ppt
 
Hemoto 65.ppt
Hemoto 65.pptHemoto 65.ppt
Hemoto 65.ppt
 
Legionnaires 65.ppt
Legionnaires 65.pptLegionnaires 65.ppt
Legionnaires 65.ppt
 
corona virus 65.ppt
corona virus 65.pptcorona virus 65.ppt
corona virus 65.ppt
 
Hanta virus 65.ppt
Hanta virus 65.pptHanta virus 65.ppt
Hanta virus 65.ppt
 

Recently uploaded

3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
Prachyanun Nilsook
 
atwordfamily words with Thai translationtx
atwordfamily words with Thai translationtxatwordfamily words with Thai translationtx
atwordfamily words with Thai translationtx
Bangkok, Thailand
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdfงานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdfแนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 

Recently uploaded (10)

3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
 
atwordfamily words with Thai translationtx
atwordfamily words with Thai translationtxatwordfamily words with Thai translationtx
atwordfamily words with Thai translationtx
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
 
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
 
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdfงานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
 
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdfแนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
 

กลุ่มอาการฉุกเฉิน.pdf

  • 2. การจาแนกผู้ป ่ วย การจาแนกผู้ป ่ วย  ซักประวัติ ตรวจร่างกาย ซักประวัติ ตรวจร่างกาย  กลุ่ม กลุ่ม 1 1 อาการฉุกเฉิน อาการฉุกเฉิน : : ปฐมพยาบาลเบื้องต้นและส่งต่อทันที ปฐมพยาบาลเบื้องต้นและส่งต่อทันที  อาการไม่ฉุกเฉิน วินิจฉัยแยกกลุ่ม กลุ่ม อาการไม่ฉุกเฉิน วินิจฉัยแยกกลุ่ม กลุ่ม 2 2 หรือกลุ่ม หรือกลุ่ม 3 3   กลุ่ม กลุ่ม 2 2 ต้องการวินิจฉัยเพิ่มเติม ต้องการวินิจฉัยเพิ่มเติม : : ให้บรรเทาอาการและส่ง ให้บรรเทาอาการและส่ง ปรึกษาแพทย์เพื่อวินิจฉัยเพิ่มเติมใน ปรึกษาแพทย์เพื่อวินิจฉัยเพิ่มเติมใน 1 1- -7 7 วัน วัน  กลุ่ม กลุ่ม 3 3 สามารถวินิจฉัยและรักษาโรคเบื้องต้น สามารถวินิจฉัยและรักษาโรคเบื้องต้น : : ให้ยาบรรเทา ให้ยาบรรเทา แนะนาการดูแลตนเอง ติดตามผล หากไม่ดีขึ้นส่งปรึกษา แนะนาการดูแลตนเอง ติดตามผล หากไม่ดีขึ้นส่งปรึกษา แพทย์ แพทย์
  • 3. กลุ่ม กลุ่ม 2 2  กลุ่มอาการที่ต้องได้รับการวินิจฉัยเพิ่มเติม กลุ่มอาการที่ต้องได้รับการวินิจฉัยเพิ่มเติม  มีไข้เกิน มีไข้เกิน 7 7 วัน วัน, , ไข้หนาวสั่น ไข้หนาวสั่น, , ดีซ่าน ดีซ่าน, , บวม บวม, , ท้องมาน ท้องมาน, , น้าหนักลด น้าหนักลด หรือเพิ่มอย่างรวดเร็ว หรือเพิ่มอย่างรวดเร็ว, , ตามัว เห็นภาพซ้อน ตามัว เห็นภาพซ้อน, , หูอื้อ หูตึง หูอื้อ หูตึง, , กลืน กลืน ลาบาก ลาบาก, , อาเจียนเป็ นเลือด อาเจียนเป็ นเลือด, , ไอเป็ นเลือด ไอเป็ นเลือด, , ป ั สสาวะ อุจจาระเป็ น ป ั สสาวะ อุจจาระเป็ น เลือด เลือด, , เลือดออกจากช่องคลอด ประจาเดือนมามากผิดปกติ เลือดออกจากช่องคลอด ประจาเดือนมามากผิดปกติ, , คอพอก คอพอก, , มีก้อนในที่ต่างๆ มีก้อนในที่ต่างๆ, , มีจุดแดง จ้าเขียว มีจุดแดง จ้าเขียว, , แขนขาเกร็ง แขนขาเกร็ง อ่อนแรง อ่อนแรง, , มือสั่น มือสั่น, , กล้ามเนื้ออ่อนแรง กล้ามเนื้ออ่อนแรง, , หนังตาตก หนังตาตก, , ข้อมือ ข้อมือ/ /ข้อ ข้อ เท้าตก เท้าตก, , ปากเบี้ยว ปากเบี้ยว, , ข้ออักเสบ ข้ออักเสบ, , หนองไหลจากท่อป ั สสาวะ หนองไหลจากท่อป ั สสาวะ, , หูด หูด หงอนไก่ หงอนไก่, , ปวดศีรษะรุนแรง ปวดศีรษะรุนแรง, , เวียนศีรษะ เวียนศีรษะ, , ไอเกิน ไอเกิน 14 14 วัน วัน
  • 4. กลุ่ม กลุ่ม 3 3  กลุ่มอาการที่ต้องวินิจฉัยแยกโรคและให้การรักษาเบื้องต้น กลุ่มอาการที่ต้องวินิจฉัยแยกโรคและให้การรักษาเบื้องต้น  อาการระบบทางเดินหายใจ อาการระบบทางเดินหายใจ : : ไข้หวัด คัดจมูก น้ามูกไหล ไอ ไข้หวัด คัดจมูก น้ามูกไหล ไอ หอบ เสียงแหบ หอบ เสียงแหบ  อาการทางตา หู คอ จมูก อาการทางตา หู คอ จมูก : : ตามัว คันตา ตาแดง ตาแฉะ ตามัว คันตา ตาแดง ตาแฉะ ปวดตา เคืองตา เจ็บคอ เจ็บหู หูอื้อ หูตึง ปวดตา เคืองตา เจ็บคอ เจ็บหู หูอื้อ หูตึง  อาการระบบทางเดินอาหาร อาการระบบทางเดินอาหาร : : ปวดฟ ั น มีรอยโรคในช่องปาก ปวดฟ ั น มีรอยโรคในช่องปาก ปวดท้อง เบื่ออาหาร ท้องเดิน ท้องผูก คลื่นไส้ อาเจียน ปวดท้อง เบื่ออาหาร ท้องเดิน ท้องผูก คลื่นไส้ อาเจียน
  • 5.  อาการทางโลหิตวิทยา อาการทางโลหิตวิทยา/ / ระบบหัวใจและหลอดเลือด ระบบหัวใจและหลอดเลือด : : จุดแดง จ้า จุดแดง จ้า เขียว เจ็บหน้าอก ใจสั่น ซีด เขียว เจ็บหน้าอก ใจสั่น ซีด( (ที่ไม่มีข้อบ่งชี้โรคร้ายแรง ที่ไม่มีข้อบ่งชี้โรคร้ายแรง) )  ระบบสืบพันธุ์และทางเดินป ั สสาวะ ระบบสืบพันธุ์และทางเดินป ั สสาวะ : : ป ั สสาวะบ่อย ขัดเบา ตกขาว ป ั สสาวะบ่อย ขัดเบา ตกขาว ประจาเดือนไม่มา ประจาเดือนไม่มา  อาการทางผิวหนัง อาการทางผิวหนัง : : ผื่น ตุ่ม คัน ผื่น ตุ่ม คัน  ระบบประสาท กล้ามเนื้อ กระดูก ข้อ ระบบประสาท กล้ามเนื้อ กระดูก ข้อ : : ชา ชัก มือเท้าเกร็ง ชา ชัก มือเท้าเกร็ง ปวดศีรษะ เวียนศีรษะ ปวดข้อ ปวดเมื่อยกล้ามเนื้อ ปวดศีรษะ เวียนศีรษะ ปวดข้อ ปวดเมื่อยกล้ามเนื้อ/ /ข้อ ปวด ข้อ ปวด หลัง หลัง  ระบบอื่นๆ ระบบอื่นๆ ; ; ไข้ อ่อนเพลีย บวม ไข้ อ่อนเพลีย บวม ( (ที่ไม่มีข้อบ่งชี้โรคร้ายแรง ที่ไม่มีข้อบ่งชี้โรคร้ายแรง) )
  • 7. กลุ่มอาการฉุกเฉินต้องช่วยเหลือเบื้องต้นและส่งต่อทันที กลุ่มอาการฉุกเฉินต้องช่วยเหลือเบื้องต้นและส่งต่อทันที แนวทางปฏิบัติในการรักษาพยาบาลเบื้องต้น - การหยุดหายใจและระบบไหลเวียนโลหิตไม่ทางาน (cardiopulmonary arrest) sign&symptom ไม่รู้สึกตัว หยุดหายใจ คลาpulse ไม่ได้ การรักษาเบื้องต้น - ประเมิน ABCs A:airway นอนราบศีรษะต่าเล็กน้อย ตะแคงหน้า ล้วงสิ่งของในปากออก
  • 8. B:breathing จัดท่าให้ทางเดินหายใจโล่ง  คลายเสื้อผ้าให้หลวม ห่มผ้าให้ความอบอุ่น  อาจช่วยหายใจ โดยใช้อุปกรณ์ต่างๆ เพื่อป ้ องกันการสัมผัสกับปาก ผู้ป ่ วยโดยตรง เช่น pocket mask, face shield ถ้าไม่มีให้ใช้ ถุงพลาสติกเจาะรูแล้ววางที่ปากผู้ป ่ วย หากพบว่าระบบไหลเวียนไม่ทางาน ต้องนวดหัวใจ(C:circulation) โดยเป ่ าลม 2 ครั้งสลับนวดหัวใจ 30 ครั้ง ให้ isotonic solution IV ให้ Adrenaline 1:1000 3-5 ml. IV ตาม standing order ส่งต่อ
  • 9. การหมดสติ การหมดสติ sign&symptom: BP สูงหรือต่ากว่าปกติ หายใจ ผิดปกติ ไข้สูง บาดแผลที่ศีรษะ อาการทางระบบประสาท ร่วมด้วยเช่นชักเกร็ง ขนาดรูม่านตาเปลี่ยน ประเมินความรู้สึกตัว ABCs ให้ Oxygen , IV จัดให้นอนตะแคงกึ่งคว่า ไม่หนุนหมอน จับศีรษะและคอเชิด ขึ้นเล็กน้อย ป ้ องกันลิ้นตกอุดทางเดินหายใจ ห่มผ้า NPO
  • 10. กรณีหมดสติร่วมกับน้าตาลในเลือดต่า ควรให้ 50% glucose IV กรณีหมดสติจากการรับประทานสารพิษ มาภายใน 1ชม. ให้ใส่สายสวนและล้างกระเพาะอาหาร (on NG tube c lavage) ยกเว้นรับประทานกรดหรือด่าง ส่งต่อ
  • 11. ภาวะช็อค ภาวะช็อค sign&symptom: ระบบไหลเวียนล้มเหลว เช่น BP<90/60 pulse pressure<20 mmHg กระสับกระส่าย ชีพจรเบาเร็ว เหงื่อออก ตัวเย็น อาเจียน ป ั สสาวะออกน้อยหรือไม่ออก หายใจ เร็ว ถี่ ไม่สม่าเสมอ หมดสติ อาจมีม่านตาไม่ค่อยตอบสนองต่อ แสง ประเมินความรู้สึกตัว ABCs จัดให้นอนราบยกขาสูง ห่มผ้า NPOให้ Oxygen , IV Retain F/C แก้สาเหตุของการช็อค เช่นเสียเลือดจากแผล ทาการห้ามเลือด ส่งต่อ
  • 12. ชัก ชัก  sign&symptom sign&symptom : : เกร็งกระตุก เหม่อลอย ตาค้าง น้าลายไหล เกร็งกระตุก เหม่อลอย ตาค้าง น้าลายไหล คลื่นไส้อาเจียน จาเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นไม่ได้ หมดสติในเวลาต่อมา คลื่นไส้อาเจียน จาเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นไม่ได้ หมดสติในเวลาต่อมา  ประเมินความรู้สึกตัว ประเมินความรู้สึกตัว ABCs ABCs  ให้ ให้ Oxygen , IV Oxygen , IV ไว้ฉีดยาเวลาชักซ้า ไว้ฉีดยาเวลาชักซ้า  จัดให้นอนตะแคงกึ่งคว่า ไม่หนุนหมอน จับศีรษะและคอเชิดขึ้น จัดให้นอนตะแคงกึ่งคว่า ไม่หนุนหมอน จับศีรษะและคอเชิดขึ้น เล็กน้อย ป ้ องกันลิ้นตกอุดทางเดินหายใจ ให้อยู่ในสถานที่ปลอดภัย เล็กน้อย ป ้ องกันลิ้นตกอุดทางเดินหายใจ ให้อยู่ในสถานที่ปลอดภัย ป ้ องกันอุบัติเหตุ ยกไม้กั้นเตียง ป ้ องกันอุบัติเหตุ ยกไม้กั้นเตียง  ลดไข้ถ้ามีไข้สูง ลดไข้ถ้ามีไข้สูง  ส่งต่อ ส่งต่อ
  • 13. การแพ้อย่างรุนแรง(anaphylaxis) sign&symptom : ผื่นคันไอจาม คัดจมูก น้ามูกไหล ใจสั่นเป็ น ลม การรู้สึกตัวเปลี่ยนแปลง ช็อก เป็ นลม หมดสติ เสียชีวิต ประเมินความรู้สึกตัว ABCs ให้ Oxygen , IV ให้ adrenaline 1:1000 ขนาด 0.3-0.5 ml. IM, IV ให้ยาแก้แพ้ ถ้ามี bronchospasm ให้ยาพ่นขยายหลอดลม ตาม standing order ส่งต่อ
  • 14. เป็ นลม หมดสติ sign&symptom :ไม่รู้สึกตัว ชีพจรเบาเร็ว หายใจผิดปกติ อาเจียน กระวนกระวาย หมดสติ แน่นหน้าอก หายใจหอบถี่แรง เหงื่อออกมาก ประเมินความรู้สึกตัว ABCs ให้อยู่ในที่ร่ม อากาศถ่ายเท นอนราบไม่หนุนหมอน คลายเสื้อผ้า ให้หลวม ถ้ามีระบบหายใจและระบบไหลเวียนไม่ทางาน ให้ช่วยฟื้ นคืนชีพ ถ้าภาวะน้าตาลผิดปกติ ให้การรักษาตามแนวทาง ส่งต่อ
  • 15. โรคหลอดเลือดสมอง Sign&symptom : หมดสติ อ่อนแรงทั้งตัวหรือบางส่วน ชา ครึ่งซีกหรือเฉพาะส่วน คอแข็ง ตามัวหรือมองไม่เห็น ทันทีทันใด พูดไม่ชัด ตะกุกตะกัก ไม่เข้าใจคาพูด ปวดศีรษะ เฉียบพลันและรุนแรงชนิดที่ไม่เคยเป็ นมาก่อน เดินลาบาก เป็ น ลม ประเมินความรู้สึกตัว ABCs ถ้ามีระบบหายใจและระบบไหลเวียนไม่ทางาน ให้ช่วยฟื้ นคืนชีพ ให้ oxygen, IV NPO ส่งต่อ
  • 16. จมน้า จมน้า Sign&symptom : หมดสติ ชักเกร็ง ระบบไหลเวียนและ ระบบหายใจหยุดทางาน ได้รับบาดเจ็บเช่นกะโหลกศีรษะ แตก คอหัก มีบาดแผลตามร่างกาย หัวใจเต้นผิด จังหวะ ความดันโลหิตลดลง ช็อก มีการสูดสาลัก ประเมินความรู้สึกตัว ABCs ตรวจดูสิ่งแปลกปลอมที่ อุดกั้นทางเดินหายใจ
  • 17. ถ้ามีระบบหายใจและระบบไหลเวียนไม่ทางาน ให้ช่วยฟื้ นคืน ชีพ ให้ oxygen, ให้ความอบอุ่นแก่ร่างกาย, ให้ IV ถ้าจมน้า จืดให้ isotonic solution ถ้าจมน้าเค็มให้ hypotonic sol. ดูแลบาดแผลและอาการบาดเจ็บร่วม เช่นกระดูกสันหลัง หัก บาดเจ็บที่ศีรษะ ให้ดูแลตาม protocal ส่งต่อ
  • 18. ตกเลือดรุนแรง Sign&symptom :กระสับกระส่าย เหงื่อออก ตัวเย็น ซึม หน้า มือ หมดสติ วิงเวียน ชัก ความดันโลหิตลดลง ป ั สสาวะไม่ ออก ได้รับบาดเจ็บ มีบาดแผลตามร่างกาย ประเมินสภาพผู้ป ่ วย ความรู้สึกตัว ระบบหายใจและระบบ ไหลเวียนโลหิต ให้ oxygen, ให้ IV Retain F/C ส่งต่อ
  • 19. ไฟฟ ้ าช็อต Sign&symptom : ไม่รู้สึกตัว ความรู้สึกตัวเปลี่ยนแปลง ระบบ ไหลเวียนโลหิตผิดปกติ หัวใจเต้นผิดปกติ มีบาดแผลไหม้โดยเฉพาะ บริเวณทางเข้าและทางออกของกระแสไฟฟ ้ า มีกระดูกหักหรือข้อ เคลื่อน กระดูกสันหลังหัก ไตวายเฉียบพลัน ประเมินความรู้สึกตัว ABCs ถ้ามีระบบหายใจและระบบไหลเวียนไม่ทางาน ให้ช่วยฟื้ นคืนชีพ ให้ oxygen, ให้ความอบอุ่นแก่ร่างกาย, ให้ IV ดูแลบาดแผลและอาการบาดเจ็บร่วม เช่นกระดูกสันหลังหัก บาดเจ็บที่ ศีรษะ ให้ดูแลตาม protocal ส่งต่อ
  • 20. ฟ ้ าผ่า Sign&symptom : ระบบไหลเวียนและระบบหายใจหยุดทางาน กระสับกระส่าย ความรู้สึกตัวเปลี่ยนแปลง มีบาดแผลไหม้ตาม ร่างกาย มีบาดแผล มีกระดูกหัก ประเมินความรู้สึกตัว ABCs ถ้ามีระบบหายใจและระบบไหลเวียนไม่ทางาน ให้ช่วยฟื้ นคืนชีพ ให้ oxygen, ให้ IV ดูแลบาดแผลและอาการบาดเจ็บร่วม เช่นกระดูกหัก ให้ดูแล ตาม protocal ส่งต่อ
  • 21. ตกจากที่สูง Sign&symptom : หมดสติ ความรู้สึกตัวเปลี่ยนแปลง การ บาดเจ็บของศีรษะ กระดูกสันหลัง กระดูกแขนขา การบาดเจ็บ ของทรวงอกและอวัยวะภายใน มีบาดแผลตามร่างกาย มี เลือดออกมาก ความดันโลหิตลดลง ประเมินความรู้สึกตัว ABCs ถ้ามีระบบหายใจและระบบไหลเวียนไม่ทางาน ให้ช่วยฟื้ นคืนชีพ ประเมินการบาดเจ็บและความรุนแรง และรักษาการบาดเจ็บ เฉพาะแห่ง เช่นบาดเจ็บช่องท้อง ทรวงอก ตาม protocal NPO ส่งต่อ
  • 22. กระดูกหัก กระดูกหัก Sign&symptom : กระดูกหักชนิดมีแผลเปิ ด แผล สกปรก กระดูกหักที่มีการเสียเลือดมาก กระดูกหักที่มี การทาลายเส้นเลือดแดงหรือเส้นประสาทกล้ามเนื้อ มี การเคลื่อนไหวตาแหน่งที่บาดเจ็บลดลง บวมผิดรูป หมดสติจากเสียเลือดมาก ประเมินความรู้สึกตัว ABCs ให้ oxygen, ให้ IV
  • 24. สิ่งแปลกปลอมติดคอ Sign&symptom : สิ่งแปลกปลอมขนาดใหญ่ เช่นอาหารชิ้น ใหญ่ติดทางเดินหายใจส่วนบน ทาให้หายใจลาบาก สาลัก เขียวและหยุดหายใจ ทา heimlich maneuver หรือ abdominalthrust ทันทีในที่ เกิดเหตุ โดยโอบหลังเอามือประสานกัน กดลงที่ท้องส่วนบน ในเด็กเล็กอุ้มพาดตักแล้วตบหลัง หรืออุ้มโดยให้นอนคว่า ใช้ แขนและมือประคองให้ศีรษะต่าเล็กน้อย มืออีกข้างตบหลังเบาๆ ถ้าไม่ออกให้จัดท่านอนราบ ดูแลภาวะฉุกเฉิน ABCs แล้วส่งต่อ
  • 25. การบาดเจ็บที่ศีรษะ Sign&symptom : หมดสติ ปลุกไม่ตื่น ซึมอาการปวดศีรษะ ไม่ดีขึ้นหรือเป็ นมากขึ้น ชักเกร็ง อาเจียน ความรู้สึกตัวเปลี่ยน แขนขาอ่อนแรง รูม่านตาผิดปกติ มีเลือดหรือน้าใสไหลออก จากจมูก/หู มีบาดแผลหรือศีรษะแตก ประเมินความรู้สึกตัว ABCs ประเมินการบาดเจ็บที่คอ และที่อื่นๆ
  • 26.  ให้ ให้ oxygen, oxygen, ให้ ให้ IV IV  ดูแล ดูแลบาดแผลและอาการบาดเจ็บร่วม ถ้ามีบาดเจ็บที่ บาดแผลและอาการบาดเจ็บร่วม ถ้ามีบาดเจ็บที่ กระดูกคอหรือไม่แน่ใจ ควรใส่ กระดูกคอหรือไม่แน่ใจ ควรใส่ cervical collar cervical collar  Retain F/C Retain F/C ถ้าสามารถทาได้รวดเร็ว ถ้าสามารถทาได้รวดเร็ว  ส่งต่อ ส่งต่อ
  • 27. ถ้าไม่มีอาการดังกล่าว ถ้าไม่มีอาการดังกล่าว( (หน้าที่แล้ว หน้าที่แล้ว) ) Sign&symptom : กะโหลกศีรษะแตก รู้สึกตัวดี glasgow coma score เต็ม 15 มีบาดแผลไม่รุนแรง ไม่มีประวัติหมดสติขณะได้รับ บาดเจ็บ ประเมินและดูแลบาดแผล ให้ยาแก้ปวด สังเกตอาการทางระบบประสาทอย่างใกล้ชิดใน 24 ชม.แรก หรือให้ คาแนะนาผู้ป ่ วยและญาติให้สังเกตอาการที่บ้าน ถ้ามีอาการผิดปกติหรือมีวัตถุเสียบคาอยู่ ห้ามดึงออก ให้ NPO แล้วส่งต่อ
  • 28. การบาดเจ็บทรวงอก Sign&symptom : หมดสติ ความรู้สึกตัวเปลี่ยน ช็อก แน่น หน้าอก หายใจไม่สะดวก กระสับกระส่าย เสียงหายใจเข้า 2 ข้างไม่เท่ากัน มีเสียงลมรั่วเข้าออกบริเวณหน้าอก เสียเลือด มากจากแผล การเคลื่อนไหวของหน้าอกผิดปกติ ประเมินความรู้สึกตัว ABCs ให้ oxygen, ให้ IV ห้ามเลือดถ้ามีเลือดออก ถ้ามีวัตถุเสียบอยู่ ห้ามดึงออก
  • 29. ถ้ามีopen pneumothorax ให้ปิ ดบาดแผลที่ผนังช่อง อกด้วย sterile occlusive dressing จัดให้นอนศีรษะต่า เอียงศีรษะไปข้างใดข้างหนึ่ง เพื่อ ป ้ องกันสิ่งแปลกปลอม เช่นเลือด น้าลาย เสมหะ อุด กั้นทางเดินหายใจและป ้ องกันการสูดสาลัก NPO ส่งต่อ
  • 30. การบาดเจ็บช่องท้อง  Sign&symptom Sign&symptom : : มีเลือดออกในช่องท้อง ได้รับบาดเจ็บอวัยวะ มีเลือดออกในช่องท้อง ได้รับบาดเจ็บอวัยวะ ภายใน เช่นมีการฉีกขาดของลาไส้ หลอดเลือด มีการแตกของ ภายใน เช่นมีการฉีกขาดของลาไส้ หลอดเลือด มีการแตกของ อวัยวะ เช่น ตับ ม้าม ไต มีอาการเกร็ง กดเจ็บที่หน้าท้อง อวัยวะ เช่น ตับ ม้าม ไต มีอาการเกร็ง กดเจ็บที่หน้าท้อง ( (guarding) guarding) ปวดท้องไม่ดีขึ้น ปวดท้องไม่ดีขึ้น N/V N/V อาเจียน อาเจียน/ /ป ั สสาวะเป็ นเลือด ป ั สสาวะเป็ นเลือด หมดสติ ช็อก หมดสติ ช็อก  ประเมินความรู้สึกตัว ประเมินความรู้สึกตัว ABCs ABCs ให้ ให้ oxygen, oxygen, ให้ ให้ IV IV  ประเมินตาแหน่งที่มีการบาดเจ็บ ปิ ดบาดแผลด้วย ประเมินตาแหน่งที่มีการบาดเจ็บ ปิ ดบาดแผลด้วยก๊อซ ก๊อซชุบ ชุบNSS NSS อย่าดันอวัยวะกลับเข้าไปในช่องท้อง ถ้ามีของมีคมเช่นมีดเสียบคา อย่าดันอวัยวะกลับเข้าไปในช่องท้อง ถ้ามีของมีคมเช่นมีดเสียบคา อยู่ อย่าดึงออก อยู่ อย่าดึงออก  NPO NPO ส่งต่อ ส่งต่อ
  • 31. การบาดเจ็บที่สันหลัง Sign&symptom : หมดสติ ชักเกร็ง ระบบไหลเวียนและระบบหายใจ หยุดทางาน แขนขาขาหรืออ่อนแรง เป็ นอัมพฤกษ์ อัมพาต สูญเสียความรู้สึกของลาตัวและแขนขา มีภาวะเกร็งหรือกระตุก ความดันโลหิตลดต่าลง สูญเสียการควบคุมระบบประสาทอัตโนมัติ เช่นไม่สามารถกลั้นอุจจาระ ป ั สสาวะได้ ประเมินความรู้สึกตัว ABCs ประเมินที่มีตาแหน่งที่มีการบาดเจ็บต่อไขสันหลัง อาการชา อ่อนแรง และการทางานของระบบประสาทอัตโนมัติ ให้การพยาบาลเบื้องต้น ส่งต่ออย่างระมัดระวัง ป ้ องกันการบาดเจ็บเพิ่มที่เกิดจากการขนย้าย
  • 32. หลักการเคลื่อนย้ายผู้ป ่ วยบาดเจ็บที่สันหลัง ให้กระดูกสันหลังอยู่ในแนวตรง เคลื่อนย้ายพร้อมกันทั้งตัว ห้ามหามหัวหามท้าย ให้นอนบน เปลแข็งหรือไม้กระดานแข็ง ศีรษะอยู่นิ่ง วางหมอนทรายขนาบ ทั้งสองข้าง ถ้าไม่แน่ใจว่าผู้ป ่ วยมีการบาดเจ็บของกระดูกสัน หลังบริเวณคอด้วยหรือไม่ ควรใส่ collar หรือใช้กระดาษแข็ง/ กระดาษหนังสือพิมพ์พันคอแทน ถ้าไม่มีกระดาษแข็งให้นอน คว่า
  • 33. การแบ่งความรุนแรงของแผลไหม้ ขนาดแผล 1 ฝ่ ามือของผู้ป ่ วย = 1% ของ พท.ผิวหนังของ ผู้ป ่ วย ความลึกของบาดแผล แผลไหม้ระดับหนึ่ง (1st degree burn) ลึกถึงชั้นหนังกาพร้า ผิวหนังมีสีแดง บวมเล็กน้อย ปวดแสบปวดร้อน ไม่มีตุ่มน้า พองใส ระดับสอง มีการไหม้ของหนังกาพร้าและหนังแท้บางส่วน มีตุ่ม น้าพองใส แดง เจ็บ น้าเหลืองซึม ระดับสาม ถึงชั้นไขมันใต้ผิวหนัง ผิวหนังแห้งแข็ง ไม่ยืดหยุ่น อาจมีสีขาวใสเพราะเนื้อเยื่อตายหมด ไม่รู้สึกเจ็บปวด
  • 34. แผลไหม้เล็กน้อย ดูแลบาดแผล ให้ยาแก้ปวด อาจให้ antibiotic เพื่อป ้ องกันการติดเชื้อ ให้ TT นัดตรวจซ้าเพื่อประเมินติดตามการรักษา
  • 35. แผลไหม้ Sign&symptom : แผลไหม้ระดับ 2 ตั้งแต่ 15%ของ พท., ระดับ 2 หรือ 3 บริเวณหน้า มือ เท้า อวัยวะเพศ ข้อต่อ, ระดับ 3 ที่มากกว่า 5% ของ พท., แผลไหม้ที่เกี่ยวข้องกับทางเดิน หายใจ, จากกระแสไฟฟ ้ าแรงสูง, จากสารเคมี, ในผู้ป ่ วยที่ช่วย ตัวเองไม่ได้เช่นทารก ผู้สูงอายุ ผู้เมาสุรา, ผู้ที่มีโรคประจาตัว หรือภูมิคุ้มกันบกพร่อง, มีการบาดเจ็บอื่นร่วม, ระดับ 2 และ 3 รวมกันมากกว่า 10% ในผู้ที่อายุ < 10 ปี หรืออายุมากกว่า 50 ปี
  • 36. ประเมินความรู้สึกตัว ABCs ประเมินการบาดเจ็บร่วมเช่น กระดูกหัก บาดเจ็บที่ศีรษะ ถอดเครื่องประดับ นาฬิกา ป ้ องกันการบวมของเนื้อเยื่อ/การกด รัด ถ้าท้องอืด ใส่ NG tube แผลไหม้ >= 20% ให้ IV retain F/C+ไหม้บริเวณอวัยวะเพศ ใช้สบู่และ NSS ทาความสะอาดแผล เอาสิ่งแปลกปลอมหรือ เนื้อเยื่อที่สกปรกออก อาจต้องโกนขนเพื่อความสะดวกในการทา ความสะอาด ใช้ผ้าชุบน้าเย็นประคบ เพื่อลดการทาลายเนื้อเยื่อ ยกเว้นในผู้ที่ แผลไหม้ระดับ 2 ที่ > 10% ส่งต่อ
  • 37. ภาวะฉุกเฉินทางตา จากอุบัติเหตุ ถูกทาร้าย แมลง/สิ่งแปลกปลอมเข้าตา สารเคมีเข้าตา เปลือกตาฉีก ; ทาแผล ส่งต่อเพื่อเย็บ ตาบวม เขียวช้า มีเลือดออก ; ประคบเย็น ส่งต่อ มีเลือดออกในตา ตามัว ตาแดง ปวดตา ใช้ไฟฉายส่องพบ เลือดในตาดา; absolute bed rest ศีรษะสูง 30-40º ปิ ด ตาทั้ง 2 ข้าง ให้ยาแก้ปวด ส่งต่อ
  • 38. สิ่งแปลกปลอมเข้าตา ถ้าเป็ นโลหะ ติดแน่น เคืองตา ปวดตา น้าตาไหล; หยอดยาชา (ถ้าทาได้) ให้ยาแก้ปวด ส่งต่อทันที ถ้ามองเห็นสิ่งแปลกปลอมชัดเจน และมีอาการเพียงระคายเคือง ; ล้างตา/เขี่ยออก ป ้ ายยา นัด F/U 24 ชม. หากพบ บาดแผลบนแก้วตาให้ส่งต่อ ถ้าเป็ นสารเคมี แสบตา ปวดตามาก ; ล้างตาด้วยNSS นาน 1/2 ชม. อย่างน้อย 2 ลิตร ส่งต่อ เลือดออกใต้ตาขาว เห็นเลือดใต้ตาขาวหลังขยี้ตาแรงๆ หรือไอ จามอย่างแรง แต่มองเห็นชัดดี ; อาการจะหายเองใน 2 wk. ถ้ามีอาการอื่นร่วมเช่นตามัว ส่งต่อ
  • 39. ตาแดงรอบๆ กระจกตา ปวดศีรษะ ปวดกระบอกตามาก ตา มองเห็นไม่ชัด ; ปิ ดตา ส่งต่อทันที เยื่อบุตาฉีกขาด ตามองเห็นชัดแก้วตาปกติ ; หยอดตาปฏิชีวนะ หรือป ้ ายยาปฏิชีวนะแล้วส่งต่อ แก้วตาอักเสบจากแสงยูวี ; หยอดยาชา ป ้ ายด้วย eye ointment ปิ ดตาแล้วส่งต่อ แก้วตาทะลุ มีเนื้อเยื่อในช่องลูกตาหลุดออกมา ; ห้ามหยอดตา ห้ามป ้ ายตา ห้ามปิ ดตา NPO ใช้ที่ครอบตาหรือแว่นยา ให้TT ส่งต่อ
  • 40. ภาวะฉุกเฉินทางหู จากอุบัติเหตุ ถูกทาร้าย แมลง/สิ่งแปลกปลอมเข้าหู หูอื้อ จากความดันบรรยากาศเปลี่ยนเมื่อขึ้นที่สูงหรือดาน้า แผลฉีกขาดที่ใบหู ; ทาแผล ให้ยาแก้ปวด ส่งต่อเพื่อเย็บแผล มีเลือดหรือ CSF ไหลออกจากหู ; absolute bed rest ส่งต่อ สิ่งแปลกปลอมเข้าหู วัตถุต่างๆ เข้าหู ปวดหูมาก ; ถ้าอยู่ตื้น คีบออก ถ้าคีบไม่ ออกหรือมองไม่เห็นให้ส่งต่อ
  • 41. ถ้าน้าเข้าหู จะหูอื้อทันที ; ใช้น้าหยอด ให้ไปรวมกับน้าที่ค้าง แล้วตะแคงหน้าเทออก เช็ดช่องหูให้แห้ง แมลงเข้าหู จะปวดหูมาก ถ้ายังไม่ตายจะมีเสียงผิดปกติใน หู ; ส่องไฟถ้ายังมีชีวิต อาจเดินออกมาเอง ถ้าตายแล้วอยู่ ตื้นให้คีบออก ถ้ายังไม่ตายแต่มองไม่เห็น และเยื่อแก้วหูไม่ ทะลุ ให้หยอดหูด้วยน้ามัน ถ้าตายแต่ไม่ออก ให้ส่งต่อเพื่อ ล้างหู
  • 42. เยื่อแก้วหูฉีกขาดจากการแคะหู มีหูอื้อ ปวดหู ; ห้าม หยอด แคะหรือล้างหู ให้ยาแก้ปวด F/U ต่อเนื่อง ปกติเยื่อแก้วหูจะติดเองใน 3-7 วัน ถ้ามี discharge ไหลให้ส่งต่อ หูอื้อ ปวดหูจากความดันบรรยากาศเปลี่ยน ; แนะนา กลืน ให้ยาแก้ปวดและยา decongestant( เช่น pseudoephedrine) ถ้าไม่ดีขึ้น ส่งต่อ
  • 43. ภาวะฉุกเฉินทางจมูก เลือดกาเดาออก สิ่งแปลกปลอมเข้าจมูก เลือดกาเดาไหลร่วมกับมีโรคประจาตัวเช่น HT CAจมูก โรคเลือด ; ให้นั่งก้มศีรษะมาด้านหน้าเล็กน้อย บีบจมูกแน่นๆ 5-8 นาที หายใจทางปากแทน ประคบเย็น ส่งต่อ เลือดกาเดาออกจากบริเวณ anterior septum มักเกิดจากการ แคะ หรืออากาศแห้งๆ ; ปฏิบัติเหมือนด้านบน ถ้าเลือดยังไม่หยุด ให้ใช้ลาสีชุบ adrenaline 1:1000 อุดไว้ 10 นาที (ถ้าแน่ใจว่าไม่ มี HT)
  • 44. สิ่งแปลกปลอมเข้าจมูก มักพบในเด็ก ; ถ้ามองเห็น ให้คีบออก ถ้ามองไม่เห็นหรือเด็กดิ้นมาก ส่งต่อ
  • 45. ได้รับสารพิษ / ยาเกินขนาด Sign&symptom : หมดสติ N/V ปวดท้อง อุจจาระ-ป ั สสาวะ ราด มีการเปลี่ยนแปลงของระบบประสาทเช่นขนาดรูม่านตา ซึม กระสับกระส่าย ความดันโลหิตลดลง ช็อก ประเมินความรู้สึกตัว ABCs ถ้ามีระบบหายใจและระบบไหลเวียนไม่ทางาน ให้ช่วยฟื้ นคืนชีพ ให้ IV , oxygen ยกเว้น pt. กินพาราควอต ห้ามให้
  • 46. ขจัดหรือลดความรุนแรงของสารพิษหรือยา โดย - ถอดเสื้อผ้าที่เปื้ อนสารพิษ อาบน้า ทาให้อาเจียนในรายที่ รู้สึกตัวดี ยกเว้นในรายที่รับประทานกรดหรือด่าง ล้างท้อง ยกเว้นในรายที่รับประทานกรดหรือด่างเข้มข้น ใส่สารช่วยดูดซึมสารพิษ ได้แก่ - ผงถ่านกัมมันต์ กรณีไม่ใช่พาราควอตและยาพาราเซตามอล - ใส่ผงดิน (fural earth) กรณีพาราควอต - NPO - เมื่อพ้นภาวะวิกฤตให้ส่งต่อ
  • 47. งูกัด งูที่มีพิษต่อระบบประสาท เช่นงูเห่า จงอาง สามเหลี่ยม ทับสมิงคลา อาการ มึนงง เวียนศีรษะ หนังตาตก ลืมตาไม่ขึ้น ขากรรไกรแข็ง อ้าปากไม่ขึ้น อ่อนเพลีย หมดแรง กระวน กระวาย หายใจลาบาก หมดสติ ตาย งูมีพิษต่อระบบเลือด เช่นงูกะปะ แมวเซา เขียวหางไหม้ อาการ ปวด-บวมมาก มีเลือดออกจากแผล ไรฟ ั น เหงือก ริมฝีปาก มีจ้าเลือด ป ั สสาวะเป็ นเลือด กระสับกระส่าย ชีพจรเบาเร็ว ความดันโลหิตลดต่า ปวดท้อง แน่นหน้าอก หมดสติ
  • 48. งูที่มีพิษต่อระบบกล้ามเนื้อ ได้แก่งูทะเลบางชนิดเช่นงูคออ่อน ชายธง แสมรัง อาการ ปวดเมื่อยตามแขนขา ลาตัว เอี้ยวคอ ลาบาก กลอกตาไม่ได้ ไม่สามารถเคลื่อนไหวแขนขาและ ร่างกายได้ กล้ามเนื้ออักเสบรุนแรง ป ั สสาวะเป็ นสีโค้ก ระบบ หายใจล้มเหลว งูพิษกัด : ห้ามกรีดแผล ประเมินความรู้สึกตัว ABCs ถ้ามีระบบหายใจและระบบไหลเวียนไม่ทางาน ให้ช่วยฟื้ นคืนชีพ ตรวจดูบาดแผลและรอยเขี้ยวพิษ ดูแลแผล
  • 49. ถ้างูเห่าพ่นพิษถูกใบหน้าหรือตา ให้ล้างน้าสะอาดมากๆ NPO ถ้าเป็ นงูทะเลต้องดื่มน้ามากๆ เพื่อขับป ั สสาวะและพิษ งู  เคลื่อนไหว เคลื่อนไหวร่างกายให้น้อยที่สุด โดยเฉพาะบริเวณที่ถูกกัด ร่างกายให้น้อยที่สุด โดยเฉพาะบริเวณที่ถูกกัด  อธิบายให้ผู้ป ่ วยคลายความกังวล เพื่อหลีกเลี่ยงอาการ อธิบายให้ผู้ป ่ วยคลายความกังวล เพื่อหลีกเลี่ยงอาการ หัวใจเต้นเร็วขึ้น ช่วยให้พิษเข้าสู่กระแสเลือดช้าลง หัวใจเต้นเร็วขึ้น ช่วยให้พิษเข้าสู่กระแสเลือดช้าลง  ไม่ใช้ปากดูดที่แผล ไม่ใช้ปากดูดที่แผล  ไม่ใช้ยาสมุนไพรพอกที่แผล ไม่ใช้ยาสมุนไพรพอกที่แผล  ส่งต่อ ส่งต่อ
  • 50. กรณีงูไม่มีพิษกัด ทาความสะอาดบาดแผลด้วยน้าสะอาดและสบู่ รักษาตามอาการ เช่นประคบเย็น ให้ยาแก้ปวด ยา ปฏิชีวนะป ้ องกันการติดเชื้อ(dicloxacillin หรือ amoxycillin) นาน 5-10 วัน ให้ TT สังเกตอาการและนัดตรวจซ้า *** ถ้าไม่ทราบชนิดของงู ให้ดูแลหมือนงูพิษกัด
  • 51. สัตว์กัด (สุนัข ลิง หนู ค้างคาว) Sign&symptom : บาดแผลฉีกขาดเหวอะหวะ หรือบาดแผล บริเวณใบหน้า, ถูกกัด ถูกข่วนเป็ นแผล มีเลือดออก ถูกเลียหรือ มีน้าลาย ถูกเยื่อเมือก ตา ปากหรือมีแผล ผิวหนัง และ สัมผัสเนื้อสมอง สัตว์ และหรือชาแหละ ซากสัตว์, ถูกงับเป็ น รอยช้าที่ผิวหนังไม่มีเลือดออก ถูกข่วนไม่มีเลือดออกหรือออก เพียงซิบๆ ถูกเลีย ถูกผิวหนังที่มีแผล รอยถลอก ขีดข่วน ดูแล ล้าง รักษาแผล ส่งต่อไปที่มีความพร้อมในการให้ยาป ้ องกันพิษสุนัขบ้า
  • 52. ถูกต้องสัตว์ หรือป ้ อนน้าป ้ อนอาหาร ผิวหนังไม่มีรอยถลอก ถูกและสัมผัสน้าลาย หรือเลือดสัตว์ ผิวหนังไม่มีรอยถลอก หรือบาดแผล ล้างบริเวณที่สัมผัส ไม่ต้องฉีดวัคซีน การล้างและดูแลแผล : ล้างด้วยสบู่น้าหลายๆครั้ง ถ้าลึกต้อง ล้างถึงก้นแผล แต่ระวังอย่าให้แผลช้า เช็ดแผลด้วย povidoneiodine ไม่เย็บแผล ถ้าจาเป็ นควรรอ 3-4 วัน ยกเว้นเลือกออกมากหรือแผลใหญ่ให้เย็บหลวมๆ และใส่ท่อ ระบาย พิจารณาให้ TT และ ATB. ให้ยาแก้ปวดตามอาการ
  • 53. ผึ้ง ต่อ แตนต่อย ฉุกเฉิน รุนแรง Sign&symptom :หมดสติ ชัก หายใจลาบาก หัวใจเต้นผิดปกติ เขียว หอบ N/V เจ็บ-แน่นหน้าอก เป็ นลม ปวด บวมมาก ประเมินความรู้สึกตัว ABCs ถ้ามีระบบหายใจและระบบไหลเวียนไม่ทางาน ให้ช่วยฟื้ นคืนชีพ รักษาแบบ anaphylaxis ให้ oxygen, IV ส่งต่อ
  • 54. อาการไม่มาก Sign&symptom : ปวดบวมเฉพาะที่ ระบบ ไหลเวียนและหายใจปกติ ไม่มีอาการกระสับกระส่าย เอาเหล็กในออก(ถ้ามีคาอยู่) เพื่อลดพิษ โดยใช้ปลายเข็มสะกิด ออก หรือใช้รูกุญแจ/รูปากกา กดออก ประคบเย็น ทาบริเวณที่ถูกกัดด้วยสเตียรอยด์ หรือแอมโมเนีย เพื่อลดการอักเสบ ยกส่วนที่ถูกต่อยให้สูงเพื่อให้ยุบบวม ให้ยาแก้ปวด ให้ยาแก้แพ้ ในกรณีแพ้ คันหรือบวม สังเกตอาการ หากถูกต่อต่อย ให้ติดตามอาการไตวายเฉียบพลันใน 24-72 ชม.
  • 55. แมงป ่ องต่อย ตะขาบ แมงมุมกัด ฉุกเฉิน รุนแรง Sign&symptom :หมดสติ ชัก หายใจลาบาก หัวใจเต้นผิดปกติ เขียว หอบ N/V เจ็บ-แน่นหน้าอก กระสับกระส่าย มีภาวะ anaphylaxis ประเมินความรู้สึกตัว ABCs ถ้ามีระบบหายใจและระบบไหลเวียนไม่ทางาน ให้ช่วยฟื้ นคืนชีพ รักษาแบบ anaphylaxis ให้ oxygen, IV ส่งต่อ
  • 56. อาการไม่มาก Sign&symptom : ปวดบวมเฉพาะที่ ระบบ ไหลเวียนและหายใจปกติ ไม่มีอาการกระสับกระส่าย ประคบเย็น ทาบริเวณที่ถูกกัดด้วยสเตียรอยด์ หรือแอมโมเนีย เพื่อลดการอักเสบ ยกส่วนที่ถูกต่อยให้สูงเพื่อให้ยุบบวม ให้ยาแก้ปวด ให้ยาแก้แพ้ในกรณีแพ้ คันหรือบวม ให้ยา ATB. และ TT สังเกตอาการลิดตามการรักษา
  • 57. เจ็บอกจากกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือด(angina pectoris) และ กล้ามเนื้อหัวใจตายเฉียบพลัน(AcuteMI) Sign&symptom : ไม่สุขสบาย เหงื่อออก หายใจฝืด BP ลดลง Pผิดปกติ ช็อก หมดสติ ประเมินความรู้สึกตัว ABCs ให้ oxygen IV อมยา NTG 5 mg., กลืนยา aspirin 300 mg.และตามด้วย เคี้ยวและกลืนอีก1 เม็ดทันที ถ้าช็อกหรือหยุดหายใจให้ช่วยฟื้ นคืนชีพ ส่งต่อ
  • 58. หืดจับรุนแรงและต่อเนื่อง(status asthmaticus) Def: ผู้ป ่ วยหอบหืดที่ได้รับยาขยายหลอดลม แต่อาการไม่ดี ขึ้น มีอาการรุนแรงและอาจมีระบบหายใจล้มเหลวได้ Sign&symptom : ไอ หอบ หายใจลาบาก เหนื่อย กระสับกระส่าย ได้ยินเสียง wheezing มีการเปลี่ยนแปลงการรู้ สติ พูดไม่ได้/ไม่เป็ นประโยคเพราะเหนื่อย เขียว เหงื่อแตก ประเมินความรู้สึกตัว ABCs ให้ oxygen IV ให้ยาพ่นโดยวิธี nebulization ที่ต่อกับ oxygen ถ้าช็อกหรือหยุดหายใจให้ช่วยฟื้ นคืนชีพ ส่งต่อ
  • 59. ภาวะป ่ วยจากความร้อน (heat stroke)  Def: สัมผัสความร้อนนาน จนร่างกายควบคุม T ไม่ได้ ศูนย์ควบคุม T ใน สมองหยุดทางาน T>40.5 °c มีภาวะขาดน้ารุนแรงและระบบประสาทสมอง ส่วนกลางผิดปกติ  Sign&symptom : ช็อก เป็ นตะคริว อาเจียน เวียนศีรษะ สับสน ไข้สูง มี เลือดออกในอวัยวะต่างๆ เช่นเลือดกาเดา ชัก หมดสติ  ประเมินความรู้สึกตัว ถอดเสื้อผ้าออกให้หมด เปิ ดพัดลม  ให้ oxygen IV  เช็ดตัวทั่วร่างกายด้วยน้าอุณหภูมิห้อง จน T<38°c ถ้ามีเครื่องฉีดพ่นน้าให้ พ่นน้า  ส่งต่อ
  • 60. ซิปติดหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศ ปวด เมื่อซิปหนีบ ; มาให้ซิปแตก โดยใช้ towel clips 2 อัน หนีบซิปข้างละอันตรงระหว่างตัวรูด แล้วดึงให้ ซิปถ่างออก ใช้ยาชาเฉพาะที่ ใช้คีมตัดเงี่ยงซิปด้านหนึ่ง ออก ทาแผล พิจารณาให้ยา dicloxacillin ถ้าทาไม่สาเร็จ ส่งต่อ
  • 61.
  • 62. คนกัด ถ้าแผลสกปรก ใหญ่เหวอะหวะบริเวณใบหน้า; ประเมิน V/S ล้างแผล ให้ TT ส่งต่อ แผลเล็กน้อย ให้ antibiotic( amoxycillin, dicloxacillin) ให้ TT ไม่ควรเย็บแผลทันที ยกเว้นแผล ที่หน้าที่ไม่ช้าหรือสกปรกมาก นัดF/U ถ้ามีไข้ หรือติด เชื้อรุนแรง เช่น cellulitis ส่งต่อ
  • 63. (หอย)เม่นทะเลตา local reaction ปวดเหมือนหนามตา ต่อมาจะชา ถ้า หนามของหอยเม่นหักคาจะปวดมาก ; ทุบหนามที่หักคาให้ แหลก โดยใช้น้าส้มสายชูหรือน้ามะนาวทาที่แผลสลับการ ทุบ เพื่อลดอาการชา ให้ยาแก้ปวด ยาแก้แพ้ ทาด้วย แอมโมเนียเพื่อลดปวด
  • 64. Systemic reaction มีอาการแพ้โดยเฉพาะ anaphylaxis ; ประเมินความรู้สึกตัว ABCs ถ้า ระบบหายใจและไหลเวียนหยุดทางาน ให้ทา CPR ให้ ออกซิเจนถ้าหายใจไม่ดี ให้ IVถ้าช็อคหรือ BP รักษา เหมือน local reaction ส่งต่อ
  • 65. ได้รับพิษจากแมงกระพรุน Fatal reaction อาการ anaphylaxis, cardio pulmonary arrest ; ประเมิน ABCs ถ้าระบบหายใจและไหลเวียนหยุด ทางาน ให้ทา CPR Local reaction บวมแดงเป็ นแนวเส้นตามรอยหนวดที่สัมผัส เจ็บ คัน อาจมีตุ่มพอง อาจเกิดทันทีหรือหลังสัมผัส 1-4 wks. ; ดูแลระบบหายใจโดยเฉพาะภาวะหลอดลมตีบ มีเสียง วี๊ด หายใจลาบาก เขียว ให้ IV ให้ยาแก้แพ้ ออกซิเจน ส่ง ต่อ
  • 66. Systemic reaction ปวด เวียนศีรษะ คลื่นไส้อาเจียน เหงื่อ ออก น้าตาไหล ไข้ กล้ามเนื้อกระตุก ชา แน่นหน้าอก ; ห้ามถู แผล ลดการเคลื่อนไหวบริเวณแผล อุ่นน้าทะเลที่ T39º เท ราดแผล (ห้ามใช้น้าจืด alcohol เพราะจะทาให้ถุงพิษแตก เข็มพิษจะกระจายมากขึ้น) ใช้แป ้ งโรยเพื่อเอาหนวดออก รักษา ตามอาการ ให้ยาแก้แพ้ แก้ปวด ถ้าแผลลึกมาๆ อาจให้ ATB แนะนาเฝ้ าระวังอาการ anaphylaxis
  • 67. พยายามฆ่าตัวตาย พยายามฆ่าตัวตาย มีบาดแผลทาร้ายร่างกาย ได้รับสารพิษจากการทาร้ายตนเอง ใช้สารเสพติด โรคจิต เครียด/กังวลสูง กาลังอยู่ในช่วงดื่ม สุราจัดหรือขาดสุรา ; ประเมินความรู้สึกตัว ABCs ประเมินการ บาดเจ็บหรือได้รับสารพิษ ค้นหาสาเหตุ ป ้ องกันการทาร้าย ตนเอง ไม่ทิ้งให้อยู่คนเดียว จัดสิ่งแวดล้อมเก็บสิ่งของมีคม หรือที่อาจนามาทาร้ายตนเอง อาจต้องผูกรัด นัด F/U ให้ คาปรึกษา ส่งต่อจิตแพทย์
  • 68. ถูกข่มขืน แผลบวมช้า แผลฉีกขาด แผลจากการต่อสู้ เสีย เลือดมาก กระดูกหัก อวัยวะเพศมีการฉีกขาด ; ประเมินภาวะอันตรายเช่นเสียเลือด ช็อค จัดให้อยู่ใน สถานที่เป็ นส่วนตัวและปลอดภัย ปฐมพยาบาลดูแล บาดแผลเบื้องต้น แต่ต้องไม่กระทบต่อการตรวจหา หลักฐานและวัตถุพยานตามร่างกายผู้ป ่ วย ส่งต่อ
  • 69. คลุ้มคลั่ง อาละวาด ก้าวร้าว โดยอาจเป็ นคาพูดหรือการกระทา จากดื่มจัด ขาดสุรา บุคลิกภาพแปรปรวน ผู้ป ่ วยจิตเวช ชนิดหวาดระแวงหรือ mania มีความผิดปกติของสมอง กาลังมีภาวะคับข้องใจ มีภาวะสูญเสีย ผิดหวังรุนแรง พฤติกรรมเปลี่ยนแปลง ควบคุมตนเองไม่ได้ ทาลายของ ทา ร้ายผู้อื่น อารมณ์ดุร้ายเปลี่ยนแปลงเร็ว พูดเรื่อยเปื่ อยไม่เป็ น เรื่องราว หลงผิด หวาดระแวง หูแว่ว ประสาทหลอน อาจ ทาตามที่หูแว่ว เอะอะโวยวาย ไม่กินไม่นอน
  • 70. ระวังการเข้าใกล้ผู้ป ่ วย ถ้าไม่แน่ใจ นั่งในระดับที่มองเห็นผู้ป ่ วยได้ชัดเจน ไม่นั่งขวางทางหรือขวาง ประตู เปิ ดประตูไว้ ถ้าผู้ป ่ วยยังมีอาการดุร้าย ควรยืนห่างอย่างน้อย 8 ฟุต และ อยู่ในท่าที่เตรียมพร้อมสาหรับการหนีหรือการช่วยเหลือตนเอง อาจต้องผูกมัด ถ้าผู้ป ่ วยมีแนวโน้มควบคุมตนเองไม่ได้ ส่งต่อหลังผู้ป ่ วยสงบ