SlideShare a Scribd company logo
                                                                         1




         ความทาทายขององคการกับการเปลี่ยนแปลงของโลกธุรกิจ
                                    เสนอ
                            ดร. ดนัย เทียนพุฒ
                                     โดย
             นางสาวสุภาพร      สุขขวัญ         รหัส 51210078
             นางสาวเพ็ญพัฒน โตสําลี           รหัส 51210052
             นางสาวกมลพรรณ หมื่นหอ             รหัส 51210086
             นางสาวปณชญา      ขวัญคง          รหัส 51210185
             นางสาวรัตนาภรณ กําลังมาก         รหัส 51210268
             นางสาวอลิษา       ศรีใหม         รหัส 51210334
             นางสาวอารยา       สารคุณ          รหัส 51210367


    รายงานฉบับนีเ้ ปนสวนหนึ่งของรายวิชาการเปลี่ยนแปลงและพัฒนาองคการ
                    ภาคการศึกษาที่ 2 ปการศึกษา 2552
                            มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ
                                                                                                           2


                                                  คํานํา


        รายงานฉบับนี้เปนสวนหนึ่งของรายวิชา การเปลี่ยนแปลงและพัฒนาองคการ (MGT-623) ไดจัดทํา
ขึ้นเพื่อศึกษาการเปลี่ยนแปลงของสภาพแวดลอมที่มีผลกระทบตอองคการ กลยุทธและเทคนิควิธการจัดการ
                                                                                    ี
ต อ การเปลี่ ย นแปลงทั้ ง ในระดั บ ป จ เจกบุ ค คล กลุ ม และองค ก าร การพั ฒ นาองค ก ารเพื่ อ รองรั บ การ
เปลี่ยนแปลง ปญหาในการเปลี่ยนแปลงองคการ รวมทั้งการตอตานและแนวทางแกไข ซึ่งทางคณะผูจัดทํา
ไดทําการศึกษา โดยใชธุรกิจเครืออิสระวัฒนาและเครือกฤษฎา เปนกรณีศึกษา ผูจัดทําหวังเปนอยางยิ่งวา
รายงานฉบับนี้จะเปนประโยชนไดมากกับผูท่ีสนใจเรื่องการเปลี่ยนแปลงองคการและหากมีขอผิดพลาด
ประการใดก็ขออภัยมา ณ โอกาสนี้ดวย




                                                                        คณะผูจัดทํา

                                                                     15 ตุลาคม 2552
                                                                      3


                                             สารบัญ
                                                                 หนา

Case Study: กลุมธุรกิจเครืออิสระวัฒนา & กลุมธุรกิจเครือกฤษฎา
ที่มาและรูปแบบของอุตสาหกรรมประมง                                 6
ที่มาและรูปแบบของอุตสาหกรรมประมงในประเทศไทย                      10
พัฒนาการอุตสาหกรรม “ปลาปน”                                      11
สถานการณและนโยบายปลาปนประเทศไทย ป 2548                        15
สถานการณปลาปนโลก ป 2547/48                                    19
Case Study: ธุรกิจเครืออิสระวัฒนา
- เหตุผลที่เลือกเปน Case Study                                  24
-ประวัติความเปนมาของกิจการ                                      24
-ธุรกิจในเครืออิสระวัฒนา                                         25
-ผูบริหาร/ผูถือหุน                                            27
-ประวัติความเปนมาของผูประกอบการ                                27
-ปรัชญาในการดําเนินธุรกิจ                                        27
-วิสัยทัศนและพันธกิจ                                            27
-วัตถุประสงคและเปาหมาย                                         28
-การวิเคราะหธุรกิจของเครืออิสระวัฒนา
         -การวิเคราะห PEST Model                                29
         -การวิเคราะห Five Force Model                          32
         -การวิเคราะห ทัศนภาพ                                   34
- แนวโนมธุรกิจในเครืออิสระวัฒนาอีก 3 ป ขางหนา
         - แนวโนมที่แนนอนของธุรกิจ                             37
         - แนวโนมที่ไมแนนอนของธุรกิจ                          38
                                                               4


                                               สารบัญ

                                                          หนา
- การดําเนินการกับแนวโนมที่แนนอนและไมแนนอน            40
         - ปจจัยสําคัญที่ทําใหประสบความสําเร็จ          40
         - ขอเสนอแนะ                                     42
Case Study: ธุรกิจเครือกฤษฎา
- เหตุผลที่เลือกเปน Case Study                           43
- ประวัติความเปนมาของกิจการ                              43
- ธุรกิจในเครือกฤษฎา                                      44
- ผูบริหาร/ผูถือหุน                                    45
- ปรัชญาในการดําเนินธุรกิจ                                46
- วิสัยทัศนและพันธกิจ                                    46
- การวิเคราะหธุรกิจของเครือกฤษฎา
         - การวิเคราะหปจจัยภายนอกองคกร (PEST Model)    46
         - การวิเคราะหปจจัยภายในองคกร                  47
         - การวิเคราะห Five Force Model                  49
         - การวิเคราะห ทัศนภาพ                           52
- แนวโนมธุรกิจในเครืออิสระวัฒนาอีก 3 ป ขางหนา         59
         - แนวโนมที่แนนอนของธุรกิจ                      59
         - แนวโนมที่ไมแนนอนของธุรกิจ                   60
         - การดําเนินการกับแนวโนมที่แนนอนและไมแนนอน   62
         - ปจจัยสําคัญที่ทําใหประสบความสําเร็จ          63
         - ขอเสนอแนะ                                     63
                                                      5


                                        สารบัญ

                                                 หนา
สรุปเปรียบเทียบ SWOT ระหวาง 2 องคกร            65
ภาคผนวก
บรรณานุกรม




 
                                                                                                              6

                Case Study: กลุมธุรกิจเครืออิสระวัฒนา & กลุมธุรกิจเครือกฤษฎา

ที่มาและรูปแบบของอุตสาหกรรมประมง
        การประมง หรือ ประมง หมายถึงการจัดการของมนุษยดานการจับปลาหรือสัตวน้ําอื่นๆ การดูแล
รักษาปลาสวยงามและการแปรรูปเปนผลิตภัณฑประมงเชน น้ํามันปลา กิจกรรมการทําประมงจัดแบงไดทั้ง
ตามชนิดสัตวน้ําและตามเขตเศรษฐกิจ เชน การทําประมงปลาแซลมอนในอลาสกา การทําประมงปลาคอด
ในเกาะลอโฟเทน ประเทศนอรเวยหรือการทําประมงปลาทูนาในมหาสมุทรแปซิฟกตะวันออก และยัง
รวมถึงการเพาะปลูกในน้ํา (Aquaculture) ซึ่งหมายถึงการปลูกพืชหรือเลี้ยงสัตวบางชนิดในน้ํา เพื่อใชเปน
อาหารคนหรือสัตว เชนเดียวกับเกษตรกรรมที่ทําบนพื้นดิน การทําฟารมในน้ํา เชนฟารมปลา ฟารมกุง
ฟารมหอย ฟารมหอยมุก การเพาะปลูกในน้ําในสภาพแวดลอมที่ควบคุมไว การเพาะปลูกในน้ําจืด น้ํากรอย
ในทะเล การเพาะปลู กสาหร า ย ต อมาไดมีก ารพั ฒนาองค ความรูดานการประมงเปน วิ ทยาศาสตร แ ละ
เทคโนโลยีสาขาหนึ่งเรียกวาวิทยาศาสตรการประมง มีพ้ืนฐานจากวิชาชีววิทยา นิเวศวิทยา สมุทรศาสตร
เศรษฐศาสตรและการจัดการ มีการจัดศึกษาดานการประมงในแงมุมตางๆ ทั้งระดับอนุปริญญา ปริญญาตรี
ปริญญาโทและปริญญาเอก และการประมงมีบทบาทสําคัญในเชิงธุรกิจและอุตสาหกรรมของประเทศ จึงมี
คําอื่นๆที่เกี่ยวของเชน “ธุรกิจการประมง” “อุตสาหกรรมประมง” เกิดขึ้น
        ในประเทศไทยมีภาพเขียนเกี่ยวกับการจับปลามากอนประวัติศาสตร และมีคํากลาวมาตั้งแตสมัย
สุโขทัยวา “ในน้ํามีปลาในนามีขาว” “กินขาวกินปลา” ปลาเปนแหลงโปรตีนของคนไทยมาตั้งแตยุคโบราณ
                              
ประกอบกับประเทศไทยมีแหลงน้ําขนาดใหญ เชน กวานพะเยา บึงบอระเพ็ด หนองหาร และมีแมน้ําหลาย
สายเชน แมน้ําเจาพระยา แมน้ําแมกลอง แมน้ําทาจีน แมน้ําบางปะกง แมน้ําตาป แมนํ้าปากพนัง ที่ไหลลงสู
อาวไทย แมน้ําชี และแมน้ํามูล ที่ไหลลงแมน้ําโขง จึงมีการทําประมงกันอยางแพรหลาย หนวยงานภาครัฐ
เขามาเกี่ยวของกับการประมงโดยกรมสรรพากรจัดเก็บภาษีคาน้ํา คาภาษีอากรสัตวน้ํา ถือไดวา การบริหาร
จัดการทางดานการประมงของไทยเริ่มขึ้นในพ.ศ. 2444
        พ.ศ. 2464 รัฐไดจัดตั้งหนวยเพาะพันธุปลาหรือหนวยงานบํารุงและรักษาสัตวน้ํา ขึ้น โดยใหขึ้นตรง
ต อ กระทรวงเกษตราธิ ก าร และแต ง ตั้ ง ดร.ฮิ ว แมคคอร มิ ค สมิ ธ ซึ่ ง เคยเป น กรรมาธิ ก ารการประมง
สหรัฐอเมริกา (Commissioner          of Fisheries     U.S.A)     เปนที่ปรึกษาดานการประมงของรัฐบาลใน
พระมหากษั ต ริ ย ส ยามในพ.ศ. 2466 มี ก ารสํ า รวจปริ ม าณสั ต ว น้ํ า ที่ มี อ ยู ใ นประเทศไทย เพื่ อ นํ า มา
                                                                                                                              7

ประกอบการเพาะพันธุ การบํารุงพันธุพันธุสัตวน้ํา เพื่อขยายผลในเชิงอุตสาหกรรม โดยการสํารวจใน
นานน้ําจืด และในนานน้ําทะเลทั่วราชอาณาจักรไทย จัดกลุมจําแนกในทางชีววิทยาเปนหมวดหมู เขียนเปน
หนังสือมีภาพประกอบแนะนําทรัพยากรในประเทศไทยชื่อ “อนุกรมวิธาน” และ “A Review of the Aquatic
Resources and Fisheries of Siam, with Plans and Recommendation for the Administration, Conservation
and Development” นําเสนอทรัพยากรในน้ําของประเทศไทยพรอมทั้งใหรายละเอียดและขอแนะนําการ
บริหารจัดการอนุรักษเสนอตอกระทรวงเกษตราธิการและไดนําเสนอทูลเกลาฯและอนุมัติใหมีการตีพิมพ
เผยแพร ตอมาพระบาทสมเด็จพระปกเกลาเจาอยูหัวทรงมีพระบรมราชโองการ ลงวันที่ 21 กันยายน พ.ศ.
2469 ใหตั้งกรมรักษาสัตวน้ําขึ้นในกระทรวงเกษตราธิการ พ.ศ. 2477 เปลี่ยนชื่อเปนกรมการประมง และ
พ.ศ. 2496 เปลี่ยนชื่อเปนกรมประมง
        กรมประมงมีภารกิจศึกษา วิจัย คนควาและทดลองเกี่ยวกับการเพาะเลี้ยงสัตวน้ํา การบํารุงพันธุสัตว
น้ํา การรวบรวมขอมูล สถิติ ความรูเกี่ยวกับการประมง การอนุรักษชลสมบัติ การพัฒนาเครื่องมือและ
อุปกรณการประมง ผลิตภัณฑสัตวน้ํา อุตสาหกรรมสัตวนํ้า รวมทั้งการสํารวจแหลงประมง ตลอดจนการ
สงเสริมและเผยแพรการเพาะเลี้ยงในน้ํา การจับสัตวน้ํา งานอาชีพการประมงอื่นๆ และการควบคุมกิจการ
ประมงใหเปนไปตามกฎหมายและสอดคลอง กับแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติมุงเนนการเลี้ยง
ปลาและการทําประมงน้ําลึกในชวงแรกของการทําแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ตอมาจึงศึกษา
คนควาการเพาะเลี้ยงกุงในที่ดินชายฝงทะเลและพัฒนาอุตสาหกรรมตอเนื่อง ในขณะเดียว กันไดศึกษา
คนควาการอนุรักษทรัพยากรประมงใหยั่งยืน ดังนี้
    •   แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติฉบับที่ 1 พ.ศ. 2506-2509 จัดตั้งสถาบันวิจัยประมงน้ําจืด
        และหองทดลองชีววิทยาการประมงทะเล เพื่อสงเสริมการเพาะปลูกในน้ําและการประมงน้ําลึก
    •   แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติฉบับที่ 2 พ.ศ. 2510-2514 สงเสริมการเพาะปลูกในน้ําจืด
        และน้ํากรอย กวดขันการอนุรักษพันธุสัตวน้ําตลอดจนการเก็บรักษาและแปรรูป จัดตั้งศูนยพัฒนา
        และฝ ก อบรมการประมงทะเลให ชาวประมงรู จั ก วิ ธี การเดิ นเรื อ และการใช อุ ปกรณ ทั น สมั ย ที่
        เหมาะสมกับการประมงทะเลลึกเพื่อการบริโภคภายในประเทศและเพื่อสงออกเปนสินคาสําคัญ
    •   แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติฉบับที่ 3 พ.ศ. 2515-2519 สงเสริมการพัฒนาที่ดินชายฝง
        ทะเลใหเปนแหลงเลี้ยงสัตวน้ําไดแก กุงทะเล ซึ่งเปนสินคาที่ตลาดตางประเทศตองการมาก จัดตั้ง
        ศู น ย วิ จั ย ค น คว า และฝ ก อบรมการเพาะเลี้ ย งกุ ง เพื่ อค น คว า วิธี ก ารเพาะลู ก กุ ง โดยไม ต อ งอาศั ย
        ธรรมชาติและสาธิตแกเกษตรกร
                                                                                               8

    •   แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติฉบับที่ 4 พ.ศ. 2520-2524 สงเสริมการเพาะเลี้ยงปลาในเขต
        ชลประทาน ทดลองคนควาอบรมการเพาะเลี้ยงกุงกามกรามและการเพาะเลี้ยงกุงชายฝง สนับสนุน
        ชาวประมงใหปรับปรุงเครื่องมือการทําประมงใหมีประสิทธิภาพในการจับสัตวน้ําและแข็งแรง
        ทนทานตอลมฟาอากาศ กอสรางและขยายสะพานปลา ทาเรือประมง โรงงานหองเย็นและโรง
        น้ําแข็ง
    •   แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติฉบับที่ 5 พ.ศ. 2525-2529สงเสริมการเจรจารวมทุนทําการ
        ประมงน้ําลึกกับประเทศตางๆ
    •   แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติฉบับที่ 6 พ.ศ. 2530-2534 และฉบับที่ 7 พ.ศ. 2535-2539
        เนนมาตรการอนุรักษและควบคุมการใชทรัพยากรประมงโดยสํารวจแหลงประมงในนานน้ําสากล
        และนานน้ําของประเทศที่มีความรวมมือทางการประมงสนับสนุนการรวมทุนทําการประมงโดย
        ถูกตองตามกฎหมายประมงระหวางประเทศ เสนอแกไขพระราชบัญญัติการประมงใหทันสมัยและ
        สอดคลองกับสภาวะการประมง ในดานการศึกษากระทรวงศึกษาธิการปรับปรุงหลักสูตรการ
        ประมงใหสอดคลองกับความตองการแรงงานเอกชน ประสานงานระหวางมหาวิทยาลัยที่มีการผลิต
        บัณฑิตในสาขาวิชาเดียวกันปรับปรุงระบบการศึกษาขั้นบัณฑิตศึกษาใหตรงกับความตองการของ
        ประเทศ
    •   แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติฉบับที่ 8 พ.ศ. 2540-2544 สนับสนุนกฎหมายรองรับสิทธิ
        ของชุมชนทองถิ่นและชาวประมงขนาดเล็กใหมีสวนรวมในการบริหารจัดการทรัพยากรทางทะเล
        ทั้งการอนุรักษฟนฟูและดูแลรักษาปาชายเลนหญาทะเลและปะการังเพื่อใหมีการใชประโยชนจาก
        ทรัพยากรชายฝงโดยเฉพาะทรัพยากรประมงไดอยางยั่งยืน
        แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติฉบับที่ 9 พ.ศ. 2545-2549 และฉบับ ที่ 10 พ.ศ. 2550-2554
สงเสริมการวิจัยและพัฒนาสินคาอาหารเพื่อใหเปนแหลงการผลิตอาหารแปรรูปที่สําคัญของโลกที่มีคุณภาพ
มาตรฐานและความปลอดภัยของอาหารเพื่อสรางความเชื่อมั่นแกผูบริโภคสินคาในระยะยาวโดยมีกุงเปน
สินคาเปาหมายที่สําคัญ
        ดานการศึกษาวิทยาการดานการประมง พัฒนาการประมงที่สําคัญเกิดจากการจัดการเรียนการสอน
ในระดับอุดมศึกษาโดย มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตรเปนมหาวิทยาลัยแรกที่กอตั้งขึ้นโดยเนนการเรียนการ
สอนดานการเกษตรโดยเฉพาะ และเปนมหาวิทยาลัยแหงแรกที่เปดสอนดานการประมง จัดตั้งคณะประมง
ขึ้นเมื่อพ.ศ. 2486 พรอมกับคณะเกษตรและคณะวนศาสตร คณะประมง มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตรจัดแบง
ภาควิชาออกเปน 5 ภาคคือ ภาควิชาการจัดการประมง ภาควิชาวิทยาศาสตรทางทะเล ภาควิชาเพาะเลี้ยงสัตว
                                                                                                          9

น้ํา ภาควิชาผลิตภัณฑประมง และภาควิชาชีววิทยาประมง ในขณะที่มหาวิทยาลัยอื่นจัดการเรียนการสอน
ด า นประมงเป น ภาควิ ช าในคณะต า งๆ เช น คณะเกษตรศาสตร มหาวิ ท ยาลั ย ขอนแก น คณะ
เทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยศิลปากร คณะทรัพยากรธรรมชาติ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร คณะ
วิทยาศาสตร มหาวิทยาลัยบูรพา หรือ คณะเทคโนโลยีการเกษตร สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณ
ทหารลาดกระบัง รายวิชาที่ปรากฏในหลักสูตรของสถาบันตางๆแบงเปนกลุมตางๆ ไดดังนี้
        1.กลุมการทําประมง ไดแก การจัดการทรัพยากรประมง วิทยาศาสตรทางทะเล วิทยาศาสตรการ
ประมง
        2.กลุมการเพาะเลี้ยงสัตวน้ํา ไดแก การเพาะเลี้ยงและปรับปรุงพันธุสัตวน้ํา การจัดการฟารมสัตวน้ํา
เทคโนโลยีการเพาะเลี้ยงสัตวน้ํา เทคโนโลยีการผลิตสัตวน้ํา เทคโนโลยีการเลี้ยงกุง การจัดการอาหารสัตว
น้ํา พันธุศาสตรการเพาะเลี้ยงสัตวน้ํา การเพาะพันธุสัตวน้ํา การผสมพันธุปลา การปรับปรุงพันธุกรรมปลา
โรคของสัตวน้ํา คุณภาพน้ําสําหรับการเพาะเลี้ยงสัตวน้ํา ปฏิบัติการเพาะเลี้ยงสัตวน้ํา เทคนิคการวิจัยทางการ
เพาะเลี้ยงสัตวน้ํา การเพาะเลี้ยงปลาสวยงามและพรรณไมน้ํา
        3.กลุมผลิตภัณฑประมงและอุตสาหกรรมประมง ไดแก เทคโนโลยีการแปรรูปสัตวนํ้าและสาหราย
จุลชีววิทยาผลิตภัณฑประมงและมารีนไบโอเทคโนโลยี เคมีและฟสิกสของผลิตภัณฑประมง โภชนาศาสตร
อาหารทะเล QC, QAและระบบคุณภาพ การวิเคราะหและรับรองผลิตภัณฑสัตวน้ํา การวางแผนการผลิต
การวางผังโรงงานผลิตภัณฑประมง การบริหารและวิเคราะหระบบอุตสาหกรรมประมง วิศวกรรมแชเยือก
แข็ง วิศวกรรมกระบวนการแปรรูปผลิตภัณฑประมง ชีวพิษ การวิจัยและพัฒนาผลิตภัณฑประมง บรรจุ
ภัณฑสําหรับผลิตภัณฑประมง การใชประโยชนจากเศษเหลือ เทคโนโลยีน้ํามันปลา เทคโนโลยีโปรตีนปลา
เขมขน ชีวมวลประมงสําหรับพลังงานทดแทน
        4.กลุมชีววิทยาและนิเวศวิทยาประมง ไดแก ชีววิทยาทางทะเล ชีววิทยาของปลา นิเวศวิทยาของ
ปลา การจัดการเกี่ยวกับคุณภาพน้ําและภาวะมลพิษในแหลงน้ํา นิเวศวิทยาทางน้ํา
        5.กลุมอื่นๆ ไดแก วิศวกรรมประมง การวิจัยและการนําเสนอขอมูลดานวิทยาศาสตรการประมง
ดวยโปรแกรมคอมพิวเตอร
                                                                                              10

ที่มาและรูปแบบของอุตสาหกรรมประมงในประเทศไทย

ปลาปน

    - เปนแหลงโปรตีนที่สําคัญของการผลิตอาหารสัตวทั้งสัตวบก-สัตวน้ํา ใหโปรตีนสูงและมีคณภาพดี
                                                                                             ุ
      วัตถุดิบที่นํามาผลิตไดจากอุตสาหกรรมตอเนื่องประมง-หองเย็น-โรงงานปลากระปอง – โรงงานซู
      ริมิ
    - ในประเทศไทยมีโรงงานปลาปนทั้งสิ้น 80 โรงงานเปนสมาชิกสมาคมฯ 69 โรงงานและมีสมาชิกผู
      สงออกและนําเขาอีก 40 ราย ตั้งอยู 16 จังหวัดชายทะเลทัวประเทศ มีกําลังผลิตปละ 480,000-
                                                             ่
      500,000 ตันและสงออกปละ 20,000-50,000 ตัน
    - ปลาปนเปนวัตถุดิบอาหารสัตวซึ่งมีความสําคัญตอการนําไปใชเลี้ยงสัตว ดังนั้น การผลิตอาหาร
      สัตว จึงจําเปนอยางยิ่งตองผลิตภายใตการควบคุมการผลิตตามมาตรฐานความปลอดภัยของ อาหาร
      สัตว เพื่อลดหรือจํากัดอันตรายใหอยูในระดับที่ยอมรับไดและปลอดภัยตอการบริโภค ของสัตว
      ตามมาตรฐานสากล GMP และ HACCP ซึ่งถือวาเปนมาตรฐานพื้นฐานที่โรงงานอุตสาหกรรมควร
      นําไปประยุกตใชในการ ควบคุมการผลิตเพื่อความปลอดภัยในการบริโภค
                                                                                                    11

                                   พัฒนาการอุตสาหกรรม "ปลาปน"

                                                                                     การใชประโยชน
ยุคของการพัฒนา           วัตถุดิบหลัก              กระบวนการผลิต         การตลาด
                                                                                             หลัก

                                              ตม - ตากแหง
      ยุคแรก                                 ตม - ตากแหง - บีบอัด /               เลี้ยงเปด / เลียงไก
                                                                                                    ้
                   ปลาเปดจากโปะ                                        ในประเทศ
    อดีต - 2504                              น้ํามัน                                เลี้ยงหมู
                                              โรงงานนํารอง

                                             ตม - ตากแหง - บีบอัด
                   ปลาเปดจากเรืออวน
      ยุคสอง                                 / น้ํามัน                   ในประเทศ   เลี้ยงเปด / เลียงไก
                                                                                                    ้
                   ปลาหลังเขียวจากเรือ
     2504-2520                               โรงงานอบแหงดวยไอน้ํา      สงออก     เลี้ยงหมู
                   อวนลาก
                                               ชนิดหมออบหลายใบ

                                             โรงงานอบแหงดวยไอน้ํา
                   ปลาเปดจากเรืออวน
      ยุคสาม                                   ชนิดหมออบหลายใบ          ในประเทศ   เลี้ยงเปด / เลียงไก
                                                                                                    ้
                   ลาก
     2520-2535                               โรงงานแบบอบแหง             สงออก     เลี้ยงหมู
                   หัว - กางปลา - ทูนา
                                              ชนิดหมออบใบเดียว

                   ปลาเปดจากเรืออวน
                                             โรงงานแบบอบแหง                        เลี้ยงเปดไข / เลี้ยง
     ยุคปจจุบัน   ลาก                                                   ในประเทศ
                                              ชนิดหมออบใบเดียว                     ไก
    2535-ปจจุบน
               ั   หัว - กางปลาโอ - ทูนา                               สงออก
                                             : ใชน้ํามันรอนแทนไอน้ํา              เลี้ยงกุง
                   หัว - กางปลาซูริมิ
                                                                                                                                     12

ยุคแรก (กอนป 2504)

          เป น ยุ คที่ มี ก ารผลิ ต ปลาป น แบบพื้ น บ าน จนถึ ง พ.ศ. 2504 จึ งเกิ ด การเปลี่ ย นแปลงครั้ ง สํ า คั ญ
เนื่องจากมีการเปลี่ยนวิธีการทําประมงจากแบบประจําที่ เชน โปะโพงพาง มาเปนการประมงแบบอวนลาก
ซึ่งทําใหมีวัตถุดิบเพิ่มมากขึ้น จนเกิดการขยายตัวของการผลิตจากแบบพื้นบานไปสูอุตสาหกรรม มีการ
กอสรางโรงงานอยางเปนกิจจะลักษณะมากขึ้น
               ในสมัยกอน ตามจังหวัดชายทะเลตางๆจะมีธุรกิจคูกันอยู 2 อยางคือ การทําประมงพาณิชยดวย
เครื่องมือโปะโพงพาง และการเลี้ยงเปดไข เนื่องจากเปนธุรกิจที่สงเสริมซึ่งกันและกัน กลาวคือ เศษปลา
ตางๆที่ไดจากการทําประมงและไมเหมาะสําหรับการบริโภคของมนุษย จะนํามาใชเปนอาหารสําหรับเปด
ทําใหเปดโตไวและมีไขดก ( ซึ่งเปนที่มาของการเรียกเศษปลานี้วา " ปลาเปด " ) ตอมาเมื่อมีการ ขยายตัว
ของการทําประมงทําใหมีเศษปลามากขึ้น จึงมีการตมใหสุกและตากแหง ( บางแหงมีการบีบเอาน้ําและ
น้ํามันออกกอน ) เพื่อที่จะเก็บไวไดนาน โดยไมเนาเสียไปกอน
              ขณะเดียวกันรัฐบาลสมัยนั้นสงเสริมใหประชาชนทําสวนครัวและเลี้ยงสัตวมาก ขึ้นเพื่อเพิ่มพูน
รายไดใหครอบครัว ทําใหมีการเลี้ยงเปดและไกมากขึ้น จึงทําใหเกิดความตองการปลาปนเพิ่มขึ้นตาม แต
การผลิตสมัยนั้นใชกรรมวิธีแบบงายๆ โดยตั้งในกระทะใบใหญหรือถังน้ํามัน เมื่อสุกแลวนํามาบีบอัดน้ํา
และน้ํามันในตัวปลาออก ซึ่งเปนเครื่องบีบอัดดวยมือแบบใชเกลียว หลังจากนั้นจึงนําไปตากบนเสื่อรําแพน
( เสื่อไมไผสาน ) โดยใชเวลา 2-3 วันจึงแหง สําหรับบางแหงที่มีฝนตกชุกมีการดัดแปลงโดยใชวิธียางบน
กระทะเหล็กเพื่อให แหงและนําไปบดใหละเอียดกอนจําหนายตอไป คุณภาพของปลาปนขณะนั้นคอนขาง
ต่ํ า เนื่ อ งจากเนื้ อ ปลาถู ก ทํ า ลายไปก อ นแล ว ทั้ ง ยั ง มี ก ลิ่ น หื น เนื่ อ งจากการบี บ อั ด น้ํ า และน้ํ า มั น ที่ ไ ม มี
ประสิทธิภาพ
              ในป 2495 องคการอาหารและเกษตรแหงสหประชาชาติ (FAO) ไดมอบเครื่องมือลักษณะ
เดียวกันให กับ บริษัท ประมงไทย จํากัด ซึ่งเปนบริษัทกึ่งรัฐวิสาหกิ จเพื่อทดลองการผลิต โดยติดตั้งที่
โรงงานบนเกาะมัดโพน ปากน้ําชุมพร ซึ่งตอมาในป 2497 บริษัทนี้ไดมีการสั่งซื้อเครื่องจักรเขามาใชใน
โครงการนํารอง ( Pilot Plant ) ซึ่งสามารถผลิตปลาปนจากปลาสดไดถึงวันละ 25 ตัน (24 ชั่วโมง) แต
ปรากฏวาไมประสบผลสํ าเร็ จ เนื่ องจากชนิด ของวัต ถุดิ บในประเทศไทยไมเหมื อนกับ ในตางประเทศ
                                                                                                        13

ประกอบกับปริมาณของวัตถุดิบที่ปอนโรงงานไมสม่ําเสมอ จนทายที่สุด ตองลมเลิกโครงการและตอมาขาย
ใหเอกชนไป
         อยางไรก็ตาม ไดมีบริษัทคนไทยลอกเลียนแบบเครื่องจักรนี้ 2 โรงงานคือ ที่จังหวัดระนอง และ
โรงงานที่ติดตั้งบนเรือ เพื่อที่จะสามารถเคลื่อนยายไปตามแหลงวัตถุดิบตางๆ แตในที่สุดโรงงานทั้งสองก็
ตองประสบชะตากรรมเชนเดียวกับโรงงานที่เกาะมัดโพน เนื่องจากขาดแคลนวัตถุดิบเพื่อปอนโรงงานอยาง
สม่ําเสมอ โดยเฉพาะโรงงานที่อยูบนเรือไดเลิกกิจการหลังดําเนินการไดเพียง 3 ป

ยุคที่สอง (2504 - 2520)

             นับ เปนชวงเวลาที่มีการนําเครื่องมือประมงประเภทอวนลากเขามาทําการประมงอยาง ไดผล
และเปนชวงจังหวะที่ทําใหวัตถุดิบเพิ่มมากขึ้นและสม่ําเสมอตลอดทั้งป เปนเหตุใหเกิดการผลิตปลาปนแบบ
อุตสาหกรรมดวยเครื่องจักรที่มีการทดลองทํา ในยุคแรก และสามารถดําเนินการไดอยางคุมทุน ประกอบกับ
ชวงเวลานี้มีการขยายตัวทางดานการตลาด กลาวคือ มีการเลี้ยงไกในเชิงอุตสาหกรรมอยางกวางขวาง มีการ
นําเขาพอพันธุ แมพันธุไกจากตางประเทศ ทั้งไกเนื้อและไกไข (ทําใหบางคนเรียกปลาปนที่ผลิตไดวา " ปลา
ไก " เพราะสวนใหญนําไปเลี้ยงไกนั่นเอง ) ดังนั้นอาจกลาวไดวาในยุคนี้เปนยุคที่มีการเปลี่ยนแปลงทั้ง
ทางดานวัตถุ ดิบเชิงปริมาณ และความสม่ําเสมอตลอดทั้งป เพราะเปนปลาที่ไดจากการประมงอวนลาก ( มี
ปลาหลังเขียวจากการประมงอวนลอมบาง แตก็ตองรอวัตถุดิบที่เหลือใชจากโรงงานผลิตปลากระปอง )
นอกจากนี้ยังมีการเปลี่ยนแปลงทางดานการผลิตเปนแบบอุตสาหกรรม จนกระทั่งการผลิตแบบตม - ตากที่
ใชในชวงแรกหมดไป แลวทายที่สุดมีการเปลี่ยนแปลงทางดานวิชาการตลาด เนื่องจากมีการขยายการเลี้ยง
สัตวโดยเฉพาะไกและมีปลาปนที่เหลือใชภายใน ประเทศสงออกไปจําหนายตางประเทศดวย

ยุคที่สาม (2520 - 2535)

             นับ เปนยุคที่มการผลิตปลาปนกระจายไปในทุกจังหวัดชายทะเลอยางเต็มที่แลว มีการใช
                            ี
วัตถุดิบจากชินสวนของปลาที่ไดจากโรงงานอุตสาหกรรม ทั้งจากโรงงานปลากระปองและหองเย็นแปรรูป
             ้
ทั้งเนื่องจากเรือประมง อวนลากเริ่มประสบปญหาแหลงประมงและปริมาณเรือ ประมงจับไดลดลง ในสวน
ของการผลิตมีการเปลียนแปลงการใชเชื้อเพลิงจากน้ํามันเตาเปนฟนหรือ แกลบเนื่องจากน้ํามันราคาแพง มี
                   ่
การนําเขาเครืองจักรตางประเทศเขามาใชในการผลิต และผูผลิตภายในประเทศเองมีการพัฒนาและดัดแปลง
              ่                                       
                                                                                                  14

เครื่องจักรที่มอยูใหมี ประสิทธิภาพสูงขึ้น ใชเชื้อเพลิงลดลงและลดตนทุนการผลิต สวนในดานการตลาดมี
               ี
การสงเสริมการเลี้ยงกุง ซึ่งเปนสัตวเลี้ยงประเภทใหม ที่ใชปลาปนในการผลิตอาหารสัตวในปริมาณมาก จน
เกิดปญหาการผลิตไมเพียงพอตอความตองการใชภายในประเทศและตองมีการนํา เขาปลาปนเพื่อผลิต
อาหารสัตว รวมทั้งเปนชวงทีมีการกอตั้ง " สมาคมผูผลิตปลาปนไทย " ขึ้นเพื่อเปนศูนยกลางในการ
                            ่
ประสานงาน แลกเปลียนความคิดเห็น และแกไขปญหาของผูผลิตปลาปนดวย
                 ่

ยุคปจจุบัน (2535 - ปจจุบน)
                          ั

              เปน ยุคที่มีการเปลี่ยนแปลงวัตถุดิบ จากที่เคยใชปลาเปดเปนหลัก เริ่มลดบทบาทลงเนืองจาก
                                                                                               ่
ปริมาณไมเพียงพอและหันมาใชวัตถุดิบจากโรงงานปลาทู นากระปอง ซึ่งมีปริมาณมากถึงปละกวาแสนตัน
มีการใชเศษวัตถุดิบจากโรงงานทําปลาบด (ซูริมิ) มีการนําเขาปลาเปดจากเรือประมงไทยที่ไปทําการประมง
ในตางประเทศ เชน พมา มาเลเซีย เวียดนาม อินโดนีเซีย ทางดานการผลิตมีการพัฒนาเครื่องจักรเปนแบบ
การใชหมออบแหงแบบใบเดียว มีการใชน้ํามันรอนแทนไอน้ําในการอบปลา มีการกลับมาผลิตปลาปนบน
เรือโรงงาน ( ตอมาไดเลิกกิจการ ) มีการพัฒนาคุณภาพวัตถุดิบและผลผลิตใหมโปรตีนและคุณคาทาง
                                                                       ี
อาหารสูงขึ้นและ ผลผลิตสวนใหญจะจําหนายในประเทศเปนหลัก เพราะมีการพัฒนาวงการปศุสตวของ
                                                                                 ั
ไทยทั้งสัตวบก - สัตวน้ํา อยางกวางขวาง จนทําใหปลาปนที่ผลิตไดไมเพียงพอกับความตองการ
ภายในประเทศ

(ที่มา: http://www.thaifishmeal.com/plapon.html , 15/10/09)
                                                                                                  15

                          สถานการณและนโยบายปลาปนประเทศไทย ป 2548

                                        สถานการณประเทศไทย

ปลาปนเปนผลิตภัณฑทไดจากปลาสด และใชเปนวัตถุดบอาหารสัตว โดยทั่วไปอาหารสัตวจะมีปลาปนเปน
                    ี่                          ิ
สัดสวน ประมาณ รอยละ 7 - 10 แตในอาหารสัตวบางชนิดจําเปนตองใชปลาปนเปนสวนผสมถึง รอยละ 35
เนื่องจากตองการเรงการเจริญเติบโต เชน อาหารกุงกุลาดํา

การผลิต

1. วัตถุดิบ แหลงจับปลาของไทยอยูบริเวณรอบอาวไทย และทะเลอันดามัน และเนื่องจากมีการประกาศเขต
เศรษฐกิจจําเพาะ (exclusive economic zone) ของประเทศเพื่อนบาน ทําใหเนื้อที่การประมงทะเลของ
ประเทศไทยถูกจํากัด ซึ่งตอมาประเทศไทยก็ไดกาหนดเขตความกวางของเขตเศรษฐกิจจําเพาะดานอาวไทย
                                           ํ
และทะเลอันดามัน เปนระยะ 200 ไมลทะเลจากเสนฐาน จึงมีการพัฒนาการประมงของไทยโดยการขยาย
กองเรือ และปรับปรุงเทคนิควิธีการทําประมง ตลอดจนการทําประมงนอกนานน้ําเพิ่มมากขึ้น วัตถุ ดิบที่
สําคัญในการผลิตปลาปน ไดแก 1) ปลาเปด (trash fish) เปนปลาเบญจพรรณที่จับไดโดยเรือประมงที่ใช
เครื่องมือประเภทอวนลาก 2) ปลาหลังเขียว เปนปลาผิวน้ํา และ 3) เศษปลา จากโรงงานอาหารทะเล
กระปอง

2. แหลงผลิต โรงงานปลาปนสวนใหญจะรับซื้อวัตถุดิบจากเรือประมงทั่วไป และบางโรงงานก็มีเรือประมง
เปนของตนเอง รวมทั้งมีการรับซื้อปลานอกนานน้ําไทยดวย เพื่อใหไดวัตถุดิบเพียงพอกับการเดินเครื่องจักร
ซึ่งมีกาลังการผลิตในอัตราสูง โรงงานผลิตปลาปนของไทยตั้งอยูตามพื้นที่ในจังหวัดที่ติดตอกับชายฝงทะเล
       ํ
มีประมาณ 107 โรงงาน ดังนี้

          ภาคใต มี 80 โรงงาน ไดแก จังหวัดสงขลา ปตตานี นครศรีธรรมราช ระนอง ชุมพร ตรัง พังงา
ภูเก็ต สตูล สุราษฏรธานี และกระบี่

          ภาคกลาง มี 27 โรงงาน ไดแก จังหวัดสมุทรสาคร สมุทรปราการ ตราด ระยอง ประจวบคีรีขันธ
จันทบุรี ชลบุรี และสมุทรสงคราม
                                                                                                                   16

3. ผลผลิต ปริมาณการผลิตปลาปนของไทยมีประมาณปละ 4.5 – 6 แสนตัน ทั้งนี้ข้ึนอยูกับปริมาณวัตถุดิบ
ในปนั้น ๆ โดยในป 2548 สมาคมผูผลิตปลาปนไทย ประมาณการวาจะมีผลผลิตปลาปน 5.5 แสนตัน
เพิ่มขึ้นจากป 2547 ซึ่งมีประมาณ 5.4 แสนตัน หรือเพิ่มขึ้นรอยละ 1.85 โดยผลผลิตปลาปนของไทยจะออก
สูตลาดสม่ําเสมอ โดยเฉลี่ยจะออกสูตลาดเดือนละ รอยละ 7 – 9 ของผลผลิตทั้งป ดังนี้


    เดือน     ม.ค.   ก.พ.      มี.ค.   เม.ย.   พ.ค.   มิ.ย.   ก.ค.   ส.ค.   ก.ย.   ต.ค.   พ.ย.     ธ.ค.    รวม


    รอยละ    8.15   7.44      7.96    8.04    8.38   8.55    8.45   8.41   8.56   8.67   8.56     8.83   100.00




             จาก การรวบรวมขอมูลของสมาคมผูผลิตปลาปนไทย ปรากฏวาในป 2547 ปริมาณการผลิตปลาปน
ของไทยมีมากที่สุดใน จังหวัดสมุทรสาคร ประมาณ รอยละ 27.99 ของปริมาณการผลิตทั้งประเทศ
รองลงมาไดแก นครศรีธรรมราช ปตตานี สงขลา ตรัง สมุทรปราการ ตราด ระยอง และภูเก็ต โดยผลผลิต
ปลาปนที่ผลิตไดจะอยูในระดับโปรตีน 4 ระดับ ดังนี้




                            ระดับโปรตีน                   ปริมาณการผลิต (ตัน)             รอยละ

                            60% ขึ้นไป                          135,159                     25

                            55 – 59.9%                          216,255                     40

                            50 – 54.9%                          108,128                     20

                            40 – 49.9%                          81,096                      15

                               รวม                              540,638                    100
                                                                                                17

        โดยปกติการผลิตปลาปน 1 กิโลกรัม จะใชปลาเปดประมาณ 3.4 - 4.5 กิโลกรัม ดังนั้น ตนทุน คา
ปลาเปดจึงมีประมาณรอยละ 80 ของตนทุนการผลิตปลาปน สวนที่เหลืออีกประมาณรอยละ 20 เปนคา
ตนทุนอื่น ๆ เชน คาแรงงาน คาขนสง คาซอมแซมเครื่องจักร เปนตน

ความตองการใช

        ในป 2548 กระทรวงเกษตรและสหกรณ ไดประมาณความตองการใชปลาปนในประเทศสําหรับ
การผลิตอาหารสัตวไว ประมาณ 589,215 ตัน


                                      ปริมาณการใชปลาปนในอาหารสัตว ป 2548

                     อาหารสัตว                        ตัน                         รอยละ

                       สัตวน้ํา                     270,959                       45.99

                         สุกร                        123,144                       20.90

                        ไกไข                        69,257                       11.75

                         เปด                         64,077                       10.88

                        ไกเนื้อ                      61,778                       10.48

                         รวม                         589,215                       100.00


การนําเขา

        การ ผลิตปลาปนคุณภาพดี (โปรตีน 60% ขึ้นไป) ในประเทศไทยมีไมเพียงพอกับความตองการใช
จึงตองมีการนําเขาจากตางประเทศ โดยการนําเขาลดลงโดยลําดับ จากจํานวน 100,650 ตัน มูลคา 1,844 ลาน
บาท ในป 2543 เหลือจํานวน 4,725 ตัน มูลคา 118 ลานบาท ในป 2546 แตกลับเพิ่มขึ้นในป 2547 เปน
                                                                                                   18

จํานวน 10,081 ตัน มูลคา 247 ลานบาท โดยนําเขาจาก เปรู พมา มาเลเซีย เดนมารค และเวียดนาม สําหรับป
2548 (ม.ค. – เม.ย. 48) มีการนําเขาแลวจํานวน 2,497 ตัน มูลคา 50.03 ลานบาท

การสงออก

         การสงออกปลาปนของประเทศไทยมีประมาณปละ 4,000 – 8,000 ตันเศษ ระหวางป 2542 - 2544
และตั้งแตป 2545 เปนตนมาปริมาณการสงออกปลาปนเพิ่มสูงขึ้นเปนประมาณปละ 10,000 ตันเศษ และใน
ป 2547 มีการสงออก จํานวน 18,954 ตัน มูลคา 436 ลานบาท โดยสงออกไปยัง ไตหวัน จีน เวียดนาม
อินเดีย อินโดนีเซีย และญี่ปุน สําหรับป 2548 (ม.ค. – เม.ย. 48) มีการสงออกแลวจํานวน 4,996 ตัน มูลคา
109.49 ลานบาท

นโยบายของรัฐ

1. นโยบายและมาตรการนําเขาปลาปน

         การ กําหนดนโยบายและมาตรการนําเขาปลาปนเปนอํานาจหนาที่ของคณะกรรมการนโยบาย
อาหาร ซึ่งไดรับการแตงตั้งจากคณะรัฐมนตรี โดยมี         รัฐมนตรีวาการกระทรวงพาณิชย เปนประธาน
รัฐมนตรีชวยวาการกระทรวงพาณิชย กระทรวงเกษตรและสหกรณ กระทรวงการคลัง                       กระทรวง
อุตสาหกรรม และกระทรวงมหาดไทย เปนกรรมการ อธิบดีกรมการคาภายใน เปนเลขานุการ

นโยบายและมาตรการนําเขาปลาปน ป 2548

         คณะรัฐมนตรีมีมติเมื่อวันที่ 23 พฤศจิกายน 2547 เห็นชอบนโยบายและมาตรการนําเขาปลาปน ป
2548 ดังนี้

1.1 ปลาปนโปรตีน 60% ขึ้นไป ใหนําเขาไดเสรี โดยไมจํากัดปริมาณ และชวงเวลานําเขา

1.1.1 การนําเขาจากประเทศสมาชิกเขตการคาเสรีอาเซียน (AFTA) กําหนดอากรนําเขา รอยละ 5
                                                                                                    19

1.1.2 การนําเขาจากประเทศสมาชิกและไมใชสมาชิกองคการการคาโลก (WTO) รวมทั้งไมใชสมาชิกเขต
การคาเสรีอาเซียน (AFTA) กําหนดอากรนําเขารอยละ 10 และอากรพิเศษอีก รอยละ 50 ของอากรนําเขา
(รวมเปนอากรนําเขาทั้งสิ้น รอยละ 15)

1.2 ปลาปนโปรตีน ต่ากวา 60% ตองขออนุญาตนําเขา
                   ํ

2. นโยบายการสงออก

          การสงออกปลาปนของประเทศไทยสามารถสงออกไดเสรี ไมเสียอากรสงออก

(ที่มา: http://www.feedusers.com/thai/cms/html/Fish_meal_feed/169.html, 16/10/09 )

                                   สถานการณปลาปนโลก ป 2547/48

                                               ปลาปน

สถานการณโลก

          ปลาปนเปนวัตถุดิบอาหารสัตวในหมวดโปรตีนจากสัตวที่มีคุณภาพสูง มีกรดอะมิโนที่จําเปนครบ
ทุกชนิด และยังมีสาร UGF (Unidentifled Growth Factor) ซึ่งเรงการเจริญเติบโตของสัตว และมีปริมาณการ
ผลิตเฉลี่ย 5 ปยอนหลัง (ป 2542/43 - 2546/47) ประมาณ 5.66 ลานตัน หรือคิดเปนรอยละ 2.55 ของปริมาณ
การผลิตวัตถุดิบอาหารสัตวหมวดโปรตีนของโลก โดยมีโปรตีนและราคาสูงสุดในบรรดาวัตถุดิบอาหาร
สัตวในหมวดโปรตีนดวยกัน (กากถั่วเหลือง กากเรพซีด กากเมล็ดฝาย กากเมล็ดทานตะวัน และกากถั่วลิสง)

การผลิต

          ใน ป 2547/48 กระทรวงเกษตรสหรัฐอเมริกา คาดวาปริมาณการผลิตปลาปนจะมีประมาณ 5.19
ลานตัน ลดลงจากปกอนที่มีการผลิต 5.40       ลานตันหรือลดลง รอยละ 3.89        เนื่องจากคาดวาจะเกิด
ปรากฏการณ El Nino อีกซึ่งมีอิทธิพลสูงตอปริมาณการจับปลา โดยเฉพาะในแหลงผลิตที่ใหญที่สุดในทวีป
อเมริกาใต ไดแก ประเทศเปรู และชิลี ซึ่งเปนผูผลิตรายใหญที่มีผลผลิตถึง 1.47 ลานตัน และ 0.80 ลานตัน
                                                                                                     20

หรือรอยละ 28.32 และ 15.41 ของปริมาณการผลิตของโลกตามลําดับ โดยทั้งสองประเทศนี้มีแนวชายฝงที่
ยาวติดตอกันกวา 7,000 กิโลเมตรทางฝงมหาสมุทรแปซิฟค ซึ่งเปนนานน้ําเศรษฐกิจที่กวางใหญ และมี
กระแสน้ําอุนมาบรรจบกับกระแสน้ําเย็น จึงมีปริมาณแรธาตุอาหารสูงมาก สงผลใหปลาปนที่ผลิตไดมี
คุณภาพดีและมีคุณคาทางอาหารสูง

การคา

         การสงออกปลาปน ในป 2547/48 กระทรวงเกษตรสหรัฐอเมริกา คาดวาจะมีประมาณ 2.89 ลานตัน
ลดลงจากปกอนซึ่งมีการสงออก 3.10 ลานตันหรือลดลงรอยละ 6.77 โดยมีเปรูเปนผูสงออกรายใหญ ซึ่งมี
ปริมาณการสงออกถึง 1.42 ลานตันหรือรอยละ 49.13 ของปริมาณการสงออกของโลก รองลงมา ไดแก ชิลี
และไอซแลนด

         การนําเขาปลาปน ในป 2547/48 กระทรวงเกษตรสหรัฐอเมริกา คาดวาจะมีประมาณ 2.91 ลานตัน
ลดลงจากปกอน ซึ่งมีการนําเขา 3.22 ลานตันหรือลดลงรอยละ 9.63 โดยมีจีนเปนผูนําเขารายใหญซึ่งมี
ปริมาณ การนําเขาถึง 0.87 ลานตันหรือรอยละ 29.90 ของปริมาณการนําเขาของโลก รองลงมา ไดแก กลุม
ประเทศทางแถบยุโรป ญี่ปุน ไตหวัน และนอรเวย

         การใชปลาปน ในป 2547/48 กระทรวงเกษตรสหรัฐอเมริกา คาดวาจะมีประมาณ 5.21 ลานตัน
ลดลงจากปกอนซึ่งมีปริมาณ 5.50 ลานตัน หรือลดลงรอยละ 5.27 โดยมีจีนเปนผูใชรายใหญ ซึ่งมีปริมาณ
การใชถึง 1.25 ลานตัน หรือรอยละ 23.99 ของปริมาณการใชของโลก รองลงมา ไดแก กลุมประเทศทาง
แถบยุโรป และญี่ปุน

ราคา

         ราคาปลาปน ชิลี ป 2547 เฉลี่ยตันละ 639.13 เหรียญสหรัฐเพิ่มขึ้นจาก ป 2546 ที่มีราคาเฉลี่ยตันละ
600.01 เหรียญสหรัฐ โดยระดับราคาในชวงตนปสูงขึ้นตอเนื่องจากชวงปลายป 2546 จากราคาเฉลี่ยเดือน
ธันวาคม 2546 ตันละ 621 เหรียญสหรัฐเพิ่มขึ้นโดยลําดับเปนเฉลี่ยตันละ 692 เหรียญสหรัฐ ในเดือนมีนาคม
2547 ซึ่งเปนราคาที่สูงที่สุด และสอดคลองกับการเพิ่มขึ้นของราคากากถั่วเหลืองซึ่งเปนวัตถุดิบอาหารสัตว
                                                                                                21

ในหมวดโปรตีนเชนเดียวกันและใชทดแทนกันได และตั้งแตเดือนเมษายน 2547 ระดับราคาปลาปนชิลีได
ลดลงอยางตอเนื่องเหลือ
          ตันละ 593.36 เหรียญสหรัฐในเดือนพฤศจิกายน 2547 เนื่องจากความตองการใชปลาปนในการผลิต
อาหารสัตวลดลงจากการระบาดของโรคไข หวัดนกในสัตวปกในแถบทวีปเอเซีย แตราคาปลาปนไดปรับตัว
สูงขึ้นโดยลําดับตั้งแตเดือนธันวาคม 2547 เปนเฉลี่ยตันละ 693.24 เหรียญสหรัฐในเดือนเมษายน 2548 ผล
มาจากการคาดวาการผลิตปลาปนของโลกจะลดลง จากอิทธิพลของปรากฏการณ El Nino ที่อาจจะเกิดขึ้น
ในปนี้
แพปลาและทาเทียบเรือประมง

          จากการสํารวจ พบวา ปจจุบันมีจํานวนทาเทียบเรือประมงฯ ทั่วประเทศ 735 แหง (กรมเจาทา,
2543)โดยมีรายละเอียดจํานวนทาเทียบเรือประมงฯ แยกตามรายจังหวัดและตามผูดําเนินการดังแสดงใน
ตารางที่ 1-1 ซึ่งตั้งกระจายตามชุมชนในจังหวัดตางๆ ตามพื้นที่ชายฝงทะเลและปากแมน้ําทั่วประเทศ โดย
เปนสถานที่รวบรวมสินคา สัตวนํ้า ทั้งที่จับจากธรรมชาติไดโ ดยชาวประมงและจากการเพาะเลี้ยงเพื่อ
จําหนายใหกับผูบริโภคโดยในป 2545 มีการสงออกสินคาสัตวน้ํา ไปจําหนายยังตางประเทศเปนปริมาณถึง
1,453,516 ตัน มีมูลคา 169,194 ลานบาท (กรมประมง, 2546) (ตารางที่ 1-2 ) (ดร.พรสุข จงประสิทธ, ทา
เทียบเรือประมง สะพานปลา และแพปลา กับแนวทางการจัดการ, สวนแหลงน้ําทะเล สํานักจัดการคุณภาพ
น้ํ า (ชั้ น 6) กรมควบคุ ม มลพิ ษ 92 ซอยพหลโยธิ น 7 ถนนพหลโยธิ น แขวงสามเสนใน เขตพญาไท
กรุงเทพฯ 10400)
    22
    23
                                                                                                      24

                               Case Study : เครือธุรกิจอิสระวัฒนา

ทําไมจึงถูกเลือก เปน Case Study
เหตุผลที่เลือก
    1. ธุรกิจนี้เปนธุรกิจที่อยูในปจจัย 4 ที่คนตองบริโภคในชีวตประจําวัน
                                                              ิ
    2. เนื่องจากเราอาศัยอยูในภาคใต ซึ่งเปนแหลงอาหารทะเลที่ใหญที่สุดในประเทศ และเปนสินคา
       สงออกที่ทํารายไดใหแกประเทศเปนจํานวนมาก
    3. ธุรกิจนี้เมื่อเกิดวิกฤตเศรษฐกิจไมไดรับผลกระทบมากเทาไร (ตองเปนธุรกิจที่ครบวงจร)
    4. เปนบริษัททีผลิตสินคาในกลุมประมง น้ําแข็งกอนเพื่อการประมง และแปรรูปปลาปน
                        ่
    5. ผลิตสินคาเพื่อตอบสนองความตองการในกลุมประมงอยางครบวงจร
    6. มีรูปแบบการดําเนินการแบบเกา ในลักษณะธุรกิจครอบครัว ทีไดดําเนินกิจการในทองถิ่นอยาง
                                                                        ่
       ประสบความสําเร็จมาเปนเวลานานกวา 50 ป
    7. เปนธุรกิจทีลงทุนต่ําในวัตถุดิบ แตเนนเรื่องการจัดการทีดี ทั้งเรื่อง การวางแผนในการจัดการคน
                      ่                                          ่

ประวัตความเปนมาของกิจการ
      ิ

        กอตั้งโดยคุณพอของ คุณชาญวัฒนา อิสระวัฒนา ซึ่งปจจุบันดํารงตําแหนงกรรมการบริหาร
บริษัทในเครืออิสระวัฒนา ตั้งแตป พ.ศ. 2500 เปนกิจการแบบครอบครัวที่ใหลูกๆ มีอํานาจในการบริหาร
หรือที่เรียกวา กงสี ตามแบบการทํางานของคนจีน ที่ทุกคนในครอบครัวทํางานรวมกัน มีเงินสวนกองกลาง
ในการใชจายสําหรับการดําเนินกิจการ เริ่มตนกิจการในระยะแรกเปนการทําประมง มีเรือเมย ตอมาก็มีการ
พัฒนามาเปนแพปลา เปนพอคาคนกลางในการซื้อปลาจากเรือของชาวบานรายยอย เพื่อขายตอใหกับแมคา
รายใหญ ๆ ในตลาด คุณชาญวัฒนา เลาวา การเปนพอคาคนกลางก็ไมใชวาจะมีแตเงินอยางเดียว จะตอง
สรางเครดิตของตนเองดวย โดยการใชเงินของตนเองเพื่อค้ําประกันใหกับแมคาในการซื้อขายเพื่อใหเกิด
ความนาเชื่อถือในการทําธุรกิจกัน

        กิจการของครอบครัวก็ดําเนินมาจนกระทั่ง ป พ.ศ. 2526 เมื่อคุณพอของคุณชาญวัฒนา เสียชีวิตทํา
ใหคุณชาญวัฒนา ตองเขามาบริหารจัดการงานของกิจการอยางเต็มตัวซึ่งเปนสิ่งที่ทาทายความสามารถเปน
อยางมากวาจะนําองคกรไปสูความสําเร็จไดหรือไม แตดวยการไดรับสั่งสอนการจากคุณพอที่ใหมีความรู
จริงในการทํางาน ประกอบกับเทคนิคในการทํางาน การบริการแกลูกคาที่มีความเสมอตนเสมอปลายทําให
                                                                                                     25

ธุรกิจประสบความสําเร็จ และสามารถขยายธุรกิจอื่นๆ ที่เกี่ยวของกับธุรกิจเดิมตามมา ซึ่งทําใหธุรกิจของ
ครอบครัวอิสระวัฒนาสามารถใหบริการดานอุตสาหกรรมการประมงตอเนื่องไดอยางครบวงจร
        เมื่อป พ.ศ. 2537 เริ่มขยายเปนโรงงานผลิตน้ําแข็งซึ่งเปนเจาแรกในอําเภอขนอม เนื่องจากเมื่อมีปลา
จํานวนมากๆ อุปสงคในความตองการของน้ําแข็งก็จะมีมากขึ้นตามไปดวย เพื่อใชในการแชปลาไมไหไดรับ
ความเสียหายจากการเนาเสีย ดังนั้นบางครั้งอาจทําใหน้ําแข็งขาดตลาดทําสงราคาของสินคาเพิ่มขึ้น หรือ
บางครั้งไมมีใช สงผลกระทบกับตันทุน เมื่อกิจการประสบกับปญหาจึงไดคิดหาวิธีในการแกปญหา ไดเกิด
แนวคิดในการกอสรางโรงงานผลิตน้ําแข็งขึ้น เพื่อผลิตไวใชในธุรกิจของตนเอง ซึ่งโรงน้ําแข็งสามารถคืน
ทุนไดภายในเวลา 6-7 ป
        ตอมาเมื่อมีจํานวนปลาที่รับซื้อมามีจํานวนเพิ่มมากขึ้น จึงมีการขยายกิจการเปนโรงงานปลาปน เพื่อ
ผลิตเปนอาหารสัตวสงใหกับบริษัทที่ผลิตอาหารสัตวตางทั้งรายยอย และรายใหญระดับประเทศ การขยาย
ธุรกิจในแตละครั้งจะตองมีการศึกษาเพื่อทําความเขาใจ และวิเคราะหความเสี่ยงในการประกอบธุรกิจอยาง
ถองแทดวยตนเองทุกครั้ง
        ปจจุบันกิจการก็ไดแบงการบริหารออกไปเปน 3 สวน โดยการดูแลของ คุณชาญ พี่สาว และ
นองสาว สวนพี่สาวอีก หนึ่งคนไดขอแยกกิจการออกไป เนื่องจากเดิมทีกิจการมีการบริหารแบบกงสี
        เมื่อคุณพอของคุณชาญวัฒนา เสียชีวิต และ พี่ๆ นองๆ มีครอบครัว จึงไดมีการแบงแยกการบริหาร
ออกไปบางสวนแตก็ยังคงใชระบบการบริหารแบบครอบครัว แตเจาของกิจการไมตองเขาไปจัดการเอง แต
ละโรงงานก็จะมี ผูจัดการโรงงานเปนผูดูแลกิจการและรายงานผลการประกอบการตอเจาของกิจการ

ธุรกิจในเครืออิสระวัฒนา
แบงออกเปนธุรกิจหลัก 3 ประเภท ประกอบดวย

ธุรกิจแพปลา 3 แหง
        1. แพปลาอิสระวัฒนา
        สถานที่ตั้ง หมูที่ 8 ตําบลทองเนียน อําเภอขนอม จ.นครศรีธรรมราช
        2. แพปลาขนอมวัฒนา
        สถานที่ตั้ง หมูที่ 8 ตําบลทองเนียน อําเภอขนอม จ.นครศรีธรรมราช
                                                                                       26

        3. แพปลาชาญวัฒนา
        สถานที่ตั้ง เลขที่ 86/4 หมูที่ 1 ตําบลทองเนียน อําเภอขนอม จ.นครศรีธรรมราช
        โทร. 075- 529301 โทรสาร. 075- 529324

ธุรกิจโรงงานผลิตน้าแข็ง 5 แหง
                     ํ
        หางหุนสวนจํากัดอิสระวัฒนา
         1. หางหุนสวนจํากัดอิสรเอมอร
         สถานที่ตั้งหมู 8 ตําบลทองเนียน อําเภอขนอม จังหวัดนครศรีธรรมราช 80210
         2. หางหุนสวนจํากัดอิสระดอนสัก
         สถานที่ตั้ง ตําบลดอนสัก อําเภอดอนสัก จังหวัดสุราษฎรธานี
         3. หางหุนสวนอิสระวัฒนา
         สถานที่ตั้ง เลขที่ 86/4 หมูที่ 1 ตําบลทองเนียน อําเภอขนอม จ.นครศรีธรรมราช
         4. บริษัท โรงน้ําแข็งสหมิตรสิชล จํากัด
         สถานที่ตั้ง ตําบลทุงใส อําเภอสิชล จังหวัดนครศรีธรรมราช
         5. หางหุนสวนจํากัดอิสระเนรมิตร

ธุรกิจปลาปน 2 แหง
        1. หางหุนสวนจํากัดโรงงานปลาปนสิชล
         519 ม.1 หมู 1 ตําบลทองเนียน อําเภอขนอม จังหวัดนครศรีธรรมราช 80210
        โทร. 075-535065
        2. หางหุนสวนจํากัดวัฒนาปลาปน
        86/6 หมู 8 ตําบลทองเนียน อําเภอขนอม จังหวัดนครศรีธรรมราช 80210

        ระยะเวลาในการดําเนินธุรกิจ 52 ป
        มีจํานวนเรือในครอบครอง 20 ลํา

และมีธรกิจทีครอบครัวทําเพื่อเปนธุรกิจรอง อีก 2 ประเภท คือ
      ุ      ่
        1. อิสระบีช รีสอรท เปนธุรกิจประเภทการบริการดานทีพกริมทะเล
                                                              ่ ั
        2. ครัวตังเก เปนธุรกิจรานอาหาร ที่อําเภอขนอม จังหวัดนครศรีธรรมราช
ดร.ดนัย เทียนพุฒ : รายงานของ นศ.MBA มวล. กรณีเครือกฤษฏา&เครืออิสระวัฒนา
ดร.ดนัย เทียนพุฒ : รายงานของ นศ.MBA มวล. กรณีเครือกฤษฏา&เครืออิสระวัฒนา
ดร.ดนัย เทียนพุฒ : รายงานของ นศ.MBA มวล. กรณีเครือกฤษฏา&เครืออิสระวัฒนา
ดร.ดนัย เทียนพุฒ : รายงานของ นศ.MBA มวล. กรณีเครือกฤษฏา&เครืออิสระวัฒนา
ดร.ดนัย เทียนพุฒ : รายงานของ นศ.MBA มวล. กรณีเครือกฤษฏา&เครืออิสระวัฒนา
ดร.ดนัย เทียนพุฒ : รายงานของ นศ.MBA มวล. กรณีเครือกฤษฏา&เครืออิสระวัฒนา
ดร.ดนัย เทียนพุฒ : รายงานของ นศ.MBA มวล. กรณีเครือกฤษฏา&เครืออิสระวัฒนา
ดร.ดนัย เทียนพุฒ : รายงานของ นศ.MBA มวล. กรณีเครือกฤษฏา&เครืออิสระวัฒนา
ดร.ดนัย เทียนพุฒ : รายงานของ นศ.MBA มวล. กรณีเครือกฤษฏา&เครืออิสระวัฒนา
ดร.ดนัย เทียนพุฒ : รายงานของ นศ.MBA มวล. กรณีเครือกฤษฏา&เครืออิสระวัฒนา
ดร.ดนัย เทียนพุฒ : รายงานของ นศ.MBA มวล. กรณีเครือกฤษฏา&เครืออิสระวัฒนา
ดร.ดนัย เทียนพุฒ : รายงานของ นศ.MBA มวล. กรณีเครือกฤษฏา&เครืออิสระวัฒนา
ดร.ดนัย เทียนพุฒ : รายงานของ นศ.MBA มวล. กรณีเครือกฤษฏา&เครืออิสระวัฒนา
ดร.ดนัย เทียนพุฒ : รายงานของ นศ.MBA มวล. กรณีเครือกฤษฏา&เครืออิสระวัฒนา
ดร.ดนัย เทียนพุฒ : รายงานของ นศ.MBA มวล. กรณีเครือกฤษฏา&เครืออิสระวัฒนา
ดร.ดนัย เทียนพุฒ : รายงานของ นศ.MBA มวล. กรณีเครือกฤษฏา&เครืออิสระวัฒนา
ดร.ดนัย เทียนพุฒ : รายงานของ นศ.MBA มวล. กรณีเครือกฤษฏา&เครืออิสระวัฒนา
ดร.ดนัย เทียนพุฒ : รายงานของ นศ.MBA มวล. กรณีเครือกฤษฏา&เครืออิสระวัฒนา
ดร.ดนัย เทียนพุฒ : รายงานของ นศ.MBA มวล. กรณีเครือกฤษฏา&เครืออิสระวัฒนา
ดร.ดนัย เทียนพุฒ : รายงานของ นศ.MBA มวล. กรณีเครือกฤษฏา&เครืออิสระวัฒนา
ดร.ดนัย เทียนพุฒ : รายงานของ นศ.MBA มวล. กรณีเครือกฤษฏา&เครืออิสระวัฒนา
ดร.ดนัย เทียนพุฒ : รายงานของ นศ.MBA มวล. กรณีเครือกฤษฏา&เครืออิสระวัฒนา
ดร.ดนัย เทียนพุฒ : รายงานของ นศ.MBA มวล. กรณีเครือกฤษฏา&เครืออิสระวัฒนา
ดร.ดนัย เทียนพุฒ : รายงานของ นศ.MBA มวล. กรณีเครือกฤษฏา&เครืออิสระวัฒนา
ดร.ดนัย เทียนพุฒ : รายงานของ นศ.MBA มวล. กรณีเครือกฤษฏา&เครืออิสระวัฒนา
ดร.ดนัย เทียนพุฒ : รายงานของ นศ.MBA มวล. กรณีเครือกฤษฏา&เครืออิสระวัฒนา
ดร.ดนัย เทียนพุฒ : รายงานของ นศ.MBA มวล. กรณีเครือกฤษฏา&เครืออิสระวัฒนา
ดร.ดนัย เทียนพุฒ : รายงานของ นศ.MBA มวล. กรณีเครือกฤษฏา&เครืออิสระวัฒนา
ดร.ดนัย เทียนพุฒ : รายงานของ นศ.MBA มวล. กรณีเครือกฤษฏา&เครืออิสระวัฒนา
ดร.ดนัย เทียนพุฒ : รายงานของ นศ.MBA มวล. กรณีเครือกฤษฏา&เครืออิสระวัฒนา
ดร.ดนัย เทียนพุฒ : รายงานของ นศ.MBA มวล. กรณีเครือกฤษฏา&เครืออิสระวัฒนา
ดร.ดนัย เทียนพุฒ : รายงานของ นศ.MBA มวล. กรณีเครือกฤษฏา&เครืออิสระวัฒนา
ดร.ดนัย เทียนพุฒ : รายงานของ นศ.MBA มวล. กรณีเครือกฤษฏา&เครืออิสระวัฒนา
ดร.ดนัย เทียนพุฒ : รายงานของ นศ.MBA มวล. กรณีเครือกฤษฏา&เครืออิสระวัฒนา
ดร.ดนัย เทียนพุฒ : รายงานของ นศ.MBA มวล. กรณีเครือกฤษฏา&เครืออิสระวัฒนา
ดร.ดนัย เทียนพุฒ : รายงานของ นศ.MBA มวล. กรณีเครือกฤษฏา&เครืออิสระวัฒนา
ดร.ดนัย เทียนพุฒ : รายงานของ นศ.MBA มวล. กรณีเครือกฤษฏา&เครืออิสระวัฒนา
ดร.ดนัย เทียนพุฒ : รายงานของ นศ.MBA มวล. กรณีเครือกฤษฏา&เครืออิสระวัฒนา
ดร.ดนัย เทียนพุฒ : รายงานของ นศ.MBA มวล. กรณีเครือกฤษฏา&เครืออิสระวัฒนา
ดร.ดนัย เทียนพุฒ : รายงานของ นศ.MBA มวล. กรณีเครือกฤษฏา&เครืออิสระวัฒนา
ดร.ดนัย เทียนพุฒ : รายงานของ นศ.MBA มวล. กรณีเครือกฤษฏา&เครืออิสระวัฒนา
ดร.ดนัย เทียนพุฒ : รายงานของ นศ.MBA มวล. กรณีเครือกฤษฏา&เครืออิสระวัฒนา
ดร.ดนัย เทียนพุฒ : รายงานของ นศ.MBA มวล. กรณีเครือกฤษฏา&เครืออิสระวัฒนา
ดร.ดนัย เทียนพุฒ : รายงานของ นศ.MBA มวล. กรณีเครือกฤษฏา&เครืออิสระวัฒนา
ดร.ดนัย เทียนพุฒ : รายงานของ นศ.MBA มวล. กรณีเครือกฤษฏา&เครืออิสระวัฒนา
ดร.ดนัย เทียนพุฒ : รายงานของ นศ.MBA มวล. กรณีเครือกฤษฏา&เครืออิสระวัฒนา
ดร.ดนัย เทียนพุฒ : รายงานของ นศ.MBA มวล. กรณีเครือกฤษฏา&เครืออิสระวัฒนา
ดร.ดนัย เทียนพุฒ : รายงานของ นศ.MBA มวล. กรณีเครือกฤษฏา&เครืออิสระวัฒนา
ดร.ดนัย เทียนพุฒ : รายงานของ นศ.MBA มวล. กรณีเครือกฤษฏา&เครืออิสระวัฒนา
ดร.ดนัย เทียนพุฒ : รายงานของ นศ.MBA มวล. กรณีเครือกฤษฏา&เครืออิสระวัฒนา
ดร.ดนัย เทียนพุฒ : รายงานของ นศ.MBA มวล. กรณีเครือกฤษฏา&เครืออิสระวัฒนา
ดร.ดนัย เทียนพุฒ : รายงานของ นศ.MBA มวล. กรณีเครือกฤษฏา&เครืออิสระวัฒนา
ดร.ดนัย เทียนพุฒ : รายงานของ นศ.MBA มวล. กรณีเครือกฤษฏา&เครืออิสระวัฒนา

More Related Content

Viewers also liked

[NTUN] การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
[NTUN] การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ[NTUN] การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
[NTUN] การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
Noeyy
 
00 หน้าปกเเรก
00 หน้าปกเเรก00 หน้าปกเเรก
00 หน้าปกเเรกpaisonmy
 
เรื่อง เปลือกผลไม้พื้นบ้านกับน้ำยาลบคำผิด
เรื่อง  เปลือกผลไม้พื้นบ้านกับน้ำยาลบคำผิด เรื่อง  เปลือกผลไม้พื้นบ้านกับน้ำยาลบคำผิด
เรื่อง เปลือกผลไม้พื้นบ้านกับน้ำยาลบคำผิด
O-SOT Kanesuna POTATO
 
วัฒนธรรม 10 ประเทศในอาเซียน
วัฒนธรรม 10 ประเทศในอาเซียนวัฒนธรรม 10 ประเทศในอาเซียน
วัฒนธรรม 10 ประเทศในอาเซียน
พัน พัน
 
คู่มือการเขียนรายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์
คู่มือการเขียนรายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์คู่มือการเขียนรายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์
คู่มือการเขียนรายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์พัน พัน
 
สารบัญ
สารบัญสารบัญ
สารบัญ
Chucshwal's MK
 
Aec จุดอ่อนจุดแข็ง asian
Aec  จุดอ่อนจุดแข็ง asianAec  จุดอ่อนจุดแข็ง asian
Aec จุดอ่อนจุดแข็ง asianApiradee Ae
 
ปกโครงงานคณิตศาสตร์
ปกโครงงานคณิตศาสตร์ปกโครงงานคณิตศาสตร์
ปกโครงงานคณิตศาสตร์
ศุภกรณ์ วัฒนศรี
 
การจัดทำรายงาน
การจัดทำรายงานการจัดทำรายงาน
การจัดทำรายงานChainarong Maharak
 
สถาบันทางการเมือง
สถาบันทางการเมืองสถาบันทางการเมือง
สถาบันทางการเมืองkroobannakakok
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง
พัน พัน
 
รายงานวิจัย บทสรุปผู้บริหาร "การศึกษาตลาดท่องเที่ยวกลุ่มอาเซียน"
รายงานวิจัย บทสรุปผู้บริหาร "การศึกษาตลาดท่องเที่ยวกลุ่มอาเซียน"รายงานวิจัย บทสรุปผู้บริหาร "การศึกษาตลาดท่องเที่ยวกลุ่มอาเซียน"
รายงานวิจัย บทสรุปผู้บริหาร "การศึกษาตลาดท่องเที่ยวกลุ่มอาเซียน"
Zabitan
 
รายงาน เรื่อง โครงงานสื่อการเรียนรู้อิเล็กทรอนิกส์ (E-book) : เทคนิคการถ่ายภาพ
รายงาน เรื่อง โครงงานสื่อการเรียนรู้อิเล็กทรอนิกส์ (E-book) : เทคนิคการถ่ายภาพรายงาน เรื่อง โครงงานสื่อการเรียนรู้อิเล็กทรอนิกส์ (E-book) : เทคนิคการถ่ายภาพ
รายงาน เรื่อง โครงงานสื่อการเรียนรู้อิเล็กทรอนิกส์ (E-book) : เทคนิคการถ่ายภาพ
Znackiie Rn
 
หน้าปก
หน้าปกหน้าปก
หน้าปกshikapu
 

Viewers also liked (20)

รายงาน 1
รายงาน  1รายงาน  1
รายงาน 1
 
[NTUN] การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
[NTUN] การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ[NTUN] การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
[NTUN] การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
00 หน้าปกเเรก
00 หน้าปกเเรก00 หน้าปกเเรก
00 หน้าปกเเรก
 
เรื่อง เปลือกผลไม้พื้นบ้านกับน้ำยาลบคำผิด
เรื่อง  เปลือกผลไม้พื้นบ้านกับน้ำยาลบคำผิด เรื่อง  เปลือกผลไม้พื้นบ้านกับน้ำยาลบคำผิด
เรื่อง เปลือกผลไม้พื้นบ้านกับน้ำยาลบคำผิด
 
วัฒนธรรม 10 ประเทศในอาเซียน
วัฒนธรรม 10 ประเทศในอาเซียนวัฒนธรรม 10 ประเทศในอาเซียน
วัฒนธรรม 10 ประเทศในอาเซียน
 
คู่มือการเขียนรายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์
คู่มือการเขียนรายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์คู่มือการเขียนรายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์
คู่มือการเขียนรายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์
 
สารบัญ
สารบัญสารบัญ
สารบัญ
 
Aec จุดอ่อนจุดแข็ง asian
Aec  จุดอ่อนจุดแข็ง asianAec  จุดอ่อนจุดแข็ง asian
Aec จุดอ่อนจุดแข็ง asian
 
ปกโครงงานคณิตศาสตร์
ปกโครงงานคณิตศาสตร์ปกโครงงานคณิตศาสตร์
ปกโครงงานคณิตศาสตร์
 
การจัดทำรายงาน
การจัดทำรายงานการจัดทำรายงาน
การจัดทำรายงาน
 
สถาบันทางการเมือง
สถาบันทางการเมืองสถาบันทางการเมือง
สถาบันทางการเมือง
 
รายงานโครงงานคอมพิวเตอร์
รายงานโครงงานคอมพิวเตอร์รายงานโครงงานคอมพิวเตอร์
รายงานโครงงานคอมพิวเตอร์
 
ปก
ปกปก
ปก
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง
 
รายงานวิจัย บทสรุปผู้บริหาร "การศึกษาตลาดท่องเที่ยวกลุ่มอาเซียน"
รายงานวิจัย บทสรุปผู้บริหาร "การศึกษาตลาดท่องเที่ยวกลุ่มอาเซียน"รายงานวิจัย บทสรุปผู้บริหาร "การศึกษาตลาดท่องเที่ยวกลุ่มอาเซียน"
รายงานวิจัย บทสรุปผู้บริหาร "การศึกษาตลาดท่องเที่ยวกลุ่มอาเซียน"
 
รายงาน เรื่อง โครงงานสื่อการเรียนรู้อิเล็กทรอนิกส์ (E-book) : เทคนิคการถ่ายภาพ
รายงาน เรื่อง โครงงานสื่อการเรียนรู้อิเล็กทรอนิกส์ (E-book) : เทคนิคการถ่ายภาพรายงาน เรื่อง โครงงานสื่อการเรียนรู้อิเล็กทรอนิกส์ (E-book) : เทคนิคการถ่ายภาพ
รายงาน เรื่อง โครงงานสื่อการเรียนรู้อิเล็กทรอนิกส์ (E-book) : เทคนิคการถ่ายภาพ
 
ปก
ปกปก
ปก
 
คำนำ
คำนำคำนำ
คำนำ
 
หน้าปก
หน้าปกหน้าปก
หน้าปก
 
สารบัญ.
สารบัญ.สารบัญ.
สารบัญ.
 

Similar to ดร.ดนัย เทียนพุฒ : รายงานของ นศ.MBA มวล. กรณีเครือกฤษฏา&เครืออิสระวัฒนา

case study Cp
case study Cpcase study Cp
case study Cp
Wiriya Boonmalert
 
แบบฟอร์มข..[1]
แบบฟอร์มข..[1]แบบฟอร์มข..[1]
แบบฟอร์มข..[1]kvlovelove
 
ระบบจัดการร้านเบเกอรี่
ระบบจัดการร้านเบเกอรี่ระบบจัดการร้านเบเกอรี่
ระบบจัดการร้านเบเกอรี่
Visiene Lssbh
 
พฤติกรรมการบริโภคอาหารเพื่อสุขภาพ.pdf
พฤติกรรมการบริโภคอาหารเพื่อสุขภาพ.pdfพฤติกรรมการบริโภคอาหารเพื่อสุขภาพ.pdf
พฤติกรรมการบริโภคอาหารเพื่อสุขภาพ.pdf
RabbitBlock
 
ยุทธศาสตร์การบริหารจัดการข้าวเพื่อเกษตรกรไทย
ยุทธศาสตร์การบริหารจัดการข้าวเพื่อเกษตรกรไทยยุทธศาสตร์การบริหารจัดการข้าวเพื่อเกษตรกรไทย
ยุทธศาสตร์การบริหารจัดการข้าวเพื่อเกษตรกรไทยวราภรณ์ ทรัพย์รวงทอง
 
SBU MBA
SBU MBASBU MBA
SBU MBA
Srisupa
 
Dr Danai Thieanphut -BioData
Dr Danai Thieanphut -BioDataDr Danai Thieanphut -BioData
Dr Danai Thieanphut -BioDataDrDanai Thienphut
 
SBU MBA
SBU MBASBU MBA
SBU MBA
sasupe
 
สรุปผลการศึกษางานวิจัยพฤติกรรมผู้บริโภค1
สรุปผลการศึกษางานวิจัยพฤติกรรมผู้บริโภค1สรุปผลการศึกษางานวิจัยพฤติกรรมผู้บริโภค1
สรุปผลการศึกษางานวิจัยพฤติกรรมผู้บริโภค1pattanapong1320
 
Strategy for drugstore and herbal shop in bangkok
Strategy for drugstore and herbal shop in bangkokStrategy for drugstore and herbal shop in bangkok
Strategy for drugstore and herbal shop in bangkok
Utai Sukviwatsirikul
 
คุณลักษณะผู้ประกอบการที่ประสบความสำเร็จในภาคใต้ : ภาคการบริการ
คุณลักษณะผู้ประกอบการที่ประสบความสำเร็จในภาคใต้ : ภาคการบริการคุณลักษณะผู้ประกอบการที่ประสบความสำเร็จในภาคใต้ : ภาคการบริการ
คุณลักษณะผู้ประกอบการที่ประสบความสำเร็จในภาคใต้ : ภาคการบริการRuangvate Meesup
 
การจัดการข้อมูลยา
การจัดการข้อมูลยาการจัดการข้อมูลยา
การจัดการข้อมูลยา
DMS Library
 
THAI UNION FROZEN PRODUCTS PCL.
THAI UNION FROZEN PRODUCTS PCL.THAI UNION FROZEN PRODUCTS PCL.
THAI UNION FROZEN PRODUCTS PCL.DrDanai Thienphut
 
(Oishi Group) Business Strategy for Entrepreneur
(Oishi Group) Business Strategy for Entrepreneur(Oishi Group) Business Strategy for Entrepreneur
(Oishi Group) Business Strategy for Entrepreneur
torprae
 

Similar to ดร.ดนัย เทียนพุฒ : รายงานของ นศ.MBA มวล. กรณีเครือกฤษฏา&เครืออิสระวัฒนา (20)

case study Cp
case study Cpcase study Cp
case study Cp
 
แบบฟอร์มข..[1]
แบบฟอร์มข..[1]แบบฟอร์มข..[1]
แบบฟอร์มข..[1]
 
Ntu2554
Ntu2554Ntu2554
Ntu2554
 
หน่วยที่๖
หน่วยที่๖หน่วยที่๖
หน่วยที่๖
 
ระบบจัดการร้านเบเกอรี่
ระบบจัดการร้านเบเกอรี่ระบบจัดการร้านเบเกอรี่
ระบบจัดการร้านเบเกอรี่
 
พฤติกรรมการบริโภคอาหารเพื่อสุขภาพ.pdf
พฤติกรรมการบริโภคอาหารเพื่อสุขภาพ.pdfพฤติกรรมการบริโภคอาหารเพื่อสุขภาพ.pdf
พฤติกรรมการบริโภคอาหารเพื่อสุขภาพ.pdf
 
ยุทธศาสตร์การบริหารจัดการข้าวเพื่อเกษตรกรไทย
ยุทธศาสตร์การบริหารจัดการข้าวเพื่อเกษตรกรไทยยุทธศาสตร์การบริหารจัดการข้าวเพื่อเกษตรกรไทย
ยุทธศาสตร์การบริหารจัดการข้าวเพื่อเกษตรกรไทย
 
SBU MBA
SBU MBASBU MBA
SBU MBA
 
รายงาน Om
รายงาน Omรายงาน Om
รายงาน Om
 
Dr Danai Thieanphut -BioData
Dr Danai Thieanphut -BioDataDr Danai Thieanphut -BioData
Dr Danai Thieanphut -BioData
 
SBU MBA
SBU MBASBU MBA
SBU MBA
 
สรุปผลการศึกษางานวิจัยพฤติกรรมผู้บริโภค1
สรุปผลการศึกษางานวิจัยพฤติกรรมผู้บริโภค1สรุปผลการศึกษางานวิจัยพฤติกรรมผู้บริโภค1
สรุปผลการศึกษางานวิจัยพฤติกรรมผู้บริโภค1
 
Strategy for drugstore and herbal shop in bangkok
Strategy for drugstore and herbal shop in bangkokStrategy for drugstore and herbal shop in bangkok
Strategy for drugstore and herbal shop in bangkok
 
คุณลักษณะผู้ประกอบการที่ประสบความสำเร็จในภาคใต้ : ภาคการบริการ
คุณลักษณะผู้ประกอบการที่ประสบความสำเร็จในภาคใต้ : ภาคการบริการคุณลักษณะผู้ประกอบการที่ประสบความสำเร็จในภาคใต้ : ภาคการบริการ
คุณลักษณะผู้ประกอบการที่ประสบความสำเร็จในภาคใต้ : ภาคการบริการ
 
Knowledge Capture Technique
Knowledge Capture TechniqueKnowledge Capture Technique
Knowledge Capture Technique
 
Mba51 is024
Mba51 is024Mba51 is024
Mba51 is024
 
การจัดการข้อมูลยา
การจัดการข้อมูลยาการจัดการข้อมูลยา
การจัดการข้อมูลยา
 
THAI UNION FROZEN PRODUCTS PCL.
THAI UNION FROZEN PRODUCTS PCL.THAI UNION FROZEN PRODUCTS PCL.
THAI UNION FROZEN PRODUCTS PCL.
 
(Oishi Group) Business Strategy for Entrepreneur
(Oishi Group) Business Strategy for Entrepreneur(Oishi Group) Business Strategy for Entrepreneur
(Oishi Group) Business Strategy for Entrepreneur
 
รายงานTechnology seeker
รายงานTechnology seekerรายงานTechnology seeker
รายงานTechnology seeker
 

More from DrDanai Thienphut

Change for the future : New concept and New management tools
Change for the future : New concept and New management toolsChange for the future : New concept and New management tools
Change for the future : New concept and New management tools
DrDanai Thienphut
 
PKRU Scenario 2040
PKRU Scenario 2040PKRU Scenario 2040
PKRU Scenario 2040
DrDanai Thienphut
 
Planning with PDCA
Planning with PDCAPlanning with PDCA
Planning with PDCA
DrDanai Thienphut
 
Postgraduate education @ sju PhD 27 08-17
Postgraduate education @ sju  PhD 27 08-17Postgraduate education @ sju  PhD 27 08-17
Postgraduate education @ sju PhD 27 08-17
DrDanai Thienphut
 
Minimum wage 2018
Minimum wage 2018Minimum wage 2018
Minimum wage 2018
DrDanai Thienphut
 
SMEs upscaling
SMEs upscaling SMEs upscaling
SMEs upscaling
DrDanai Thienphut
 
Study trip at Angor Wat
Study trip at Angor WatStudy trip at Angor Wat
Study trip at Angor Wat
DrDanai Thienphut
 
ไทยเที่ยวไทย :คอนซูเมอร์แฟร์ที่คิดไกลระดับนานาชาติ
ไทยเที่ยวไทย :คอนซูเมอร์แฟร์ที่คิดไกลระดับนานาชาติไทยเที่ยวไทย :คอนซูเมอร์แฟร์ที่คิดไกลระดับนานาชาติ
ไทยเที่ยวไทย :คอนซูเมอร์แฟร์ที่คิดไกลระดับนานาชาติ
DrDanai Thienphut
 
Result based HRM ฺ : Dr.Danai Thienphut
Result based HRM ฺ : Dr.Danai ThienphutResult based HRM ฺ : Dr.Danai Thienphut
Result based HRM ฺ : Dr.Danai Thienphut
DrDanai Thienphut
 
บทความ ถึงเวลายกระดับการท่องเที่ยวชุมชนหรือยัง
บทความ ถึงเวลายกระดับการท่องเที่ยวชุมชนหรือยังบทความ ถึงเวลายกระดับการท่องเที่ยวชุมชนหรือยัง
บทความ ถึงเวลายกระดับการท่องเที่ยวชุมชนหรือยัง
DrDanai Thienphut
 
ท่องเที่ยวชุมชน : การตลาดเพิ่มมูลค่า หรือ ฉกฉวยวิถีชีวิตและสินทรัพย์ชุมชน
ท่องเที่ยวชุมชน : การตลาดเพิ่มมูลค่า หรือ ฉกฉวยวิถีชีวิตและสินทรัพย์ชุมชนท่องเที่ยวชุมชน : การตลาดเพิ่มมูลค่า หรือ ฉกฉวยวิถีชีวิตและสินทรัพย์ชุมชน
ท่องเที่ยวชุมชน : การตลาดเพิ่มมูลค่า หรือ ฉกฉวยวิถีชีวิตและสินทรัพย์ชุมชน
DrDanai Thienphut
 
กลยุทธสำหรับการตลาดเมือง
กลยุทธสำหรับการตลาดเมือง  กลยุทธสำหรับการตลาดเมือง
กลยุทธสำหรับการตลาดเมือง
DrDanai Thienphut
 
Transformative HR 2016
Transformative HR 2016 Transformative HR 2016
Transformative HR 2016
DrDanai Thienphut
 
กลยุทธการวิจัยและพัฒนานำสู่ Digital Economy (R and D Strategy)
กลยุทธการวิจัยและพัฒนานำสู่ Digital Economy (R and D Strategy) กลยุทธการวิจัยและพัฒนานำสู่ Digital Economy (R and D Strategy)
กลยุทธการวิจัยและพัฒนานำสู่ Digital Economy (R and D Strategy)
DrDanai Thienphut
 
โปรไฟล์ ดร.ดนัย เทียนพุฒ 2559
โปรไฟล์ ดร.ดนัย เทียนพุฒ  2559โปรไฟล์ ดร.ดนัย เทียนพุฒ  2559
โปรไฟล์ ดร.ดนัย เทียนพุฒ 2559
DrDanai Thienphut
 
Teaching and learning development strategy
Teaching and learning development strategyTeaching and learning development strategy
Teaching and learning development strategy
DrDanai Thienphut
 
บทความ ความท้าทายใหม่ในการจัดทำกลยุทธ
บทความ ความท้าทายใหม่ในการจัดทำกลยุทธบทความ ความท้าทายใหม่ในการจัดทำกลยุทธ
บทความ ความท้าทายใหม่ในการจัดทำกลยุทธ
DrDanai Thienphut
 
Inter Human Capital Management Seminar PhD. Assignment
Inter Human Capital Management Seminar PhD. AssignmentInter Human Capital Management Seminar PhD. Assignment
Inter Human Capital Management Seminar PhD. Assignment
DrDanai Thienphut
 
สัมมนาหัวข้อ ธรรมาภิบาลภาคเอกชน หลักสูตรปธพ. รุ่นที่ 4
สัมมนาหัวข้อ ธรรมาภิบาลภาคเอกชน หลักสูตรปธพ. รุ่นที่ 4สัมมนาหัวข้อ ธรรมาภิบาลภาคเอกชน หลักสูตรปธพ. รุ่นที่ 4
สัมมนาหัวข้อ ธรรมาภิบาลภาคเอกชน หลักสูตรปธพ. รุ่นที่ 4
DrDanai Thienphut
 
คำถามประจำสัปดาห์ที่ 22 พ.ย.58
คำถามประจำสัปดาห์ที่ 22 พ.ย.58 คำถามประจำสัปดาห์ที่ 22 พ.ย.58
คำถามประจำสัปดาห์ที่ 22 พ.ย.58
DrDanai Thienphut
 

More from DrDanai Thienphut (20)

Change for the future : New concept and New management tools
Change for the future : New concept and New management toolsChange for the future : New concept and New management tools
Change for the future : New concept and New management tools
 
PKRU Scenario 2040
PKRU Scenario 2040PKRU Scenario 2040
PKRU Scenario 2040
 
Planning with PDCA
Planning with PDCAPlanning with PDCA
Planning with PDCA
 
Postgraduate education @ sju PhD 27 08-17
Postgraduate education @ sju  PhD 27 08-17Postgraduate education @ sju  PhD 27 08-17
Postgraduate education @ sju PhD 27 08-17
 
Minimum wage 2018
Minimum wage 2018Minimum wage 2018
Minimum wage 2018
 
SMEs upscaling
SMEs upscaling SMEs upscaling
SMEs upscaling
 
Study trip at Angor Wat
Study trip at Angor WatStudy trip at Angor Wat
Study trip at Angor Wat
 
ไทยเที่ยวไทย :คอนซูเมอร์แฟร์ที่คิดไกลระดับนานาชาติ
ไทยเที่ยวไทย :คอนซูเมอร์แฟร์ที่คิดไกลระดับนานาชาติไทยเที่ยวไทย :คอนซูเมอร์แฟร์ที่คิดไกลระดับนานาชาติ
ไทยเที่ยวไทย :คอนซูเมอร์แฟร์ที่คิดไกลระดับนานาชาติ
 
Result based HRM ฺ : Dr.Danai Thienphut
Result based HRM ฺ : Dr.Danai ThienphutResult based HRM ฺ : Dr.Danai Thienphut
Result based HRM ฺ : Dr.Danai Thienphut
 
บทความ ถึงเวลายกระดับการท่องเที่ยวชุมชนหรือยัง
บทความ ถึงเวลายกระดับการท่องเที่ยวชุมชนหรือยังบทความ ถึงเวลายกระดับการท่องเที่ยวชุมชนหรือยัง
บทความ ถึงเวลายกระดับการท่องเที่ยวชุมชนหรือยัง
 
ท่องเที่ยวชุมชน : การตลาดเพิ่มมูลค่า หรือ ฉกฉวยวิถีชีวิตและสินทรัพย์ชุมชน
ท่องเที่ยวชุมชน : การตลาดเพิ่มมูลค่า หรือ ฉกฉวยวิถีชีวิตและสินทรัพย์ชุมชนท่องเที่ยวชุมชน : การตลาดเพิ่มมูลค่า หรือ ฉกฉวยวิถีชีวิตและสินทรัพย์ชุมชน
ท่องเที่ยวชุมชน : การตลาดเพิ่มมูลค่า หรือ ฉกฉวยวิถีชีวิตและสินทรัพย์ชุมชน
 
กลยุทธสำหรับการตลาดเมือง
กลยุทธสำหรับการตลาดเมือง  กลยุทธสำหรับการตลาดเมือง
กลยุทธสำหรับการตลาดเมือง
 
Transformative HR 2016
Transformative HR 2016 Transformative HR 2016
Transformative HR 2016
 
กลยุทธการวิจัยและพัฒนานำสู่ Digital Economy (R and D Strategy)
กลยุทธการวิจัยและพัฒนานำสู่ Digital Economy (R and D Strategy) กลยุทธการวิจัยและพัฒนานำสู่ Digital Economy (R and D Strategy)
กลยุทธการวิจัยและพัฒนานำสู่ Digital Economy (R and D Strategy)
 
โปรไฟล์ ดร.ดนัย เทียนพุฒ 2559
โปรไฟล์ ดร.ดนัย เทียนพุฒ  2559โปรไฟล์ ดร.ดนัย เทียนพุฒ  2559
โปรไฟล์ ดร.ดนัย เทียนพุฒ 2559
 
Teaching and learning development strategy
Teaching and learning development strategyTeaching and learning development strategy
Teaching and learning development strategy
 
บทความ ความท้าทายใหม่ในการจัดทำกลยุทธ
บทความ ความท้าทายใหม่ในการจัดทำกลยุทธบทความ ความท้าทายใหม่ในการจัดทำกลยุทธ
บทความ ความท้าทายใหม่ในการจัดทำกลยุทธ
 
Inter Human Capital Management Seminar PhD. Assignment
Inter Human Capital Management Seminar PhD. AssignmentInter Human Capital Management Seminar PhD. Assignment
Inter Human Capital Management Seminar PhD. Assignment
 
สัมมนาหัวข้อ ธรรมาภิบาลภาคเอกชน หลักสูตรปธพ. รุ่นที่ 4
สัมมนาหัวข้อ ธรรมาภิบาลภาคเอกชน หลักสูตรปธพ. รุ่นที่ 4สัมมนาหัวข้อ ธรรมาภิบาลภาคเอกชน หลักสูตรปธพ. รุ่นที่ 4
สัมมนาหัวข้อ ธรรมาภิบาลภาคเอกชน หลักสูตรปธพ. รุ่นที่ 4
 
คำถามประจำสัปดาห์ที่ 22 พ.ย.58
คำถามประจำสัปดาห์ที่ 22 พ.ย.58 คำถามประจำสัปดาห์ที่ 22 พ.ย.58
คำถามประจำสัปดาห์ที่ 22 พ.ย.58
 

ดร.ดนัย เทียนพุฒ : รายงานของ นศ.MBA มวล. กรณีเครือกฤษฏา&เครืออิสระวัฒนา

  • 1.   1 ความทาทายขององคการกับการเปลี่ยนแปลงของโลกธุรกิจ เสนอ ดร. ดนัย เทียนพุฒ โดย นางสาวสุภาพร สุขขวัญ รหัส 51210078 นางสาวเพ็ญพัฒน โตสําลี รหัส 51210052 นางสาวกมลพรรณ หมื่นหอ รหัส 51210086 นางสาวปณชญา ขวัญคง รหัส 51210185 นางสาวรัตนาภรณ กําลังมาก รหัส 51210268 นางสาวอลิษา ศรีใหม รหัส 51210334 นางสาวอารยา สารคุณ รหัส 51210367 รายงานฉบับนีเ้ ปนสวนหนึ่งของรายวิชาการเปลี่ยนแปลงและพัฒนาองคการ ภาคการศึกษาที่ 2 ปการศึกษา 2552 มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ
  • 2.   2 คํานํา รายงานฉบับนี้เปนสวนหนึ่งของรายวิชา การเปลี่ยนแปลงและพัฒนาองคการ (MGT-623) ไดจัดทํา ขึ้นเพื่อศึกษาการเปลี่ยนแปลงของสภาพแวดลอมที่มีผลกระทบตอองคการ กลยุทธและเทคนิควิธการจัดการ ี ต อ การเปลี่ ย นแปลงทั้ ง ในระดั บ ป จ เจกบุ ค คล กลุ ม และองค ก าร การพั ฒ นาองค ก ารเพื่ อ รองรั บ การ เปลี่ยนแปลง ปญหาในการเปลี่ยนแปลงองคการ รวมทั้งการตอตานและแนวทางแกไข ซึ่งทางคณะผูจัดทํา ไดทําการศึกษา โดยใชธุรกิจเครืออิสระวัฒนาและเครือกฤษฎา เปนกรณีศึกษา ผูจัดทําหวังเปนอยางยิ่งวา รายงานฉบับนี้จะเปนประโยชนไดมากกับผูท่ีสนใจเรื่องการเปลี่ยนแปลงองคการและหากมีขอผิดพลาด ประการใดก็ขออภัยมา ณ โอกาสนี้ดวย คณะผูจัดทํา 15 ตุลาคม 2552
  • 3.   3 สารบัญ หนา Case Study: กลุมธุรกิจเครืออิสระวัฒนา & กลุมธุรกิจเครือกฤษฎา ที่มาและรูปแบบของอุตสาหกรรมประมง 6 ที่มาและรูปแบบของอุตสาหกรรมประมงในประเทศไทย 10 พัฒนาการอุตสาหกรรม “ปลาปน” 11 สถานการณและนโยบายปลาปนประเทศไทย ป 2548 15 สถานการณปลาปนโลก ป 2547/48 19 Case Study: ธุรกิจเครืออิสระวัฒนา - เหตุผลที่เลือกเปน Case Study 24 -ประวัติความเปนมาของกิจการ 24 -ธุรกิจในเครืออิสระวัฒนา 25 -ผูบริหาร/ผูถือหุน 27 -ประวัติความเปนมาของผูประกอบการ 27 -ปรัชญาในการดําเนินธุรกิจ 27 -วิสัยทัศนและพันธกิจ 27 -วัตถุประสงคและเปาหมาย 28 -การวิเคราะหธุรกิจของเครืออิสระวัฒนา -การวิเคราะห PEST Model 29 -การวิเคราะห Five Force Model 32 -การวิเคราะห ทัศนภาพ 34 - แนวโนมธุรกิจในเครืออิสระวัฒนาอีก 3 ป ขางหนา - แนวโนมที่แนนอนของธุรกิจ 37 - แนวโนมที่ไมแนนอนของธุรกิจ 38
  • 4.   4 สารบัญ หนา - การดําเนินการกับแนวโนมที่แนนอนและไมแนนอน 40 - ปจจัยสําคัญที่ทําใหประสบความสําเร็จ 40 - ขอเสนอแนะ 42 Case Study: ธุรกิจเครือกฤษฎา - เหตุผลที่เลือกเปน Case Study 43 - ประวัติความเปนมาของกิจการ 43 - ธุรกิจในเครือกฤษฎา 44 - ผูบริหาร/ผูถือหุน 45 - ปรัชญาในการดําเนินธุรกิจ 46 - วิสัยทัศนและพันธกิจ 46 - การวิเคราะหธุรกิจของเครือกฤษฎา - การวิเคราะหปจจัยภายนอกองคกร (PEST Model) 46 - การวิเคราะหปจจัยภายในองคกร 47 - การวิเคราะห Five Force Model 49 - การวิเคราะห ทัศนภาพ 52 - แนวโนมธุรกิจในเครืออิสระวัฒนาอีก 3 ป ขางหนา 59 - แนวโนมที่แนนอนของธุรกิจ 59 - แนวโนมที่ไมแนนอนของธุรกิจ 60 - การดําเนินการกับแนวโนมที่แนนอนและไมแนนอน 62 - ปจจัยสําคัญที่ทําใหประสบความสําเร็จ 63 - ขอเสนอแนะ 63
  • 5.   5 สารบัญ หนา สรุปเปรียบเทียบ SWOT ระหวาง 2 องคกร 65 ภาคผนวก บรรณานุกรม  
  • 6.   6 Case Study: กลุมธุรกิจเครืออิสระวัฒนา & กลุมธุรกิจเครือกฤษฎา ที่มาและรูปแบบของอุตสาหกรรมประมง การประมง หรือ ประมง หมายถึงการจัดการของมนุษยดานการจับปลาหรือสัตวน้ําอื่นๆ การดูแล รักษาปลาสวยงามและการแปรรูปเปนผลิตภัณฑประมงเชน น้ํามันปลา กิจกรรมการทําประมงจัดแบงไดทั้ง ตามชนิดสัตวน้ําและตามเขตเศรษฐกิจ เชน การทําประมงปลาแซลมอนในอลาสกา การทําประมงปลาคอด ในเกาะลอโฟเทน ประเทศนอรเวยหรือการทําประมงปลาทูนาในมหาสมุทรแปซิฟกตะวันออก และยัง รวมถึงการเพาะปลูกในน้ํา (Aquaculture) ซึ่งหมายถึงการปลูกพืชหรือเลี้ยงสัตวบางชนิดในน้ํา เพื่อใชเปน อาหารคนหรือสัตว เชนเดียวกับเกษตรกรรมที่ทําบนพื้นดิน การทําฟารมในน้ํา เชนฟารมปลา ฟารมกุง ฟารมหอย ฟารมหอยมุก การเพาะปลูกในน้ําในสภาพแวดลอมที่ควบคุมไว การเพาะปลูกในน้ําจืด น้ํากรอย ในทะเล การเพาะปลู กสาหร า ย ต อมาไดมีก ารพั ฒนาองค ความรูดานการประมงเปน วิ ทยาศาสตร แ ละ เทคโนโลยีสาขาหนึ่งเรียกวาวิทยาศาสตรการประมง มีพ้ืนฐานจากวิชาชีววิทยา นิเวศวิทยา สมุทรศาสตร เศรษฐศาสตรและการจัดการ มีการจัดศึกษาดานการประมงในแงมุมตางๆ ทั้งระดับอนุปริญญา ปริญญาตรี ปริญญาโทและปริญญาเอก และการประมงมีบทบาทสําคัญในเชิงธุรกิจและอุตสาหกรรมของประเทศ จึงมี คําอื่นๆที่เกี่ยวของเชน “ธุรกิจการประมง” “อุตสาหกรรมประมง” เกิดขึ้น ในประเทศไทยมีภาพเขียนเกี่ยวกับการจับปลามากอนประวัติศาสตร และมีคํากลาวมาตั้งแตสมัย สุโขทัยวา “ในน้ํามีปลาในนามีขาว” “กินขาวกินปลา” ปลาเปนแหลงโปรตีนของคนไทยมาตั้งแตยุคโบราณ  ประกอบกับประเทศไทยมีแหลงน้ําขนาดใหญ เชน กวานพะเยา บึงบอระเพ็ด หนองหาร และมีแมน้ําหลาย สายเชน แมน้ําเจาพระยา แมน้ําแมกลอง แมน้ําทาจีน แมน้ําบางปะกง แมน้ําตาป แมนํ้าปากพนัง ที่ไหลลงสู อาวไทย แมน้ําชี และแมน้ํามูล ที่ไหลลงแมน้ําโขง จึงมีการทําประมงกันอยางแพรหลาย หนวยงานภาครัฐ เขามาเกี่ยวของกับการประมงโดยกรมสรรพากรจัดเก็บภาษีคาน้ํา คาภาษีอากรสัตวน้ํา ถือไดวา การบริหาร จัดการทางดานการประมงของไทยเริ่มขึ้นในพ.ศ. 2444 พ.ศ. 2464 รัฐไดจัดตั้งหนวยเพาะพันธุปลาหรือหนวยงานบํารุงและรักษาสัตวน้ํา ขึ้น โดยใหขึ้นตรง ต อ กระทรวงเกษตราธิ ก าร และแต ง ตั้ ง ดร.ฮิ ว แมคคอร มิ ค สมิ ธ ซึ่ ง เคยเป น กรรมาธิ ก ารการประมง สหรัฐอเมริกา (Commissioner of Fisheries U.S.A) เปนที่ปรึกษาดานการประมงของรัฐบาลใน พระมหากษั ต ริ ย ส ยามในพ.ศ. 2466 มี ก ารสํ า รวจปริ ม าณสั ต ว น้ํ า ที่ มี อ ยู ใ นประเทศไทย เพื่ อ นํ า มา
  • 7.   7 ประกอบการเพาะพันธุ การบํารุงพันธุพันธุสัตวน้ํา เพื่อขยายผลในเชิงอุตสาหกรรม โดยการสํารวจใน นานน้ําจืด และในนานน้ําทะเลทั่วราชอาณาจักรไทย จัดกลุมจําแนกในทางชีววิทยาเปนหมวดหมู เขียนเปน หนังสือมีภาพประกอบแนะนําทรัพยากรในประเทศไทยชื่อ “อนุกรมวิธาน” และ “A Review of the Aquatic Resources and Fisheries of Siam, with Plans and Recommendation for the Administration, Conservation and Development” นําเสนอทรัพยากรในน้ําของประเทศไทยพรอมทั้งใหรายละเอียดและขอแนะนําการ บริหารจัดการอนุรักษเสนอตอกระทรวงเกษตราธิการและไดนําเสนอทูลเกลาฯและอนุมัติใหมีการตีพิมพ เผยแพร ตอมาพระบาทสมเด็จพระปกเกลาเจาอยูหัวทรงมีพระบรมราชโองการ ลงวันที่ 21 กันยายน พ.ศ. 2469 ใหตั้งกรมรักษาสัตวน้ําขึ้นในกระทรวงเกษตราธิการ พ.ศ. 2477 เปลี่ยนชื่อเปนกรมการประมง และ พ.ศ. 2496 เปลี่ยนชื่อเปนกรมประมง กรมประมงมีภารกิจศึกษา วิจัย คนควาและทดลองเกี่ยวกับการเพาะเลี้ยงสัตวน้ํา การบํารุงพันธุสัตว น้ํา การรวบรวมขอมูล สถิติ ความรูเกี่ยวกับการประมง การอนุรักษชลสมบัติ การพัฒนาเครื่องมือและ อุปกรณการประมง ผลิตภัณฑสัตวน้ํา อุตสาหกรรมสัตวนํ้า รวมทั้งการสํารวจแหลงประมง ตลอดจนการ สงเสริมและเผยแพรการเพาะเลี้ยงในน้ํา การจับสัตวน้ํา งานอาชีพการประมงอื่นๆ และการควบคุมกิจการ ประมงใหเปนไปตามกฎหมายและสอดคลอง กับแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติมุงเนนการเลี้ยง ปลาและการทําประมงน้ําลึกในชวงแรกของการทําแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ตอมาจึงศึกษา คนควาการเพาะเลี้ยงกุงในที่ดินชายฝงทะเลและพัฒนาอุตสาหกรรมตอเนื่อง ในขณะเดียว กันไดศึกษา คนควาการอนุรักษทรัพยากรประมงใหยั่งยืน ดังนี้ • แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติฉบับที่ 1 พ.ศ. 2506-2509 จัดตั้งสถาบันวิจัยประมงน้ําจืด และหองทดลองชีววิทยาการประมงทะเล เพื่อสงเสริมการเพาะปลูกในน้ําและการประมงน้ําลึก • แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติฉบับที่ 2 พ.ศ. 2510-2514 สงเสริมการเพาะปลูกในน้ําจืด และน้ํากรอย กวดขันการอนุรักษพันธุสัตวน้ําตลอดจนการเก็บรักษาและแปรรูป จัดตั้งศูนยพัฒนา และฝ ก อบรมการประมงทะเลให ชาวประมงรู จั ก วิ ธี การเดิ นเรื อ และการใช อุ ปกรณ ทั น สมั ย ที่ เหมาะสมกับการประมงทะเลลึกเพื่อการบริโภคภายในประเทศและเพื่อสงออกเปนสินคาสําคัญ • แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติฉบับที่ 3 พ.ศ. 2515-2519 สงเสริมการพัฒนาที่ดินชายฝง ทะเลใหเปนแหลงเลี้ยงสัตวน้ําไดแก กุงทะเล ซึ่งเปนสินคาที่ตลาดตางประเทศตองการมาก จัดตั้ง ศู น ย วิ จั ย ค น คว า และฝ ก อบรมการเพาะเลี้ ย งกุ ง เพื่ อค น คว า วิธี ก ารเพาะลู ก กุ ง โดยไม ต อ งอาศั ย ธรรมชาติและสาธิตแกเกษตรกร
  • 8.   8 • แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติฉบับที่ 4 พ.ศ. 2520-2524 สงเสริมการเพาะเลี้ยงปลาในเขต ชลประทาน ทดลองคนควาอบรมการเพาะเลี้ยงกุงกามกรามและการเพาะเลี้ยงกุงชายฝง สนับสนุน ชาวประมงใหปรับปรุงเครื่องมือการทําประมงใหมีประสิทธิภาพในการจับสัตวน้ําและแข็งแรง ทนทานตอลมฟาอากาศ กอสรางและขยายสะพานปลา ทาเรือประมง โรงงานหองเย็นและโรง น้ําแข็ง • แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติฉบับที่ 5 พ.ศ. 2525-2529สงเสริมการเจรจารวมทุนทําการ ประมงน้ําลึกกับประเทศตางๆ • แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติฉบับที่ 6 พ.ศ. 2530-2534 และฉบับที่ 7 พ.ศ. 2535-2539 เนนมาตรการอนุรักษและควบคุมการใชทรัพยากรประมงโดยสํารวจแหลงประมงในนานน้ําสากล และนานน้ําของประเทศที่มีความรวมมือทางการประมงสนับสนุนการรวมทุนทําการประมงโดย ถูกตองตามกฎหมายประมงระหวางประเทศ เสนอแกไขพระราชบัญญัติการประมงใหทันสมัยและ สอดคลองกับสภาวะการประมง ในดานการศึกษากระทรวงศึกษาธิการปรับปรุงหลักสูตรการ ประมงใหสอดคลองกับความตองการแรงงานเอกชน ประสานงานระหวางมหาวิทยาลัยที่มีการผลิต บัณฑิตในสาขาวิชาเดียวกันปรับปรุงระบบการศึกษาขั้นบัณฑิตศึกษาใหตรงกับความตองการของ ประเทศ • แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติฉบับที่ 8 พ.ศ. 2540-2544 สนับสนุนกฎหมายรองรับสิทธิ ของชุมชนทองถิ่นและชาวประมงขนาดเล็กใหมีสวนรวมในการบริหารจัดการทรัพยากรทางทะเล ทั้งการอนุรักษฟนฟูและดูแลรักษาปาชายเลนหญาทะเลและปะการังเพื่อใหมีการใชประโยชนจาก ทรัพยากรชายฝงโดยเฉพาะทรัพยากรประมงไดอยางยั่งยืน แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติฉบับที่ 9 พ.ศ. 2545-2549 และฉบับ ที่ 10 พ.ศ. 2550-2554 สงเสริมการวิจัยและพัฒนาสินคาอาหารเพื่อใหเปนแหลงการผลิตอาหารแปรรูปที่สําคัญของโลกที่มีคุณภาพ มาตรฐานและความปลอดภัยของอาหารเพื่อสรางความเชื่อมั่นแกผูบริโภคสินคาในระยะยาวโดยมีกุงเปน สินคาเปาหมายที่สําคัญ ดานการศึกษาวิทยาการดานการประมง พัฒนาการประมงที่สําคัญเกิดจากการจัดการเรียนการสอน ในระดับอุดมศึกษาโดย มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตรเปนมหาวิทยาลัยแรกที่กอตั้งขึ้นโดยเนนการเรียนการ สอนดานการเกษตรโดยเฉพาะ และเปนมหาวิทยาลัยแหงแรกที่เปดสอนดานการประมง จัดตั้งคณะประมง ขึ้นเมื่อพ.ศ. 2486 พรอมกับคณะเกษตรและคณะวนศาสตร คณะประมง มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตรจัดแบง ภาควิชาออกเปน 5 ภาคคือ ภาควิชาการจัดการประมง ภาควิชาวิทยาศาสตรทางทะเล ภาควิชาเพาะเลี้ยงสัตว
  • 9.   9 น้ํา ภาควิชาผลิตภัณฑประมง และภาควิชาชีววิทยาประมง ในขณะที่มหาวิทยาลัยอื่นจัดการเรียนการสอน ด า นประมงเป น ภาควิ ช าในคณะต า งๆ เช น คณะเกษตรศาสตร มหาวิ ท ยาลั ย ขอนแก น คณะ เทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยศิลปากร คณะทรัพยากรธรรมชาติ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร คณะ วิทยาศาสตร มหาวิทยาลัยบูรพา หรือ คณะเทคโนโลยีการเกษตร สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณ ทหารลาดกระบัง รายวิชาที่ปรากฏในหลักสูตรของสถาบันตางๆแบงเปนกลุมตางๆ ไดดังนี้ 1.กลุมการทําประมง ไดแก การจัดการทรัพยากรประมง วิทยาศาสตรทางทะเล วิทยาศาสตรการ ประมง 2.กลุมการเพาะเลี้ยงสัตวน้ํา ไดแก การเพาะเลี้ยงและปรับปรุงพันธุสัตวน้ํา การจัดการฟารมสัตวน้ํา เทคโนโลยีการเพาะเลี้ยงสัตวน้ํา เทคโนโลยีการผลิตสัตวน้ํา เทคโนโลยีการเลี้ยงกุง การจัดการอาหารสัตว น้ํา พันธุศาสตรการเพาะเลี้ยงสัตวน้ํา การเพาะพันธุสัตวน้ํา การผสมพันธุปลา การปรับปรุงพันธุกรรมปลา โรคของสัตวน้ํา คุณภาพน้ําสําหรับการเพาะเลี้ยงสัตวน้ํา ปฏิบัติการเพาะเลี้ยงสัตวน้ํา เทคนิคการวิจัยทางการ เพาะเลี้ยงสัตวน้ํา การเพาะเลี้ยงปลาสวยงามและพรรณไมน้ํา 3.กลุมผลิตภัณฑประมงและอุตสาหกรรมประมง ไดแก เทคโนโลยีการแปรรูปสัตวนํ้าและสาหราย จุลชีววิทยาผลิตภัณฑประมงและมารีนไบโอเทคโนโลยี เคมีและฟสิกสของผลิตภัณฑประมง โภชนาศาสตร อาหารทะเล QC, QAและระบบคุณภาพ การวิเคราะหและรับรองผลิตภัณฑสัตวน้ํา การวางแผนการผลิต การวางผังโรงงานผลิตภัณฑประมง การบริหารและวิเคราะหระบบอุตสาหกรรมประมง วิศวกรรมแชเยือก แข็ง วิศวกรรมกระบวนการแปรรูปผลิตภัณฑประมง ชีวพิษ การวิจัยและพัฒนาผลิตภัณฑประมง บรรจุ ภัณฑสําหรับผลิตภัณฑประมง การใชประโยชนจากเศษเหลือ เทคโนโลยีน้ํามันปลา เทคโนโลยีโปรตีนปลา เขมขน ชีวมวลประมงสําหรับพลังงานทดแทน 4.กลุมชีววิทยาและนิเวศวิทยาประมง ไดแก ชีววิทยาทางทะเล ชีววิทยาของปลา นิเวศวิทยาของ ปลา การจัดการเกี่ยวกับคุณภาพน้ําและภาวะมลพิษในแหลงน้ํา นิเวศวิทยาทางน้ํา 5.กลุมอื่นๆ ไดแก วิศวกรรมประมง การวิจัยและการนําเสนอขอมูลดานวิทยาศาสตรการประมง ดวยโปรแกรมคอมพิวเตอร
  • 10.   10 ที่มาและรูปแบบของอุตสาหกรรมประมงในประเทศไทย ปลาปน - เปนแหลงโปรตีนที่สําคัญของการผลิตอาหารสัตวทั้งสัตวบก-สัตวน้ํา ใหโปรตีนสูงและมีคณภาพดี ุ วัตถุดิบที่นํามาผลิตไดจากอุตสาหกรรมตอเนื่องประมง-หองเย็น-โรงงานปลากระปอง – โรงงานซู ริมิ - ในประเทศไทยมีโรงงานปลาปนทั้งสิ้น 80 โรงงานเปนสมาชิกสมาคมฯ 69 โรงงานและมีสมาชิกผู สงออกและนําเขาอีก 40 ราย ตั้งอยู 16 จังหวัดชายทะเลทัวประเทศ มีกําลังผลิตปละ 480,000- ่ 500,000 ตันและสงออกปละ 20,000-50,000 ตัน - ปลาปนเปนวัตถุดิบอาหารสัตวซึ่งมีความสําคัญตอการนําไปใชเลี้ยงสัตว ดังนั้น การผลิตอาหาร สัตว จึงจําเปนอยางยิ่งตองผลิตภายใตการควบคุมการผลิตตามมาตรฐานความปลอดภัยของ อาหาร สัตว เพื่อลดหรือจํากัดอันตรายใหอยูในระดับที่ยอมรับไดและปลอดภัยตอการบริโภค ของสัตว ตามมาตรฐานสากล GMP และ HACCP ซึ่งถือวาเปนมาตรฐานพื้นฐานที่โรงงานอุตสาหกรรมควร นําไปประยุกตใชในการ ควบคุมการผลิตเพื่อความปลอดภัยในการบริโภค
  • 11.   11 พัฒนาการอุตสาหกรรม "ปลาปน" การใชประโยชน ยุคของการพัฒนา วัตถุดิบหลัก กระบวนการผลิต การตลาด หลัก ตม - ตากแหง ยุคแรก ตม - ตากแหง - บีบอัด / เลี้ยงเปด / เลียงไก ้ ปลาเปดจากโปะ ในประเทศ อดีต - 2504 น้ํามัน เลี้ยงหมู โรงงานนํารอง ตม - ตากแหง - บีบอัด ปลาเปดจากเรืออวน ยุคสอง / น้ํามัน ในประเทศ เลี้ยงเปด / เลียงไก ้ ปลาหลังเขียวจากเรือ 2504-2520 โรงงานอบแหงดวยไอน้ํา สงออก เลี้ยงหมู อวนลาก ชนิดหมออบหลายใบ โรงงานอบแหงดวยไอน้ํา ปลาเปดจากเรืออวน ยุคสาม ชนิดหมออบหลายใบ ในประเทศ เลี้ยงเปด / เลียงไก ้ ลาก 2520-2535 โรงงานแบบอบแหง สงออก เลี้ยงหมู หัว - กางปลา - ทูนา ชนิดหมออบใบเดียว ปลาเปดจากเรืออวน โรงงานแบบอบแหง เลี้ยงเปดไข / เลี้ยง ยุคปจจุบัน ลาก ในประเทศ ชนิดหมออบใบเดียว ไก 2535-ปจจุบน ั หัว - กางปลาโอ - ทูนา สงออก : ใชน้ํามันรอนแทนไอน้ํา เลี้ยงกุง หัว - กางปลาซูริมิ
  • 12.   12 ยุคแรก (กอนป 2504) เป น ยุ คที่ มี ก ารผลิ ต ปลาป น แบบพื้ น บ าน จนถึ ง พ.ศ. 2504 จึ งเกิ ด การเปลี่ ย นแปลงครั้ ง สํ า คั ญ เนื่องจากมีการเปลี่ยนวิธีการทําประมงจากแบบประจําที่ เชน โปะโพงพาง มาเปนการประมงแบบอวนลาก ซึ่งทําใหมีวัตถุดิบเพิ่มมากขึ้น จนเกิดการขยายตัวของการผลิตจากแบบพื้นบานไปสูอุตสาหกรรม มีการ กอสรางโรงงานอยางเปนกิจจะลักษณะมากขึ้น ในสมัยกอน ตามจังหวัดชายทะเลตางๆจะมีธุรกิจคูกันอยู 2 อยางคือ การทําประมงพาณิชยดวย เครื่องมือโปะโพงพาง และการเลี้ยงเปดไข เนื่องจากเปนธุรกิจที่สงเสริมซึ่งกันและกัน กลาวคือ เศษปลา ตางๆที่ไดจากการทําประมงและไมเหมาะสําหรับการบริโภคของมนุษย จะนํามาใชเปนอาหารสําหรับเปด ทําใหเปดโตไวและมีไขดก ( ซึ่งเปนที่มาของการเรียกเศษปลานี้วา " ปลาเปด " ) ตอมาเมื่อมีการ ขยายตัว ของการทําประมงทําใหมีเศษปลามากขึ้น จึงมีการตมใหสุกและตากแหง ( บางแหงมีการบีบเอาน้ําและ น้ํามันออกกอน ) เพื่อที่จะเก็บไวไดนาน โดยไมเนาเสียไปกอน ขณะเดียวกันรัฐบาลสมัยนั้นสงเสริมใหประชาชนทําสวนครัวและเลี้ยงสัตวมาก ขึ้นเพื่อเพิ่มพูน รายไดใหครอบครัว ทําใหมีการเลี้ยงเปดและไกมากขึ้น จึงทําใหเกิดความตองการปลาปนเพิ่มขึ้นตาม แต การผลิตสมัยนั้นใชกรรมวิธีแบบงายๆ โดยตั้งในกระทะใบใหญหรือถังน้ํามัน เมื่อสุกแลวนํามาบีบอัดน้ํา และน้ํามันในตัวปลาออก ซึ่งเปนเครื่องบีบอัดดวยมือแบบใชเกลียว หลังจากนั้นจึงนําไปตากบนเสื่อรําแพน ( เสื่อไมไผสาน ) โดยใชเวลา 2-3 วันจึงแหง สําหรับบางแหงที่มีฝนตกชุกมีการดัดแปลงโดยใชวิธียางบน กระทะเหล็กเพื่อให แหงและนําไปบดใหละเอียดกอนจําหนายตอไป คุณภาพของปลาปนขณะนั้นคอนขาง ต่ํ า เนื่ อ งจากเนื้ อ ปลาถู ก ทํ า ลายไปก อ นแล ว ทั้ ง ยั ง มี ก ลิ่ น หื น เนื่ อ งจากการบี บ อั ด น้ํ า และน้ํ า มั น ที่ ไ ม มี ประสิทธิภาพ ในป 2495 องคการอาหารและเกษตรแหงสหประชาชาติ (FAO) ไดมอบเครื่องมือลักษณะ เดียวกันให กับ บริษัท ประมงไทย จํากัด ซึ่งเปนบริษัทกึ่งรัฐวิสาหกิ จเพื่อทดลองการผลิต โดยติดตั้งที่ โรงงานบนเกาะมัดโพน ปากน้ําชุมพร ซึ่งตอมาในป 2497 บริษัทนี้ไดมีการสั่งซื้อเครื่องจักรเขามาใชใน โครงการนํารอง ( Pilot Plant ) ซึ่งสามารถผลิตปลาปนจากปลาสดไดถึงวันละ 25 ตัน (24 ชั่วโมง) แต ปรากฏวาไมประสบผลสํ าเร็ จ เนื่ องจากชนิด ของวัต ถุดิ บในประเทศไทยไมเหมื อนกับ ในตางประเทศ
  • 13.   13 ประกอบกับปริมาณของวัตถุดิบที่ปอนโรงงานไมสม่ําเสมอ จนทายที่สุด ตองลมเลิกโครงการและตอมาขาย ใหเอกชนไป อยางไรก็ตาม ไดมีบริษัทคนไทยลอกเลียนแบบเครื่องจักรนี้ 2 โรงงานคือ ที่จังหวัดระนอง และ โรงงานที่ติดตั้งบนเรือ เพื่อที่จะสามารถเคลื่อนยายไปตามแหลงวัตถุดิบตางๆ แตในที่สุดโรงงานทั้งสองก็ ตองประสบชะตากรรมเชนเดียวกับโรงงานที่เกาะมัดโพน เนื่องจากขาดแคลนวัตถุดิบเพื่อปอนโรงงานอยาง สม่ําเสมอ โดยเฉพาะโรงงานที่อยูบนเรือไดเลิกกิจการหลังดําเนินการไดเพียง 3 ป ยุคที่สอง (2504 - 2520) นับ เปนชวงเวลาที่มีการนําเครื่องมือประมงประเภทอวนลากเขามาทําการประมงอยาง ไดผล และเปนชวงจังหวะที่ทําใหวัตถุดิบเพิ่มมากขึ้นและสม่ําเสมอตลอดทั้งป เปนเหตุใหเกิดการผลิตปลาปนแบบ อุตสาหกรรมดวยเครื่องจักรที่มีการทดลองทํา ในยุคแรก และสามารถดําเนินการไดอยางคุมทุน ประกอบกับ ชวงเวลานี้มีการขยายตัวทางดานการตลาด กลาวคือ มีการเลี้ยงไกในเชิงอุตสาหกรรมอยางกวางขวาง มีการ นําเขาพอพันธุ แมพันธุไกจากตางประเทศ ทั้งไกเนื้อและไกไข (ทําใหบางคนเรียกปลาปนที่ผลิตไดวา " ปลา ไก " เพราะสวนใหญนําไปเลี้ยงไกนั่นเอง ) ดังนั้นอาจกลาวไดวาในยุคนี้เปนยุคที่มีการเปลี่ยนแปลงทั้ง ทางดานวัตถุ ดิบเชิงปริมาณ และความสม่ําเสมอตลอดทั้งป เพราะเปนปลาที่ไดจากการประมงอวนลาก ( มี ปลาหลังเขียวจากการประมงอวนลอมบาง แตก็ตองรอวัตถุดิบที่เหลือใชจากโรงงานผลิตปลากระปอง ) นอกจากนี้ยังมีการเปลี่ยนแปลงทางดานการผลิตเปนแบบอุตสาหกรรม จนกระทั่งการผลิตแบบตม - ตากที่ ใชในชวงแรกหมดไป แลวทายที่สุดมีการเปลี่ยนแปลงทางดานวิชาการตลาด เนื่องจากมีการขยายการเลี้ยง สัตวโดยเฉพาะไกและมีปลาปนที่เหลือใชภายใน ประเทศสงออกไปจําหนายตางประเทศดวย ยุคที่สาม (2520 - 2535) นับ เปนยุคที่มการผลิตปลาปนกระจายไปในทุกจังหวัดชายทะเลอยางเต็มที่แลว มีการใช ี วัตถุดิบจากชินสวนของปลาที่ไดจากโรงงานอุตสาหกรรม ทั้งจากโรงงานปลากระปองและหองเย็นแปรรูป ้ ทั้งเนื่องจากเรือประมง อวนลากเริ่มประสบปญหาแหลงประมงและปริมาณเรือ ประมงจับไดลดลง ในสวน ของการผลิตมีการเปลียนแปลงการใชเชื้อเพลิงจากน้ํามันเตาเปนฟนหรือ แกลบเนื่องจากน้ํามันราคาแพง มี ่ การนําเขาเครืองจักรตางประเทศเขามาใชในการผลิต และผูผลิตภายในประเทศเองมีการพัฒนาและดัดแปลง ่ 
  • 14.   14 เครื่องจักรที่มอยูใหมี ประสิทธิภาพสูงขึ้น ใชเชื้อเพลิงลดลงและลดตนทุนการผลิต สวนในดานการตลาดมี ี การสงเสริมการเลี้ยงกุง ซึ่งเปนสัตวเลี้ยงประเภทใหม ที่ใชปลาปนในการผลิตอาหารสัตวในปริมาณมาก จน เกิดปญหาการผลิตไมเพียงพอตอความตองการใชภายในประเทศและตองมีการนํา เขาปลาปนเพื่อผลิต อาหารสัตว รวมทั้งเปนชวงทีมีการกอตั้ง " สมาคมผูผลิตปลาปนไทย " ขึ้นเพื่อเปนศูนยกลางในการ ่ ประสานงาน แลกเปลียนความคิดเห็น และแกไขปญหาของผูผลิตปลาปนดวย ่ ยุคปจจุบัน (2535 - ปจจุบน) ั เปน ยุคที่มีการเปลี่ยนแปลงวัตถุดิบ จากที่เคยใชปลาเปดเปนหลัก เริ่มลดบทบาทลงเนืองจาก ่ ปริมาณไมเพียงพอและหันมาใชวัตถุดิบจากโรงงานปลาทู นากระปอง ซึ่งมีปริมาณมากถึงปละกวาแสนตัน มีการใชเศษวัตถุดิบจากโรงงานทําปลาบด (ซูริมิ) มีการนําเขาปลาเปดจากเรือประมงไทยที่ไปทําการประมง ในตางประเทศ เชน พมา มาเลเซีย เวียดนาม อินโดนีเซีย ทางดานการผลิตมีการพัฒนาเครื่องจักรเปนแบบ การใชหมออบแหงแบบใบเดียว มีการใชน้ํามันรอนแทนไอน้ําในการอบปลา มีการกลับมาผลิตปลาปนบน เรือโรงงาน ( ตอมาไดเลิกกิจการ ) มีการพัฒนาคุณภาพวัตถุดิบและผลผลิตใหมโปรตีนและคุณคาทาง ี อาหารสูงขึ้นและ ผลผลิตสวนใหญจะจําหนายในประเทศเปนหลัก เพราะมีการพัฒนาวงการปศุสตวของ ั ไทยทั้งสัตวบก - สัตวน้ํา อยางกวางขวาง จนทําใหปลาปนที่ผลิตไดไมเพียงพอกับความตองการ ภายในประเทศ (ที่มา: http://www.thaifishmeal.com/plapon.html , 15/10/09)
  • 15.   15 สถานการณและนโยบายปลาปนประเทศไทย ป 2548 สถานการณประเทศไทย ปลาปนเปนผลิตภัณฑทไดจากปลาสด และใชเปนวัตถุดบอาหารสัตว โดยทั่วไปอาหารสัตวจะมีปลาปนเปน ี่ ิ สัดสวน ประมาณ รอยละ 7 - 10 แตในอาหารสัตวบางชนิดจําเปนตองใชปลาปนเปนสวนผสมถึง รอยละ 35 เนื่องจากตองการเรงการเจริญเติบโต เชน อาหารกุงกุลาดํา การผลิต 1. วัตถุดิบ แหลงจับปลาของไทยอยูบริเวณรอบอาวไทย และทะเลอันดามัน และเนื่องจากมีการประกาศเขต เศรษฐกิจจําเพาะ (exclusive economic zone) ของประเทศเพื่อนบาน ทําใหเนื้อที่การประมงทะเลของ ประเทศไทยถูกจํากัด ซึ่งตอมาประเทศไทยก็ไดกาหนดเขตความกวางของเขตเศรษฐกิจจําเพาะดานอาวไทย ํ และทะเลอันดามัน เปนระยะ 200 ไมลทะเลจากเสนฐาน จึงมีการพัฒนาการประมงของไทยโดยการขยาย กองเรือ และปรับปรุงเทคนิควิธีการทําประมง ตลอดจนการทําประมงนอกนานน้ําเพิ่มมากขึ้น วัตถุ ดิบที่ สําคัญในการผลิตปลาปน ไดแก 1) ปลาเปด (trash fish) เปนปลาเบญจพรรณที่จับไดโดยเรือประมงที่ใช เครื่องมือประเภทอวนลาก 2) ปลาหลังเขียว เปนปลาผิวน้ํา และ 3) เศษปลา จากโรงงานอาหารทะเล กระปอง 2. แหลงผลิต โรงงานปลาปนสวนใหญจะรับซื้อวัตถุดิบจากเรือประมงทั่วไป และบางโรงงานก็มีเรือประมง เปนของตนเอง รวมทั้งมีการรับซื้อปลานอกนานน้ําไทยดวย เพื่อใหไดวัตถุดิบเพียงพอกับการเดินเครื่องจักร ซึ่งมีกาลังการผลิตในอัตราสูง โรงงานผลิตปลาปนของไทยตั้งอยูตามพื้นที่ในจังหวัดที่ติดตอกับชายฝงทะเล ํ มีประมาณ 107 โรงงาน ดังนี้ ภาคใต มี 80 โรงงาน ไดแก จังหวัดสงขลา ปตตานี นครศรีธรรมราช ระนอง ชุมพร ตรัง พังงา ภูเก็ต สตูล สุราษฏรธานี และกระบี่ ภาคกลาง มี 27 โรงงาน ไดแก จังหวัดสมุทรสาคร สมุทรปราการ ตราด ระยอง ประจวบคีรีขันธ จันทบุรี ชลบุรี และสมุทรสงคราม
  • 16.   16 3. ผลผลิต ปริมาณการผลิตปลาปนของไทยมีประมาณปละ 4.5 – 6 แสนตัน ทั้งนี้ข้ึนอยูกับปริมาณวัตถุดิบ ในปนั้น ๆ โดยในป 2548 สมาคมผูผลิตปลาปนไทย ประมาณการวาจะมีผลผลิตปลาปน 5.5 แสนตัน เพิ่มขึ้นจากป 2547 ซึ่งมีประมาณ 5.4 แสนตัน หรือเพิ่มขึ้นรอยละ 1.85 โดยผลผลิตปลาปนของไทยจะออก สูตลาดสม่ําเสมอ โดยเฉลี่ยจะออกสูตลาดเดือนละ รอยละ 7 – 9 ของผลผลิตทั้งป ดังนี้ เดือน ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค. รวม รอยละ 8.15 7.44 7.96 8.04 8.38 8.55 8.45 8.41 8.56 8.67 8.56 8.83 100.00 จาก การรวบรวมขอมูลของสมาคมผูผลิตปลาปนไทย ปรากฏวาในป 2547 ปริมาณการผลิตปลาปน ของไทยมีมากที่สุดใน จังหวัดสมุทรสาคร ประมาณ รอยละ 27.99 ของปริมาณการผลิตทั้งประเทศ รองลงมาไดแก นครศรีธรรมราช ปตตานี สงขลา ตรัง สมุทรปราการ ตราด ระยอง และภูเก็ต โดยผลผลิต ปลาปนที่ผลิตไดจะอยูในระดับโปรตีน 4 ระดับ ดังนี้ ระดับโปรตีน ปริมาณการผลิต (ตัน) รอยละ 60% ขึ้นไป 135,159 25 55 – 59.9% 216,255 40 50 – 54.9% 108,128 20 40 – 49.9% 81,096 15 รวม 540,638 100
  • 17.   17 โดยปกติการผลิตปลาปน 1 กิโลกรัม จะใชปลาเปดประมาณ 3.4 - 4.5 กิโลกรัม ดังนั้น ตนทุน คา ปลาเปดจึงมีประมาณรอยละ 80 ของตนทุนการผลิตปลาปน สวนที่เหลืออีกประมาณรอยละ 20 เปนคา ตนทุนอื่น ๆ เชน คาแรงงาน คาขนสง คาซอมแซมเครื่องจักร เปนตน ความตองการใช ในป 2548 กระทรวงเกษตรและสหกรณ ไดประมาณความตองการใชปลาปนในประเทศสําหรับ การผลิตอาหารสัตวไว ประมาณ 589,215 ตัน ปริมาณการใชปลาปนในอาหารสัตว ป 2548 อาหารสัตว ตัน รอยละ สัตวน้ํา 270,959 45.99 สุกร 123,144 20.90 ไกไข 69,257 11.75 เปด 64,077 10.88 ไกเนื้อ 61,778 10.48 รวม 589,215 100.00 การนําเขา การ ผลิตปลาปนคุณภาพดี (โปรตีน 60% ขึ้นไป) ในประเทศไทยมีไมเพียงพอกับความตองการใช จึงตองมีการนําเขาจากตางประเทศ โดยการนําเขาลดลงโดยลําดับ จากจํานวน 100,650 ตัน มูลคา 1,844 ลาน บาท ในป 2543 เหลือจํานวน 4,725 ตัน มูลคา 118 ลานบาท ในป 2546 แตกลับเพิ่มขึ้นในป 2547 เปน
  • 18.   18 จํานวน 10,081 ตัน มูลคา 247 ลานบาท โดยนําเขาจาก เปรู พมา มาเลเซีย เดนมารค และเวียดนาม สําหรับป 2548 (ม.ค. – เม.ย. 48) มีการนําเขาแลวจํานวน 2,497 ตัน มูลคา 50.03 ลานบาท การสงออก การสงออกปลาปนของประเทศไทยมีประมาณปละ 4,000 – 8,000 ตันเศษ ระหวางป 2542 - 2544 และตั้งแตป 2545 เปนตนมาปริมาณการสงออกปลาปนเพิ่มสูงขึ้นเปนประมาณปละ 10,000 ตันเศษ และใน ป 2547 มีการสงออก จํานวน 18,954 ตัน มูลคา 436 ลานบาท โดยสงออกไปยัง ไตหวัน จีน เวียดนาม อินเดีย อินโดนีเซีย และญี่ปุน สําหรับป 2548 (ม.ค. – เม.ย. 48) มีการสงออกแลวจํานวน 4,996 ตัน มูลคา 109.49 ลานบาท นโยบายของรัฐ 1. นโยบายและมาตรการนําเขาปลาปน การ กําหนดนโยบายและมาตรการนําเขาปลาปนเปนอํานาจหนาที่ของคณะกรรมการนโยบาย อาหาร ซึ่งไดรับการแตงตั้งจากคณะรัฐมนตรี โดยมี รัฐมนตรีวาการกระทรวงพาณิชย เปนประธาน รัฐมนตรีชวยวาการกระทรวงพาณิชย กระทรวงเกษตรและสหกรณ กระทรวงการคลัง กระทรวง อุตสาหกรรม และกระทรวงมหาดไทย เปนกรรมการ อธิบดีกรมการคาภายใน เปนเลขานุการ นโยบายและมาตรการนําเขาปลาปน ป 2548 คณะรัฐมนตรีมีมติเมื่อวันที่ 23 พฤศจิกายน 2547 เห็นชอบนโยบายและมาตรการนําเขาปลาปน ป 2548 ดังนี้ 1.1 ปลาปนโปรตีน 60% ขึ้นไป ใหนําเขาไดเสรี โดยไมจํากัดปริมาณ และชวงเวลานําเขา 1.1.1 การนําเขาจากประเทศสมาชิกเขตการคาเสรีอาเซียน (AFTA) กําหนดอากรนําเขา รอยละ 5
  • 19.   19 1.1.2 การนําเขาจากประเทศสมาชิกและไมใชสมาชิกองคการการคาโลก (WTO) รวมทั้งไมใชสมาชิกเขต การคาเสรีอาเซียน (AFTA) กําหนดอากรนําเขารอยละ 10 และอากรพิเศษอีก รอยละ 50 ของอากรนําเขา (รวมเปนอากรนําเขาทั้งสิ้น รอยละ 15) 1.2 ปลาปนโปรตีน ต่ากวา 60% ตองขออนุญาตนําเขา ํ 2. นโยบายการสงออก การสงออกปลาปนของประเทศไทยสามารถสงออกไดเสรี ไมเสียอากรสงออก (ที่มา: http://www.feedusers.com/thai/cms/html/Fish_meal_feed/169.html, 16/10/09 ) สถานการณปลาปนโลก ป 2547/48 ปลาปน สถานการณโลก ปลาปนเปนวัตถุดิบอาหารสัตวในหมวดโปรตีนจากสัตวที่มีคุณภาพสูง มีกรดอะมิโนที่จําเปนครบ ทุกชนิด และยังมีสาร UGF (Unidentifled Growth Factor) ซึ่งเรงการเจริญเติบโตของสัตว และมีปริมาณการ ผลิตเฉลี่ย 5 ปยอนหลัง (ป 2542/43 - 2546/47) ประมาณ 5.66 ลานตัน หรือคิดเปนรอยละ 2.55 ของปริมาณ การผลิตวัตถุดิบอาหารสัตวหมวดโปรตีนของโลก โดยมีโปรตีนและราคาสูงสุดในบรรดาวัตถุดิบอาหาร สัตวในหมวดโปรตีนดวยกัน (กากถั่วเหลือง กากเรพซีด กากเมล็ดฝาย กากเมล็ดทานตะวัน และกากถั่วลิสง) การผลิต ใน ป 2547/48 กระทรวงเกษตรสหรัฐอเมริกา คาดวาปริมาณการผลิตปลาปนจะมีประมาณ 5.19 ลานตัน ลดลงจากปกอนที่มีการผลิต 5.40 ลานตันหรือลดลง รอยละ 3.89 เนื่องจากคาดวาจะเกิด ปรากฏการณ El Nino อีกซึ่งมีอิทธิพลสูงตอปริมาณการจับปลา โดยเฉพาะในแหลงผลิตที่ใหญที่สุดในทวีป อเมริกาใต ไดแก ประเทศเปรู และชิลี ซึ่งเปนผูผลิตรายใหญที่มีผลผลิตถึง 1.47 ลานตัน และ 0.80 ลานตัน
  • 20.   20 หรือรอยละ 28.32 และ 15.41 ของปริมาณการผลิตของโลกตามลําดับ โดยทั้งสองประเทศนี้มีแนวชายฝงที่ ยาวติดตอกันกวา 7,000 กิโลเมตรทางฝงมหาสมุทรแปซิฟค ซึ่งเปนนานน้ําเศรษฐกิจที่กวางใหญ และมี กระแสน้ําอุนมาบรรจบกับกระแสน้ําเย็น จึงมีปริมาณแรธาตุอาหารสูงมาก สงผลใหปลาปนที่ผลิตไดมี คุณภาพดีและมีคุณคาทางอาหารสูง การคา การสงออกปลาปน ในป 2547/48 กระทรวงเกษตรสหรัฐอเมริกา คาดวาจะมีประมาณ 2.89 ลานตัน ลดลงจากปกอนซึ่งมีการสงออก 3.10 ลานตันหรือลดลงรอยละ 6.77 โดยมีเปรูเปนผูสงออกรายใหญ ซึ่งมี ปริมาณการสงออกถึง 1.42 ลานตันหรือรอยละ 49.13 ของปริมาณการสงออกของโลก รองลงมา ไดแก ชิลี และไอซแลนด การนําเขาปลาปน ในป 2547/48 กระทรวงเกษตรสหรัฐอเมริกา คาดวาจะมีประมาณ 2.91 ลานตัน ลดลงจากปกอน ซึ่งมีการนําเขา 3.22 ลานตันหรือลดลงรอยละ 9.63 โดยมีจีนเปนผูนําเขารายใหญซึ่งมี ปริมาณ การนําเขาถึง 0.87 ลานตันหรือรอยละ 29.90 ของปริมาณการนําเขาของโลก รองลงมา ไดแก กลุม ประเทศทางแถบยุโรป ญี่ปุน ไตหวัน และนอรเวย การใชปลาปน ในป 2547/48 กระทรวงเกษตรสหรัฐอเมริกา คาดวาจะมีประมาณ 5.21 ลานตัน ลดลงจากปกอนซึ่งมีปริมาณ 5.50 ลานตัน หรือลดลงรอยละ 5.27 โดยมีจีนเปนผูใชรายใหญ ซึ่งมีปริมาณ การใชถึง 1.25 ลานตัน หรือรอยละ 23.99 ของปริมาณการใชของโลก รองลงมา ไดแก กลุมประเทศทาง แถบยุโรป และญี่ปุน ราคา ราคาปลาปน ชิลี ป 2547 เฉลี่ยตันละ 639.13 เหรียญสหรัฐเพิ่มขึ้นจาก ป 2546 ที่มีราคาเฉลี่ยตันละ 600.01 เหรียญสหรัฐ โดยระดับราคาในชวงตนปสูงขึ้นตอเนื่องจากชวงปลายป 2546 จากราคาเฉลี่ยเดือน ธันวาคม 2546 ตันละ 621 เหรียญสหรัฐเพิ่มขึ้นโดยลําดับเปนเฉลี่ยตันละ 692 เหรียญสหรัฐ ในเดือนมีนาคม 2547 ซึ่งเปนราคาที่สูงที่สุด และสอดคลองกับการเพิ่มขึ้นของราคากากถั่วเหลืองซึ่งเปนวัตถุดิบอาหารสัตว
  • 21.   21 ในหมวดโปรตีนเชนเดียวกันและใชทดแทนกันได และตั้งแตเดือนเมษายน 2547 ระดับราคาปลาปนชิลีได ลดลงอยางตอเนื่องเหลือ ตันละ 593.36 เหรียญสหรัฐในเดือนพฤศจิกายน 2547 เนื่องจากความตองการใชปลาปนในการผลิต อาหารสัตวลดลงจากการระบาดของโรคไข หวัดนกในสัตวปกในแถบทวีปเอเซีย แตราคาปลาปนไดปรับตัว สูงขึ้นโดยลําดับตั้งแตเดือนธันวาคม 2547 เปนเฉลี่ยตันละ 693.24 เหรียญสหรัฐในเดือนเมษายน 2548 ผล มาจากการคาดวาการผลิตปลาปนของโลกจะลดลง จากอิทธิพลของปรากฏการณ El Nino ที่อาจจะเกิดขึ้น ในปนี้ แพปลาและทาเทียบเรือประมง จากการสํารวจ พบวา ปจจุบันมีจํานวนทาเทียบเรือประมงฯ ทั่วประเทศ 735 แหง (กรมเจาทา, 2543)โดยมีรายละเอียดจํานวนทาเทียบเรือประมงฯ แยกตามรายจังหวัดและตามผูดําเนินการดังแสดงใน ตารางที่ 1-1 ซึ่งตั้งกระจายตามชุมชนในจังหวัดตางๆ ตามพื้นที่ชายฝงทะเลและปากแมน้ําทั่วประเทศ โดย เปนสถานที่รวบรวมสินคา สัตวนํ้า ทั้งที่จับจากธรรมชาติไดโ ดยชาวประมงและจากการเพาะเลี้ยงเพื่อ จําหนายใหกับผูบริโภคโดยในป 2545 มีการสงออกสินคาสัตวน้ํา ไปจําหนายยังตางประเทศเปนปริมาณถึง 1,453,516 ตัน มีมูลคา 169,194 ลานบาท (กรมประมง, 2546) (ตารางที่ 1-2 ) (ดร.พรสุข จงประสิทธ, ทา เทียบเรือประมง สะพานปลา และแพปลา กับแนวทางการจัดการ, สวนแหลงน้ําทะเล สํานักจัดการคุณภาพ น้ํ า (ชั้ น 6) กรมควบคุ ม มลพิ ษ 92 ซอยพหลโยธิ น 7 ถนนพหลโยธิ น แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุงเทพฯ 10400)
  • 22.   22
  • 23.   23
  • 24.   24 Case Study : เครือธุรกิจอิสระวัฒนา ทําไมจึงถูกเลือก เปน Case Study เหตุผลที่เลือก 1. ธุรกิจนี้เปนธุรกิจที่อยูในปจจัย 4 ที่คนตองบริโภคในชีวตประจําวัน  ิ 2. เนื่องจากเราอาศัยอยูในภาคใต ซึ่งเปนแหลงอาหารทะเลที่ใหญที่สุดในประเทศ และเปนสินคา สงออกที่ทํารายไดใหแกประเทศเปนจํานวนมาก 3. ธุรกิจนี้เมื่อเกิดวิกฤตเศรษฐกิจไมไดรับผลกระทบมากเทาไร (ตองเปนธุรกิจที่ครบวงจร) 4. เปนบริษัททีผลิตสินคาในกลุมประมง น้ําแข็งกอนเพื่อการประมง และแปรรูปปลาปน ่ 5. ผลิตสินคาเพื่อตอบสนองความตองการในกลุมประมงอยางครบวงจร 6. มีรูปแบบการดําเนินการแบบเกา ในลักษณะธุรกิจครอบครัว ทีไดดําเนินกิจการในทองถิ่นอยาง ่ ประสบความสําเร็จมาเปนเวลานานกวา 50 ป 7. เปนธุรกิจทีลงทุนต่ําในวัตถุดิบ แตเนนเรื่องการจัดการทีดี ทั้งเรื่อง การวางแผนในการจัดการคน ่ ่ ประวัตความเปนมาของกิจการ ิ กอตั้งโดยคุณพอของ คุณชาญวัฒนา อิสระวัฒนา ซึ่งปจจุบันดํารงตําแหนงกรรมการบริหาร บริษัทในเครืออิสระวัฒนา ตั้งแตป พ.ศ. 2500 เปนกิจการแบบครอบครัวที่ใหลูกๆ มีอํานาจในการบริหาร หรือที่เรียกวา กงสี ตามแบบการทํางานของคนจีน ที่ทุกคนในครอบครัวทํางานรวมกัน มีเงินสวนกองกลาง ในการใชจายสําหรับการดําเนินกิจการ เริ่มตนกิจการในระยะแรกเปนการทําประมง มีเรือเมย ตอมาก็มีการ พัฒนามาเปนแพปลา เปนพอคาคนกลางในการซื้อปลาจากเรือของชาวบานรายยอย เพื่อขายตอใหกับแมคา รายใหญ ๆ ในตลาด คุณชาญวัฒนา เลาวา การเปนพอคาคนกลางก็ไมใชวาจะมีแตเงินอยางเดียว จะตอง สรางเครดิตของตนเองดวย โดยการใชเงินของตนเองเพื่อค้ําประกันใหกับแมคาในการซื้อขายเพื่อใหเกิด ความนาเชื่อถือในการทําธุรกิจกัน กิจการของครอบครัวก็ดําเนินมาจนกระทั่ง ป พ.ศ. 2526 เมื่อคุณพอของคุณชาญวัฒนา เสียชีวิตทํา ใหคุณชาญวัฒนา ตองเขามาบริหารจัดการงานของกิจการอยางเต็มตัวซึ่งเปนสิ่งที่ทาทายความสามารถเปน อยางมากวาจะนําองคกรไปสูความสําเร็จไดหรือไม แตดวยการไดรับสั่งสอนการจากคุณพอที่ใหมีความรู จริงในการทํางาน ประกอบกับเทคนิคในการทํางาน การบริการแกลูกคาที่มีความเสมอตนเสมอปลายทําให
  • 25.   25 ธุรกิจประสบความสําเร็จ และสามารถขยายธุรกิจอื่นๆ ที่เกี่ยวของกับธุรกิจเดิมตามมา ซึ่งทําใหธุรกิจของ ครอบครัวอิสระวัฒนาสามารถใหบริการดานอุตสาหกรรมการประมงตอเนื่องไดอยางครบวงจร เมื่อป พ.ศ. 2537 เริ่มขยายเปนโรงงานผลิตน้ําแข็งซึ่งเปนเจาแรกในอําเภอขนอม เนื่องจากเมื่อมีปลา จํานวนมากๆ อุปสงคในความตองการของน้ําแข็งก็จะมีมากขึ้นตามไปดวย เพื่อใชในการแชปลาไมไหไดรับ ความเสียหายจากการเนาเสีย ดังนั้นบางครั้งอาจทําใหน้ําแข็งขาดตลาดทําสงราคาของสินคาเพิ่มขึ้น หรือ บางครั้งไมมีใช สงผลกระทบกับตันทุน เมื่อกิจการประสบกับปญหาจึงไดคิดหาวิธีในการแกปญหา ไดเกิด แนวคิดในการกอสรางโรงงานผลิตน้ําแข็งขึ้น เพื่อผลิตไวใชในธุรกิจของตนเอง ซึ่งโรงน้ําแข็งสามารถคืน ทุนไดภายในเวลา 6-7 ป ตอมาเมื่อมีจํานวนปลาที่รับซื้อมามีจํานวนเพิ่มมากขึ้น จึงมีการขยายกิจการเปนโรงงานปลาปน เพื่อ ผลิตเปนอาหารสัตวสงใหกับบริษัทที่ผลิตอาหารสัตวตางทั้งรายยอย และรายใหญระดับประเทศ การขยาย ธุรกิจในแตละครั้งจะตองมีการศึกษาเพื่อทําความเขาใจ และวิเคราะหความเสี่ยงในการประกอบธุรกิจอยาง ถองแทดวยตนเองทุกครั้ง ปจจุบันกิจการก็ไดแบงการบริหารออกไปเปน 3 สวน โดยการดูแลของ คุณชาญ พี่สาว และ นองสาว สวนพี่สาวอีก หนึ่งคนไดขอแยกกิจการออกไป เนื่องจากเดิมทีกิจการมีการบริหารแบบกงสี เมื่อคุณพอของคุณชาญวัฒนา เสียชีวิต และ พี่ๆ นองๆ มีครอบครัว จึงไดมีการแบงแยกการบริหาร ออกไปบางสวนแตก็ยังคงใชระบบการบริหารแบบครอบครัว แตเจาของกิจการไมตองเขาไปจัดการเอง แต ละโรงงานก็จะมี ผูจัดการโรงงานเปนผูดูแลกิจการและรายงานผลการประกอบการตอเจาของกิจการ ธุรกิจในเครืออิสระวัฒนา แบงออกเปนธุรกิจหลัก 3 ประเภท ประกอบดวย ธุรกิจแพปลา 3 แหง 1. แพปลาอิสระวัฒนา สถานที่ตั้ง หมูที่ 8 ตําบลทองเนียน อําเภอขนอม จ.นครศรีธรรมราช 2. แพปลาขนอมวัฒนา สถานที่ตั้ง หมูที่ 8 ตําบลทองเนียน อําเภอขนอม จ.นครศรีธรรมราช
  • 26.   26 3. แพปลาชาญวัฒนา สถานที่ตั้ง เลขที่ 86/4 หมูที่ 1 ตําบลทองเนียน อําเภอขนอม จ.นครศรีธรรมราช โทร. 075- 529301 โทรสาร. 075- 529324 ธุรกิจโรงงานผลิตน้าแข็ง 5 แหง ํ หางหุนสวนจํากัดอิสระวัฒนา 1. หางหุนสวนจํากัดอิสรเอมอร สถานที่ตั้งหมู 8 ตําบลทองเนียน อําเภอขนอม จังหวัดนครศรีธรรมราช 80210 2. หางหุนสวนจํากัดอิสระดอนสัก สถานที่ตั้ง ตําบลดอนสัก อําเภอดอนสัก จังหวัดสุราษฎรธานี 3. หางหุนสวนอิสระวัฒนา สถานที่ตั้ง เลขที่ 86/4 หมูที่ 1 ตําบลทองเนียน อําเภอขนอม จ.นครศรีธรรมราช 4. บริษัท โรงน้ําแข็งสหมิตรสิชล จํากัด สถานที่ตั้ง ตําบลทุงใส อําเภอสิชล จังหวัดนครศรีธรรมราช 5. หางหุนสวนจํากัดอิสระเนรมิตร ธุรกิจปลาปน 2 แหง 1. หางหุนสวนจํากัดโรงงานปลาปนสิชล 519 ม.1 หมู 1 ตําบลทองเนียน อําเภอขนอม จังหวัดนครศรีธรรมราช 80210 โทร. 075-535065 2. หางหุนสวนจํากัดวัฒนาปลาปน 86/6 หมู 8 ตําบลทองเนียน อําเภอขนอม จังหวัดนครศรีธรรมราช 80210 ระยะเวลาในการดําเนินธุรกิจ 52 ป มีจํานวนเรือในครอบครอง 20 ลํา และมีธรกิจทีครอบครัวทําเพื่อเปนธุรกิจรอง อีก 2 ประเภท คือ ุ ่ 1. อิสระบีช รีสอรท เปนธุรกิจประเภทการบริการดานทีพกริมทะเล ่ ั 2. ครัวตังเก เปนธุรกิจรานอาหาร ที่อําเภอขนอม จังหวัดนครศรีธรรมราช