SlideShare a Scribd company logo
การตรวจทางห ้องปฏิบัติการ
กระบวนการโดยทั่วไปเมื่อผู้ป่ วย
เข้ารับบริการในโรงพยาบาล
การวินิจฉัยโรคจากประวัติ อาการ และการตรวจทางห้องปฏิบัติการ
3
4
5
6
7
ลงทะเบียนเข้ารับการบริการ
พบแพทย์ที่ห้องตรวจ
ส่งตรวจทางห้องปฏิบัติการ ( LAB )
แพทย์วินิจฉัยโรค
ชาระค่าบริการ
รับยา 8
9
10
11
12
13
14
15
16
จุลชีววิทยา
เคมีคลินิก
OPD IPD เคมีคลินิก
แบคทีเรีย ไวรัส
เคมีฉุกเฉิน
เชื้
อ
ภูมิคุ้มกันวิทย
คลินิคัลไมโครสโคปี้
งานปฏิบัติการกลางและชันสูตรโรค
( Central Diagnostic Laboratory )
17
ประโยชน์ของการทดสอบ
ทางห้องปฏิบัติการ
1. ให้การวินิจฉัยโรคได้อย่างจาเพาะเจาะจง เช่น การ
เพาะเชื้อจุลชีพ
2. ช่วยในการวินิจฉัยโรค
3. วางแผนการรักษา และ ควบคุมการรักษา
4. ติดตามการดาเนินโรค
5. พิจารณาความรุนแรงของโรค หรือ บอกความรุนแรง
ของโรค
6. ทานายอาการตอบสนองของโรคต่อการรักษาหรือ
ติดตามการรักษา
7. ตรวจคัดกรองในประชากรทั่วไป
8. ตรวจสุขภาพประจาปีของบุคคลทั่วไป 18
กระบวนการตรวจทาง
ห้องปฏิบัติการ
กระบวนการตรวจทางห้องปฏิบัติการ
1. กระบวนการก่อนการตรวจวิเคราะห์
( Pre – Analytical process )
2. กระบวนการตรวจวิเคราะห์
( Analytical process )
3. กระบวนการหลังการตรวจวิเคราะห์
( Post – Analytical process )
20
กระบวนการก่อนการตรวจวิเคราะห์
( Pre – Analytical )
คือ ระบบการเตรียมการก่อนการส่งตัวอย่างตรวจเข้าสู่
การ
วินิจฉัย หรือ การตรวจวิเคราะห์
เป็นปัจจัยที่สาคัญที่จะช่วยให้ผลการตรวจถูกต้องแม่นยา
21
กระบวนการก่อนการตรวจวิเคราะห์
( Pre – Analytical )
- การเตรียมผู้ป่ วยก่อนการเก็บตัวอย่างตรวจ (
Patient Preparation )
- การเจาะเก็บตัวอย่างตรวจ ( Specimen
Collection )
• การเลือกชนิดของตัวอย่างที่เหมาะสม
• อุปกรณ์ที่ใช้ในการเจาะเก็บและเก็บรักษา
ตัวอย่าง
• สารเคมีที่ใช้ในการปรับสภาพและเก็บรักษา
ตัวอย่าง 22
กระบวนการตรวจวิเคราะห์
( Analytical process )
คือ กระบวนการตรวจวิเคราะห์สิ่งส่งตรวจ
ซึ่งทาโดย
ห้องปฏิบัติการ
23
กระบวนการหลังการตรวจวิเคราะห์
( Post – Analytical process )
- การตรวจสอบผลการตรวจวิเคราะห์
- การรายงานผลการตรวจวิเคราะห์เข้าสู่ระบบ
สารสนเทศ
ของโรงพยาบาล
- การจัดการกับสิ่งส่งตรวจหลังการตรวจวิเคราะห์
24
ห้องปฏิบัติการ (
Laboratory ) โรงพยาบาล
ห้องปฏิบัติการ ( Laboratory )
โรงพยาบาล
- ห้องปฏิบัติการโลหิตวิทยาและจุลทรรศน์ศาสตร ์
( Hematology and Microscopy
Laboratory )
- ห้องปฏิบัติการเคมีคลินิก ( Clinical Chemistry
Laboratory )
- ห้องปฏิบัติการภูมิคุ้มกันวิทยา ( Immunology
Laboratory )
- ห้องปฏิบัติการจุลชีววิทยา ( Microbiology
Laboratory )
26
ห้องปฏิบัติการโลหิตวิทยาและจุลทรรศน์ศาสตร ์
= โลหิต + วิทยา
เลือด การศึกษา
= จุลทรรศน์ +
ศาสตร ์
กล้องจุลทรรศน์ การศึกษา
โลหิตวิทยา
จุลทรรศน์ศาสตร ์
27
• จุลทรรศนศาสตร ์คลินิก
1. UA (Urine Analysis)
2. Stool Examination
3. Stool Occult Blood
28
ห้องปฏิบัติการโลหิตวิทยา
• ตรวจวัดความเข้มข้นของเลือด
• ตรวจหาปริมาณเม็ดเลือดชนิดต่าง ๆ ได้แก่
เม็ดเลือดแดง เม็ดเลือดขาว และ เกร็ดเลือด
• การตรวจดูลักษณะความผิดปกติของเม็ด
เลือดชนิดต่าง ๆได้แก่ เม็ดเลือดแดง เม็ด
เลือดขาว และ เกร็ดเลือด
• ตรวจหาเชื้อมาลาเรียในเลือด
• ตรวจวัดอัตราการแข็งตัวของเลือด
29
• โลหิตวิทยาคลินิก
1. CBC (Complete
Blood Cell)
2. Malaria
3. PT, PTT
4. Cell Count, Cell
Differential
5. OF test ,oxidation
fermentation test
6. Dichlorophenol
Indophenol Precipitation
test (DCIP)
7. VCT (Venous
Clotting Time) 30
ห้องปฏิบัติการจุลทรรศน์ศาสตร ์
• ตรวจปัสสาวะโดยใช้กล้องจุลทรรศน์เพื่อดูเม็ด
เลือดแดง เม็ดเลือดขาว เชื้อแบคทีเรีย และ
เซลล์ชนิดต่าง ๆ
• ตรวจปัสสาวะเพื่อดูภาวะความเป็ นกรด – ด่าง
ของร่างกาย รวมถึงตรวจหาสารต่าง ๆ
• ตรวจอุจจาระโดยใช้กล้องจุลทรรศน์เพื่อ
ตรวจหาไข่พยาธิ พยาธิ และเชื้อโปรโตซัว
31
ห้องปฏิบัติการเคมีคลินิก
= เคมี +
คลินิค
สารเคมี / ปฏิกิริยาเคมี
เคมีคลินิค
32
ห้องปฏิบัติการเคมีคลินิก
ตรวจวิเคราะห์หาปริมาณ / ระดับ สารเคมีต่าง ๆ ใน
เลือด , ปัสสาวะ
น้าจากส่วนต่าง ๆ ของร่างกาย โดยใช ้วิธีการของ
ปฏิกิริยาเคมี เช่น
การตรวจวัดระดับน้าตาลในเลือด , ไขมัน , การทางาน
ของตับ ,
การทางานของไต
33
บริการการตรวจทางห ้องปฏิบัติการ
• เคมีคลินิก
1. FBS (Fasting Blood Sugar)
2. BUN (Blood Urea Nitrogen)
3. Creatinine
4. Uric acid
34
35
36
37
38
39
40
บริการการตรวจทางห ้องปฏิบัติการ
• เคมีคลินิก
5. Lipid profile (Cholesterol, Triglyceride,
HDL-C, LDL-C)
6. Electrolyte(Na, K, Cl,CO2)
7. Liver Function Test(Alkaline
phosphatase, SGOT, SGPT, Total
Bilirubin, Direct Bilirubin, Total Protein,
Albumin, Globulin)
41
• เคมีคลินิก(ต่อ)
8. Hb A1C
9. Microbilirubin(MB)
42
43
44
45
46
47
ห้องปฏิบัติการภูมิคุ้มกันวิทยา
= ภูมิคุ้มกัน +
วิทยา
ภูมิคุ้มกันวิทยา
48
ห้องปฏิบัติการภูมิคุ้มกันวิทยา
- ตรวจวินิจฉัยโรคโดยใช้วิธีการตรวจหาภูมิคุ้มกัน
ของผู้ป่วยต่อเชื้อโรคชนิดต่าง ๆ เช่น เชื้อไวรัส ,
แบคทีเรีย เป็นต้น
- ตรวจหาการเกิดมะเร็งในอวัยวะต่าง ๆ โดยอาศัยการ
ตรวจหาสารที่ผลิตออกมาจากเซลล์มะเร็ง ( Tumor
marker ) ซึ่งถูกปล่อยออกมาในกระแสเลือด
49
• ภูมิคุ้มกันวิทยา
คลินิก
1. Anti – HIV
2. VDRL
3. HBs Ag
4. HBs Ab
5. Pregnancy test
(UPT)
50
51
52
ห้องปฏิบัติการจุลชีววิทยา
= จุล + ชีว +
วิทยา
เล็ก สิ่งมีชีวิต
การศึกษา
จุลชีววิทยา
53
ห้องปฏิบัติการจุลชีววิทยา
• ตรวจพิสูจน์ชนิดของเชื้อโรค ( แบคทีเรีย ,
ไวรัส , เชื้อรา ) ที่เป็ นสาเหตุทาให้เกิดโรค
โดยใช้วิธีการเพาะเชื้อ หรือ การตรวจทาง
โมเลกุลเพื่อหา DNA ของเชื้อไวรัส
• ทดสอบชนิดของยาปฏิชีวะนะที่สามารถฆ่า
เชื้อโรคนั้นได้
54
• จุลชีววิทยาคลินิก
1. Gram’ s stain
2. AFB (Acid Fast
Bacilli)
3. KOH for fungus
4. India ink Test
55
ธนาคารเลือด
- มีหน้าที่ในการจัดหาเลือดให้กับผู้ป่วยที่ต้องการเลือด
เนื่องจากการสูญเสียเลือด , การผ่าตัด
- ทดสอบความปลอดภัยของเลือดที่จะนามาให้ผู้ป่วย
เช่น การตรวจหาเชื้อโรคต่าง ๆ เป็นต้น
- ทดสอบความเข้ากันได้ของเลือดผู้ป่วยกับเลือดผู้บริจาค
- ตรวจหาหมู่เลือด
56
 งานธนาคารเลือด
1. ABO Blood Group
2. Rh Group
57
ห้องปฏิบัติการพยาธิวิทยา
• ตรวจชิ้นเนื้อที่เก็บจากอวัยวะต่าง ๆ เพื่อดู
ลักษณะของเซลล์ซึ่งอาจจะเป็นมะเร็งหรือไม่
58
ห้องปฏิบัติการนิติเวชศาสตร ์( นิติวิทยาศาสตร ์)
- มีหน้าที่ในการชันสูตรหลักฐานที่เกี่ยวกับ
คดีต่าง ๆ เพื่อนาผลไปใช้การการ
ดาเนินคดีเกี่ยวกับผู้ที่ทาผิดกฎหมาย
- ตรวจหาความเป็ นพ่อ แม่ ลูก
- ตรวจหาสารพิษต่าง ๆ
59
ความสาคัญ
และประเภทของการ
ตรวจวิเคราะห์ทาง
โลหิตวิทยา
การตรวจวิเคราะห์ทาง
โลหิตวิทยา
( Hematology
Laboratory )
การตรวจวิเคราะห์ทางโลหิตวิทยา
• เป็นการตรวจเกี่ยวกับเซลล์เม็ดเลือดในร่างกาย
ได้แก่ เม็ดเลือดแดงเม็ดเลือดขาว และ เกร็ด
เลือด โดยอาศัยกล้องจุลทรรศน์ในการตรวจ
เป็นส่วนใหญ่
• เพื่อเป็นข้อมูลในการวินิจฉัยโรคทางโลหิตวิทยา
เช่น ภาวะโลหิตจาง , มะเร็งเม็ดเลือดขาว ,โรค
ไข้เลือดออก , โรคไข้มาลาเรีย และ ภาวะ
ผิดปกติของการแข็งตัวของเลือด
62
63
ความสาคัญของการตรวจทาง
โลหิตวิทยา
• เพื่อเป็ นข้อมูลในการวินิจฉัยโรคทางโลหิตวิทยา
• มีประโยชน์มากในการวินิจฉัยโรคและในการ
ติดตามการรักษา
• ประโยชน์ในการป้องกันและรักษาโรคต่างๆ เช่น
การตรวจเลือดเพื่อวินิจฉัย เพื่อค้นหาความ
ผิดปกติในระยะ แรกเริ่มจะเป็นประโยชน์สาหรับ
การป้องกัน และรักษาโรคได้ทันการ
• ใช ้ติดตามการเปลี่ยนแปลงเลือดในผู้ป่วยมะเร็งที่
รักษาด้วยเคมีบาบัด 64
ความรู ้พื้นฐานทาง
โลหิตวิทยา
Body Organs 66
เซลล์ ( Cell )
• ประกอบด้วยส่วนประกอบหลักคือ
- นิวเคลียส ( Nucleus )
- ไซโตพลาสซึม ( Cytoplasm )
- เยื่อหุ้มเซลล์ ( Cell membrane )
67
นิวเคลียส ( Nucleus )
• เป็ นโครงสร ้างที่มักพบอยู่ตรงกลางเซลล์
• เมื่อย้อมสีจะติดสีเข้มทึบ
• เซลล์ของสิ่งมีชีวิตทั่วไปมีนิวเคลียสเพียง
1 นิวเคลียส
68
ไซโตพลาสซึม ( Cytoplasm )
• เป็ นส่วนที่ล้อมรอบนิวเคลียส
• อยู่ภายในเยื่อหุ้มเซลล์
69
เยื่อหุ้มเซลล์ ( Cell membrane
)
• เป็ นเยื่อบาง ๆ ล้อมรอบไซโทพลาสซึม (
Cytoplasm )
• พบในเซลล์ทุกชนิด
• กั้นสารที่อยู่ภายในกับภายนอกเซลล์
• รักษาสมดุลของสารภายในเซลล์โดยควบคุม
การผ่านเข้าออกของสารระหว่างเซลล์กับ
สิ่งแวดล้อมภายนอก
70
เซลล์ ( Cell )
71
What is Blood ?
เลือด ( Blood )
• เป็นของเหลวและมีเม็ดเลือดล่องลอยอยู่
• เป็นตัวกลางติดต่อระหว่างเซลล์ของ
ร่างกาย
• ในร่างกายมีเลือดอยู่ประมาณ 7-8 %
ของน้าหนักตัว
73
หน้าที่ของเลือด
1. นาสารอาหาร และ ออกซิเจนไปให้เซลล์
2. นาของเสียที่เซลล์ไม่ต้องการไปขจัดออก
นอกร่างกาย
3. ระบบลาเลียงสารภายในร่างกายที่สาคัญ
4. ระบบป้องกันด้วยระบบภูมิคุ้มกัน
74
เลือด ( Blood )
• ถ้าเราเจาะเลือดใส่หลอดทดลอง แล้วนาไปปั่น
แยกจะพบว่าเลือดถูกแยกออกเป็น 2 ส่วน คือ
- เซลล์เม็ดเลือด ( Blood cells , Blood
Corpuscle )
- น้าเลือด หรือ พลาสมา ( Plasma )
พลาสมา
55 %
เม็ดเลือด
45 % 75
ส่วนประกอบของเลือด
1. เม็ดเลือด ( Blood cells ) : ประมาณร ้อยละ 45
ของปริมาณเลือดทั้งหมด
2. น้าเลือด ( Plasma ) : ประมาณร ้อยละ 55 ของ
ปริมาณเลือดทั้งหมด
76
เม็ดเลือด
Blood cells
เม็ดเลือด ( Blood cells )
ประกอบด้วย เม็ดเลือดแดง ( Red blood
cell ) , เม็ดเลือดขาว ( White blood
cell ) และ เกร็ดเลือด ( Platelet )
78
เม็ดเลือด
แดง
เม็ดเลือด
เกร็ด
เลือด 79
80
เม็ดเลือดแดง
Red Blood Cell
( RBC )
หรือ Erythrocyte
เม็ดเลือดแดง
( Red Blood Cell : RBC หรือ
Erythrocyte )
Erythrocyte
Erythro Cyte
Red Cell
82
เม็ดเลือดแดง
( Red Blood Cell : RBC หรือ
Erythrocyte )
• เม็ดเลือดแดงมีรูปร่างกลมแบน ตรงกลางมี
รอยบุ๋ม
• ไม่มีนิวเคลียส
• ขนาดประมาณ 7 ไมโครเมตร
• เม็ดเลือดแดงจะถูกสร ้างที่ไขกระดูก
• ภายในเม็ดเลือดแดงมี ฮีโมโกลบิล (
Hemoglobin ) 83
เม็ดเลือดแดง
( Red Blood Cell : RBC หรือ
Erythrocyte )
84
เม็ดเลือดแดง
( Red Blood Cell : RBC หรือ
Erythrocyte )
• อัตราการสร ้างเม็ดเลือดแดงเปลี่ยนแปลงได้
ขึ้นกับปริมาณออกซิเจนในเลือด ถ้า
ออกซิเจนต่า หรือร่างกายสูญเสีย เลือด จะมี
ผลเร่งให้ไขกระดูกสร ้างเม็ดเลือดแดงเพิ่มขึ้น
• เม็ดเลือดแดงจะมีอายุประมาณ 120 วัน เมื่อ
หมดอายุการใช้งาน
จะถูกทาลายที่ม้าม 85
เม็ดเลือดแดง
( Red Blood Cell : RBC หรือ
Erythrocyte )
• จานวนเม็ดเลือดแดงในผู้ชายมีปริมาณมากกว่า
ผู้หญิง
ในผู้ชายมีประมาณ 5 – 5.5 ล้านเซลล์ต่อเลือด 1
ลูกบาศก์มิลลิเมตร
• ผู้หญิงมีประมาณ 4.5 – 5 ล้านเซลล์ต่อเลือด 1
ลูกบาศก์มิลลิเมตร
86
หน้าที่ของเม็ดเลือดแดง
• รับส่งก๊าซคาร ์บอนไดออกไซด์และ
ออกซิเจน
87
Hemoglobin
• เป็นส่วนประกอบสาคัญในเม็ดเลือดแดง
ทาหน้าที่นา
Oxygen จากปอดไปยังเซลล์
• ประกอบด้วยส่วนประกอบที่เรียกว่า ฮีม (
Heme ) และส่วนที่เป็ นโปรตีนซึ่งเรียกว่า
โกลบิน ( Globin )
88
Hemoglobin
• Hemoglobin = Heme +
Globin
• ฮีม ( Heme ) มีธาตุเหล็ก เป็น
องค์ประกอบสาคัญ ถ้าร่างกายขาด
ธาตุเหล็ก จะทาให้สร ้างฮีมได้ไม่พอ ซึ่ง
ส่งผลต่อการสร ้างฮีโมโกลบิน และการ
สร ้างเม็ดเลือดแดง ทาให้สร ้างได้
ปริมาณน้อย และคุณภาพของเม็ด 89
Red blood cell
Hemoglobin
Heme + Globin
90
91
เม็ดเลือดขาว
White Blood Cell
( WBC )
หรือ Leukocyte
เม็ดเลือดขาว
( White Blood Cell : WBC หรือ
Leukocyte )
Leukocyte
Leuko Cyte
White Cell
93
เม็ดเลือดขาว
( White Blood Cell : WBC หรือ
Leukocyte )
• เม็ดเลือดขาวมีขนาดใหญ่กว่าเซลล์เม็ด
เลือดแดง
• เม็ดเลือดขาวมีจานวนน้อยกว่าเม็ด
เลือดแดง
• เป็ นเซลล์ที่มีนิวเคลียส ไม่มีฮีโมโกลบิน
• มีนิวเคลียสรูปร่างต่าง ๆ กัน
• เม็ดเลือดขาวมีการสร ้างออกมาตลอด 94
เม็ดเลือดขาว
( White Blood Cell : WBC หรือ
leukocyte )
• อวัยวะสาหรับสร ้างเม็ดเลือดขาว ได้แก่
ไขกระดูก , ต่อมน้าเหลือง , ต่อมทอมซิล
เป็นต้น
• จานวนเม็ดเลือดขาวปกติจะมีประมาณ
5,000 – 10,000 เซลล์ต่อเลือด 1
ลูกบาศก์มิลลิเมตร
• จานวนเม็ดเลือดขาวเปลี่ยนแปลงได้ตาม
อายุ เพศ และ สภาวะอื่นๆ 95
หน้าที่ของเม็ดเลือดขาว
• ทาลายเชื้อโรค เมื่อมีสิ่งแปลกปลอมเข้าสู่
ร่างกาย
• เม็ดเลือดขาวจะถูกผลิตเพิ่มขึ้นโดย
อัตโนมัติเพื่อเตรียมพร ้อมที่จะทาลายสิ่ง
แปลกปลอม
96
97
เม็ดเลือดขาว
( White Blood Cell : WBC หรือ
leukocyte )
• กรณีที่ร่างกายมีการติดเชื้อ แพทย์จะ
ตรวจหาปริมาณเซลล์เม็ดเลือดขาวซึ่ง
จะเพิ่มขึ้นเมื่อมีสิ่งแปลกปลอมเข้าสู่
ร่างกาย
• แต่การเป็นโรคบางชนิดเซลล์เม็ดเลือด
ขาวอาจจะลดลงได้ เช่น โรคเอดส์
98
ชนิดของเม็ดเลือดขาว
• เม็ดเลือดขาวแบ่งออกเป็น 5 ชนิด ได้แก่
- Neutrophil
- Eosinophil
- Basophil
- Lymphocyte : Normal
Lymphocyte และ
Atypical
Lymphocyte
99
เม็ดเลือดขาว แบ่งออกเป็ น 5 ชนิด
1. นิวโตรฟิ ล ( Neutrophil )
มีประมาณ 60–70 % ของเม็ดเลือดขาว
ทาหน้าที่
มีหน้าที่ทาลายเชื้อ แบคทีเรีย ถ้าร่างกายมี
การติดเชื้อแบคทีเรีย จะทาให้นิวโทรฟิลสูงขึ้น
ค่าปกติ ประมาณ 50-60%
100
เม็ดเลือดขาว แบ่งออกเป็ น 5 ชนิด
2. อีโอสิโนฟิ ล ( Eosinophil )
มีประมาณ 2 – 4 % ของเม็ดเลือดขาว
ทาหน้าที่
เกี่ยวข้องกับการเกิดปฏิกริยาภูมิแพ้ และ
การติดเชื้อจากพยาธิ
101
เม็ดเลือดขาว แบ่งออกเป็ น 5 ชนิด
3. เบโซฟิ ล ( Basophil )
มีประมาณ 0.5 – 1 % ของเม็ดเลือดขาว
ทาหน้าที่
ทาลายเชื้อโรคโดยการหลั่งเอนไซม์หรือ
สารเคมี
102
เม็ดเลือดขาว แบ่งออกเป็ น 5 ชนิด
4. ลิมโฟไซท์(Lymphocyte)
มีประมาณ 20 – 25 % ของเม็ดเลือดขาว
ทาหน้าที่
สร ้างภูมิคุ้มกันให้กับร่างกาย ต่อสู้ การติด
เชื้อแบคทีเรียเรื้อรังและการติดเชื้อ ไวรัส
เฉียบพลัน
103
เม็ดเลือดขาว แบ่งออกเป็ น 5 ชนิด
Atypical Lymphocyte
คือ เม็ดเลือดขาวชนิด Lymphocyte ที่มี
รูปร่างแปลกๆ และตัว
โตผิดปกติ
104
เม็ดเลือดขาว แบ่งออกเป็ น 5 ชนิด
5. โมโนไซท์( Monocyte )
มีประมาณ 3 – 8 % ของเม็ดเลือดขาว
ทาหน้าที่
ทาลายเชื้อโรคที่เข้าสู่ ร่างกาย ซึ่งมี
ประสิทธิภาพในการกลืนกินเซลล์สูงกว่า
neutrophils ซึ่งสามารถย่อยเชื้อจุลชีพ
ต่างๆ ได้มากกว่า ถึง 10 เท่า
105
เม็ดเลือดขาว
( White Blood Cell : WBC หรือ
leukocyte )
106
107
เกร็ดเลือด
( Platelets หรือ
Thrombocyte )
เกร็ดเลือด ( Platelets หรือ
Thrombocyte )
• มีรูปร่างไม่แน่นอน ไม่มีนิวเคลียส ขนาด 1-2
ไมโครเมตร
• เกร็ดเลือดไม่ใช่เซลล์แต่เป็นชิ้นส่วนของไซ
โตพลาสซึมของเซลล์ชนิดหนึ่งในไขกระดูก
• เป็นตัวการสาคัญในกระบวนการแข็งตัวของ
เลือด
• ปกติจะมีเกร็ดเลือดประมาณ 250,000 –
300,000 เซลล์ต่อเลือด 1 ลบ.ซม.
109
หน้าที่ของเกร็ดเลือด
1. การรักษาความสมดุลภายในหลอดเลือด (
hemostasis )
2. ช่วยทาให้เลือดแข็งตัวเมื่อเกิดบาดแผล
- ปริมาณของเกร็ดเลือดที่มากเกินไปทา
ให้เกิดการแข็งตัว ของเลือดได้ง่าย และ
นาไปสู่การเกิดก้อนลิ่มเลือดอุดตัน เ ส้ น
เลือดได้
- ปริมาณของเกร็ดเลือดน้อยเกินไปก็ ทา
ให้เกิดความ ผิ ด ป ก ติ ใ น
กระบวนการห้ามเลือด เกิดเลือดไหลหยุด
110
111
พลาสมา
Plasma
พลาสมา ( Plasma )
พลาสมา ( Plasma ) หรือ น้าเลือด
- เป็นส่วนที่เป็นของเหลวในเลือด มีสีเหลืองใส
- ช่วยลดความหนืดของเลือด และทาให้เลือด
ไหลเวียนได้ง่าย
113
ส่วนประกอบของพลาสมา ( Plasma
)
- น้า : ร ้อยละ 90 - 93
- โปรตีน : ร ้อยละ 7 - 10
- แร่ธาตุ
- ก๊าซ Oxygen ,
Carbondioxide
- ฮอร ์โมน , แอนติบอดี , เอนไซม์ ,
น้าย่อย , สารอาหาร , ของเสีย
114
หน้าที่ของพลาสมา
• ลาเลียงสารอาหารที่ย่อยแล้ว แร่ธาตุ ฮอร ์โมน
แอนติบอดีไปให้เซลล์ที่สวนต่าง ๆ ของร่างกาย
• ช่วยรักษาสมดุลความเป็นกรด – เบส
• ช่วยรักษาสมดุลน้า
• รักษาระดับอุณหภูมิของร่างกาย
115
116
ระบบการห้าม
เลือด
Hemostasis
ระบบการห้ามเลือด ( Hemostasis )
• ระบบการทางานของร่างกายเพื่อรักษา
สมดุลของเลือดให้คงสภาพเป็น
ของเหลวที่ไหลเวียนไปทั่วร่างกายใน
ภาวะปกติ และเปลี่ยนสภาพเป็ นลิ่ม
เลือดเพื่อป้องกันการสูญเสียเลือดออก
นอกหลอดเลือดในภาวะที่มีการทาลาย
ของหลอดเลือด
118
ระบบการห้ามเลือด ( Hemostasis )
• การทางานของระบบการห้ามเลือดนี้
จาเป็ นต้องอาศัยปัจจัยที่สาคัญ คือ
–หลอดเลือด ( Blood vessel )
– เกร็ดเลือด ( Platelet )
–ปัจจจัยการแข็งตัวของเลือด (
Coagulation factors )
119
กลไกการห้ามเลือด ( Hemostasis )
Thromboplastin
Platelet
เนื้อเยื่อที่ได้รับ
อันตราย
Prothrombin Thrombin
Fibrinogen Fibrin
ร่างแห Fibrin
เลือดแข็งตัว ( Clot ) 120
กลไกการห้ามเลือด ( Hemostasis )
121
122
ประเภทของการตรวจ
วิเคราะห์
ทางโลหิตวิทยา
การตรวจวิเคราะห์ทางโลหิตวิทยา
• Complete Blood Count (CBC)
ประกอบด้วย Hb , Hct , WBC
count , WBC differential
count , RBC count , Platelet
count
• Red cell indicies
ประกอบด้วย MCV , MCH ,
MCHC 124
การตรวจวิเคราะห์ทางโลหิตวิทยา
• Malaria examination
• ESR
• Screening Coagulogram
ประกอบด้วย Prothrombin time (
PT / INR ) ,
Activated Partial
Thromboplatin Time ( APTT )
• Fibrinogen 125
การตรวจดูวามสมบูรณ์
ของเม็ดเลือด
Complete Blood
Count ( CBC )
การตรวจดูวามสมบูรณ์ของเม็ดเลือด
Complete Blood Count ( CBC )
การตรวจดูความสมบูรณ์ของเม็ดเลือด
ซึ่งได้แก่
เม็ดเลือดแดง , เม็ดเลือดขาว และ
เกร็ดเลือด
เป็นการตรวจวิเคราะห์ทางโลหิตวิทยาที่
สาคัญที่สุด 127
Complete Blood Count ( CBC )
• การเก็บเลือดเพื่อตรวจ โดยเจาะเลือดจากเส้น
เลือดดาบริเวณ ข้อแขนหรือข้อมือ ใช้ปริมาณ
ประมาณ 2.5 - 3 มิลลิลิตร
• เลือดที่ใช้ในการตรวจ CBC จะต้องเป็ น
เลือดที่อยู่ในหลอดแก้วที่มีสารกันเลือด
แข็งที่เรียกว่า EDTA ตาม อัตราส่วนที่
เหมาะสม เพื่อป้องกันการแข็งตัวของเลือดที่จะ
ตรวจ 128
ประโยชน์ของการตรวจ CBC
• ทาให้ทราบถึงสภาวะสุขภาพของร่างกาย
และความเสี่ยงต่อการเกิดโรค
• ประโยชน์ในการป้องกันและรักษาโรคต่างๆ
เช่น การตรวจเลือดเพื่อวินิจฉัย เพื่อค้นหา
ความผิดปกติในระยะ แรกเริ่มจะเป็ น
ประโยชน์สาหรับการป้องกัน และรักษาโรคได้
ทันการ
• มีประโยชน์มากในการวินิจฉัยโรคและในการ
ติดตามการรักษา 129
ประโยชน์ของการตรวจ CBC
• ใช้ศึกษาภาวะโลหิตจาง
• ใช้ศึกษาภาวการณ์ติดเชื้อ
• การศึกษามะเร็งเม็ดเลือดขาว
• ใช้ติดตามการเปลี่ยนแปลงเลือดในผู้ป่วย
มะเร็งที่รักษาด้วยเคมีบาบัด
130
การตรวจ CBC ประกอบด้วย
• การวัดระดับฮีโมโกลบิน ( Hemoglobin , Hb )
• การหาปริมาตรอัดแน่นของเม็ดเลือดแดงซึ่ง
เรียกว่า
ฮีมาโตคริต ( Hematocrit , Hct )
• การนับจานวนเม็ดเลือดขาว ( White blood
cell count )
• การนับจานวนเกร็ดเลือด และการตรวจเกร็ด
เลือด ( Platelet count )
• การนับแยกชนิดเม็ดเลือดขาว ( Differential
131
132
การวัดระดับฮีโมโกลบิน (
Hemoglobin , Hb )
• คือ การวัดระดับฮีโมโกลบิน (
Hemoglobin , Hb )
• ค่าฮีโมโกลบินที่ลดลงอาจเกิดจากการเสีย
เลือด และการขาด
สารอาหาร โลหิตจาง โดยเฉพาะการขาด
ธาตุเหล็กใช้บอกภาวะโลหิตจาง
133
การรายงานผลการตรวจวิเคราะห์และ
ค่าปกติ
ค่าปกติของ Hemoglobin ( Hb )
เพศหญิง 12 - 16 gm/dl
เพศชาย 14 - 18 gm/dl
134
Hematocrit ( ปริมาณเม็ดเลือดแดง
อัดแน่น )
• คือ ร ้อยละของปริมาตรเม็ดเลือดแดงต่อ
ปริมาตรของเลือดที่เจาะจากหลอดเลือด
หลังจากปั่นแล้ว
• ค่า Hct มีประโยชน์ในการบอกความ
เข้มข้นของเม็ดเลือดแดง
• ค่านี้สามารถใช้บอกภาวะโลหิตจาง ได้
135
Hematocrit
136
การรายงานผลการตรวจวิเคราะห์และ
ค่าปกติ
• รายงานผลการตรวจวิเคราะห์เป็นร ้อย
ละ
ค่าปกติของ Hematocrit ( Hct )
เพศหญิง 37 - 47 %
เพศชาย 41 - 51 %
137
การนับจานวนเกร็ดเลือด Platelet
count
• เกร็ดเลือดมีหน้าที่ช่วยในการหยุดไหล
ของเลือด เมื่อมีบาดแผล
• ปกติจะมีเกร็ดเลือด 100000-400000
cells / cu.mm.
( cubic millimeter )
• ถ้าเกร็ดเลือดต่าทาให้ผิวเกิดจ้าเลือด และ
จุดเลือดออก
138
การรายงานผลการตรวจวิเคราะห์และ
ค่าปกติ
• การรายงานผลการตรวจวิเคราะห์จะรายงาน
เป็นจานวน cell/ml เลยจากการนับ
• และจะรายงานจากการประมาณด้วย สายตา
โดยดูจากสไลด์ที่ย้อมดูเม็ดเลือด แล้วประเมิน
ปริมาณเกร็ดเลือดคร่าวๆออกมาดังนี้
Adequate = เพียงพอ หรือพอดี หรือ
ปกติ
Decrease = ลดลงกว่าปกติ หรือต่า
กว่าปกติ
Increase = มากกว่าปกติ 139
การรายงานผลการตรวจวิเคราะห์
และ ค่าปกติ
คนปกติจะมีเกร็ดเลือด 140,000-440,000
cells / cu.mm
( cubic millimeter )
140
การตรวจดูสเมียร ์เลือด ( Blood
smear )
• ทาให้ให้เซลล์เม็ดเลือดกระจายตัวออก เพื่อ
ตรวจสอบเม็ดเลือดได้ง่าย
• การตรวจสเมียร ์เลือดทาให้สามารถตรวจพบ
ความผิดปกติของ morphology ( รูปร่าง ,
ลักษณะ ) ของเม็ดเลือดแดงได้
• ใช ้ในการนับแยกชนิดของเม็ดเลือดขาว
141
การตรวจดูสเมียร ์เลือด ( Blood
smear )
Slid
e
142
การตรวจเม็ดเลือดขาว
( White Blood Cell : WBC หรือ
leukocyte )
การตรวจเม็ดเลือดขาวแบ่งการตรวจได้เป็น 2
ส่วน คือ
- การนับจานวนเม็ดเลือดขาว
( White blood cell count )
- การนับแยกชนิดของเม็ดเลือดขาว
( Differential White Blood
Cell Count )
143
การนับจานวนเม็ดเลือดขาว (
White blood cell count )
• คือ การนับจานวนเม็ดเลือดขาวใน
ปริมาตรของเลือด 1 ลูกบาศก์มิลลิเมตร
( cell/cu.mm )
• มีประโยชน์ต่อแพทย์ในการบ่งชี้ภาวะติด
เชื้อ (Infection ) ของผู้ป่วย
• ใช้ในการติดตามการดาเนินของโรค
144
การนับจานวนเม็ดเลือดขาว ( White
blood cell count )
• จานวนเม็ดเลือดขาว ( White blood cell
count ) เพิ่มมากขึ้นในกรณีของการติด
เชื้อแบคทีเรีย ( Bacterial infections ) ,
ไส้ติ่งอักเสบ , มะเร็งเม็ดเลือดขาว (
Leukemia )
• จานวนเม็ดเลือดขาว ( White blood cell
count ) จะมีค่าต่า
กว่าปกติในกรณีที่ติดเชื้อไวรัส ( Viral
infections )
• การฉายรังสี ( Radiation ) และการใช้ยา 145
146
147
การรายงานผลการตรวจวิเคราะห์และ
ค่าปกติ
รายงานผลการตรวจวิเคราะห์เป็นจานวน
เซลล์เม็ดเลือดขาว
ที่นับได้
ค่าของ WBC ในคนปกติ = 5,000 –
10,000 cells/cu.mm
148
การนับแยกชนิดเม็ดเลือดขาว
( Differential White Blood Cell
Count )
• คือการหาอัตราส่วนของเม็ดเลือดขาวแต่ละชนิดโดย
การนับเม็ดเลือดขาวแต่ละชนิดว่ามีกี่ % ดังนั้นรวมกัน
ทั้งหมดทุกชนิดจะต้องได้ 100 % พอดี
• เม็ดเลือดขาวมีอยู่ 5 ชนิดดังนี้
- Neutrophil
- Lymphocyte
- Monocyte
- Eosinophil
- Basophil 149
การนับจานวนเม็ดเลือดแดง
( Red Blood Cell Count , RBC )
• การนับจานวนเม็ดเลือดแดงหรือการดูรูปร่าง
ของเม็ดเลือดแดง จะมีรายงานออกมาหลาย
รูปแบบ ตามลักษณะที่มองเห็น
• ช่วยแยกโรคได้หลายอย่าง เช่น บอกว่า
เป็นธาลัสซีเมียได้อย่างคร่าวๆ หรือบอก
ภาวะโลหิตจางจากการขาดเหล็กเป็ นต้น
และบางครั้งอาจจะเห็นเชื้อมาลาเรียอยู่ในเม็ด
เลือดแดงด้วยก็ได้
150
151
152
การนับจานวนเม็ดเลือดแดง
( Red Blood Cell Count , RBC )
Red blood cell count ( RBC count
)
เป็นการนับปริมาณเม็ดเลือดแดงใน
ปริมาตรของเลือด
1 ลูกบาศก์มิลลิเมตร ( cu.mm. )
153
การรายงานผลการตรวจวิเคราะห์และ
ค่าปกติ
รายงานผลการตรวจวิเคราะห์เป็นจานวน
เซลล์เม็ดเลือด
แดงที่นับได้
ค่าของ RBC ในคนปกติ =
4,500,000 – 6,000,000
cells/cu.mm 154
การหาดัชนีเม็ดเลือด
Red blood cell
indicies
Red blood cell indicies
• หรือที่เรียกกันว่าดัชนีเม็ดเลือด
• เป็ นตัวที่ช่วยบ่งชี้ถึงขนาด ( Size ) ของ
เม็ดเลือดแดงและปริมาณฮีโมโกลบินที่อยู่
ในเม็ดเลือดแดงแต่ละเม็ด
• Red blood cell indicies จึงเป็นตัว
ช่วยในการวินิจฉัย และแยกชนิดภาวะ
โลหิตจางชนิดต่าง ๆ
156
Red blood cell indicies
• Red blood cell indicies
ประกอบด้วยดัชนี 3 อย่าง คือ
- Mean Corpuscular Volume
( MCV )
- Mean Corpuscular
Hemoglobin ( MCH )
- Mean Corpuscular
hemoglobin concentration 157
Red blood cell indicies
• Mean Corpuscular Volume (
MCV )
เป็นการวัดขนาดของเม็ดเลือดแดง เป็น
อัตราส่วนระหว่าง Hct และเม็ดเลือดแดง
158
การรายงานผลการตรวจวิเคราะห์และ
ค่าปกติ
Mean Corpuscular Volume ( MCV
)
ค่าปกติ = 80 - 100 fL ( femtolitre
)
159
Red blood cell indicies
• Mean cell hemoglobin ( MCH )
เป็นการวัดปริมาณ hemoglobin ในแต่
ละเซลล์ของเม็ดเลือดแดงหรือเป็นการ
คานวณระหว่างปริมาณ hemoglobin
และปริมาณเม็ดเลือดแดง
160
การรายงานผลการตรวจวิเคราะห์และ
ค่าปกติ
Mean cell hemoglobin ( MCH )
ค่าปกติ = 27 - 31 pg ( picogram
)
161
Red blood cell indicies
• Mean cell hemoglobin
concentration (MCHC)
เป็นการวัดความเข้มข้นของ
hemoglobin ซึ่งคานวณได้จาก
hemoglobin และ Hct
162
การรายงานผลการตรวจวิเคราะห์และ
ค่าปกติ
Mean cell hemoglobin
concentration (MCHC)
ค่าปกติ = 32 - 36 %
163
การนับจานวน
Reticulocyte
Reticulocyte
count
Reticulocyte count
• Reticulocyte คือ เซลล์เม็ดเลือดแดงที่
ยังเจริญเติบโตไม่สมบูรณ์ หรือ เซลล์เม็ด
เลือดแดงตัวอ่อน
• การนับ Reticulocyte หรือ
Reticulocyte count เป็ นสิ่งสาคัญ
อันหนึ่งในการช่วยวินิจฉัยโรค เพราะเป็น
ตัวที่ช่วยบ่งชี้ถึงการสร ้างเม็ดเลือดแดง
ของไขกระดูกว่าปกติหรือไม่ 165
การรายงานผลการตรวจวิเคราะห์และ
ค่าปกติ
• รายงานผลการตรวจวิเคราะห์เป็น
หน่วย %
ค่าปกติของ reticulocyte count
= 0.5-1.5 %
166
การตรวจหาเชื้อ
มาลาเรีย
Malaria
examination
โรคไข้มาลาเรีย ( Malaria )
• โรคไข้มาลาเรีย (Malaria) : ไข้ป่า
หรือ ไข้จับสั่น
• เกิดจากการติดเชื้อโปรโตซัว ชื่อ พลาสโม
เดียม
• ติดต่อสู่คนโดยการถูกยุงก้นปล่องตัวเมียที่มี
เชื้อมาลาเรียกัด
• หลังจากได้รับเชื้อประมาณ 1-2 สัปดาห์จะมี
อาการนาคล้ายกับเป็นหวัด คือ มีไข้ ปวด
ศีรษะ ปวดเมื่อยตามตัว อาจมีอาการคลื่นไส้
อาเจียน เบื่ออาหารได้ ลักษณะเฉพาะของโรค
168
169
Malaria examination
คือ การตรวจหาเชื้อมาลาเรียใน
เลือด
โดยใช้กล้องจุลทรรศน์
170
การรายงานผลการตรวจวิเคราะห์
• รายงานผลการตรวจวิเคราะห์เป็น
Found และ Not found
Malaria found : พบเชื้อมาลาเรีย
พร ้อมทั้งบอกชนิดของเชื้อมาลาเรียที่
พบ
Malaria not found : ไม่พบเชื้อ
มาลาเรีย 171
172
173
Erythrocyte
Sedimentation Rate
( ESR )
Erythrocyte Sedimentation
Rate
( ESR )
Erythrocyte + Sedimentation + Rate
เม็ดเลือดแดง การตกตะกอน อัตรา
175
Erythrocyte Sedimentation
Rate
( ESR )
• คือ การวัดระยะการตกของเม็ดเลือดแดงที่มีสาร
กันเลือดแข็งในหลอดแก้วพิเศษในเวลาที่จากัด
176
Erythrocyte Sedimentation
Rate
( ESR )
• การทา ESR ไม่สามารถวินิจฉัยโรคที่
จาเพาะเจาะจงได้ แต่ค่าของ ESR สามารถ
บอกชนิดของกลุ่มโรคได้ เช่น กลุ่มที่มีการ
อักเสบ หรือมีการติดเชื้อ
• ใช ้ค่าของ ESR เพื่อติดตามอาการความ
รุนแรงของโรค เช่น โรค Rheumatoid
arthritis เป็นต้น
177
การรายงานผลการตรวจวิเคราะห์และ
ค่าปกติ
• รายงานระดับการตกของเม็ดเลือดแดงเป็น
มิลลิเมตร
ค่าปกติ
ผู้หญิง = 0 – 20
มิลลิเมตร
ผู้ชาย = 0 – 15
มิลลิเมตร
เด็ก = 0 – 10
178
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
เบื้องต้นเพื่อช่วย
วินิจฉัยความบกพร่อง
ของปัจจัยการแข็งตัวของเลือด
( Screening Coagulograms )
การแข็งตัวของเลือด (
Coagulation )
ถ้ามีเลือดออกจากบาดแผลขนาดใหญ่
การทางานของ
หลอดเลือดและเกร็ดเลือดยังไม่เพียง
พอที่จะทาให้เลือด
หยุด จาเป็นต้องอาศัย ปัจจัยการ
แข็งตัวของเลือด
( Coagulation factor ) โดยสุดท้าย
180
181
การตรวจ Screening
Coagulograms
• เป็ นกลุ่มการทดสอบขั้นเริ่มต้นที่ใช ้ใน
ผู้ป่วยที่สงสัยว่าจะมีความผิดปกติของ
ปัจจัยการแข็งตัวของเลือด
• เพื่อให้ทราบว่าความผิดปกตินั้นเกิดขึ้นที่
ส่วนใดของกลไกการแข็งตัวของเลือด
182
ประโยชน์ของการตรวจ Screening
Coagulograms
• เป็ นกลุ่มการทดสอบขั้นเริ่มต้นที่ใช้ใน
ผู้ป่วยที่สงสัยว่าจะมีความผิดปกติของ
ปัจจัยการแข็งตัวของเลือด
• เป็นการเตรียมผู้ป่วยให้พร ้อมก่อนการ
ผ่าตัด โดยการดู ค่า Coagulogram
183
Screening Coagulograms
ประกอบด้วย
• Prothrombin time ( PT / INR )
• Activated Partial
Thromboplatin Time ( APTT )
184
Screening Coagulograms
• การเก็บเลือดเพื่อตรวจ โดยเจาะเลือดจากเส้น
เลือดดาบริเวณ ข้อแขนหรือข้อมือ ใช้ปริมาณ
ประมาณ 2.5 - 3 มิลลิลิตร
• เลือดที่ใช้ในการตรวจ Screening
Coagulograms จะต้องเป็ นเลือดที่อยู่ใน
หลอดที่มีสารกันเลือดแข็งที่เรียกว่า
Sodium Citrate ตาม อัตราส่วนที่เหมาะสม
เพื่อป้องกันการแข็งตัวของเลือดที่จะตรวจ 185
Prothrombin time ( PT / INR )
• ค่า PT หรือ Prothrombin time เป็นค่า
จากการทดสอบการแข็งตัวของเลือดใน
กระบวนการ Extrinsic system
• ค่า INR หรือ International Normalized
Ratio คือค่าอัตราส่วนของ PT ของผู้ป่วยต่อ
PT ปกติ ซึ่งองค์การอนามัยโลกได้ตั้งขึ้นเพื่อ
เป็ นค่ามาตรฐานสาหรับเปรียบเทียบค่าที่ได้
จากห้องปฏิบัติการ
186
187
ประโยชน์ของตรวจ PT / INR
1. ประเมินความผิดปกติในระบบการ
แข็งตัวของเลือดใน Extrinsic
pathway รวมทั้งปัจจัยการแข็งตัว
ของเลือดอื่น ๆ
2. ประเมิน Synthetic function ของ
ตับ
3. โดยทั่วไปจะใช ้ค่า PT & INR ในการ
monitor ผู้ป่วยที่มีการใช ้ยา 188
การรายงานผลการตรวจวิเคราะห์และ
ค่าปกติ
• รายงานผลการตรวจวิเคราะห์เป็นวินาที
ค่าปกติ 9.0 - 14.0 วินาที
189
Activated Partial
Thromboplatin Time
( APTT )
• ค่า aPTT หรือ activated partial
thromboplastin time เป็นค่าจาก
การทดสอบการแข็งตัวของเลือดใน
กระบวนการ Intrinsic pathway
190
191
การรายงานผลการตรวจวิเคราะห์และ
ค่าปกติ
• รายงานผลการตรวจวิเคราะห์เป็นวินาที
ค่าปกติ 24.0 - 34.0 วินาที
192
การหาค่า
Fibrinogen
การหาค่า Fibrinogen
• Fibrinogen คือ โปรตีนในพลาสมา
ที่ช่วยในกระบวนการแข็งตัวของเลือด
เมื่อเกิดบาดแผล
• Fibrinogen สร ้างจากตับ
194
195
การหาค่า Fibrinogen
• เป็ นการทดสอบที่ใช ้ในผู้ป่วยที่สงสัยว่า
จะมีความผิดปกติของการแข็งตัวของ
เลือด
196
การรายงานผลการตรวจวิเคราะห์และ
ค่าปกติ
ค่าปกติ 170 - 440 mg/dL
197
การทดสอบ
Bleeding Time
การทดสอบ Bleeding Time
• การทดสอบ Bleeding Time หรือ เวลา
เลือดออก
• เป็นการทดสอบที่ใช ้ประเมินการทางานของเกร็ด
เลือด โดยการทาให้เกิดแผลขนาดเล็กที่ตัว
ผู้ป่วย และนับเวลาตั้งแต่เลือดออกจนเลือดหยุด
ไหล
199
การรายงานผลการตรวจวิเคราะห์และ
ค่าปกติ
• รายงานผลการตรวจวิเคราะห์เป็ นนาทีซึ่ง
เป็ นเวลาที่เลือดหยุดไหล
ค่าปกติ 0.5 - 6 นาที
200
201
ชนิดของ
หลอด
( สีจุก )
รูปภาพแสดง สารที่มีอยู่ใน
หลอด
เหมาะกับงาน
เกี่ยวกับ
หลอดจุกสี
เขียว
Heparin การตรวจทางเคมี
คลินิกบางอย่าง
Chromosome
และD NA
หลอดจุกสี
ม่วง
EDTA โลหิตวิทยา เช่น
CBC, DNA
202
• หลังจากเจาะเลือด เพื่อให้สารกันเลือดแข็ง
ผสมกับเลือดควรจับหลอดพลิกกลับไป (
Invert ) กลับมา 6-8 ครั้ง ทันทีหลังจาก
เจาะเสร็จ เพื่อกันเลือดแข็งตัว
203
วิธีการเก็บตัวอย่างเลือด
วิธีการเขย่า ( mix ) เลือดกับสารที่เคลือบอยู่ใน
หลอด
( Aniticoagulant ) ในหลอดเก็บเลือด
สูญญากาศอย่างถูกวิธี โดยเอียงหลอดพลิก
กลับไปมาในแนว 180 องศา
ไม่ควรเขย่าหลอดแรงๆ เพราะจะทาให้เกิด
hemolysis
204
END

More Related Content

Similar to Hemoto 65.ppt

HIV
HIV HIV
Podcast ep004-covid rapid test
Podcast ep004-covid rapid testPodcast ep004-covid rapid test
Podcast ep004-covid rapid test
Namchai Chewawiwat
 
แนวทางการพัฒนา CKD clinic และ เครือข่ายการดูแลผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง ของกระทร...
แนวทางการพัฒนา CKD clinic และ เครือข่ายการดูแลผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังของกระทร...แนวทางการพัฒนา CKD clinic และ เครือข่ายการดูแลผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังของกระทร...
แนวทางการพัฒนา CKD clinic และ เครือข่ายการดูแลผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง ของกระทร...
CAPD AngThong
 
KODETM Biosurface Engineering Technology and red blood cells surface antigens.
KODETM Biosurface Engineering Technology and red blood cells surface antigens.KODETM Biosurface Engineering Technology and red blood cells surface antigens.
KODETM Biosurface Engineering Technology and red blood cells surface antigens.
Kallaya Kerdkaewngam
 
Slide อจ.นพ.วินัย ลีสมิทธิ์
Slide อจ.นพ.วินัย ลีสมิทธิ์Slide อจ.นพ.วินัย ลีสมิทธิ์
Slide อจ.นพ.วินัย ลีสมิทธิ์
CAPD AngThong
 
Definitions of nosocomial infection
Definitions of nosocomial infectionDefinitions of nosocomial infection
Definitions of nosocomial infection
Chananart Yuakyen
 
Antimicrobial stewardship(asp)and mdr
Antimicrobial stewardship(asp)and mdrAntimicrobial stewardship(asp)and mdr
Antimicrobial stewardship(asp)and mdrDel Del
 
CKD for 2019
CKD for 2019 CKD for 2019
CKD for 2019
Kamol Khositrangsikun
 
Group discussion GA.pdf
Group discussion GA.pdfGroup discussion GA.pdf
Group discussion GA.pdf
Stafarne
 
ข้อเสนอแนะการประเมินคุณภาพแพทย์ ประจำปี 2557
ข้อเสนอแนะการประเมินคุณภาพแพทย์ ประจำปี 2557ข้อเสนอแนะการประเมินคุณภาพแพทย์ ประจำปี 2557
ข้อเสนอแนะการประเมินคุณภาพแพทย์ ประจำปี 2557techno UCH
 
กาย่า presentation
กาย่า presentationกาย่า presentation
กาย่า presentationCrystalpet
 

Similar to Hemoto 65.ppt (12)

HIV
HIV HIV
HIV
 
Podcast ep004-covid rapid test
Podcast ep004-covid rapid testPodcast ep004-covid rapid test
Podcast ep004-covid rapid test
 
แนวทางการพัฒนา CKD clinic และ เครือข่ายการดูแลผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง ของกระทร...
แนวทางการพัฒนา CKD clinic และ เครือข่ายการดูแลผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังของกระทร...แนวทางการพัฒนา CKD clinic และ เครือข่ายการดูแลผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังของกระทร...
แนวทางการพัฒนา CKD clinic และ เครือข่ายการดูแลผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง ของกระทร...
 
KODETM Biosurface Engineering Technology and red blood cells surface antigens.
KODETM Biosurface Engineering Technology and red blood cells surface antigens.KODETM Biosurface Engineering Technology and red blood cells surface antigens.
KODETM Biosurface Engineering Technology and red blood cells surface antigens.
 
Slide อจ.นพ.วินัย ลีสมิทธิ์
Slide อจ.นพ.วินัย ลีสมิทธิ์Slide อจ.นพ.วินัย ลีสมิทธิ์
Slide อจ.นพ.วินัย ลีสมิทธิ์
 
Definitions of nosocomial infection
Definitions of nosocomial infectionDefinitions of nosocomial infection
Definitions of nosocomial infection
 
Definitions of nosocomial infection
Definitions of nosocomial infectionDefinitions of nosocomial infection
Definitions of nosocomial infection
 
Antimicrobial stewardship(asp)and mdr
Antimicrobial stewardship(asp)and mdrAntimicrobial stewardship(asp)and mdr
Antimicrobial stewardship(asp)and mdr
 
CKD for 2019
CKD for 2019 CKD for 2019
CKD for 2019
 
Group discussion GA.pdf
Group discussion GA.pdfGroup discussion GA.pdf
Group discussion GA.pdf
 
ข้อเสนอแนะการประเมินคุณภาพแพทย์ ประจำปี 2557
ข้อเสนอแนะการประเมินคุณภาพแพทย์ ประจำปี 2557ข้อเสนอแนะการประเมินคุณภาพแพทย์ ประจำปี 2557
ข้อเสนอแนะการประเมินคุณภาพแพทย์ ประจำปี 2557
 
กาย่า presentation
กาย่า presentationกาย่า presentation
กาย่า presentation
 

More from praphan khunti

คู่มิอยา.pdf
คู่มิอยา.pdfคู่มิอยา.pdf
คู่มิอยา.pdf
praphan khunti
 
การติดตามอาการไม่พึงประสงค์จากการใช้ยา.pdf
การติดตามอาการไม่พึงประสงค์จากการใช้ยา.pdfการติดตามอาการไม่พึงประสงค์จากการใช้ยา.pdf
การติดตามอาการไม่พึงประสงค์จากการใช้ยา.pdf
praphan khunti
 
สรุปเปรียบเทียบโรคแผนปัจจุบันในคัมภีร์ตักศิลา.pdf
สรุปเปรียบเทียบโรคแผนปัจจุบันในคัมภีร์ตักศิลา.pdfสรุปเปรียบเทียบโรคแผนปัจจุบันในคัมภีร์ตักศิลา.pdf
สรุปเปรียบเทียบโรคแผนปัจจุบันในคัมภีร์ตักศิลา.pdf
praphan khunti
 
การเขียนใบสั่งยา65.pdf
การเขียนใบสั่งยา65.pdfการเขียนใบสั่งยา65.pdf
การเขียนใบสั่งยา65.pdf
praphan khunti
 
กลุ่มอาการฉุกเฉิน.pdf
กลุ่มอาการฉุกเฉิน.pdfกลุ่มอาการฉุกเฉิน.pdf
กลุ่มอาการฉุกเฉิน.pdf
praphan khunti
 
การปฐมพยาบาลขั้นต้น 65.pdf
การปฐมพยาบาลขั้นต้น 65.pdfการปฐมพยาบาลขั้นต้น 65.pdf
การปฐมพยาบาลขั้นต้น 65.pdf
praphan khunti
 
แบบทดสอบศัพท์แพทย์ 65.doc
แบบทดสอบศัพท์แพทย์ 65.docแบบทดสอบศัพท์แพทย์ 65.doc
แบบทดสอบศัพท์แพทย์ 65.doc
praphan khunti
 
DM 65.ppt
DM 65.pptDM 65.ppt
DM 65.ppt
praphan khunti
 
Legionnaires 65.ppt
Legionnaires 65.pptLegionnaires 65.ppt
Legionnaires 65.ppt
praphan khunti
 
corona virus 65.ppt
corona virus 65.pptcorona virus 65.ppt
corona virus 65.ppt
praphan khunti
 
Hanta virus 65.ppt
Hanta virus 65.pptHanta virus 65.ppt
Hanta virus 65.ppt
praphan khunti
 

More from praphan khunti (11)

คู่มิอยา.pdf
คู่มิอยา.pdfคู่มิอยา.pdf
คู่มิอยา.pdf
 
การติดตามอาการไม่พึงประสงค์จากการใช้ยา.pdf
การติดตามอาการไม่พึงประสงค์จากการใช้ยา.pdfการติดตามอาการไม่พึงประสงค์จากการใช้ยา.pdf
การติดตามอาการไม่พึงประสงค์จากการใช้ยา.pdf
 
สรุปเปรียบเทียบโรคแผนปัจจุบันในคัมภีร์ตักศิลา.pdf
สรุปเปรียบเทียบโรคแผนปัจจุบันในคัมภีร์ตักศิลา.pdfสรุปเปรียบเทียบโรคแผนปัจจุบันในคัมภีร์ตักศิลา.pdf
สรุปเปรียบเทียบโรคแผนปัจจุบันในคัมภีร์ตักศิลา.pdf
 
การเขียนใบสั่งยา65.pdf
การเขียนใบสั่งยา65.pdfการเขียนใบสั่งยา65.pdf
การเขียนใบสั่งยา65.pdf
 
กลุ่มอาการฉุกเฉิน.pdf
กลุ่มอาการฉุกเฉิน.pdfกลุ่มอาการฉุกเฉิน.pdf
กลุ่มอาการฉุกเฉิน.pdf
 
การปฐมพยาบาลขั้นต้น 65.pdf
การปฐมพยาบาลขั้นต้น 65.pdfการปฐมพยาบาลขั้นต้น 65.pdf
การปฐมพยาบาลขั้นต้น 65.pdf
 
แบบทดสอบศัพท์แพทย์ 65.doc
แบบทดสอบศัพท์แพทย์ 65.docแบบทดสอบศัพท์แพทย์ 65.doc
แบบทดสอบศัพท์แพทย์ 65.doc
 
DM 65.ppt
DM 65.pptDM 65.ppt
DM 65.ppt
 
Legionnaires 65.ppt
Legionnaires 65.pptLegionnaires 65.ppt
Legionnaires 65.ppt
 
corona virus 65.ppt
corona virus 65.pptcorona virus 65.ppt
corona virus 65.ppt
 
Hanta virus 65.ppt
Hanta virus 65.pptHanta virus 65.ppt
Hanta virus 65.ppt
 

Recently uploaded

1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdfงานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
atwordfamily words with Thai translationtx
atwordfamily words with Thai translationtxatwordfamily words with Thai translationtx
atwordfamily words with Thai translationtx
Bangkok, Thailand
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
Prachyanun Nilsook
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdfแนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 

Recently uploaded (10)

1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
 
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
 
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdfงานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
 
atwordfamily words with Thai translationtx
atwordfamily words with Thai translationtxatwordfamily words with Thai translationtx
atwordfamily words with Thai translationtx
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdfแนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
 

Hemoto 65.ppt