SlideShare a Scribd company logo
สรุปเปรียบเทียบโรคแผนปัจจุบัน
ในคัมภีร์ตักศิลา
By Aj.Chuanchom Khuniad
Department of Thai Traditional Medicine,
Faculty of Health and Sports Science TSU
Google site : https://sites.google.com/site/chuanchomkhuniad/
E-mail : chuanchom.kh@gmail.com
วิชา เวชกรรมไทย 2
0505222 (2/2557)
เปรียบเทียบโรคแผนปัจจุบันในคัมภีร์ตักศิลา
ไข้อีดา-ไข้อีแดง (Scarlet fever) ไข้รากสาดน้อย (Typhoid fever)
ไข้รากสาดเทียม (Paratyphoid fever) ไข้รากสาดใหญ่ (Typhus)
ไข้หัด (Measles/Rubeola) ไข้เหือด (German Measles / Rubella)
ไข้งูสวัด (Herpes Zoster) ไข้เริมน้าค้าง-ไข้เริมน้าข้าว (Herpes simplex)
ไข้ลาลาบเพลิง-ไข้ไฟลามทุ่ง (Erysipelas) ไข้มาลาเรีย (Malaria)
ไข้เลือดออก (Dengue Haemorrhagic Fever) ชิกุนคุนยา (Chikungunya)
ไข้อีสุกอีใส (Chickenpox,Varicella) ฉี่หนู (Leptospirosis)
ไข้หวัดน้อย (Common cold) ไข้หวัดใหญ่ (Influenza)
โลหิตเป็นพิษ (Septicemia/Sepsis) บาดทะยัก (Tetanus)
กาฬหลังแอ่น (Meningococcal Meningitis) ฝี (abscess)
ฝีดาษ (Smallpox) อื่นๆ เช่น แผลพุพอง แผลเรื้อรัง มะเร็ง
แผลร้อนใน คางทูม ส่าไข้ เป็นต้น
ไข้อีดาอีแดง (Scarlet fever)
ชื่อโรคตามคัมภีร์ตักศิลา ไข้อีดา ไข้อีแดง
สาเหตุ เกิดจากเชื้อแบคทีเรีย ชื่อ สเตรปโตคอคคัส กรุ๊ปเอ (Group
A streptococcus) หรือ Streptococcus pyogenes
ระยะฟักตัว 2-5 วัน
การติดต่อ ติดต่อโดยการหายใจ ไอ หรือจามรดกัน
อาการ ไข้สูง เจ็บคอ ทอนซิลบวมแดงหรือมีจุดหนอง ลิ้นเป็นฝ้า ลิ้น
อาจมีลักษณะหนาขึ้นและออกเป็นสีชมพูคล้ายผลสตรอเบอร์รี
เรียกว่า strawberry tongue มีผื่นแดงตามผิวหนัง กดแล้วซีด
(maculopapular rash) ซึ่งจะขึ้นในวันที่ 2 หลังมีไข้ เริ่มที่หน้า
วันที่ 6 ผื่นเริ่มจาง ผิวหนังลอก
Lab Anti streptolysin O (สูง)เพาะเชื้อจากสารคัดหลั่งในลาคอของผู้ป่วย
หรือตรวจเลือด การรักษา ให้ยาปฏิชีวนะ ยาแก้ว 5 ดวง
ไข้รากสาดน้อย (Typhoid fever)
ชื่อโรคตามคัมภีร์ตักศิลา ไข้รากสาดปานแดง กาฬฟองสมุทร
สาเหตุ เกิดจากเชื้อแบคทีเรีย Salmonella typhi
เป็นแบคทีเรียรูปแท่งสั้น เคลื่อนที่โดยแฟลกเจลลาหลายเส้น
ไข้รากสาดน้อย หรือโรคไข้ไทฟอยด์
(Typhoid fever)
ติดต่อ โดยการรับประทานอาหารหรือดื่มน้าที่มีเชื้อปนเปื้อน
ระยะฟักตัว 1-3 สัปดาห์
อาการ หลังจากได้รับเชื้อนี้ 1-2 สัปดาห์ผู้ป่วยจะเริ่มเกิดอาการเบื่อ
อาหาร ปวดศีรษะ อ่อนเพลีย ปวดตามตัว ไอแห้งๆ หนาวสั่น ไข้สูง
ลอย หน้าซีด แต่เปลือกตาไม่ซีด บางรายอาจจะมีผื่นแดง (Rose
colored spots) ขึ้นตามตัว บางรายอาจจะมีอาการแน่นท้อง ท้องอืด
มักมีอาการท้องผูกหรือไม่ก็ถ่ายเหลวเสมอ อุจจาระมีสีเขียว มีกลิ่น
เหม็น ตับและม้ามโต กดเจ็บ ชีพจรเต้นช้า บางรายอาจเพ้อ
หน้าซีดเซียว แต่เปลือกตาไม่ซีด ซึ่งเป็นลักษณะเฉพาะของโรคที่
เรียกว่า หน้าไทฟอยด์
ไข้รากสาดน้อย หรือโรคไข้ไทฟอยด์
(Typhoid fever)
Lab Widal test การเพาะเชื้อจากเลือด อุจจาระ ปัสสาวะ เม็ดเลือดขาวต่า
การรักษา ให้ยาปฏิชีวนะ ยาประสะจันทน์แดง ยาแก้ว 5 ดวง
Typhoid face
ไข้รากสาดเทียม ไข้พาราไทฟอยด์ (Paratyphoid fever)
ชื่อโรคตามคัมภีร์ตักศิลา ไข้รากสาดปานเขียว
อาการ มีลักษณะอาการคล้ายคลึงกันกับโรคไข้รากสาดน้อย
แต่มีความแตกต่างกันตรงที่ไข้รากสาดน้อยจะมีอาการรุนแรง
กว่า มีผื่นแดง (Rose colored spots) ดึงแล้วจางขึ้นตาม
ตัวแล้วกลายเป็นสีเขียว (Green maculopapular rash)
Lab Widal test การเพาะเชื้อจากเลือด อุจจาระ ปัสสาวะ เม็ดเลือดขาวต่า
การรักษา ให้ยาปฏิชีวนะ ยาประสะจันทน์แดง ยาแก้ว 5 ดวง
สาเหตุ เกิดจากเชื้อแบคทีเรีย Salmonella paratyphi gr. A, B, C
ระยะฟักตัว 1-10 วัน
ไข้รากสาดใหญ่ (Typhus) ชนิด Scrub typhus
ชื่อโรคตามคัมภีร์ตักศิลา ไข้รากสาดปานดา
สาเหตุ ไข้รากสาดใหญ่ มีตัวไรอ่อน (chigger,mite) เป็นพาหะ
เกิดจากเชื้อแบคทีเรีย ชื่อ Rickettsia (Orientia) Tsutsugamushi
รูปร่างไม่แน่นอน (rod, cocci หรือ filament)
ระยะฟักตัว 8-21 วัน (ประมาณ 14 วัน)
อาการ ไข้สูง ปวดศีรษะมาก คลื่นไส้ อาเจียน มีผื่นแดง (erythematous maculopapular
rash) และมีรอยจากการโดนกัดเป็นแผลมีขอบนูน สีคล้าตรงกลาง คล้ายบุหรี่จี้ (Eschar
lesion) ปวดกล้ามเนื้อ
Lab weil-felix test เม็ดเลือดขาวต่า
ไข้รากสาดใหญ่ (Typhus) ชนิด Murine typhus
ชื่อโรคตามคัมภีร์ตักศิลา ไข้รากสาดปานเหลือง
ไข้รากสาดใหญ่ มีหมัดหนู กระต่าย กระรอก (Flea)
เป็นพาหะ
สาเหตุ เกิดจากเชื้อชนิดแบคทีเรีย Rickettsia typhi
ระยะฟักตัว 6-20 วัน
ไข้รากสาดใหญ่ (Typhus) ชนิด Murine typhus
ชื่อโรคตามคัมภีร์ตักศิลา ไข้รากสาดปานเหลือง
อาการ ไข้สูง ปวดหัวมาก ปวดเมื่อยตามตัว ผิวเหลือง ลิ้นเหลือง มีผื่นแดง
ราบขึ้นตามตัว หลังจากนั้นจะกลายเป็นผื่นนูน แล้วเปลี่ยนเป็นสีเหลือง
(Yellow maculopapular rash) ไม่มี Eschar
Lab weil-felix test
ไข้หัด (Measles/Rubeola)
ชื่อโรคตามคัมภีร์ตักศิลา ไข้ออกหัด
สาเหตุ เกิดจากเชื้อหัด ซึ่งเป็นไวรัสที่ชื่อว่า ไวรัสรูบีโอลา (rubeola virus) ซึ่งมี
อยู่ในน้้ามูก น้้าลายของผู้ป่วย
ติดต่อ โดยการไอ จาม หรือหายใจรดกัน หรือโดยการสัมผัสถูกมือหรือสิ่งของ
เครื่องใช้ที่แปดเปื้อนเชื้อ เช่นเดียวกับไข้หวัด
ระยะฟักตัว 10-12 วัน
ไข้หัด (Measles/Rubeola)
ชื่อโรคตามคัมภีร์ตักศิลา ไข้ออกหัด
อาการ ไอ น้ำมูกไหล ตำแดง (3C) มีไข้ พบจุดขาว ๆ เหลือง ๆ ขนาดเล็กคล้าย
เมล็ดงาที่กระพุ้งแก้มบริเวณใกล้ฟันกรามล่าง (ถ้าเป็นมากจะพบอยู่เต็มกระพุ้งแก้ม)
เรียกว่า จุดค็อปลิก (Koplik’s spot) มีผื่นขึ้นหลังมีไข้ 3-4 วัน เป็นผื่นแดงแบบ
erythematous maculopapular rash ขึ้นทั่วตัวผื่นจากสีแดงจะกลายเป็นสี
น้าตาลเข้มแล้วจางหายไป 7-10 วัน
การรักษา ยาเขียวหอม ยามหานิลแท่งทอง
14
ไข้เหือด (German Measles / Rubella)
ชื่อโรคตามคัมภีร์ตักศิลา ไข้ออกเหือด
สาเหตุ : เกิดจากเชื้อหัดเยอรมัน ซึ่งเป็นไวรัสที่มีชื่อว่า รูเบลลา (rubella
virus) เชื้อจะอยู่ในน้้ามูก น้้าลายผู้ป่วย
ติดต่อ : โดยการไอ จาม หรือหายใจรดกัน เช่นเดียวกับไข้หวัดหรือหัด
ระยะฟักตัว : 14-21 วัน
อาการ มีไข้ต่้า ๆ ถึงปานกลาง ร่วมกับมี ผื่นแดงเล็ก ๆ (erythematous
maculopapular rash) กระจายอยู่ทั่วตัว ผื่นอาจขึ้นในวันเดียวกับที่มีไข้
หรือหลังมีไข้ 1-2 วัน มักจะจางหายภายใน 3-4 วัน โดยไม่ทิ้งรอยแต้มด้า
ๆ ให้เห็นเหมือนผื่นของหัด ตาแดงเล็กน้อย สิ่งที่ส้าคัญที่บ่งชี้ถึงลักษณะของ
โรคนี้ คือ มีต่อมน้้าเหลืองโต
Lab ตรวจ CBC เม็ดเลือดขาวและเกล็ดเลือดต่้า IgM, IgG antibody
ไข้อีสุกอีใส (Chickenpox,Varicella)
ชื่อโรคตามคัมภีร์ตักศิลา ประกายดาษ ประกายเพลิง
สาเหตุ เกิดจากเชื้อไวรัสที่เรียกว่า Varicella Zoster virus (VZV)
ติดต่อ โดยการสัมผัสกับตุ่มน้้าโดยตรง หรือสัมผัสถูกสิ่งของเครื่องใช้ หรือสูด
หายใจเอาละอองของตุ่มน้้าผ่านเข้าทางเยื่อเมือก (เยื่อตา ทางเดินหายใจ)
ระยะฟักตัว 10-20 วัน
อาการ ไข้ต่าๆ ครั่นเนื้อครั่นตัว เบื่ออาหาร ปวดศีรษะ ผื่นขึ้นพร้อมมีไข้ หรือ
หลังมีไข้ 1-2 วัน ผื่นแดงราบก่อน ต่อมาจะกลายเป็นตุ่มนูน มีน้าใส ๆ อยู่
ข้างใน และจะกลายเป็นหนอง หลังจากนั้น 2-4 วันก็จะตกสะเก็ด ผื่น ตุ่ม
ของโรคนี้จะค่อย ๆ ออกที่ละระลอก หรือทีละชุด ขึ้นไม่พร้อมกันทั่วร่างกาย
Lab Tzanck smear การรักษา ยาห้าราก ยาเขียวหอม ยาในคัมภีร์ตักศิลา
งูสวัด (Herpes Zoster)
ชื่อโรคตามคัมภีร์ตักศิลา ไข้งูสวัด (ตวัด) ไข้สังวาลพระอินทร์ ไข้สายฟ้าฟาด
สาเหตุ เกิดจากเชื้อไวรัสที่เรียกว่า Varicella Zoster virus (VZV) เป็นชนิด
เดียวกับที่ทาให้เกิดโรคไข้อีสุกอีใส คนที่เป็นโรคงูสวัดจะต้องเคยเป็นโรค
อีสุกอีใสมาก่อน
อาการ มีอาการปวดแสบร้อนบริเวณผิวหนัง หลังจากนั้น 2-3 วัน มีผื่นแดงขึ้นตรง
บริเวณที่ปวด แล้วกลายเป็นตุ่มน้าใส ผู้ป่วยบางรายอาจมีไข้ร่วมด้วย ผื่นมักเรียงกัน
เป็นกลุ่ม หรือเป็นแถวยาวตามแนวเส้นประสาทซีกใดซีกหนึ่งของร่ายกาย และจะ
แตกออกเป็นแผล ต่อมาจะตกสะเก็ด และหายได้เองใน 2 สัปดาห์ และเมื่อแผลหาย
แล้ว อาจยังมีอาการปวดตามแนวเส้นประสาทได้ Lab Tzanck smear
การรักษา เสลดพังพอนตัวผู้-ตัวเมีย ยาในคัมภีร์ตักศิลา ยาห้าราก
Maculopapular Vesicle  Pustule  Crusting  Scar
เริม (Herpes simplex)
ชื่อโรคตามคัมภีร์ตักศิลา ไข้เริมน้าค้าง-ไข้เริมน้าข้าว
สาเหตุ เกิดจากการติดเชื้อไวรัส Herpes simplex virus (HSV) มี 2 ชนิด คือ ชนิด 1
(HSV-1) และชนิด 2 (HSV-2) โดย ชนิด 1 มักเป็นสาเหตุติดเชื้อในช่องปากและริม
ฝีปาก ส่วนชนิด 2 มักเป็นสาเหตุติดเชื้อในอวัยวะเพศภายนอกและในช่องคลอด
การติดต่อ ติดต่อได้โดยการสัมผัสโดยตรงกับตุ่มแผลที่เป็นโรค จากน้าลาย
จากสารคัดหลั่ง ใช้ของใช้ร่วมกัน การจูบ การกิน และเมื่อเกิดกับอวัยวะเพศ
จะก่อให้เกิดการติดเชื้อทางเพศสัมพันธ์ และติดต่อจากแม่สู่ลูกได้ขณะคลอด
ระยะ ฟักตัวประมาณ 3-7 วันหลังได้รับเชื้อ
อาการ ไข้ ปวดเมื่อยกล้ามเนื้อ หลังจากได้รับเชื้อ 7-10 วัน จะปวดแสบ
ปวดร้อน และคันในบริเวณที่จะมีแผล ต่อมาเกิดเป็นตุ่มน้าอย่างรวดเร็ว
ภายใน 1 - 2 วัน ตุ่มน้าจะแตกออกตกสะเก็ดเป็นแผล ไม่หายขาด
สามารถเป็นซ้าได้
Lab การเพาะเชื้อ Tzanck smear การรักษา เสลดพังพอนตัวผู้-ตัวเมีย
ไข้มาลาเรีย (Malaria)
ชื่อโรคตามคัมภีร์ตักศิลา ไข้หงส์ระทด ไข้สุริยสูตร ไข้จันทรสูตร ไข้เมฆสูตร
สาเหตุ เกิดจากเชื้อโปรโตซัวชนิด
Plasmodium falciparum P. vivax
P. ovale และ P. malariae
การติดต่อ ติดต่อสู่คนโดยการถูกยุงก้นปล่องตัวเมียที่มีเชื้อมาลาเรียกัด
ระยะฟักตัว ประมาณ 1-2 สัปดาห์
อาการจับไข้ แบ่งออกเป็น 3 ระยะดังนี้
1. ระยะหนาวสั่น มีอาการหนาวสั่นมาก ระยะนี้กินเวลา 20-60 นาที
2. ระยะไข้ตัวร้อน มีไข้สูง 40-41O
C ปวดศีรษะมาก อาจปวดลึกเข้า
ไปในกระบอกตา หน้าแดง ตาแดง กินเวลาประมาณ 2 ชั่วโมง
3. ระยะเหงื่อออก จะมีเหงื่อออกชุ่มทั้งตัว ไข้จะลดลงเป็นปกติ กิน
เวลาประมาณ 1-2 ชั่วโมง เป็นช่วงปราศจากไข้ แต่จะเกิดไข้ใหม่ เป็นเช่นนี้
เรื่อยไป
ผู้ป่วยมาลาเรียชนิดไวแวกซ์ มักจับไข้วันเว้นวัน หรือทุก 48 ชั่วโมง
ผู้ป่วยมาลาเรียชนิดฟาลซิพารัม มักจับไข้ทุกวัน หรือทุก 36 ชั่วโมง
Lab โดยการตรวจเลือดเพื่อหาเชื้อมาลาเรีย
ไข้เลือดออก (Hemorrhagic Fever)
ชื่อโรคตามคัมภีร์ตักศิลา ไข้กาเดาน้อย ไข้กาเดาใหญ่
สาเหตุ : เกิดจากยุงลายที่มีเชื้อไข้เลือดออกกัด เป็นเชื้อไวรัสชื่อ Dengue virus
ระยะฟักตัว : 3-15 วัน (ส่วนมาก 5-7 วัน)
ยุงลายบ้าน (Aedes aegypti) และ ยุงลายสวน (Aedes albopictus)
อาการของไข้เลือดออก แบ่งเป็น 3 ระยะ คือ
ระยะที่ 1 Dengue fever (DF) : ผู้ป่วยมีไข้สูงเกิดขึ้นฉับพลัน กินยาลดไข้มักจะไม่
ลด ปวดศีรษะ หน้าแดง เบื่ออาหาร อาจมีผื่นแดง ไม่คัน
ระยะที่ 2 Dengue shock syndrome (DSS) Dengue hemorrhagic fever
(DHF), : เป็นระยะช็อกและมีเลือดออก ไข้ลด ตัวเย็น มือเท้าเย็น เหงื่อออก ความ
ดันต่้า มีเลือดออกตามที่ต่าง ๆ มีจุดเลือดออกใต้ผิวหนัง (petechiae)
ระยะที่ 3 : เป็นระยะฟื้นตัว ทดสอบ tourniquet test CBC
ชิกุนคุนยา (Chikungunya)
ชื่อโรคตามคัมภีร์ตักศิลา ไข้กาเดาน้อย
สาเหตุ : เกิดจากยุงลายที่มีเชื้อไวรัส ขื่อชิกุนคุนยา (chigunkunya virus)
กัด ส่วนใหญ่คือยุงลายสวน (Aedes albopictus)
ระยะฟักตัว : 1-12 วัน (ส่วนมาก 2-3 วัน)
อาการ ไข้สูงเฉียบพลัน (เร็วกว่าไข้เลือดออก) มีผื่นแดง (red maculopapular
rash) ดึงแล้วไม่จาง อาการที่เด่นชัดคืออาการปวดข้อ ซึ่งอาจพบข้ออักเสบได้
ส่วนใหญ่จะเป็นที่ข้อเล็กๆเช่น ข้อมือ ข้อเท้า อาการปวดข้อจะพบได้หลายๆ
ข้อเปลี่ยนตาแหน่งไปเรื่อยๆ (migratory polyarthritis)
Lab ตรวจ CBC tourniquet test การรักษา แก้ว 5 ดวง จันทลีลา
โรคฉี่หนู (Leptospirosis)
ชื่อโรคตามคัมภีร์ตักศิลา ไข้รากสาดปานม่วง
สาเหตุ เกิดจากการติดเชื้อแบคทีเรียรูปเกลียว ชื่อ เล็บโตสไปร่า (Leptospira)
การติดต่อ สัตว์ที่นาเชื้อได้แก่ หนู รองลงมาได้แก่ สุนัข วัว ควาย สัตว์พวกนี้เก็บเชื้อไวใน
ไตเมื่อหนูปัสสาวะเชื้อจะอยู่ในน้าหรือดิน เมื่อคนสัมผัสเชื้อซึ่งอาจจะเข้าทางแผล เยื่อบุใน
ปากหรือตา หรือแผล ผิวหนังปกติที่เปียกชื้นเชื้อก็สามารถไชผ่านไปได้เช่นกัน
เชื้ออาจจะเข้าร่างกายโดยการดื่มหรือกินอาหารที่มีเชื้อ
ระยะฟักตัว โดยเฉลี่ยประมาณ 10 วันหรืออยู่ระหว่าง4-19 วัน
อาการ ตาแดง เลือดกาเดาไหล ปวดหัว ปวดเมื่อยน่อง และกดเจ็บที่
น่อง ทั้ง 2 ข้าง คลื่นไส้ อาเจียน มีไข้ อาจมีอาการตาเหลือง มีผื่นเป็น
ปื้นสีม่วงแดงตามบริเวณร่างกาย (Anthocyanin patchy rash)
Lab เจาะเลือด ตรวจปัสสาวะ
ไข้หวัด (Common cold)
ชื่อโรคตามคัมภีร์ตักศิลา ไข้หวัดน้อย
สาเหตุ เกิดจากการติดเชื้อไวรัส ชนิดที่ทาให้เกิดการอักเสบของอวัยวะ
ระบบทางเดินหาย ใจส่วนบน (Upper resoiratory infection) ซึ่งมี
หลากหลายชนิด แต่กลุ่มใหญ่คือกลุ่ม ไรโนไวรัส (Rhinoviruses) และ โค
โรนาไวรัส (Coronaviruses)
การติดต่อ วิธีการติดต่อได้แก่ ติดต่อโดยการไอหรือจาม เชื้อจะ เข้าทาง
เยื่อบุตาและปาก สัมผัสเสมหะของผู้ป่วยทางแก้วน้า ผ้า จูบ สัมผัสทาง
มือที่ปนเปื้อนเชื้อโรค
อาการ มีไข้ ครั่นเนื้อครั่นตัว ปวดศีรษะ เป็นหวัด คัดจมูก จาม น้ามูก
ใส เจ็บคอถ้าน้ามูกเขียว ติดเชื้อแบคทีเรีย
การรักษา จันทลีลา ยามหานิลแท่งทอง ยากวาดแสงหมึก ยาห้าราก
ไข้หวัดใหญ่ (Influenza)
ชื่อโรคตามคัมภีร์ตักศิลา ไข้หวัดน้อย ไข้ 3 ฤดู
สาเหตุ เป็นการติดเชื้อ Influenza virus ซึ่งสายพันธุ์ไข้หวัดใหญ่ในคน
มีหลายสายพันธุ์ แต่ที่จะยกตัวอย่างที่เป็นกันบ่อยๆ คือ สายพันธุ์
H1N1 และ H3N2 ไข้หวัดนก (H5N1) เป็นการติดเชื้อทางเดินระบบ
หายใจส่วนล่าง (Lower respiratory infection)
การติดต่อ แพร่ติดต่อไปยังคนอื่น ๆ ได้ง่าย เช่น การไอหรือจามรด
กัน หรือหายใจเอาฝอยละอองเข้าไป บางรายได้รับเชื้อทางอ้อมผ่าน
ทางมือหรือสิ่งของเครื่องใช้ที่ปนเปื้อนเชื้อ เชื้อจะเข้าสู่ร่างกายทาง
จมูก ตา ปาก
ระยะฟักตัว ประมาณ1-4 วันเฉลี่ย 2 วัน
อาการ ไข้สูง ปวดเมื่อยกล้ามเนื้อ ปวดศีรษะมาก ไอแห้งๆ อ่อนเพลีย
เจ็บคอมาก ไม่มีเสมหะ
Lab WBC ต่า
ยา ประสะจันทน์แดง ยา 5 ราก
โลหิตเป็นพิษ (Septicemia/Bacterimia/SepsisSeptic shock)
สาเหตุ มีเชื้อแบคทีเรียแพร่กระจายเข้าสู่โลหิต มักเป็นผลแทรกซ้อน
ของโรคติดเชื้อแบคทีเรีย หรือคนไข้ภูมิคุ้มกันต่า
อาการ ไข้สูงมาก หนาวสั่น เบื่ออาหาร ปวดศีรษะ ปวดเมื่อย
กล้ามเนื้อ ปวดท้อง เจ็บคอ ท้องเสีย อุจจาระเป็นมูกใส ถ้ามีอาการ
หนักอุจจาระมีสีดา สีเลือด ตัวเหลือง ตาเหลือง (ดีซ่าน) อาจมีจุด
แดงหรือจ้าเขียวตามตัว มีเลือดออกตามที่ต่างๆ ปัสสาวะน้อย
Lab เจาะเลือด น้าไขสันหลังไปตรวจ เกล็ดเลือดต่า
ไฟลามทุ่ง (Erysipelas)
ชื่อโรคตามคัมภีร์ตักศิลา ไข้ลาลาบเพลิง-ไข้ไฟลามทุ่ง
สาเหตุ โรคนี้เป็นการอักเสบของผิวหนังชั้นหนังแท้และเนื้อเยื่อใต้
ผิวหนังชั้นตื้น (upper subcutaneous tissue) รวมทั้งท่อน้าเหลืองที่
อยู่ใกล้ เกิดจากการติดเชื้อแบคทีเรีย ซึ่งที่พบบ่อยคือ จาก
แบคทีเรียชนิด beta streptococcus group A ระยะฟักตัว 2-5 วัน
ผิวหนังที่เกิดโรค มีลักษณะเป็นผื่นใหญ่ แดงสด บวม เจ็บ คลาดูที่ผื่นจะ
ร้อน ขอบผื่นยกนูนจากผิวหนังปกติชัดเจน และอาจพบเป็นตุ่มพอง
(Blister) ร่วมด้วย โดยผื่นที่เกิด มักลุกลามอย่างรวดเร็ว และผิวหนังที่
แดงอักเสบบวม จะตึงมีลักษณะคล้ายเปลือกส้มหรือหนังหมูนอกจากนั้น
อาการที่มักพบเกิดร่วมด้วย คือ อาการไข้ที่มักเกิดขึ้นอย่างเฉียบพลัน และ
ในรายรุนแรง มักเป็นไข้สูง หนาวสั่น
Lab เพาะเชื้อจากแผลและเลือด ตรวจ CBC พบเม็ดเลือดขาวสูง
บาดทะยัก (Tetanus)
ชื่อโรคตามคัมภีร์ตักศิลา ไข้คด ไข้แหงน
สาเหตุ Clostridium tetani เชื้อจะเข้าสู่ร่างกายทาง
บาดแผลทั้งแผลสด แผลเรื้อรัง
ระยะฟักตัว 5 วัน – 15 สัปดาห์
อาการ อาจมีไข้ขนาดเล็กน้อยถึงปานกลาง (ไข้มักไม่สูงมาก ยกเว้นใน
รายที่มีปอดอักเสบแทรก) มักตรวจพบอาการขากรรไกรแข็ง คอแข็ง
หลังแข็ง และอาการชักกระตุกเป็นพัก ๆ รีเฟลกซ์ของข้อ
(tendon reflex) มักจะไวกว่าปกติ ส่วนมากจะพบมีบาดแผลอักเสบ
refer
กาฬหลังแอ่น (Meningococcal Meningitis)
ชื่อโรคตามคัมภีร์ตักศิลา ไข้แหงน ไข้ข้าวไหม้น้อย-ใหญ่
สาเหตุ ติดเชื้อแบคทีเรียที่มีชื่อว่า Neisseria meningitidis ทาให้เกิดอาการเยื่อ
หุ้มสมองอักเสบ (Meningitis) หรือเกิดการแพร่กระจายลุกลามในกระแสโลหิต
(Meningococcemia)
ติดต่อ ทางละอองฝอยจากน้ามูก น้าลาย หรือจากสารคัดหลั่งต่างๆ จากการ
สัมผัสใกล้ชิด
ระยะฟักตัว 1-10 วัน
อาการ ปวดหัว มีไข้ คอเกร็งแข็ง มีผื่นจ้าเลือด (Pupuric rash)
ขนาดมากกว่า 0.5 มม. ถ้าอาการรุนแรงผื่นจะรวมตัวกันคล้าย
ดาวกระจาย (Venous star) เอาแก้วน้ากดลงผื่นจะไม่จาง
Lab ตรวจเลือด ตรวจน้าไขสันหลัง refer

More Related Content

Similar to สรุปเปรียบเทียบโรคแผนปัจจุบันในคัมภีร์ตักศิลา.pdf

แนวทางการดูแลผู้ป่วยโรคไข้เลือดออกสำหรับครอบครัว
แนวทางการดูแลผู้ป่วยโรคไข้เลือดออกสำหรับครอบครัว แนวทางการดูแลผู้ป่วยโรคไข้เลือดออกสำหรับครอบครัว
แนวทางการดูแลผู้ป่วยโรคไข้เลือดออกสำหรับครอบครัว
Utai Sukviwatsirikul
 
แนวทางการดูแลผู้ป่วย ไข้เลือดออก (สำหรับครอบครัว)
แนวทางการดูแลผู้ป่วย ไข้เลือดออก (สำหรับครอบครัว)แนวทางการดูแลผู้ป่วย ไข้เลือดออก (สำหรับครอบครัว)
แนวทางการดูแลผู้ป่วย ไข้เลือดออก (สำหรับครอบครัว)
chalunthorn teeyamaneerat
 
คำแนะนำสำหรับผู้ป่วยหวัด 2009
คำแนะนำสำหรับผู้ป่วยหวัด 2009คำแนะนำสำหรับผู้ป่วยหวัด 2009
คำแนะนำสำหรับผู้ป่วยหวัด 2009Adisorn Tanprasert
 
ไข้เลือดออก
ไข้เลือดออกไข้เลือดออก
ไข้เลือดออก
Prachaya Sriswang
 
โรคมะเร็งกล่องเสียง (1)
โรคมะเร็งกล่องเสียง (1)โรคมะเร็งกล่องเสียง (1)
โรคมะเร็งกล่องเสียง (1)Wan Ngamwongwan
 
DENGUE
DENGUE DENGUE
สไลด์นำเสนอ AIDS
สไลด์นำเสนอ AIDSสไลด์นำเสนอ AIDS
สไลด์นำเสนอ AIDS
pipepipe10
 
20141017 Ebola Report
20141017 Ebola Report20141017 Ebola Report
20141017 Ebola Report
Namchai Chewawiwat
 
corona virus 65.ppt
corona virus 65.pptcorona virus 65.ppt
corona virus 65.ppt
praphan khunti
 
Tuberculosis in OPD case (Thai)
Tuberculosis in OPD case (Thai)Tuberculosis in OPD case (Thai)
Tuberculosis in OPD case (Thai)
Patinya Yutchawit
 

Similar to สรุปเปรียบเทียบโรคแผนปัจจุบันในคัมภีร์ตักศิลา.pdf (20)

02 lepto
02 lepto02 lepto
02 lepto
 
Sars
Sars Sars
Sars
 
Factsheet
FactsheetFactsheet
Factsheet
 
แนวทางการดูแลผู้ป่วยโรคไข้เลือดออกสำหรับครอบครัว
แนวทางการดูแลผู้ป่วยโรคไข้เลือดออกสำหรับครอบครัว แนวทางการดูแลผู้ป่วยโรคไข้เลือดออกสำหรับครอบครัว
แนวทางการดูแลผู้ป่วยโรคไข้เลือดออกสำหรับครอบครัว
 
แนวทางการดูแลผู้ป่วย ไข้เลือดออก (สำหรับครอบครัว)
แนวทางการดูแลผู้ป่วย ไข้เลือดออก (สำหรับครอบครัว)แนวทางการดูแลผู้ป่วย ไข้เลือดออก (สำหรับครอบครัว)
แนวทางการดูแลผู้ป่วย ไข้เลือดออก (สำหรับครอบครัว)
 
คำแนะนำสำหรับผู้ป่วยหวัด 2009
คำแนะนำสำหรับผู้ป่วยหวัด 2009คำแนะนำสำหรับผู้ป่วยหวัด 2009
คำแนะนำสำหรับผู้ป่วยหวัด 2009
 
ไข้เลือดออก
ไข้เลือดออกไข้เลือดออก
ไข้เลือดออก
 
Case study : dengue fever
Case study : dengue feverCase study : dengue fever
Case study : dengue fever
 
Protec
ProtecProtec
Protec
 
โรคมะเร็งกล่องเสียง (1)
โรคมะเร็งกล่องเสียง (1)โรคมะเร็งกล่องเสียง (1)
โรคมะเร็งกล่องเสียง (1)
 
DENGUE
DENGUE DENGUE
DENGUE
 
สไลด์นำเสนอ AIDS
สไลด์นำเสนอ AIDSสไลด์นำเสนอ AIDS
สไลด์นำเสนอ AIDS
 
20141017 Ebola Report
20141017 Ebola Report20141017 Ebola Report
20141017 Ebola Report
 
Asthma
AsthmaAsthma
Asthma
 
corona virus 65.ppt
corona virus 65.pptcorona virus 65.ppt
corona virus 65.ppt
 
Respiratory1 2
Respiratory1 2Respiratory1 2
Respiratory1 2
 
Leptospirosis
LeptospirosisLeptospirosis
Leptospirosis
 
Tuberculosis in OPD case (Thai)
Tuberculosis in OPD case (Thai)Tuberculosis in OPD case (Thai)
Tuberculosis in OPD case (Thai)
 
Factsheet hfm
Factsheet hfmFactsheet hfm
Factsheet hfm
 
Factsheet hfm
Factsheet hfmFactsheet hfm
Factsheet hfm
 

More from praphan khunti

คู่มิอยา.pdf
คู่มิอยา.pdfคู่มิอยา.pdf
คู่มิอยา.pdf
praphan khunti
 
การติดตามอาการไม่พึงประสงค์จากการใช้ยา.pdf
การติดตามอาการไม่พึงประสงค์จากการใช้ยา.pdfการติดตามอาการไม่พึงประสงค์จากการใช้ยา.pdf
การติดตามอาการไม่พึงประสงค์จากการใช้ยา.pdf
praphan khunti
 
การเขียนใบสั่งยา65.pdf
การเขียนใบสั่งยา65.pdfการเขียนใบสั่งยา65.pdf
การเขียนใบสั่งยา65.pdf
praphan khunti
 
กลุ่มอาการฉุกเฉิน.pdf
กลุ่มอาการฉุกเฉิน.pdfกลุ่มอาการฉุกเฉิน.pdf
กลุ่มอาการฉุกเฉิน.pdf
praphan khunti
 
การปฐมพยาบาลขั้นต้น 65.pdf
การปฐมพยาบาลขั้นต้น 65.pdfการปฐมพยาบาลขั้นต้น 65.pdf
การปฐมพยาบาลขั้นต้น 65.pdf
praphan khunti
 
แบบทดสอบศัพท์แพทย์ 65.doc
แบบทดสอบศัพท์แพทย์ 65.docแบบทดสอบศัพท์แพทย์ 65.doc
แบบทดสอบศัพท์แพทย์ 65.doc
praphan khunti
 
DM 65.ppt
DM 65.pptDM 65.ppt
DM 65.ppt
praphan khunti
 
Hemoto 65.ppt
Hemoto 65.pptHemoto 65.ppt
Hemoto 65.ppt
praphan khunti
 
Legionnaires 65.ppt
Legionnaires 65.pptLegionnaires 65.ppt
Legionnaires 65.ppt
praphan khunti
 
Hanta virus 65.ppt
Hanta virus 65.pptHanta virus 65.ppt
Hanta virus 65.ppt
praphan khunti
 

More from praphan khunti (10)

คู่มิอยา.pdf
คู่มิอยา.pdfคู่มิอยา.pdf
คู่มิอยา.pdf
 
การติดตามอาการไม่พึงประสงค์จากการใช้ยา.pdf
การติดตามอาการไม่พึงประสงค์จากการใช้ยา.pdfการติดตามอาการไม่พึงประสงค์จากการใช้ยา.pdf
การติดตามอาการไม่พึงประสงค์จากการใช้ยา.pdf
 
การเขียนใบสั่งยา65.pdf
การเขียนใบสั่งยา65.pdfการเขียนใบสั่งยา65.pdf
การเขียนใบสั่งยา65.pdf
 
กลุ่มอาการฉุกเฉิน.pdf
กลุ่มอาการฉุกเฉิน.pdfกลุ่มอาการฉุกเฉิน.pdf
กลุ่มอาการฉุกเฉิน.pdf
 
การปฐมพยาบาลขั้นต้น 65.pdf
การปฐมพยาบาลขั้นต้น 65.pdfการปฐมพยาบาลขั้นต้น 65.pdf
การปฐมพยาบาลขั้นต้น 65.pdf
 
แบบทดสอบศัพท์แพทย์ 65.doc
แบบทดสอบศัพท์แพทย์ 65.docแบบทดสอบศัพท์แพทย์ 65.doc
แบบทดสอบศัพท์แพทย์ 65.doc
 
DM 65.ppt
DM 65.pptDM 65.ppt
DM 65.ppt
 
Hemoto 65.ppt
Hemoto 65.pptHemoto 65.ppt
Hemoto 65.ppt
 
Legionnaires 65.ppt
Legionnaires 65.pptLegionnaires 65.ppt
Legionnaires 65.ppt
 
Hanta virus 65.ppt
Hanta virus 65.pptHanta virus 65.ppt
Hanta virus 65.ppt
 

Recently uploaded

3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdfงานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
atwordfamily words with Thai translationtx
atwordfamily words with Thai translationtxatwordfamily words with Thai translationtx
atwordfamily words with Thai translationtx
Bangkok, Thailand
 
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
Prachyanun Nilsook
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdfแนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 

Recently uploaded (10)

3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
 
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdfงานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
 
atwordfamily words with Thai translationtx
atwordfamily words with Thai translationtxatwordfamily words with Thai translationtx
atwordfamily words with Thai translationtx
 
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
 
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
 
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdfแนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
 

สรุปเปรียบเทียบโรคแผนปัจจุบันในคัมภีร์ตักศิลา.pdf

  • 1. สรุปเปรียบเทียบโรคแผนปัจจุบัน ในคัมภีร์ตักศิลา By Aj.Chuanchom Khuniad Department of Thai Traditional Medicine, Faculty of Health and Sports Science TSU Google site : https://sites.google.com/site/chuanchomkhuniad/ E-mail : chuanchom.kh@gmail.com วิชา เวชกรรมไทย 2 0505222 (2/2557)
  • 2. เปรียบเทียบโรคแผนปัจจุบันในคัมภีร์ตักศิลา ไข้อีดา-ไข้อีแดง (Scarlet fever) ไข้รากสาดน้อย (Typhoid fever) ไข้รากสาดเทียม (Paratyphoid fever) ไข้รากสาดใหญ่ (Typhus) ไข้หัด (Measles/Rubeola) ไข้เหือด (German Measles / Rubella) ไข้งูสวัด (Herpes Zoster) ไข้เริมน้าค้าง-ไข้เริมน้าข้าว (Herpes simplex) ไข้ลาลาบเพลิง-ไข้ไฟลามทุ่ง (Erysipelas) ไข้มาลาเรีย (Malaria) ไข้เลือดออก (Dengue Haemorrhagic Fever) ชิกุนคุนยา (Chikungunya) ไข้อีสุกอีใส (Chickenpox,Varicella) ฉี่หนู (Leptospirosis) ไข้หวัดน้อย (Common cold) ไข้หวัดใหญ่ (Influenza) โลหิตเป็นพิษ (Septicemia/Sepsis) บาดทะยัก (Tetanus) กาฬหลังแอ่น (Meningococcal Meningitis) ฝี (abscess) ฝีดาษ (Smallpox) อื่นๆ เช่น แผลพุพอง แผลเรื้อรัง มะเร็ง แผลร้อนใน คางทูม ส่าไข้ เป็นต้น
  • 3. ไข้อีดาอีแดง (Scarlet fever) ชื่อโรคตามคัมภีร์ตักศิลา ไข้อีดา ไข้อีแดง สาเหตุ เกิดจากเชื้อแบคทีเรีย ชื่อ สเตรปโตคอคคัส กรุ๊ปเอ (Group A streptococcus) หรือ Streptococcus pyogenes ระยะฟักตัว 2-5 วัน
  • 4. การติดต่อ ติดต่อโดยการหายใจ ไอ หรือจามรดกัน อาการ ไข้สูง เจ็บคอ ทอนซิลบวมแดงหรือมีจุดหนอง ลิ้นเป็นฝ้า ลิ้น อาจมีลักษณะหนาขึ้นและออกเป็นสีชมพูคล้ายผลสตรอเบอร์รี เรียกว่า strawberry tongue มีผื่นแดงตามผิวหนัง กดแล้วซีด (maculopapular rash) ซึ่งจะขึ้นในวันที่ 2 หลังมีไข้ เริ่มที่หน้า วันที่ 6 ผื่นเริ่มจาง ผิวหนังลอก Lab Anti streptolysin O (สูง)เพาะเชื้อจากสารคัดหลั่งในลาคอของผู้ป่วย หรือตรวจเลือด การรักษา ให้ยาปฏิชีวนะ ยาแก้ว 5 ดวง
  • 5. ไข้รากสาดน้อย (Typhoid fever) ชื่อโรคตามคัมภีร์ตักศิลา ไข้รากสาดปานแดง กาฬฟองสมุทร สาเหตุ เกิดจากเชื้อแบคทีเรีย Salmonella typhi เป็นแบคทีเรียรูปแท่งสั้น เคลื่อนที่โดยแฟลกเจลลาหลายเส้น
  • 6. ไข้รากสาดน้อย หรือโรคไข้ไทฟอยด์ (Typhoid fever) ติดต่อ โดยการรับประทานอาหารหรือดื่มน้าที่มีเชื้อปนเปื้อน ระยะฟักตัว 1-3 สัปดาห์ อาการ หลังจากได้รับเชื้อนี้ 1-2 สัปดาห์ผู้ป่วยจะเริ่มเกิดอาการเบื่อ อาหาร ปวดศีรษะ อ่อนเพลีย ปวดตามตัว ไอแห้งๆ หนาวสั่น ไข้สูง ลอย หน้าซีด แต่เปลือกตาไม่ซีด บางรายอาจจะมีผื่นแดง (Rose colored spots) ขึ้นตามตัว บางรายอาจจะมีอาการแน่นท้อง ท้องอืด มักมีอาการท้องผูกหรือไม่ก็ถ่ายเหลวเสมอ อุจจาระมีสีเขียว มีกลิ่น เหม็น ตับและม้ามโต กดเจ็บ ชีพจรเต้นช้า บางรายอาจเพ้อ หน้าซีดเซียว แต่เปลือกตาไม่ซีด ซึ่งเป็นลักษณะเฉพาะของโรคที่ เรียกว่า หน้าไทฟอยด์
  • 7. ไข้รากสาดน้อย หรือโรคไข้ไทฟอยด์ (Typhoid fever) Lab Widal test การเพาะเชื้อจากเลือด อุจจาระ ปัสสาวะ เม็ดเลือดขาวต่า การรักษา ให้ยาปฏิชีวนะ ยาประสะจันทน์แดง ยาแก้ว 5 ดวง Typhoid face
  • 8. ไข้รากสาดเทียม ไข้พาราไทฟอยด์ (Paratyphoid fever) ชื่อโรคตามคัมภีร์ตักศิลา ไข้รากสาดปานเขียว อาการ มีลักษณะอาการคล้ายคลึงกันกับโรคไข้รากสาดน้อย แต่มีความแตกต่างกันตรงที่ไข้รากสาดน้อยจะมีอาการรุนแรง กว่า มีผื่นแดง (Rose colored spots) ดึงแล้วจางขึ้นตาม ตัวแล้วกลายเป็นสีเขียว (Green maculopapular rash) Lab Widal test การเพาะเชื้อจากเลือด อุจจาระ ปัสสาวะ เม็ดเลือดขาวต่า การรักษา ให้ยาปฏิชีวนะ ยาประสะจันทน์แดง ยาแก้ว 5 ดวง สาเหตุ เกิดจากเชื้อแบคทีเรีย Salmonella paratyphi gr. A, B, C ระยะฟักตัว 1-10 วัน
  • 9. ไข้รากสาดใหญ่ (Typhus) ชนิด Scrub typhus ชื่อโรคตามคัมภีร์ตักศิลา ไข้รากสาดปานดา สาเหตุ ไข้รากสาดใหญ่ มีตัวไรอ่อน (chigger,mite) เป็นพาหะ เกิดจากเชื้อแบคทีเรีย ชื่อ Rickettsia (Orientia) Tsutsugamushi รูปร่างไม่แน่นอน (rod, cocci หรือ filament)
  • 10. ระยะฟักตัว 8-21 วัน (ประมาณ 14 วัน) อาการ ไข้สูง ปวดศีรษะมาก คลื่นไส้ อาเจียน มีผื่นแดง (erythematous maculopapular rash) และมีรอยจากการโดนกัดเป็นแผลมีขอบนูน สีคล้าตรงกลาง คล้ายบุหรี่จี้ (Eschar lesion) ปวดกล้ามเนื้อ Lab weil-felix test เม็ดเลือดขาวต่า
  • 11. ไข้รากสาดใหญ่ (Typhus) ชนิด Murine typhus ชื่อโรคตามคัมภีร์ตักศิลา ไข้รากสาดปานเหลือง ไข้รากสาดใหญ่ มีหมัดหนู กระต่าย กระรอก (Flea) เป็นพาหะ สาเหตุ เกิดจากเชื้อชนิดแบคทีเรีย Rickettsia typhi ระยะฟักตัว 6-20 วัน
  • 12. ไข้รากสาดใหญ่ (Typhus) ชนิด Murine typhus ชื่อโรคตามคัมภีร์ตักศิลา ไข้รากสาดปานเหลือง อาการ ไข้สูง ปวดหัวมาก ปวดเมื่อยตามตัว ผิวเหลือง ลิ้นเหลือง มีผื่นแดง ราบขึ้นตามตัว หลังจากนั้นจะกลายเป็นผื่นนูน แล้วเปลี่ยนเป็นสีเหลือง (Yellow maculopapular rash) ไม่มี Eschar Lab weil-felix test
  • 13. ไข้หัด (Measles/Rubeola) ชื่อโรคตามคัมภีร์ตักศิลา ไข้ออกหัด สาเหตุ เกิดจากเชื้อหัด ซึ่งเป็นไวรัสที่ชื่อว่า ไวรัสรูบีโอลา (rubeola virus) ซึ่งมี อยู่ในน้้ามูก น้้าลายของผู้ป่วย ติดต่อ โดยการไอ จาม หรือหายใจรดกัน หรือโดยการสัมผัสถูกมือหรือสิ่งของ เครื่องใช้ที่แปดเปื้อนเชื้อ เช่นเดียวกับไข้หวัด ระยะฟักตัว 10-12 วัน
  • 14. ไข้หัด (Measles/Rubeola) ชื่อโรคตามคัมภีร์ตักศิลา ไข้ออกหัด อาการ ไอ น้ำมูกไหล ตำแดง (3C) มีไข้ พบจุดขาว ๆ เหลือง ๆ ขนาดเล็กคล้าย เมล็ดงาที่กระพุ้งแก้มบริเวณใกล้ฟันกรามล่าง (ถ้าเป็นมากจะพบอยู่เต็มกระพุ้งแก้ม) เรียกว่า จุดค็อปลิก (Koplik’s spot) มีผื่นขึ้นหลังมีไข้ 3-4 วัน เป็นผื่นแดงแบบ erythematous maculopapular rash ขึ้นทั่วตัวผื่นจากสีแดงจะกลายเป็นสี น้าตาลเข้มแล้วจางหายไป 7-10 วัน การรักษา ยาเขียวหอม ยามหานิลแท่งทอง 14
  • 15. ไข้เหือด (German Measles / Rubella) ชื่อโรคตามคัมภีร์ตักศิลา ไข้ออกเหือด สาเหตุ : เกิดจากเชื้อหัดเยอรมัน ซึ่งเป็นไวรัสที่มีชื่อว่า รูเบลลา (rubella virus) เชื้อจะอยู่ในน้้ามูก น้้าลายผู้ป่วย ติดต่อ : โดยการไอ จาม หรือหายใจรดกัน เช่นเดียวกับไข้หวัดหรือหัด ระยะฟักตัว : 14-21 วัน
  • 16. อาการ มีไข้ต่้า ๆ ถึงปานกลาง ร่วมกับมี ผื่นแดงเล็ก ๆ (erythematous maculopapular rash) กระจายอยู่ทั่วตัว ผื่นอาจขึ้นในวันเดียวกับที่มีไข้ หรือหลังมีไข้ 1-2 วัน มักจะจางหายภายใน 3-4 วัน โดยไม่ทิ้งรอยแต้มด้า ๆ ให้เห็นเหมือนผื่นของหัด ตาแดงเล็กน้อย สิ่งที่ส้าคัญที่บ่งชี้ถึงลักษณะของ โรคนี้ คือ มีต่อมน้้าเหลืองโต Lab ตรวจ CBC เม็ดเลือดขาวและเกล็ดเลือดต่้า IgM, IgG antibody
  • 17. ไข้อีสุกอีใส (Chickenpox,Varicella) ชื่อโรคตามคัมภีร์ตักศิลา ประกายดาษ ประกายเพลิง สาเหตุ เกิดจากเชื้อไวรัสที่เรียกว่า Varicella Zoster virus (VZV) ติดต่อ โดยการสัมผัสกับตุ่มน้้าโดยตรง หรือสัมผัสถูกสิ่งของเครื่องใช้ หรือสูด หายใจเอาละอองของตุ่มน้้าผ่านเข้าทางเยื่อเมือก (เยื่อตา ทางเดินหายใจ) ระยะฟักตัว 10-20 วัน
  • 18. อาการ ไข้ต่าๆ ครั่นเนื้อครั่นตัว เบื่ออาหาร ปวดศีรษะ ผื่นขึ้นพร้อมมีไข้ หรือ หลังมีไข้ 1-2 วัน ผื่นแดงราบก่อน ต่อมาจะกลายเป็นตุ่มนูน มีน้าใส ๆ อยู่ ข้างใน และจะกลายเป็นหนอง หลังจากนั้น 2-4 วันก็จะตกสะเก็ด ผื่น ตุ่ม ของโรคนี้จะค่อย ๆ ออกที่ละระลอก หรือทีละชุด ขึ้นไม่พร้อมกันทั่วร่างกาย Lab Tzanck smear การรักษา ยาห้าราก ยาเขียวหอม ยาในคัมภีร์ตักศิลา
  • 19. งูสวัด (Herpes Zoster) ชื่อโรคตามคัมภีร์ตักศิลา ไข้งูสวัด (ตวัด) ไข้สังวาลพระอินทร์ ไข้สายฟ้าฟาด สาเหตุ เกิดจากเชื้อไวรัสที่เรียกว่า Varicella Zoster virus (VZV) เป็นชนิด เดียวกับที่ทาให้เกิดโรคไข้อีสุกอีใส คนที่เป็นโรคงูสวัดจะต้องเคยเป็นโรค อีสุกอีใสมาก่อน
  • 20. อาการ มีอาการปวดแสบร้อนบริเวณผิวหนัง หลังจากนั้น 2-3 วัน มีผื่นแดงขึ้นตรง บริเวณที่ปวด แล้วกลายเป็นตุ่มน้าใส ผู้ป่วยบางรายอาจมีไข้ร่วมด้วย ผื่นมักเรียงกัน เป็นกลุ่ม หรือเป็นแถวยาวตามแนวเส้นประสาทซีกใดซีกหนึ่งของร่ายกาย และจะ แตกออกเป็นแผล ต่อมาจะตกสะเก็ด และหายได้เองใน 2 สัปดาห์ และเมื่อแผลหาย แล้ว อาจยังมีอาการปวดตามแนวเส้นประสาทได้ Lab Tzanck smear การรักษา เสลดพังพอนตัวผู้-ตัวเมีย ยาในคัมภีร์ตักศิลา ยาห้าราก Maculopapular Vesicle  Pustule  Crusting  Scar
  • 21. เริม (Herpes simplex) ชื่อโรคตามคัมภีร์ตักศิลา ไข้เริมน้าค้าง-ไข้เริมน้าข้าว สาเหตุ เกิดจากการติดเชื้อไวรัส Herpes simplex virus (HSV) มี 2 ชนิด คือ ชนิด 1 (HSV-1) และชนิด 2 (HSV-2) โดย ชนิด 1 มักเป็นสาเหตุติดเชื้อในช่องปากและริม ฝีปาก ส่วนชนิด 2 มักเป็นสาเหตุติดเชื้อในอวัยวะเพศภายนอกและในช่องคลอด การติดต่อ ติดต่อได้โดยการสัมผัสโดยตรงกับตุ่มแผลที่เป็นโรค จากน้าลาย จากสารคัดหลั่ง ใช้ของใช้ร่วมกัน การจูบ การกิน และเมื่อเกิดกับอวัยวะเพศ จะก่อให้เกิดการติดเชื้อทางเพศสัมพันธ์ และติดต่อจากแม่สู่ลูกได้ขณะคลอด
  • 22. ระยะ ฟักตัวประมาณ 3-7 วันหลังได้รับเชื้อ อาการ ไข้ ปวดเมื่อยกล้ามเนื้อ หลังจากได้รับเชื้อ 7-10 วัน จะปวดแสบ ปวดร้อน และคันในบริเวณที่จะมีแผล ต่อมาเกิดเป็นตุ่มน้าอย่างรวดเร็ว ภายใน 1 - 2 วัน ตุ่มน้าจะแตกออกตกสะเก็ดเป็นแผล ไม่หายขาด สามารถเป็นซ้าได้ Lab การเพาะเชื้อ Tzanck smear การรักษา เสลดพังพอนตัวผู้-ตัวเมีย
  • 23. ไข้มาลาเรีย (Malaria) ชื่อโรคตามคัมภีร์ตักศิลา ไข้หงส์ระทด ไข้สุริยสูตร ไข้จันทรสูตร ไข้เมฆสูตร สาเหตุ เกิดจากเชื้อโปรโตซัวชนิด Plasmodium falciparum P. vivax P. ovale และ P. malariae การติดต่อ ติดต่อสู่คนโดยการถูกยุงก้นปล่องตัวเมียที่มีเชื้อมาลาเรียกัด ระยะฟักตัว ประมาณ 1-2 สัปดาห์
  • 24. อาการจับไข้ แบ่งออกเป็น 3 ระยะดังนี้ 1. ระยะหนาวสั่น มีอาการหนาวสั่นมาก ระยะนี้กินเวลา 20-60 นาที 2. ระยะไข้ตัวร้อน มีไข้สูง 40-41O C ปวดศีรษะมาก อาจปวดลึกเข้า ไปในกระบอกตา หน้าแดง ตาแดง กินเวลาประมาณ 2 ชั่วโมง 3. ระยะเหงื่อออก จะมีเหงื่อออกชุ่มทั้งตัว ไข้จะลดลงเป็นปกติ กิน เวลาประมาณ 1-2 ชั่วโมง เป็นช่วงปราศจากไข้ แต่จะเกิดไข้ใหม่ เป็นเช่นนี้ เรื่อยไป ผู้ป่วยมาลาเรียชนิดไวแวกซ์ มักจับไข้วันเว้นวัน หรือทุก 48 ชั่วโมง ผู้ป่วยมาลาเรียชนิดฟาลซิพารัม มักจับไข้ทุกวัน หรือทุก 36 ชั่วโมง Lab โดยการตรวจเลือดเพื่อหาเชื้อมาลาเรีย
  • 25. ไข้เลือดออก (Hemorrhagic Fever) ชื่อโรคตามคัมภีร์ตักศิลา ไข้กาเดาน้อย ไข้กาเดาใหญ่ สาเหตุ : เกิดจากยุงลายที่มีเชื้อไข้เลือดออกกัด เป็นเชื้อไวรัสชื่อ Dengue virus ระยะฟักตัว : 3-15 วัน (ส่วนมาก 5-7 วัน) ยุงลายบ้าน (Aedes aegypti) และ ยุงลายสวน (Aedes albopictus)
  • 26. อาการของไข้เลือดออก แบ่งเป็น 3 ระยะ คือ ระยะที่ 1 Dengue fever (DF) : ผู้ป่วยมีไข้สูงเกิดขึ้นฉับพลัน กินยาลดไข้มักจะไม่ ลด ปวดศีรษะ หน้าแดง เบื่ออาหาร อาจมีผื่นแดง ไม่คัน ระยะที่ 2 Dengue shock syndrome (DSS) Dengue hemorrhagic fever (DHF), : เป็นระยะช็อกและมีเลือดออก ไข้ลด ตัวเย็น มือเท้าเย็น เหงื่อออก ความ ดันต่้า มีเลือดออกตามที่ต่าง ๆ มีจุดเลือดออกใต้ผิวหนัง (petechiae) ระยะที่ 3 : เป็นระยะฟื้นตัว ทดสอบ tourniquet test CBC
  • 27. ชิกุนคุนยา (Chikungunya) ชื่อโรคตามคัมภีร์ตักศิลา ไข้กาเดาน้อย สาเหตุ : เกิดจากยุงลายที่มีเชื้อไวรัส ขื่อชิกุนคุนยา (chigunkunya virus) กัด ส่วนใหญ่คือยุงลายสวน (Aedes albopictus) ระยะฟักตัว : 1-12 วัน (ส่วนมาก 2-3 วัน)
  • 28. อาการ ไข้สูงเฉียบพลัน (เร็วกว่าไข้เลือดออก) มีผื่นแดง (red maculopapular rash) ดึงแล้วไม่จาง อาการที่เด่นชัดคืออาการปวดข้อ ซึ่งอาจพบข้ออักเสบได้ ส่วนใหญ่จะเป็นที่ข้อเล็กๆเช่น ข้อมือ ข้อเท้า อาการปวดข้อจะพบได้หลายๆ ข้อเปลี่ยนตาแหน่งไปเรื่อยๆ (migratory polyarthritis) Lab ตรวจ CBC tourniquet test การรักษา แก้ว 5 ดวง จันทลีลา
  • 29. โรคฉี่หนู (Leptospirosis) ชื่อโรคตามคัมภีร์ตักศิลา ไข้รากสาดปานม่วง สาเหตุ เกิดจากการติดเชื้อแบคทีเรียรูปเกลียว ชื่อ เล็บโตสไปร่า (Leptospira) การติดต่อ สัตว์ที่นาเชื้อได้แก่ หนู รองลงมาได้แก่ สุนัข วัว ควาย สัตว์พวกนี้เก็บเชื้อไวใน ไตเมื่อหนูปัสสาวะเชื้อจะอยู่ในน้าหรือดิน เมื่อคนสัมผัสเชื้อซึ่งอาจจะเข้าทางแผล เยื่อบุใน ปากหรือตา หรือแผล ผิวหนังปกติที่เปียกชื้นเชื้อก็สามารถไชผ่านไปได้เช่นกัน เชื้ออาจจะเข้าร่างกายโดยการดื่มหรือกินอาหารที่มีเชื้อ ระยะฟักตัว โดยเฉลี่ยประมาณ 10 วันหรืออยู่ระหว่าง4-19 วัน
  • 30. อาการ ตาแดง เลือดกาเดาไหล ปวดหัว ปวดเมื่อยน่อง และกดเจ็บที่ น่อง ทั้ง 2 ข้าง คลื่นไส้ อาเจียน มีไข้ อาจมีอาการตาเหลือง มีผื่นเป็น ปื้นสีม่วงแดงตามบริเวณร่างกาย (Anthocyanin patchy rash) Lab เจาะเลือด ตรวจปัสสาวะ
  • 31. ไข้หวัด (Common cold) ชื่อโรคตามคัมภีร์ตักศิลา ไข้หวัดน้อย สาเหตุ เกิดจากการติดเชื้อไวรัส ชนิดที่ทาให้เกิดการอักเสบของอวัยวะ ระบบทางเดินหาย ใจส่วนบน (Upper resoiratory infection) ซึ่งมี หลากหลายชนิด แต่กลุ่มใหญ่คือกลุ่ม ไรโนไวรัส (Rhinoviruses) และ โค โรนาไวรัส (Coronaviruses) การติดต่อ วิธีการติดต่อได้แก่ ติดต่อโดยการไอหรือจาม เชื้อจะ เข้าทาง เยื่อบุตาและปาก สัมผัสเสมหะของผู้ป่วยทางแก้วน้า ผ้า จูบ สัมผัสทาง มือที่ปนเปื้อนเชื้อโรค
  • 32. อาการ มีไข้ ครั่นเนื้อครั่นตัว ปวดศีรษะ เป็นหวัด คัดจมูก จาม น้ามูก ใส เจ็บคอถ้าน้ามูกเขียว ติดเชื้อแบคทีเรีย การรักษา จันทลีลา ยามหานิลแท่งทอง ยากวาดแสงหมึก ยาห้าราก
  • 33. ไข้หวัดใหญ่ (Influenza) ชื่อโรคตามคัมภีร์ตักศิลา ไข้หวัดน้อย ไข้ 3 ฤดู สาเหตุ เป็นการติดเชื้อ Influenza virus ซึ่งสายพันธุ์ไข้หวัดใหญ่ในคน มีหลายสายพันธุ์ แต่ที่จะยกตัวอย่างที่เป็นกันบ่อยๆ คือ สายพันธุ์ H1N1 และ H3N2 ไข้หวัดนก (H5N1) เป็นการติดเชื้อทางเดินระบบ หายใจส่วนล่าง (Lower respiratory infection) การติดต่อ แพร่ติดต่อไปยังคนอื่น ๆ ได้ง่าย เช่น การไอหรือจามรด กัน หรือหายใจเอาฝอยละอองเข้าไป บางรายได้รับเชื้อทางอ้อมผ่าน ทางมือหรือสิ่งของเครื่องใช้ที่ปนเปื้อนเชื้อ เชื้อจะเข้าสู่ร่างกายทาง จมูก ตา ปาก ระยะฟักตัว ประมาณ1-4 วันเฉลี่ย 2 วัน
  • 34. อาการ ไข้สูง ปวดเมื่อยกล้ามเนื้อ ปวดศีรษะมาก ไอแห้งๆ อ่อนเพลีย เจ็บคอมาก ไม่มีเสมหะ Lab WBC ต่า ยา ประสะจันทน์แดง ยา 5 ราก
  • 35. โลหิตเป็นพิษ (Septicemia/Bacterimia/SepsisSeptic shock) สาเหตุ มีเชื้อแบคทีเรียแพร่กระจายเข้าสู่โลหิต มักเป็นผลแทรกซ้อน ของโรคติดเชื้อแบคทีเรีย หรือคนไข้ภูมิคุ้มกันต่า อาการ ไข้สูงมาก หนาวสั่น เบื่ออาหาร ปวดศีรษะ ปวดเมื่อย กล้ามเนื้อ ปวดท้อง เจ็บคอ ท้องเสีย อุจจาระเป็นมูกใส ถ้ามีอาการ หนักอุจจาระมีสีดา สีเลือด ตัวเหลือง ตาเหลือง (ดีซ่าน) อาจมีจุด แดงหรือจ้าเขียวตามตัว มีเลือดออกตามที่ต่างๆ ปัสสาวะน้อย Lab เจาะเลือด น้าไขสันหลังไปตรวจ เกล็ดเลือดต่า
  • 36. ไฟลามทุ่ง (Erysipelas) ชื่อโรคตามคัมภีร์ตักศิลา ไข้ลาลาบเพลิง-ไข้ไฟลามทุ่ง สาเหตุ โรคนี้เป็นการอักเสบของผิวหนังชั้นหนังแท้และเนื้อเยื่อใต้ ผิวหนังชั้นตื้น (upper subcutaneous tissue) รวมทั้งท่อน้าเหลืองที่ อยู่ใกล้ เกิดจากการติดเชื้อแบคทีเรีย ซึ่งที่พบบ่อยคือ จาก แบคทีเรียชนิด beta streptococcus group A ระยะฟักตัว 2-5 วัน
  • 37. ผิวหนังที่เกิดโรค มีลักษณะเป็นผื่นใหญ่ แดงสด บวม เจ็บ คลาดูที่ผื่นจะ ร้อน ขอบผื่นยกนูนจากผิวหนังปกติชัดเจน และอาจพบเป็นตุ่มพอง (Blister) ร่วมด้วย โดยผื่นที่เกิด มักลุกลามอย่างรวดเร็ว และผิวหนังที่ แดงอักเสบบวม จะตึงมีลักษณะคล้ายเปลือกส้มหรือหนังหมูนอกจากนั้น อาการที่มักพบเกิดร่วมด้วย คือ อาการไข้ที่มักเกิดขึ้นอย่างเฉียบพลัน และ ในรายรุนแรง มักเป็นไข้สูง หนาวสั่น Lab เพาะเชื้อจากแผลและเลือด ตรวจ CBC พบเม็ดเลือดขาวสูง
  • 38. บาดทะยัก (Tetanus) ชื่อโรคตามคัมภีร์ตักศิลา ไข้คด ไข้แหงน สาเหตุ Clostridium tetani เชื้อจะเข้าสู่ร่างกายทาง บาดแผลทั้งแผลสด แผลเรื้อรัง ระยะฟักตัว 5 วัน – 15 สัปดาห์
  • 39. อาการ อาจมีไข้ขนาดเล็กน้อยถึงปานกลาง (ไข้มักไม่สูงมาก ยกเว้นใน รายที่มีปอดอักเสบแทรก) มักตรวจพบอาการขากรรไกรแข็ง คอแข็ง หลังแข็ง และอาการชักกระตุกเป็นพัก ๆ รีเฟลกซ์ของข้อ (tendon reflex) มักจะไวกว่าปกติ ส่วนมากจะพบมีบาดแผลอักเสบ refer
  • 40. กาฬหลังแอ่น (Meningococcal Meningitis) ชื่อโรคตามคัมภีร์ตักศิลา ไข้แหงน ไข้ข้าวไหม้น้อย-ใหญ่ สาเหตุ ติดเชื้อแบคทีเรียที่มีชื่อว่า Neisseria meningitidis ทาให้เกิดอาการเยื่อ หุ้มสมองอักเสบ (Meningitis) หรือเกิดการแพร่กระจายลุกลามในกระแสโลหิต (Meningococcemia) ติดต่อ ทางละอองฝอยจากน้ามูก น้าลาย หรือจากสารคัดหลั่งต่างๆ จากการ สัมผัสใกล้ชิด ระยะฟักตัว 1-10 วัน
  • 41. อาการ ปวดหัว มีไข้ คอเกร็งแข็ง มีผื่นจ้าเลือด (Pupuric rash) ขนาดมากกว่า 0.5 มม. ถ้าอาการรุนแรงผื่นจะรวมตัวกันคล้าย ดาวกระจาย (Venous star) เอาแก้วน้ากดลงผื่นจะไม่จาง Lab ตรวจเลือด ตรวจน้าไขสันหลัง refer