SlideShare a Scribd company logo
1 of 31
กฏของ  Hamilton  และ  Lagrange’s Equations 1 -  บทนำ ที่ผ่านมา เราได้ศึกษาถึงกฏของนิวตัน ซึ่งสามารถนำมาใช้ในการ ทำนายการเคลื่อนที่ ของวัตถุต่างๆ  ในกรณีที่ผู้สังเกตอยู่นิ่ง  ( หรือมีความเร็วคงที่ )  จะได้ว่า กล่าวคือ ความเร่งของวัตถุใดๆ ขึ้นอยู่กับแรงลัพท์และมวลนั่นเอง ยกตัวอย่างเช่น กล่องกระดาษที่เลื่อนลงมาตามพื้นลาด ดังจะเห็นในภาพที่  (1.1) สมการ  (1.1) ภาพที่  (1.1)  ในขณะที่วัตถุกำลังเลื่อนลงมา ก็ย่อมมีความเร่ง ในทิศขนานกับพื้นลาด หรืออีกนัยหนึ่ง แบบฝึกหัด  ถ้ากล่องเริ่มเคลื่อนที่ด้วยความเร็วต้นเป็นศูนย์  และสัมประสิทธิ์ของแรงเสียดทานจลย์เป็น  จงทำนายตำแหน่งของกล่อง ณ เวลาใดๆ
x y เนื่องจากวัตถุไม่มีการเคลื่อนที่ตามแนวแกน  y โดยธรรมชาติของแรงเสียดทานนั้น แปรผันตรงกับแรง  N ดังนั้น แรงลัพท์ที่กระทำกับวัตถุคือ ตามกฏของนิวตัน จะได้ว่า ตำแหน่งของกล่อง ณ เวลาใดๆ ก็คือ
ตามตัวอย่างข้างต้น จะเห็นว่า กลศาสตร์ของนิวตันนั้นมีหัวใจสำคัญ ก็คือการหา  แรงลัพท์ ที่กระทำกับวัตถุใดๆ  แต่ในบางกรณี การคำนวนหาแรงลัพท์ อาจจะกระทำได้ลำบาก ดังจะเห็นในภาพที่  (1.2) เมื่อการคำนวนหาแรงลัพท์เป็นไปด้วยความลำบาก กฏของนิวตันตามสมการที่  (1.1)  ในบางครั้งอาจไม่สามารถนำมาศึกษาการเคลื่อนที่ของวัตถุในระบบนั้นๆได้ ภาพที่  (1.2)  แสดงการเคลื่อนที่ของกล่องในรางที่เป็นเส้นโค้ง เนื่องจากตัวกล่องมีจุดสัมผัสกับรางอยู่  2  จุด  แรงที่ตัวรางกระทำกับกล่องจึงมีความซับซ้อน  อีกทั้งตัวรางที่โค้ง ทำให้ทิศทางของแรง  และ  เปลี่ยนแปลงไปตามตำแหน่งของกล่อง
กฏของ  Hamilton  เป็นอีกมุมมองหนึ่งที่สามารถใช้ในการทำนาย การเคลื่อนที่ของวัตถุ ได้คล้ายๆกับกฏของนิวตัน  ซึ่งทั้ง  2  ทฤษฏีนี้ มีประวัติความเป็นมา ยาวนานไม่แพ้กัน  อย่างไรก็ตาม กฏของ  Hamilton  นั้น นอกจากจะนำมาใช้ในแง่ของกลศาสตร์  กล่าวคือ ว่าด้วยการเคลื่อนที่ของอนุภาค แล้วนั้น  กฏของ  Hamilton  ยังสามารถนำมาประยุกต์ใช้ในการศึกษาสาขาอื่นๆของฟิสิกส์ ยกตัวอย่างเช่น  Optics  สนามแม่เหล็กไฟฟ้า ทฤษฏีสัมพัธภาพทั่วไป  quantum electrodynamics  และอื่นๆ Newton ริเริ่ม  Variational Calculus 1686 Johann and Jacob Bernoulli 1696 Euler 1744 ขยายขอบเขต Legendre 1786 Lagrange 1788 Hamilton 1833 Jacobi 1837 ต่อยอด Marion Thornton, “Classical dynamics of particles and systems.” 4 th  edition. ภาพบุคคลสำคัญจาก  Wikipedia
2 – Hamilton Principle เพื่อที่จะหากฏเกณฑ์ทางฟิสิกส์ที่สามารถอธิบายปรากฏการณ์ต่างๆ ของธรรมชาตินั้น  เริ่มมาตั้งแต่อดีต นักวิทยาศาสตร์มีแนวความคิดเกี่ยวกับ  Minimum Principle  กล่าวคือ การเคลื่อนไหวของสรรพสิ่งนั้น เกิดจากการที่ธรรมชาติพยามที่จะทำให้ปริมาณในทางฟิสิกส์ มีค่าต่ำที่สุด   ( หรือสูงที่สุด )  ยกตัวอย่างเช่น (1)  ลูกบอล พยามจะอยู่ในสถานะที่มี พลังงาน   ต่ำที่สุด (3)  นักเรียนเดินจากตึกคณะบดี ไปยังตึกฟิสิกส์ โดยเลือก ระยะทาง ที่  สั้นที่สุด (2)  นักธุรกิจวางแผนการตลาดเพื่อให้ได้  กำไร   สูงที่สุด
2.1 –  การเคลื่อนที่ของแสง ตามแนวคิดของ  Alexander  มหาราช พระองค์ทรงสังเกตว่า มุมสะท้อนของแสงนั้น จะเท่ากับมุมตกทบ   ซึ่งปรากฏการณ์ดังกล่าวนี้ สามารถอธิบายโดยหลักการที่ว่า การที่แสงเดินทางจาก  A  ไป  B  โดยผ่านกระจกนั้น  มันจะเลือก เส้นทาง ที่ สั้นที่สุด เสมอ A B C d ตามแนวคิดของ  Alexander  แสงเลือกที่จะเดินตามเส้นทางดังกล่าวนี้  ก็เพราะเป็นระยะทางที่สั้นที่สุดนั่นเอง y x C C การบ้าน  (1.1a)   กำหนดให้กระจกวางในแนวแกน  y  ดังภาพ  สมมุติว่าแสงเริ่มเดินทางออกจากจุด  A  กระทบกับกระจกที่จุด  C  และพุ่งมายังจุด  B  ตามลำดับ   จงพิสูจน์ว่า ระยะทางทั้งหมดที่แสงจะต้องเดินทางนั้น มีค่าเป็น การบ้าน  (1.1b)   จงพิสูจน์ว่า ระยะทาง  S  จะมีค่าน้อยที่สุด ก็ต่อเมื่อ กล่าวคือ แสงจะตกกระทบที่ครึ่งทางระหว่าง  A  และ  B  ซึ่งเป็นเหตุให้มุมตกกระทบ และมุมสะท้อนมีค่าเท่ากัน
A B 2.1 –  การเคลื่อนที่ของแสง ตามแนวคิดของ  Fermat อย่างไรก็ตาม หลักการของ  Alexander  นั้น ไม่สามารถอธิบายการหักเหของแสงได้  ดังจะเห็นในภาพ ถึงแม้ว่า เส้นทางที่สั้นที่สุดจากจุด  A  ไปยัง  B  นั้น ก็คือเส้นตรงสีแดง  แต่ในความเป็นจริงตามธรรมชาติแล้ว แสงจะมีการหักเหเมื่อมันเดินทางผ่านรอยต่อของวัสดุต่างชนิดกัน  กล่าวคือ แสงจะเดินทางตามเส้นทางสีเขียวนั่นเอง Fermat  มีแนวความคิดที่แตกต่างออกไป จาก  Alexander  กล่าวคือ  Fermat  คิดว่าแสงจะเลือกเดินทางจากจุด  A  ไปยังจุด  B  โดย เลือกเส้นทาง ที่ ใช้เวลาน้อยที่สุด การบ้าน  (1.2)   ถ้าสมมุติว่า ดัชนีหักเหของแสงในตัวกลางทั้งสองมีค่าเป็น   n 1   และ  n 2   ดังที่เห็นในภาพ  จงใช้หลักการของ  Fermat  พิสูจน์ให้เห็นจริงว่า  ซึ่งสมการข้างต้นนี้ เป็น สมการการหักเหของแสงตามกฏของ  Snell  นั่นเอง
กำหนดให้แสงเดินทางผ่านจุด  ACB  โดยสมมุติว่าเรายังไม่ทราบแน่ชัดว่า จุด  C  คือตำแหน่งใดกันแน่ จึงให้เป็นตัวแปรที่เปลี่ยนค่าได้ C (x C ,0) B (x B ,y B ) A (x A ,y A ) ความเร็วของแสงในตัวกลางเท่ากับ ระยะทาง  AC  เท่ากับ ดังนั้น เวลาที่แสงใช้ในการเดินทางในระยะ  AC  เท่ากับ ในระยะ  CB  เท่ากับ ซึ่งรวมเป็นเวลาทั้งหมด จะเห็นว่าเวลาที่แสงเดินทางนั้น ขึ้นอยู่กับค่า  x c   ซึ่งตามหลักของ  Fermat  แล้ว  แสงจะเลือกเดินทางโดยใช้เวลาน้อยที่สุด  กล่าวคือ
C (x C ,0) B (x B ,y B ) A (x A ,y A ) จะได้ว่า กฏการหักเหแสง  Snell เมื่อ  และ  คือ  ดัชนีการหักเหของแสงในตัวกลาง คือ มุมตกกระทบ คือ มุมสะท้อน
2.1 –  การเคลื่อนที่ของวัตถุ ตามแนวคิดของ  Hamilton ในการศึกษาการเคลื่อนที่ของวัตถุใดๆนั้น  Hamilton  ตีพิมพ์ผลงาน  2  ฉบับในปี  1834  และ  1835  ซึ่งต่อมาภายหลังเป็นพื้นฐานของทฤษฏีในทางกลศาสตร์อีกหลายสาขา  โดยมีใจความว่า การที่วัตถุจะเคลื่อนที่จากจุด  A  ไปยังจุด  B   นั้น  มันจะเลือกเส้นทางที่  มีค่าน้อยที่สุด อันจะได้ขยายความดังต่อไปนี้ 1)  เมื่อวัตถุมีการเคลื่อนที่  ก็ย่อมจะมี พิกัด  และความเร็ว  ที่เปลี่ยนแปลงตามเวลา 2)  ในขณะที่เคลื่อนไหว วัตถุมีพลังงานจลย์ ซึ่งขึ้นอยู่กับความเร็ว 3)  ถ้าวัตถุอยู่ท่ามกลางสนาม เช่น สนามโน้มถ่วงของโลก สนามไฟฟ้า มันก็ย่อมมีพลังงานศักย์ 4)  ให้คำนิยามของผลต่างระหว่างพลังงานจลย์และพลังงานศักย์เป็น 5)  ถึงแม้ว่าการเคลื่อนที่จาก  A  ณ เวลา  t 1   ไปยัง  B  ณ เวลา  t 2   จะเป็นไปได้หลายเส้นทาง  เส้นทางที่แท้จริงนั้นจะมีค่า  น้อยที่สุดเสมอ A B ยกตัวอย่าง
ตัวอย่าง   การเคลื่อนที่ของวัตถุในสนามแรงโน้มถ่วง บนพื้นผิวโลก A B พลังงานจลย์ พลังงานศักย์ -4162 Js 5 Js 1584 Js -2995 Js
2.2 –  คณิตศาสตร์เกี่ยวกับ  Euler’s Equation สมมุติว่าเรามีค่าของ  J  ซึ่งอยู่ในรูปของ  Integral โดยที่  เป็นฟังชันส์ใดๆ  ถ้าเราต้องการจะหา  ที่ทำให้  J  มีค่าต่ำที่สุด  จะทำอย่างไร ? Euler  ค้นพบวิธีเป็นครั้งแรกเมื่อปี  1774   โดยกล่าวว่า  ที่ทำให้  J  มีค่าต่ำที่สุดนั้น  เป็นคำตอบของ สมการ
ตัวอย่าง   จงหาเส้นทางที่สั้นที่สุด ระหว่างจุดสองจุด โดยใช้สมการของ  Euler y x A   (x 1 ,y 1 ) B   (x 2 ,y 2 ) y(x) 1)  กำหนดให้  y(x)   เป็นสมการของเส้นทางที่เชื่อมระหว่าง จุด  A  และ จุด  B 2)  ดังนั้น ระยะทางทั้งหมดในการเคลื่อนที่เท่ากับ 3)  เมื่อเปรียบเทียบกับสมการของ  Euler  จะได้ว่า  4)  จึงสร้างสมการของ  Euler  ได้ดังนี้ ค่าคงที่
( ค่าคงที่   ใดๆ ) เส้นทางที่สั้นที่สุด ระหว่างจุดสองจุด คือเส้นตรง การบ้าน  (1.3)   จงหาเส้นทางที่สั้นที่สุด ระหว่างจุดสองจุด ในสามมิติ ค่าคงที่   หรืออีกนัยหนึ่ง
2.2 –  คณิตศาสตร์เกี่ยวกับ  Euler’s Equation   แบบมีเงื่อนไข ในบางครั้ง การที่จะหาจุดสูงสุง หรือต่ำสุดของฟังชันส์  ก็มีสมการของเงื่อนไข เข้ามาเกี่ยวข้อง 0)  วาดรูปให้สวยงาม และ เลือกพิกัดที่เหมาะสม ข้อจำกัด  :   ความยาวรอบรูป  2  เมตร ฟังชันส์ที่ต้องการ  Optimize  :  พื้นที่ ยกตัวอย่าง  มีเชือกยาว  2  เมตร  จะขดให้เป็นวงรูปทรงใด จึงจะได้พื้นที่สูงที่สุด (r,  ) Polar Coordinate r=r(  ) (x,y) Cartesian y=y(x) r  ในกรณีของรูปทรงข้างต้น
2)  สร้างสมการเงื่อนไข 2)  กำหนดให้สมการเงื่อนไข  (Constraint Equations) กรณีตัวอย่าง กรณีใดๆ ในภาษาแบบ  Euler-Lagrange  1)  กำหนดสิ่งที่ต้องการ  Optimize Lagrange  เผยแพร่วิธีการแก้เมื่อปี  1788   (44  ปีหลังจากสมการของ  Euler  ในข้างต้น ) 3)  สร้างระบบของ  Lagrange undetermined multiplier  และแก้สมการ เรียกว่า  Lagrange undetermined multiplier   ซึ่งเป็นค่าคงที่
4)  ตระเตรียมความพร้อมของเทอมต่างๆ 5)  จากนั้นอ้างถึงสมการของ  Lagrange Undetermined Multiplier Equation แล้วสร้างสมการของระบบที่กำลังศึกษาอยู่ 6)  ลุย !  ( โดยใช้ทักษะทางคณิตศาสตร์ )
ซึ่งเป็นสมการของวงกลม ที่มีรัศมีเท่ากับ  จึงจะเป็นรูปที่มีพื้นที่มากที่สุด จากสมการ  Euler-Lagrange ลดรูปให้ง่ายขึ้น Equ(1) Equ(2) แทนค่าของ  ในสมการที่  (1)  เข้าไปในสมการที่  (2) แทนค่าของ  คือเข้าไปในสมการที่  (1)
2.3 –  ตัวอย่าง  Classic  แบบสากล : Catenary Catenary  มีรากศัพท์มาจากคำภาษาลาตินว่า  “ Catena”  ซึ่งแปลว่า โซ่  มีที่มาจากการศึกษาลักษณะความโค้งของโซ่ ที่ปลายทั้งสองข้างขึงอยู่ในระดับเดียวกัน Galileo  claims   ( ขี้เดา )   ว่าโซ่จะห้อยเป็นรูป  Parabola ปี 1969 - Jungius  พิสูจน์ให้เห็นจริงว่าไม่ใช่  Parabola  แต่ทว่ารูปทรงจริงจะเป็นอย่างไรนั้น  ไม่ทราบ ปี 1971   - Robert Hook  ประกาศอย่างเป็นทางการว่าต่อราชวงศ์อังกฤษว่า สามารถออกแบบรูปทรงของโดม ที่มีความแข็งแรงที่สุด แต่ไม่บอกวิธีการทำ  ( ปล่อยให้งง ) ปี   1691 - Jacob Bernoulli  ถ้าลูกศิษย์ตัวเองให้แก้โจทย์ข้อนี้  - Leibneiz, Huygens,  และ  Johann Bernoulli  แก้สมการรูปทรงของโซ่ได้สำเหร็จ
เกล็ดความรู้   แผนผังครอบครัวของ ตระกูล  Bernoulli
2)  สร้างสมการเงื่อนไข 1)  กำหนดสิ่งที่ต้องการ  Optimize x y (+a,0) (-a,0) y(x)  คืออะไร ? ข้อสอบ  Final  จงพิสูจน์ว่า ลักษณะของเส้นโค้ง อยู่ในรูปของ  Hyperbolic Cosine  กล่าวคือ วิธีการทำดังจะได้ขยายความ ดังต่อไปนี้
ลักษณะความโค้งแบบ  Catenary  เป็นความโค้งของโดมที่ให้ความแข็งแรงสูงที่สุด   ข้อสอบ  Final  รวมกลุ่ม กลุ่มละไม่เกิน  6  คน สร้าง  The Arc of Catenary  ความสูงอย่างน้อย  1  เมตร  ทำจากกระดาษแข็ง  งบประมาณเบิกได้ The Gateway  ณ เมือง  St.Louis  สะพาน แบบ  Catenary
2.4 –  สมการการเคลื่อนที่ของ  Lagrange ตามหลักการของ  Hamilton  วัตถุจะเคลื่อนที่ตาม เส้นทาง ที่ทำให้  มีค่าน้อยที่สุด โดยที่  ก็คือผลต่างของพลังงานศักย์และพลังงานจลย์  หรือ คำถามก็คือว่า  แล้วเส้นทางที่ว่านี้  จะหาได้อย่างไร ? คำตอบคือ เราสามารถใช้หลักการของ  Euler  มาแก้หาจุดต่ำสุดได้ดังต่อไปนี้ ซึ่ง  คือสมการข้อจำกัด  (equations of constraint)  ที่แสดงถึงความสัมพันธ์ระหว่าพิกัดต่างๆ  ที่เขียนให้อยุ่ในรูปมาตรฐาน สมการนี้เรียกว่า  Lagrange Equation
ตัวอย่าง  พิจารณาระบบที่มีพิกัดแบบทรงกระบอก  ถ้าเรางอลวดเป็นทรงพาราโบล่า ที่มีสมการ จากนั้นนำลูกปัดมวล  m  ไปเสียบไว้ที่ข้างไดข้างหนึ่ง  เส้นลวดจะต้องหมุนด้วยความเร็วเชิงมุม เท่าได้ ลูดปัดจึงจะไม่หล่นลงพื้น   แต่อยู่นิ่งกับที่ ? วิธีทำแบบที่  1   ตัวแปรอิสระคือ  r
วิธีทำแบบที่  2   ตัวแปรอิสระคือ  r  และ  z  +  สมการข้อจำกัด ------- Equation (1) ------- Equation (2)
2.4 –  ความหมายของ     จากสมการของ  Lagrange  ในระบบแบบมีข้อจำกัด  เราสามารถที่จะตีความได้ว่า  ก็คือ  Force of Constrain  นั่นเอง Force of Constrain  แปลว่าแรง ที่มีผลทำให้วัตถุ เคลื่อนที่ตามข้อจำกัดนั้นๆ ตัวอย่าง  การเคลื่อนที่ของวัตถุตามแนวราบ  กำหนดให้ตัวแปรอิสระเป็น  {x,y} จะได้ว่า
ตัวอย่าง  วัตถุที่เคลื่อนที่บนทรงกลม  จงหามุม      ที่วัตถุเริ่มเคลื่อนที่ออกจากพื้นผิว สร้างสมการการเคลื่อนที่ได้ดังนี้ ดังนั้น แรงในแนวรัศมีคือ ซึ่งเท่ากับศูนย์เมื่อ
2.5 –  ใช้ กฏของ  Hamilton   เพื่อ  derive  หลักการต่างๆ ในทางฟิสิกส์  Derive  กฏของนิวตัน Derive  กฏการอนุลักษ์พลังงาน Derive  กฏการอนุลักษ์โมเมนตัม
2.5 – Generalized Coordinates
2.5 –  สมการการเคลื่อนที่  ในรูปแบบของ  Hamiltonian
ตัวอย่าง การบ้าน  (3.1)

More Related Content

What's hot

แรง มวล กฎการเคลื่อนที่
แรง  มวล  กฎการเคลื่อนที่แรง  มวล  กฎการเคลื่อนที่
แรง มวล กฎการเคลื่อนที่Janesita Sinpiang
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3
แผนการจัดการเรียนรู้ที่  3แผนการจัดการเรียนรู้ที่  3
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3jirupi
 
บทที่ 1 การเคลื่อนที่ในแนวเส้นตรง
บทที่ 1 การเคลื่อนที่ในแนวเส้นตรงบทที่ 1 การเคลื่อนที่ในแนวเส้นตรง
บทที่ 1 การเคลื่อนที่ในแนวเส้นตรงkroosarisa
 
บทที่ 3 แรง และ กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
บทที่ 3 แรง และ กฎการเคลื่อนที่ของนิวตันบทที่ 3 แรง และ กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
บทที่ 3 แรง และ กฎการเคลื่อนที่ของนิวตันThepsatri Rajabhat University
 
แรง แรงลัพธ์2560
แรง แรงลัพธ์2560แรง แรงลัพธ์2560
แรง แรงลัพธ์2560krulef1805
 
บทที่1 introductions ปริมาณทางฟิสิกส์
บทที่1 introductions ปริมาณทางฟิสิกส์บทที่1 introductions ปริมาณทางฟิสิกส์
บทที่1 introductions ปริมาณทางฟิสิกส์PumPui Oranuch
 
บทที่ 1 หน่วยวัดและปริมาณทางฟิสิกส์
บทที่ 1 หน่วยวัดและปริมาณทางฟิสิกส์บทที่ 1 หน่วยวัดและปริมาณทางฟิสิกส์
บทที่ 1 หน่วยวัดและปริมาณทางฟิสิกส์Thepsatri Rajabhat University
 
บทที่ 4 งาน พลังงาน และเครื่องกลอย่างง่าย
บทที่ 4 งาน  พลังงาน  และเครื่องกลอย่างง่ายบทที่ 4 งาน  พลังงาน  และเครื่องกลอย่างง่าย
บทที่ 4 งาน พลังงาน และเครื่องกลอย่างง่ายThepsatri Rajabhat University
 
1 5 work and energy
1 5 work and energy1 5 work and energy
1 5 work and energyKrumeaw
 
มวล แรง และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
มวล แรง และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตันมวล แรง และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
มวล แรง และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตันอัครพงษ์ เทเวลา
 
สมดุลกล
สมดุลกลสมดุลกล
สมดุลกลaoffiz
 
กฎของเลขยกกำลัง
กฎของเลขยกกำลังกฎของเลขยกกำลัง
กฎของเลขยกกำลังNiwat Namisa
 

What's hot (19)

แรง มวล กฎการเคลื่อนที่
แรง  มวล  กฎการเคลื่อนที่แรง  มวล  กฎการเคลื่อนที่
แรง มวล กฎการเคลื่อนที่
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3
แผนการจัดการเรียนรู้ที่  3แผนการจัดการเรียนรู้ที่  3
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3
 
บทที่ 1 การเคลื่อนที่ในแนวเส้นตรง
บทที่ 1 การเคลื่อนที่ในแนวเส้นตรงบทที่ 1 การเคลื่อนที่ในแนวเส้นตรง
บทที่ 1 การเคลื่อนที่ในแนวเส้นตรง
 
Lesson06
Lesson06Lesson06
Lesson06
 
Leastwork
LeastworkLeastwork
Leastwork
 
บทที่ 3 แรง และ กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
บทที่ 3 แรง และ กฎการเคลื่อนที่ของนิวตันบทที่ 3 แรง และ กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
บทที่ 3 แรง และ กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
 
แรง แรงลัพธ์2560
แรง แรงลัพธ์2560แรง แรงลัพธ์2560
แรง แรงลัพธ์2560
 
แรงและแรงรับ
แรงและแรงรับแรงและแรงรับ
แรงและแรงรับ
 
บทที่1 introductions ปริมาณทางฟิสิกส์
บทที่1 introductions ปริมาณทางฟิสิกส์บทที่1 introductions ปริมาณทางฟิสิกส์
บทที่1 introductions ปริมาณทางฟิสิกส์
 
แรงมวลและกฎการเคลื่อนที่
แรงมวลและกฎการเคลื่อนที่แรงมวลและกฎการเคลื่อนที่
แรงมวลและกฎการเคลื่อนที่
 
บทที่ 1 หน่วยวัดและปริมาณทางฟิสิกส์
บทที่ 1 หน่วยวัดและปริมาณทางฟิสิกส์บทที่ 1 หน่วยวัดและปริมาณทางฟิสิกส์
บทที่ 1 หน่วยวัดและปริมาณทางฟิสิกส์
 
บทที่ 4 งาน พลังงาน และเครื่องกลอย่างง่าย
บทที่ 4 งาน  พลังงาน  และเครื่องกลอย่างง่ายบทที่ 4 งาน  พลังงาน  และเครื่องกลอย่างง่าย
บทที่ 4 งาน พลังงาน และเครื่องกลอย่างง่าย
 
1 5 work and energy
1 5 work and energy1 5 work and energy
1 5 work and energy
 
มวล แรง และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
มวล แรง และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตันมวล แรง และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
มวล แรง และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
 
แรง (Force)
แรง (Force)แรง (Force)
แรง (Force)
 
สมดุลกล
สมดุลกลสมดุลกล
สมดุลกล
 
การเคลื่อนที่ในหนึ่งมิติ
การเคลื่อนที่ในหนึ่งมิติการเคลื่อนที่ในหนึ่งมิติ
การเคลื่อนที่ในหนึ่งมิติ
 
กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน ม4
กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน ม4กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน ม4
กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน ม4
 
กฎของเลขยกกำลัง
กฎของเลขยกกำลังกฎของเลขยกกำลัง
กฎของเลขยกกำลัง
 

Viewers also liked

การสอนแบบบรรยาย(Lecture)
การสอนแบบบรรยาย(Lecture)การสอนแบบบรรยาย(Lecture)
การสอนแบบบรรยาย(Lecture)jaacllassic
 
Lagrange's Theorem
Lagrange's TheoremLagrange's Theorem
Lagrange's Theoremjohn1129
 
บทที่ 2 การเคลื่อนที่แบบต่าง ๆ
บทที่ 2 การเคลื่อนที่แบบต่าง ๆบทที่ 2 การเคลื่อนที่แบบต่าง ๆ
บทที่ 2 การเคลื่อนที่แบบต่าง ๆThepsatri Rajabhat University
 
บทที่ 7 การเคลื่อนที่แบบหมุน
บทที่ 7 การเคลื่อนที่แบบหมุนบทที่ 7 การเคลื่อนที่แบบหมุน
บทที่ 7 การเคลื่อนที่แบบหมุนThepsatri Rajabhat University
 
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง การเคลื่อนที่แบบหมุน
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง การเคลื่อนที่แบบหมุนเอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง การเคลื่อนที่แบบหมุน
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง การเคลื่อนที่แบบหมุนWijitta DevilTeacher
 

Viewers also liked (8)

Lagrange
LagrangeLagrange
Lagrange
 
การสอนแบบบรรยาย(Lecture)
การสอนแบบบรรยาย(Lecture)การสอนแบบบรรยาย(Lecture)
การสอนแบบบรรยาย(Lecture)
 
Lagrange's theorem
Lagrange's theoremLagrange's theorem
Lagrange's theorem
 
Lagrange's Theorem
Lagrange's TheoremLagrange's Theorem
Lagrange's Theorem
 
Energy methods for damped systems
Energy methods for damped systemsEnergy methods for damped systems
Energy methods for damped systems
 
บทที่ 2 การเคลื่อนที่แบบต่าง ๆ
บทที่ 2 การเคลื่อนที่แบบต่าง ๆบทที่ 2 การเคลื่อนที่แบบต่าง ๆ
บทที่ 2 การเคลื่อนที่แบบต่าง ๆ
 
บทที่ 7 การเคลื่อนที่แบบหมุน
บทที่ 7 การเคลื่อนที่แบบหมุนบทที่ 7 การเคลื่อนที่แบบหมุน
บทที่ 7 การเคลื่อนที่แบบหมุน
 
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง การเคลื่อนที่แบบหมุน
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง การเคลื่อนที่แบบหมุนเอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง การเคลื่อนที่แบบหมุน
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง การเคลื่อนที่แบบหมุน
 

Similar to Lecture lagrange[1]

กฎของคูลอมป์
กฎของคูลอมป์กฎของคูลอมป์
กฎของคูลอมป์Chakkrawut Mueangkhon
 
ข้อสอบวิทย์ฟิสิกส์กสพท.ปี53
ข้อสอบวิทย์ฟิสิกส์กสพท.ปี53ข้อสอบวิทย์ฟิสิกส์กสพท.ปี53
ข้อสอบวิทย์ฟิสิกส์กสพท.ปี53noeiinoii
 
วิทย์กสพท53
วิทย์กสพท53วิทย์กสพท53
วิทย์กสพท53shanesha
 
ข้อสอบวิทย์กสพท.ปี53
ข้อสอบวิทย์กสพท.ปี53ข้อสอบวิทย์กสพท.ปี53
ข้อสอบวิทย์กสพท.ปี53Sp Play'now
 
นักคณิตศาสตร์
นักคณิตศาสตร์นักคณิตศาสตร์
นักคณิตศาสตร์guest52df33e
 
นักคณิตศาสตร์
นักคณิตศาสตร์นักคณิตศาสตร์
นักคณิตศาสตร์guest52df33e
 
นักคณิตศาสตร์
นักคณิตศาสตร์นักคณิตศาสตร์
นักคณิตศาสตร์guest52df33e
 
การเคลื่อน ครูอาร์ต
การเคลื่อน ครูอาร์ตการเคลื่อน ครูอาร์ต
การเคลื่อน ครูอาร์ตkalita123
 
การเคลื่อน ครูอาร์ต
การเคลื่อน ครูอาร์ตการเคลื่อน ครูอาร์ต
การเคลื่อน ครูอาร์ตkalita123
 
ส่วนเนื้อหา Report end_arunwan
ส่วนเนื้อหา  Report end_arunwanส่วนเนื้อหา  Report end_arunwan
ส่วนเนื้อหา Report end_arunwanArunwan Permlap
 
นักคณิตศาสตร์
นักคณิตศาสตร์นักคณิตศาสตร์
นักคณิตศาสตร์guest52df33e
 
นักคณิตศาสตร์
นักคณิตศาสตร์นักคณิตศาสตร์
นักคณิตศาสตร์guest52df33e
 
วิทยาศาสตร์พื้นฐาน(ฟิสิกส์)
วิทยาศาสตร์พื้นฐาน(ฟิสิกส์)วิทยาศาสตร์พื้นฐาน(ฟิสิกส์)
วิทยาศาสตร์พื้นฐาน(ฟิสิกส์)Wichai Likitponrak
 
ไฟฟ้าสถิต
ไฟฟ้าสถิตไฟฟ้าสถิต
ไฟฟ้าสถิตkapom7
 
ฟิสิกส์ Ent 48
ฟิสิกส์ Ent 48ฟิสิกส์ Ent 48
ฟิสิกส์ Ent 48Unity' Aing
 
การเคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิกอย่างง่าย
การเคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิกอย่างง่ายการเคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิกอย่างง่าย
การเคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิกอย่างง่ายSunanthaIamprasert
 
การเคลื่อนที่แบบซิมเปิลฮาร์มอนิกส์
การเคลื่อนที่แบบซิมเปิลฮาร์มอนิกส์การเคลื่อนที่แบบซิมเปิลฮาร์มอนิกส์
การเคลื่อนที่แบบซิมเปิลฮาร์มอนิกส์Aey Usanee
 
ฟิสิกสืยุคใหม่และทฤษฎีควอนตัม
ฟิสิกสืยุคใหม่และทฤษฎีควอนตัมฟิสิกสืยุคใหม่และทฤษฎีควอนตัม
ฟิสิกสืยุคใหม่และทฤษฎีควอนตัมสุริยะ ไฝชัยภูมิ
 

Similar to Lecture lagrange[1] (20)

กฎของคูลอมป์
กฎของคูลอมป์กฎของคูลอมป์
กฎของคูลอมป์
 
Phy
PhyPhy
Phy
 
ข้อสอบวิทย์ฟิสิกส์กสพท.ปี53
ข้อสอบวิทย์ฟิสิกส์กสพท.ปี53ข้อสอบวิทย์ฟิสิกส์กสพท.ปี53
ข้อสอบวิทย์ฟิสิกส์กสพท.ปี53
 
วิทย์กสพท53
วิทย์กสพท53วิทย์กสพท53
วิทย์กสพท53
 
ข้อสอบวิทย์กสพท.ปี53
ข้อสอบวิทย์กสพท.ปี53ข้อสอบวิทย์กสพท.ปี53
ข้อสอบวิทย์กสพท.ปี53
 
นักคณิตศาสตร์
นักคณิตศาสตร์นักคณิตศาสตร์
นักคณิตศาสตร์
 
นักคณิตศาสตร์
นักคณิตศาสตร์นักคณิตศาสตร์
นักคณิตศาสตร์
 
นักคณิตศาสตร์
นักคณิตศาสตร์นักคณิตศาสตร์
นักคณิตศาสตร์
 
การเคลื่อน ครูอาร์ต
การเคลื่อน ครูอาร์ตการเคลื่อน ครูอาร์ต
การเคลื่อน ครูอาร์ต
 
การเคลื่อน ครูอาร์ต
การเคลื่อน ครูอาร์ตการเคลื่อน ครูอาร์ต
การเคลื่อน ครูอาร์ต
 
ส่วนเนื้อหา Report end_arunwan
ส่วนเนื้อหา  Report end_arunwanส่วนเนื้อหา  Report end_arunwan
ส่วนเนื้อหา Report end_arunwan
 
นักคณิตศาสตร์
นักคณิตศาสตร์นักคณิตศาสตร์
นักคณิตศาสตร์
 
นักคณิตศาสตร์
นักคณิตศาสตร์นักคณิตศาสตร์
นักคณิตศาสตร์
 
วิทยาศาสตร์พื้นฐาน(ฟิสิกส์)
วิทยาศาสตร์พื้นฐาน(ฟิสิกส์)วิทยาศาสตร์พื้นฐาน(ฟิสิกส์)
วิทยาศาสตร์พื้นฐาน(ฟิสิกส์)
 
ไฟฟ้าสถิต
ไฟฟ้าสถิตไฟฟ้าสถิต
ไฟฟ้าสถิต
 
ฟิสิกส์ Ent 48
ฟิสิกส์ Ent 48ฟิสิกส์ Ent 48
ฟิสิกส์ Ent 48
 
การเคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิกอย่างง่าย
การเคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิกอย่างง่ายการเคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิกอย่างง่าย
การเคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิกอย่างง่าย
 
การเคลื่อนที่แบบซิมเปิลฮาร์มอนิกส์
การเคลื่อนที่แบบซิมเปิลฮาร์มอนิกส์การเคลื่อนที่แบบซิมเปิลฮาร์มอนิกส์
การเคลื่อนที่แบบซิมเปิลฮาร์มอนิกส์
 
ฟิสิกสืยุคใหม่และทฤษฎีควอนตัม
ฟิสิกสืยุคใหม่และทฤษฎีควอนตัมฟิสิกสืยุคใหม่และทฤษฎีควอนตัม
ฟิสิกสืยุคใหม่และทฤษฎีควอนตัม
 
Ppt newton's law
Ppt newton's lawPpt newton's law
Ppt newton's law
 

Lecture lagrange[1]

  • 1. กฏของ Hamilton และ Lagrange’s Equations 1 - บทนำ ที่ผ่านมา เราได้ศึกษาถึงกฏของนิวตัน ซึ่งสามารถนำมาใช้ในการ ทำนายการเคลื่อนที่ ของวัตถุต่างๆ ในกรณีที่ผู้สังเกตอยู่นิ่ง ( หรือมีความเร็วคงที่ ) จะได้ว่า กล่าวคือ ความเร่งของวัตถุใดๆ ขึ้นอยู่กับแรงลัพท์และมวลนั่นเอง ยกตัวอย่างเช่น กล่องกระดาษที่เลื่อนลงมาตามพื้นลาด ดังจะเห็นในภาพที่ (1.1) สมการ (1.1) ภาพที่ (1.1) ในขณะที่วัตถุกำลังเลื่อนลงมา ก็ย่อมมีความเร่ง ในทิศขนานกับพื้นลาด หรืออีกนัยหนึ่ง แบบฝึกหัด ถ้ากล่องเริ่มเคลื่อนที่ด้วยความเร็วต้นเป็นศูนย์ และสัมประสิทธิ์ของแรงเสียดทานจลย์เป็น จงทำนายตำแหน่งของกล่อง ณ เวลาใดๆ
  • 2. x y เนื่องจากวัตถุไม่มีการเคลื่อนที่ตามแนวแกน y โดยธรรมชาติของแรงเสียดทานนั้น แปรผันตรงกับแรง N ดังนั้น แรงลัพท์ที่กระทำกับวัตถุคือ ตามกฏของนิวตัน จะได้ว่า ตำแหน่งของกล่อง ณ เวลาใดๆ ก็คือ
  • 3. ตามตัวอย่างข้างต้น จะเห็นว่า กลศาสตร์ของนิวตันนั้นมีหัวใจสำคัญ ก็คือการหา แรงลัพท์ ที่กระทำกับวัตถุใดๆ แต่ในบางกรณี การคำนวนหาแรงลัพท์ อาจจะกระทำได้ลำบาก ดังจะเห็นในภาพที่ (1.2) เมื่อการคำนวนหาแรงลัพท์เป็นไปด้วยความลำบาก กฏของนิวตันตามสมการที่ (1.1) ในบางครั้งอาจไม่สามารถนำมาศึกษาการเคลื่อนที่ของวัตถุในระบบนั้นๆได้ ภาพที่ (1.2) แสดงการเคลื่อนที่ของกล่องในรางที่เป็นเส้นโค้ง เนื่องจากตัวกล่องมีจุดสัมผัสกับรางอยู่ 2 จุด แรงที่ตัวรางกระทำกับกล่องจึงมีความซับซ้อน อีกทั้งตัวรางที่โค้ง ทำให้ทิศทางของแรง และ เปลี่ยนแปลงไปตามตำแหน่งของกล่อง
  • 4. กฏของ Hamilton เป็นอีกมุมมองหนึ่งที่สามารถใช้ในการทำนาย การเคลื่อนที่ของวัตถุ ได้คล้ายๆกับกฏของนิวตัน ซึ่งทั้ง 2 ทฤษฏีนี้ มีประวัติความเป็นมา ยาวนานไม่แพ้กัน อย่างไรก็ตาม กฏของ Hamilton นั้น นอกจากจะนำมาใช้ในแง่ของกลศาสตร์ กล่าวคือ ว่าด้วยการเคลื่อนที่ของอนุภาค แล้วนั้น กฏของ Hamilton ยังสามารถนำมาประยุกต์ใช้ในการศึกษาสาขาอื่นๆของฟิสิกส์ ยกตัวอย่างเช่น Optics สนามแม่เหล็กไฟฟ้า ทฤษฏีสัมพัธภาพทั่วไป quantum electrodynamics และอื่นๆ Newton ริเริ่ม Variational Calculus 1686 Johann and Jacob Bernoulli 1696 Euler 1744 ขยายขอบเขต Legendre 1786 Lagrange 1788 Hamilton 1833 Jacobi 1837 ต่อยอด Marion Thornton, “Classical dynamics of particles and systems.” 4 th edition. ภาพบุคคลสำคัญจาก Wikipedia
  • 5. 2 – Hamilton Principle เพื่อที่จะหากฏเกณฑ์ทางฟิสิกส์ที่สามารถอธิบายปรากฏการณ์ต่างๆ ของธรรมชาตินั้น เริ่มมาตั้งแต่อดีต นักวิทยาศาสตร์มีแนวความคิดเกี่ยวกับ Minimum Principle กล่าวคือ การเคลื่อนไหวของสรรพสิ่งนั้น เกิดจากการที่ธรรมชาติพยามที่จะทำให้ปริมาณในทางฟิสิกส์ มีค่าต่ำที่สุด ( หรือสูงที่สุด ) ยกตัวอย่างเช่น (1) ลูกบอล พยามจะอยู่ในสถานะที่มี พลังงาน ต่ำที่สุด (3) นักเรียนเดินจากตึกคณะบดี ไปยังตึกฟิสิกส์ โดยเลือก ระยะทาง ที่ สั้นที่สุด (2) นักธุรกิจวางแผนการตลาดเพื่อให้ได้ กำไร สูงที่สุด
  • 6. 2.1 – การเคลื่อนที่ของแสง ตามแนวคิดของ Alexander มหาราช พระองค์ทรงสังเกตว่า มุมสะท้อนของแสงนั้น จะเท่ากับมุมตกทบ ซึ่งปรากฏการณ์ดังกล่าวนี้ สามารถอธิบายโดยหลักการที่ว่า การที่แสงเดินทางจาก A ไป B โดยผ่านกระจกนั้น มันจะเลือก เส้นทาง ที่ สั้นที่สุด เสมอ A B C d ตามแนวคิดของ Alexander แสงเลือกที่จะเดินตามเส้นทางดังกล่าวนี้ ก็เพราะเป็นระยะทางที่สั้นที่สุดนั่นเอง y x C C การบ้าน (1.1a) กำหนดให้กระจกวางในแนวแกน y ดังภาพ สมมุติว่าแสงเริ่มเดินทางออกจากจุด A กระทบกับกระจกที่จุด C และพุ่งมายังจุด B ตามลำดับ จงพิสูจน์ว่า ระยะทางทั้งหมดที่แสงจะต้องเดินทางนั้น มีค่าเป็น การบ้าน (1.1b) จงพิสูจน์ว่า ระยะทาง S จะมีค่าน้อยที่สุด ก็ต่อเมื่อ กล่าวคือ แสงจะตกกระทบที่ครึ่งทางระหว่าง A และ B ซึ่งเป็นเหตุให้มุมตกกระทบ และมุมสะท้อนมีค่าเท่ากัน
  • 7. A B 2.1 – การเคลื่อนที่ของแสง ตามแนวคิดของ Fermat อย่างไรก็ตาม หลักการของ Alexander นั้น ไม่สามารถอธิบายการหักเหของแสงได้ ดังจะเห็นในภาพ ถึงแม้ว่า เส้นทางที่สั้นที่สุดจากจุด A ไปยัง B นั้น ก็คือเส้นตรงสีแดง แต่ในความเป็นจริงตามธรรมชาติแล้ว แสงจะมีการหักเหเมื่อมันเดินทางผ่านรอยต่อของวัสดุต่างชนิดกัน กล่าวคือ แสงจะเดินทางตามเส้นทางสีเขียวนั่นเอง Fermat มีแนวความคิดที่แตกต่างออกไป จาก Alexander กล่าวคือ Fermat คิดว่าแสงจะเลือกเดินทางจากจุด A ไปยังจุด B โดย เลือกเส้นทาง ที่ ใช้เวลาน้อยที่สุด การบ้าน (1.2) ถ้าสมมุติว่า ดัชนีหักเหของแสงในตัวกลางทั้งสองมีค่าเป็น n 1 และ n 2 ดังที่เห็นในภาพ จงใช้หลักการของ Fermat พิสูจน์ให้เห็นจริงว่า ซึ่งสมการข้างต้นนี้ เป็น สมการการหักเหของแสงตามกฏของ Snell นั่นเอง
  • 8. กำหนดให้แสงเดินทางผ่านจุด ACB โดยสมมุติว่าเรายังไม่ทราบแน่ชัดว่า จุด C คือตำแหน่งใดกันแน่ จึงให้เป็นตัวแปรที่เปลี่ยนค่าได้ C (x C ,0) B (x B ,y B ) A (x A ,y A ) ความเร็วของแสงในตัวกลางเท่ากับ ระยะทาง AC เท่ากับ ดังนั้น เวลาที่แสงใช้ในการเดินทางในระยะ AC เท่ากับ ในระยะ CB เท่ากับ ซึ่งรวมเป็นเวลาทั้งหมด จะเห็นว่าเวลาที่แสงเดินทางนั้น ขึ้นอยู่กับค่า x c ซึ่งตามหลักของ Fermat แล้ว แสงจะเลือกเดินทางโดยใช้เวลาน้อยที่สุด กล่าวคือ
  • 9. C (x C ,0) B (x B ,y B ) A (x A ,y A ) จะได้ว่า กฏการหักเหแสง Snell เมื่อ และ คือ ดัชนีการหักเหของแสงในตัวกลาง คือ มุมตกกระทบ คือ มุมสะท้อน
  • 10. 2.1 – การเคลื่อนที่ของวัตถุ ตามแนวคิดของ Hamilton ในการศึกษาการเคลื่อนที่ของวัตถุใดๆนั้น Hamilton ตีพิมพ์ผลงาน 2 ฉบับในปี 1834 และ 1835 ซึ่งต่อมาภายหลังเป็นพื้นฐานของทฤษฏีในทางกลศาสตร์อีกหลายสาขา โดยมีใจความว่า การที่วัตถุจะเคลื่อนที่จากจุด A ไปยังจุด B นั้น มันจะเลือกเส้นทางที่ มีค่าน้อยที่สุด อันจะได้ขยายความดังต่อไปนี้ 1) เมื่อวัตถุมีการเคลื่อนที่ ก็ย่อมจะมี พิกัด และความเร็ว ที่เปลี่ยนแปลงตามเวลา 2) ในขณะที่เคลื่อนไหว วัตถุมีพลังงานจลย์ ซึ่งขึ้นอยู่กับความเร็ว 3) ถ้าวัตถุอยู่ท่ามกลางสนาม เช่น สนามโน้มถ่วงของโลก สนามไฟฟ้า มันก็ย่อมมีพลังงานศักย์ 4) ให้คำนิยามของผลต่างระหว่างพลังงานจลย์และพลังงานศักย์เป็น 5) ถึงแม้ว่าการเคลื่อนที่จาก A ณ เวลา t 1 ไปยัง B ณ เวลา t 2 จะเป็นไปได้หลายเส้นทาง เส้นทางที่แท้จริงนั้นจะมีค่า น้อยที่สุดเสมอ A B ยกตัวอย่าง
  • 11. ตัวอย่าง การเคลื่อนที่ของวัตถุในสนามแรงโน้มถ่วง บนพื้นผิวโลก A B พลังงานจลย์ พลังงานศักย์ -4162 Js 5 Js 1584 Js -2995 Js
  • 12. 2.2 – คณิตศาสตร์เกี่ยวกับ Euler’s Equation สมมุติว่าเรามีค่าของ J ซึ่งอยู่ในรูปของ Integral โดยที่ เป็นฟังชันส์ใดๆ ถ้าเราต้องการจะหา ที่ทำให้ J มีค่าต่ำที่สุด จะทำอย่างไร ? Euler ค้นพบวิธีเป็นครั้งแรกเมื่อปี 1774 โดยกล่าวว่า ที่ทำให้ J มีค่าต่ำที่สุดนั้น เป็นคำตอบของ สมการ
  • 13. ตัวอย่าง จงหาเส้นทางที่สั้นที่สุด ระหว่างจุดสองจุด โดยใช้สมการของ Euler y x A (x 1 ,y 1 ) B (x 2 ,y 2 ) y(x) 1) กำหนดให้ y(x) เป็นสมการของเส้นทางที่เชื่อมระหว่าง จุด A และ จุด B 2) ดังนั้น ระยะทางทั้งหมดในการเคลื่อนที่เท่ากับ 3) เมื่อเปรียบเทียบกับสมการของ Euler จะได้ว่า 4) จึงสร้างสมการของ Euler ได้ดังนี้ ค่าคงที่
  • 14. ( ค่าคงที่ ใดๆ ) เส้นทางที่สั้นที่สุด ระหว่างจุดสองจุด คือเส้นตรง การบ้าน (1.3) จงหาเส้นทางที่สั้นที่สุด ระหว่างจุดสองจุด ในสามมิติ ค่าคงที่ หรืออีกนัยหนึ่ง
  • 15. 2.2 – คณิตศาสตร์เกี่ยวกับ Euler’s Equation แบบมีเงื่อนไข ในบางครั้ง การที่จะหาจุดสูงสุง หรือต่ำสุดของฟังชันส์ ก็มีสมการของเงื่อนไข เข้ามาเกี่ยวข้อง 0) วาดรูปให้สวยงาม และ เลือกพิกัดที่เหมาะสม ข้อจำกัด : ความยาวรอบรูป 2 เมตร ฟังชันส์ที่ต้องการ Optimize : พื้นที่ ยกตัวอย่าง มีเชือกยาว 2 เมตร จะขดให้เป็นวงรูปทรงใด จึงจะได้พื้นที่สูงที่สุด (r,  ) Polar Coordinate r=r(  ) (x,y) Cartesian y=y(x) r  ในกรณีของรูปทรงข้างต้น
  • 16. 2) สร้างสมการเงื่อนไข 2) กำหนดให้สมการเงื่อนไข (Constraint Equations) กรณีตัวอย่าง กรณีใดๆ ในภาษาแบบ Euler-Lagrange 1) กำหนดสิ่งที่ต้องการ Optimize Lagrange เผยแพร่วิธีการแก้เมื่อปี 1788 (44 ปีหลังจากสมการของ Euler ในข้างต้น ) 3) สร้างระบบของ Lagrange undetermined multiplier และแก้สมการ เรียกว่า Lagrange undetermined multiplier ซึ่งเป็นค่าคงที่
  • 17. 4) ตระเตรียมความพร้อมของเทอมต่างๆ 5) จากนั้นอ้างถึงสมการของ Lagrange Undetermined Multiplier Equation แล้วสร้างสมการของระบบที่กำลังศึกษาอยู่ 6) ลุย ! ( โดยใช้ทักษะทางคณิตศาสตร์ )
  • 18. ซึ่งเป็นสมการของวงกลม ที่มีรัศมีเท่ากับ จึงจะเป็นรูปที่มีพื้นที่มากที่สุด จากสมการ Euler-Lagrange ลดรูปให้ง่ายขึ้น Equ(1) Equ(2) แทนค่าของ ในสมการที่ (1) เข้าไปในสมการที่ (2) แทนค่าของ คือเข้าไปในสมการที่ (1)
  • 19. 2.3 – ตัวอย่าง Classic แบบสากล : Catenary Catenary มีรากศัพท์มาจากคำภาษาลาตินว่า “ Catena” ซึ่งแปลว่า โซ่ มีที่มาจากการศึกษาลักษณะความโค้งของโซ่ ที่ปลายทั้งสองข้างขึงอยู่ในระดับเดียวกัน Galileo claims ( ขี้เดา ) ว่าโซ่จะห้อยเป็นรูป Parabola ปี 1969 - Jungius พิสูจน์ให้เห็นจริงว่าไม่ใช่ Parabola แต่ทว่ารูปทรงจริงจะเป็นอย่างไรนั้น ไม่ทราบ ปี 1971 - Robert Hook ประกาศอย่างเป็นทางการว่าต่อราชวงศ์อังกฤษว่า สามารถออกแบบรูปทรงของโดม ที่มีความแข็งแรงที่สุด แต่ไม่บอกวิธีการทำ ( ปล่อยให้งง ) ปี 1691 - Jacob Bernoulli ถ้าลูกศิษย์ตัวเองให้แก้โจทย์ข้อนี้ - Leibneiz, Huygens, และ Johann Bernoulli แก้สมการรูปทรงของโซ่ได้สำเหร็จ
  • 20. เกล็ดความรู้ แผนผังครอบครัวของ ตระกูล Bernoulli
  • 21. 2) สร้างสมการเงื่อนไข 1) กำหนดสิ่งที่ต้องการ Optimize x y (+a,0) (-a,0) y(x) คืออะไร ? ข้อสอบ Final จงพิสูจน์ว่า ลักษณะของเส้นโค้ง อยู่ในรูปของ Hyperbolic Cosine กล่าวคือ วิธีการทำดังจะได้ขยายความ ดังต่อไปนี้
  • 22. ลักษณะความโค้งแบบ Catenary เป็นความโค้งของโดมที่ให้ความแข็งแรงสูงที่สุด ข้อสอบ Final รวมกลุ่ม กลุ่มละไม่เกิน 6 คน สร้าง The Arc of Catenary ความสูงอย่างน้อย 1 เมตร ทำจากกระดาษแข็ง งบประมาณเบิกได้ The Gateway ณ เมือง St.Louis สะพาน แบบ Catenary
  • 23. 2.4 – สมการการเคลื่อนที่ของ Lagrange ตามหลักการของ Hamilton วัตถุจะเคลื่อนที่ตาม เส้นทาง ที่ทำให้ มีค่าน้อยที่สุด โดยที่ ก็คือผลต่างของพลังงานศักย์และพลังงานจลย์ หรือ คำถามก็คือว่า แล้วเส้นทางที่ว่านี้ จะหาได้อย่างไร ? คำตอบคือ เราสามารถใช้หลักการของ Euler มาแก้หาจุดต่ำสุดได้ดังต่อไปนี้ ซึ่ง คือสมการข้อจำกัด (equations of constraint) ที่แสดงถึงความสัมพันธ์ระหว่าพิกัดต่างๆ ที่เขียนให้อยุ่ในรูปมาตรฐาน สมการนี้เรียกว่า Lagrange Equation
  • 24. ตัวอย่าง พิจารณาระบบที่มีพิกัดแบบทรงกระบอก ถ้าเรางอลวดเป็นทรงพาราโบล่า ที่มีสมการ จากนั้นนำลูกปัดมวล m ไปเสียบไว้ที่ข้างไดข้างหนึ่ง เส้นลวดจะต้องหมุนด้วยความเร็วเชิงมุม เท่าได้ ลูดปัดจึงจะไม่หล่นลงพื้น แต่อยู่นิ่งกับที่ ? วิธีทำแบบที่ 1 ตัวแปรอิสระคือ r
  • 25. วิธีทำแบบที่ 2 ตัวแปรอิสระคือ r และ z + สมการข้อจำกัด ------- Equation (1) ------- Equation (2)
  • 26. 2.4 – ความหมายของ  จากสมการของ Lagrange ในระบบแบบมีข้อจำกัด เราสามารถที่จะตีความได้ว่า ก็คือ Force of Constrain นั่นเอง Force of Constrain แปลว่าแรง ที่มีผลทำให้วัตถุ เคลื่อนที่ตามข้อจำกัดนั้นๆ ตัวอย่าง การเคลื่อนที่ของวัตถุตามแนวราบ กำหนดให้ตัวแปรอิสระเป็น {x,y} จะได้ว่า
  • 27. ตัวอย่าง วัตถุที่เคลื่อนที่บนทรงกลม จงหามุม   ที่วัตถุเริ่มเคลื่อนที่ออกจากพื้นผิว สร้างสมการการเคลื่อนที่ได้ดังนี้ ดังนั้น แรงในแนวรัศมีคือ ซึ่งเท่ากับศูนย์เมื่อ
  • 28. 2.5 – ใช้ กฏของ Hamilton เพื่อ derive หลักการต่างๆ ในทางฟิสิกส์ Derive กฏของนิวตัน Derive กฏการอนุลักษ์พลังงาน Derive กฏการอนุลักษ์โมเมนตัม
  • 29. 2.5 – Generalized Coordinates
  • 30. 2.5 – สมการการเคลื่อนที่ ในรูปแบบของ Hamiltonian