SlideShare a Scribd company logo
1 of 15
นักคณิตศาสตร์ของโลก
ปีทาโกรัส  :  Pythagoras
ผลงาน   -  สร้างสูตรคูณหรือตารางปีทาโกเรียน  ( Pythagorean Table ) -  ทฤษฎีบทเรขาคณิตที่ว่า  " ในรูปสามเหลี่ยมมุมฉากใด ๆ กำลังสองของความยาวของด้านตรงข้ามมุมฉาก เท่ากับผลบวกของกำลังสองของความยาวของด้านประกอบมุมฉาก " -  สมบัติของแสง และการมองวัตถุ -  สมบัติของเสียง
อาร์คิมีดีส  :  Archimedes
ผลงาน       -  กฎของอาร์คิมีดีส  ( Archimedes Principle )  ที่กล่าวว่า  " ปริมาตรของวัตถุส่วนที่จมลงในน้ำย่อมเท่ากับปริมาตร                 ของน้ำที่ถูกแทนที่ด้วยวัตถุ "  ซึ่งกฎข้อนี้ได้นำไปใช้ประโยชน์ในการหาความถ่วงจำเพาะของวัตถุ               -  ประดิษฐ์เครื่องทุ่นแรง ได้แก่ คานดีดคานงัด รอก ระหัดวิดน้ำ และล้อกับเพลา               -  อาวุธสงคราม ได้แก่ เครื่องเหวี่ยงหิน กระจกเว้ารวมแสง และเครื่องปล่อยท่อนไม้
ยูคลิด  :  ( Euclid)
ผลงาน   -  ของยูคลิดเป็นที่ยอมรับอย่างกว้างขวางมาก และกล่าวกันว่าผลงาน  The Elements  เป็นผลงานที่ต่อเนื่อง และดำเนินมาก่อนแล้วในเรื่องผลงานของนักคณิตศาสตร์ยุคก่อน เช่น ทาลีส  ( Thales ) ,  ฮิปโปเครตีส  ( Hippocrates )  และพีธากอรัส อย่างไรก็ตาม หลายผลงานที่มีในหนังสือนี้เป็นที่เชื่อกันว่าเป็นบทพิสูจน์และผลงานของยูคลิดเอง ผลงานของยูคลิดที่ได้รับการนำมาจัดทำใหม่ และตีพิมพ์เผยแพร่ครั้งแรกในปี ค . ศ .  1482   หลังจากนั้นมีผู้นำมาตีพิมพ์อีกมากมายนับจำนวนครั้งไม่ถ้วน    
เซอร์ไอแซค นิวตัน
ผลงาน   -  มีกฎเกณท์ของการโคจรสาม ข้อดังนี้    1 .  กฎแห่งวงรี กล่าวว่า ดาวเคราะห์โคจรรอบดวงอาทิตย์เป็นวงรี โดยมีดวงอาทิตย์อยู่ที่ตำแหน่งของจุดโฟกัสหนึ่ง    2 .  กฎแห่งพื้นที่ กล่าวว่า    เมื่อดาวเคราะห์โคจรในรอบดวงอาทิตย์ เส้นรัศมีที่ลากจากดวงอาทิตย์ไปยังดาวเคราะห์จะกวาดพื้นที่เป็นสัดส่วนโดยตรงกับระยะทางที่ดาวเคราะห์โคจรรอบดวงอาทิตย์    3 .  กฎฮาร์โมนิก กล่าวว่า กำลังสองของเวลาที่ใช้ในการโคจรของดาวเคราะห์รอบหนึ่ง เป็นสัดส่วนตรงกับกำลังสามของระยะทางเฉลี่ยจากดวงอาทิตย์ถึงดาวเคราะห์นั้น 
เธลีส
ผลงาน   -  ที่กล่าวอ้างถึงเธลีส คือ  ทฤษฎีบทเกี่ยวกับเรขาคณิต    5    ทฤษฎี    คือ 1. วงกลมใด ๆ ถูกแบ่งออกเป็นสองส่วนเท่า ๆ กันโดยเส้นผ่านศูนย์กลาง 2. มุมที่ฐานของสามเหลี่ยมหน้าจั่วมีค่าเท่ากัน 3. เส้นตรงสองเส้นตัดกัน มุมตรงข้ามที่เกิดขึ้นย่อมเท่ากัน 4. สามเหลี่ยมสองรูป ถ้ามีมุมเท่ากันสองมุม และด้านเท่ากันหนึ่งด้าน สามเหลี่ยมทั้งสองคล้ายกัน 5. มุมภายในครึ่งวงกลมเป็นมุมฉาก
ปีแอร์ เดอ แฟร์มาต์
    ผลงาน   คิดค้นทางคณิตศาสตร์ของแฟร์มาต์ที่น่าสนใจและเป็นรากฐานในวิชา  แคลคูลัสต่อมา คือ  Method for determining Maxima and Minima and Tangents of Curved Lines   ผลงานคิดค้นส่วนนี้ทำให้สามารถคำนวณหา  จุดสูงสุดต่ำสุด   และเส้นสัมผัสของรูปกราฟ   ความสัมพันธ์แบบต่าง ๆ      แฟร์มาต์ยังคงเขียนหนังสือเกี่ยวกับเรขาคณิตแบบใหม่นี้    โดยเน้นการวิเคราะห์พื้นผิว และรูปทรงต่าง ๆ    โดยให้ชื่อหนังสือว่า  Introduction to Plane and Solid Loci              งานที่มีชื่อเสียงและเป็นที่กล่าวถึงของนักคณิตศาสตร์และชนรุ่นหลังอย่างมาก คือ แฟร์มาต์ได้เสนอทฤษฎีที่เรียกว่า  ทฤษฎีบทสุดท้ายของแฟร์มาต์
ปาสคาล
ผลงาน วิจัยในบทความที่เขานำเสนอ ได้แก่  " Essay on Conic Sections "  ซึ่งเป็นเรื่องราวเกี่ยวกับรูปตัดกรวย    ที่แสดงการวิเคราะห์เชิงเรขาคณิตและคณิตศาสตร์ที่เกี่ยวข้อง  ต่อมาปาสคาลได้มีโอกาสศึกษาวิชาคณิตศาสตร์ชั้นสูงขึ้นกับ  แฟร์มาต์  โดยเฉพาะอย่างยิ่งเรื่องรากฐานแคลคูลัส และทฤษฎีความน่าจะเป็น          ผลงานอย่างหนึ่งที่เรารู้จักกันดีคือ  สามเหลี่ยมปาสคาล  ซึ่งเป็นตัวเลขที่จัดทรงเป็นรูปสามเหลี่ยม ซึ่งในชีวิตประจำวันของเราเกี่ยวข้องกับตัวเลขเหล่านี้อยู่มาก

More Related Content

Similar to นักคณิตศาสตร์

กฎของ Hamilton และ Lagrange’s Equations
กฎของ Hamilton และ Lagrange’s Equationsกฎของ Hamilton และ Lagrange’s Equations
กฎของ Hamilton และ Lagrange’s EquationsThepsatri Rajabhat University
 
ประวัตินักคณิตศาสตร์
ประวัตินักคณิตศาสตร์ประวัตินักคณิตศาสตร์
ประวัตินักคณิตศาสตร์guesta3302b1
 
การเคลื่อนที่แบบหมุน
การเคลื่อนที่แบบหมุนการเคลื่อนที่แบบหมุน
การเคลื่อนที่แบบหมุนpumarin20012
 
บทที่ 7 ระบบสุริยะ
บทที่ 7 ระบบสุริยะบทที่ 7 ระบบสุริยะ
บทที่ 7 ระบบสุริยะTa Lattapol
 
ระบบสุริยะ
ระบบสุริยะระบบสุริยะ
ระบบสุริยะkalita123
 
ระบบสุริยะ2
ระบบสุริยะ2ระบบสุริยะ2
ระบบสุริยะ2kominoni09092518
 
ระบบสุริยะ
ระบบสุริยะระบบสุริยะ
ระบบสุริยะratchaneeseangkla
 
ฟิสิกสืยุคใหม่และทฤษฎีควอนตัม
ฟิสิกสืยุคใหม่และทฤษฎีควอนตัมฟิสิกสืยุคใหม่และทฤษฎีควอนตัม
ฟิสิกสืยุคใหม่และทฤษฎีควอนตัมสุริยะ ไฝชัยภูมิ
 
บทที่ 9 ดาราศาสตร์ปฏิบัติเบื้องต้น Full Version
บทที่ 9 ดาราศาสตร์ปฏิบัติเบื้องต้น Full Versionบทที่ 9 ดาราศาสตร์ปฏิบัติเบื้องต้น Full Version
บทที่ 9 ดาราศาสตร์ปฏิบัติเบื้องต้น Full VersionChattichai
 
ดาวเทียม(ภูริณัฐ+ปุญญิศา)403
ดาวเทียม(ภูริณัฐ+ปุญญิศา)403ดาวเทียม(ภูริณัฐ+ปุญญิศา)403
ดาวเทียม(ภูริณัฐ+ปุญญิศา)403Purinut Wongmaneeroj
 

Similar to นักคณิตศาสตร์ (16)

Basic m3-1-chapter1
Basic m3-1-chapter1Basic m3-1-chapter1
Basic m3-1-chapter1
 
กฎของ Hamilton และ Lagrange’s Equations
กฎของ Hamilton และ Lagrange’s Equationsกฎของ Hamilton และ Lagrange’s Equations
กฎของ Hamilton และ Lagrange’s Equations
 
ระบบสุริยะ
ระบบสุริยะระบบสุริยะ
ระบบสุริยะ
 
ประวัตินักคณิตศาสตร์
ประวัตินักคณิตศาสตร์ประวัตินักคณิตศาสตร์
ประวัตินักคณิตศาสตร์
 
การเคลื่อนที่แบบหมุน
การเคลื่อนที่แบบหมุนการเคลื่อนที่แบบหมุน
การเคลื่อนที่แบบหมุน
 
บทที่ 7 ระบบสุริยะ
บทที่ 7 ระบบสุริยะบทที่ 7 ระบบสุริยะ
บทที่ 7 ระบบสุริยะ
 
ระบบสุริยะ
ระบบสุริยะระบบสุริยะ
ระบบสุริยะ
 
ระบบสุริยะ
ระบบสุริยะระบบสุริยะ
ระบบสุริยะ
 
ระบบสุริยะ2
ระบบสุริยะ2ระบบสุริยะ2
ระบบสุริยะ2
 
ระบบสุริยะ
ระบบสุริยะระบบสุริยะ
ระบบสุริยะ
 
Lecture lagrange[1]
Lecture lagrange[1]Lecture lagrange[1]
Lecture lagrange[1]
 
ฟิสิกสืยุคใหม่และทฤษฎีควอนตัม
ฟิสิกสืยุคใหม่และทฤษฎีควอนตัมฟิสิกสืยุคใหม่และทฤษฎีควอนตัม
ฟิสิกสืยุคใหม่และทฤษฎีควอนตัม
 
โหลดPdf
โหลดPdfโหลดPdf
โหลดPdf
 
Contentastrounit2
Contentastrounit2Contentastrounit2
Contentastrounit2
 
บทที่ 9 ดาราศาสตร์ปฏิบัติเบื้องต้น Full Version
บทที่ 9 ดาราศาสตร์ปฏิบัติเบื้องต้น Full Versionบทที่ 9 ดาราศาสตร์ปฏิบัติเบื้องต้น Full Version
บทที่ 9 ดาราศาสตร์ปฏิบัติเบื้องต้น Full Version
 
ดาวเทียม(ภูริณัฐ+ปุญญิศา)403
ดาวเทียม(ภูริณัฐ+ปุญญิศา)403ดาวเทียม(ภูริณัฐ+ปุญญิศา)403
ดาวเทียม(ภูริณัฐ+ปุญญิศา)403
 

นักคณิตศาสตร์

  • 3. ผลงาน - สร้างสูตรคูณหรือตารางปีทาโกเรียน ( Pythagorean Table ) - ทฤษฎีบทเรขาคณิตที่ว่า " ในรูปสามเหลี่ยมมุมฉากใด ๆ กำลังสองของความยาวของด้านตรงข้ามมุมฉาก เท่ากับผลบวกของกำลังสองของความยาวของด้านประกอบมุมฉาก " - สมบัติของแสง และการมองวัตถุ - สมบัติของเสียง
  • 5. ผลงาน     - กฎของอาร์คิมีดีส ( Archimedes Principle ) ที่กล่าวว่า " ปริมาตรของวัตถุส่วนที่จมลงในน้ำย่อมเท่ากับปริมาตร                 ของน้ำที่ถูกแทนที่ด้วยวัตถุ " ซึ่งกฎข้อนี้ได้นำไปใช้ประโยชน์ในการหาความถ่วงจำเพาะของวัตถุ               - ประดิษฐ์เครื่องทุ่นแรง ได้แก่ คานดีดคานงัด รอก ระหัดวิดน้ำ และล้อกับเพลา               - อาวุธสงคราม ได้แก่ เครื่องเหวี่ยงหิน กระจกเว้ารวมแสง และเครื่องปล่อยท่อนไม้
  • 7. ผลงาน - ของยูคลิดเป็นที่ยอมรับอย่างกว้างขวางมาก และกล่าวกันว่าผลงาน The Elements เป็นผลงานที่ต่อเนื่อง และดำเนินมาก่อนแล้วในเรื่องผลงานของนักคณิตศาสตร์ยุคก่อน เช่น ทาลีส ( Thales ) , ฮิปโปเครตีส ( Hippocrates ) และพีธากอรัส อย่างไรก็ตาม หลายผลงานที่มีในหนังสือนี้เป็นที่เชื่อกันว่าเป็นบทพิสูจน์และผลงานของยูคลิดเอง ผลงานของยูคลิดที่ได้รับการนำมาจัดทำใหม่ และตีพิมพ์เผยแพร่ครั้งแรกในปี ค . ศ . 1482 หลังจากนั้นมีผู้นำมาตีพิมพ์อีกมากมายนับจำนวนครั้งไม่ถ้วน    
  • 9. ผลงาน - มีกฎเกณท์ของการโคจรสาม ข้อดังนี้  1 . กฎแห่งวงรี กล่าวว่า ดาวเคราะห์โคจรรอบดวงอาทิตย์เป็นวงรี โดยมีดวงอาทิตย์อยู่ที่ตำแหน่งของจุดโฟกัสหนึ่ง  2 . กฎแห่งพื้นที่ กล่าวว่า   เมื่อดาวเคราะห์โคจรในรอบดวงอาทิตย์ เส้นรัศมีที่ลากจากดวงอาทิตย์ไปยังดาวเคราะห์จะกวาดพื้นที่เป็นสัดส่วนโดยตรงกับระยะทางที่ดาวเคราะห์โคจรรอบดวงอาทิตย์  3 . กฎฮาร์โมนิก กล่าวว่า กำลังสองของเวลาที่ใช้ในการโคจรของดาวเคราะห์รอบหนึ่ง เป็นสัดส่วนตรงกับกำลังสามของระยะทางเฉลี่ยจากดวงอาทิตย์ถึงดาวเคราะห์นั้น 
  • 11. ผลงาน - ที่กล่าวอ้างถึงเธลีส คือ  ทฤษฎีบทเกี่ยวกับเรขาคณิต   5   ทฤษฎี    คือ 1. วงกลมใด ๆ ถูกแบ่งออกเป็นสองส่วนเท่า ๆ กันโดยเส้นผ่านศูนย์กลาง 2. มุมที่ฐานของสามเหลี่ยมหน้าจั่วมีค่าเท่ากัน 3. เส้นตรงสองเส้นตัดกัน มุมตรงข้ามที่เกิดขึ้นย่อมเท่ากัน 4. สามเหลี่ยมสองรูป ถ้ามีมุมเท่ากันสองมุม และด้านเท่ากันหนึ่งด้าน สามเหลี่ยมทั้งสองคล้ายกัน 5. มุมภายในครึ่งวงกลมเป็นมุมฉาก
  • 13.   ผลงาน คิดค้นทางคณิตศาสตร์ของแฟร์มาต์ที่น่าสนใจและเป็นรากฐานในวิชา แคลคูลัสต่อมา คือ  Method for determining Maxima and Minima and Tangents of Curved Lines   ผลงานคิดค้นส่วนนี้ทำให้สามารถคำนวณหา จุดสูงสุดต่ำสุด   และเส้นสัมผัสของรูปกราฟ   ความสัมพันธ์แบบต่าง ๆ     แฟร์มาต์ยังคงเขียนหนังสือเกี่ยวกับเรขาคณิตแบบใหม่นี้   โดยเน้นการวิเคราะห์พื้นผิว และรูปทรงต่าง ๆ   โดยให้ชื่อหนังสือว่า  Introduction to Plane and Solid Loci             งานที่มีชื่อเสียงและเป็นที่กล่าวถึงของนักคณิตศาสตร์และชนรุ่นหลังอย่างมาก คือ แฟร์มาต์ได้เสนอทฤษฎีที่เรียกว่า  ทฤษฎีบทสุดท้ายของแฟร์มาต์
  • 15. ผลงาน วิจัยในบทความที่เขานำเสนอ ได้แก่  " Essay on Conic Sections "  ซึ่งเป็นเรื่องราวเกี่ยวกับรูปตัดกรวย   ที่แสดงการวิเคราะห์เชิงเรขาคณิตและคณิตศาสตร์ที่เกี่ยวข้อง ต่อมาปาสคาลได้มีโอกาสศึกษาวิชาคณิตศาสตร์ชั้นสูงขึ้นกับ แฟร์มาต์  โดยเฉพาะอย่างยิ่งเรื่องรากฐานแคลคูลัส และทฤษฎีความน่าจะเป็น          ผลงานอย่างหนึ่งที่เรารู้จักกันดีคือ  สามเหลี่ยมปาสคาล  ซึ่งเป็นตัวเลขที่จัดทรงเป็นรูปสามเหลี่ยม ซึ่งในชีวิตประจำวันของเราเกี่ยวข้องกับตัวเลขเหล่านี้อยู่มาก