SlideShare a Scribd company logo
1 of 7
การปลูก Jerusalem Artichoke (แก่น ตะวัน )บนพืน ทีส ูง ณ
้ ่
สถานีว ิจ ัย เพชรบูร ณ์
The Cultivation of Jerusalem Artichoke Plant on
Highland Area at
Petchabun Research Station
Jerusalem Artichoke (Helianthus tuberosus) หรือ Sunchoke ชื่อที่เรียก
เป็นภาษาไทย เรียกว่า แห้วบัวตอง (สุรพงษ์, 2539) เนื่องจากเป็นพืช
ตระกูลเดียวกับทานตะวัน และมีดอกสีเหลืองคล้ายดอกบัวตอง แต่มีขนาด
เล็ก มีหว (tuber) รูปร่างคล้ายขิงอวบ เปลือกเป็นผิวสีนำ้าตาลอ่อน เนื้อในสี
ั
ขาว และกรอบคล้ายแห้วเมื่อดิบ มีถิ่นกำาเนิดแถบทวีปอเมริกาเหนือ และได้มี
การนำามาปลูกในแถบทวีปยุโรปอย่างแพร่หลาย ในเขตหนาว เขตกึ่งหนาว
และเขตร้อน เช่น ในประเทศอินเดีย ต่อมา รศ.ดร.สนั่น จอกลอย ได้นำาพืช
Jerusalem Artichoke ไปศึกษาวิจัยที่มหาวิทยาลัยขอนแก่นและมีการตั้ง
ชื่อภาษาไทยขึ้นมาใหม่อีกครั้งเนื่องจากเหตุผลการที่มีถิ่นกำาเนิดในเขต
หนาวเย็น แต่ปลูกในแถบร้อนได้ดี มีความสามารถปรับตัวได้ดีกับสภาพภูมิ
อากาศที่แตกต่างกันมาก มีความแข็งแกร่งทนทาน จึงให้ชื่อนำาหน้าพืชนี้ว่า
“แก่น” และเป็นพืชที่ใกล้ชิดกับทานตะวัน จึงให้ชื่อพืชชนิดใหม่นี้ว่า “แก่น
ตะวัน” พืชนี้จัดเป็นพืชหัว พืชอาหารเพื่อสุขภาพ พืชสมุนไพรสัตว์ พืช
พลังงานทดแทน และพืชเพื่อการท่องเที่ยว (สนั่น,2549) สำาหรับ
ประเทศไทยได้มีการนำามาปลูกบนสถานีเกษตรหลวงปางดะ มูลนิธิโครงการ
หลวง จ.เชียงใหม่ จะเห็นได้ว่าเป็นพืชที่ให้ผลผลิตสูง และมีต้นทุนในการ
ปลูกและการดูแลรักษาน้อย แม้ในบางพื้นที่มีความอุดมสมบูรณ์ของดินตำ่า
นอกจากนั้นยังสามารถนำาหัวมาปลูกเป็นเป็นแปลงไม้ดอกประดับ เพื่อเป็น
ที่พักผ่อนหย่อนใจ (สุพจน์, 2540) หัวที่ได้เมื่อต้นแก่แล้วสามารถนำาหัวมา
ใช้ประโยชน์ในการเป็นอาหารของคนเราได้หลายอย่าง เนื่องจากในหัว
ของ Jerusalem Artichoke อุดมไปด้วยไวตามินบี เหล็ก และแคลเซียมสูง
ซึ่งถือได้ว่าเป็นอาหารเสริมสุขภาพได้ชนิดหนึ่ง (ประภาส, 2543) หัว พืช
ชนิด นี้ม ีค าร์โ บไฮเดรตซึ่ง ส่ว นใหญ่จ ะอยู่ใ นรูป inulin
โดยเป็น polymer ของ fructose จึง มีป ระโยชน์ต ่อ ผู้ป ่ว ยที่
เป็น โรคเบาหวาน ในประเทศสหรัฐอเมริกา ได้นำาหัวพืชชนิดนี้มาบริ
โภค (Anonymous, 1984) นอกจากนี้ในหัวยังสามารถนำาไปใช้เป็น
วัตถุดิบในการผลิต inulin ซึ่งจะพบในหัวพืชชนิดนี้มากถึง 16-39
เปอร์เซ็นต์ (suzuki, 1993) โดย inulin จะใช้เป็นวัตถุดิบในการผลิตนำ้า
เชื่อมฟรุคโตสเข้มข้น (Fructose syrup) (Kosaric และคณะ, 1984
Stauffer และคณะ, 1975) เพื่อใช้เป็นสารให้ความหวานในอุตสาหกรรม
อาหาร เนื่องจากในหัวของ Jerusalem Artichoke มีคาร์โบไฮเดรตซึ่งส่วน
ใหญ่จะอยู่ในรูป inulin โดยเป็น polymer ของ fructose จึงมีประโยชน์ต่อ
ผู้ป่วยที่เป็นโรคเบาหวาน และยังพบว่า การเสริมสารสกัดของพืชชนิดนี้ใน
อาหารสัตว์ เช่น สุกร, สุนัข จะช่วยลดปริมาณแอมโมเนียในระบบทางเดิน
อาหารและในสิ่งขับถ่าย ทำาให้ลดปริมาณสารที่ทำาให้เกิดกลิ่นเหม็นในสิ่ง
ขับถ่าย

กล่าวได้ว่าพืช Jerusalem Artichoke เป็นพืชที่มีการปลูกกันอย่างแพร่
หลาย และได้รับความสนใจกันมาก สำาหรับในประเทศไทยพืชนี้มีการปรับ
ตัวได้ดี และให้ผลผลิตหัวสดสูง แม้จะเป็นพืชใหม่ในบ้านเรา ถ้าได้รับการ
พัฒนาศึกษาวิจัยให้ทราบถึงศักยภาพของพืชชนิดนี้ เนื่องจากมีประโยชน์
มากมายทั้งเป็นวัตถุดิบในด้านอาหารเสริมสุขภาพของคน ด้านอุตสาหกรรม
อาหารและใช้แปรรูปใช้ในทางปศุสัตว์เพื่อลดปริมาณสารที่ทำาให้เกิดกลิ่น
เหม็นในสิ่งขับถ่ายของสัตว์ เช่น สุกร ไก่ สุนัข ซึ่งจะเป็นประโยชน์ต่อ
สังคมและชุมชนตลอดจน จะเป็นการช่วยสิ่งแวดล้อมให้ดีขึ้น จึงเป็นพืชที่
น่าจะได้มีการพัฒนาศึกษาวิจัย ให้ทราบถึงศักยภาพของพืชชนิดนี้ เพื่อ
พัฒนาและสร้างเทคโนโลยีของการนำาเอาพืชนี้ไปใช้ประโยชน์ในด้านต่าง
ๆ ที่ได้กล่าวมาแล้วในข้างต้นนี้ให้บรรลุตามวัตถุประสงค์ที่วางไว้ จะเห็น
ประโยชน์ของพืชชนิดนี้มีคุณค่าสูงในการพัฒนา หากแต่เดิมพืชชนิดนี้ได้
มีการพัฒนาการวิจัยและการปลูกในระยะแรกจากมหาวิทยาลัย
เกษตรศาสตร์แต่ไม่ได้รับการสนับสนุนงานวิจัยอย่างต่อเนื่องเมื่อปี 2543
เมื่อได้รับการสนับสนุนงบประมาณในปี 2551 โดยมีวัตถุประสงค์ของ
โครงการวิจัยเพื่อศึกษาพันธุ์ของ Jerusalem Artichoke (Helianthus
tuberosus) ที่เหมาะสมในพื้นที่สูงของประเทศไทยจำานวน 16 สายพันธุ์หรือ
ตำารับทดลอง (treatment) ได้แก่ ตำารับที่ 1 ตำารับใช้เปรียบเทียบ JA 1
(control) ตำารับที่ 2 ตำารับใช้เปรียบเทียบ JA 2 (control) ตำารับที่ 3 JA
37 , ตำารับที่ 4 JA 38, ตำารับที่ 5 JA 67, ตำารับที่ 6 JA 102, ตำารับที่ 7
Hel 53 , ตำารับที่ 8 Hel 61, ตำารับที่ 9 Hel 62, ตำารับที่ 10 Hel 66, ตำารับที่
11 Hel ,68 ตำารับที่ 12, Hel 69 ,ตำารับที่13 Hel 231, ตำารับที่ 14 Hel
335, ตำารับที่ 15 CN 52867,ตำารับที่ 16 Kku.AC โดยการสุ่มตลอด
การปลูก Jerusalem Artichoke บนพื้นที่สูง ณ สถานีวิจัย
เพชรบูรณ์ในการปลูกทดสอบผลผลิตในปีที่ 1 แปลงทดลองที่ปลูกในช่วง
ฤดูฝน ซึ่งมีเนื้อดินเป็นดินร่วนปนทราย ทำาการทดลองที่สถานีวิจัย
เพชรบูรณ์ แปลงทดลองบ้านห้วยนำ้าขาว มีความสูง 900 เมตรจากระดับนำ้า
ทะเล ตำาบลเข็กน้อย อำาเภอเขาค้อ จังหวัดเพชรบูรณ์ ซึ่งทำาการปลูกเมื่อวัน
ที่ 17 พฤษภาคม 2551 พันธุ์ Jerusalem Artichoke จำานวน 16 พันธุ์
พบว่าผลผลิตหัวสด จำานวนหัวเฉลี่ยต่อต้น ขนาดหัวใหญ่พิเศษ ขนาดหัว
ใหญ่ต่อต้น ขนาดหัวขนาดกลางต่อต้นเฉลี่ย ทั้ง 16 พันธุ์มีความแตกต่างกัน
ทางสถิติ พบว่าในพันธุ์ JA 102 ให้ผลผลิตหัวสดเฉลี่ยสูงสุดคือ 10,476
กิโลกรัมต่อไร่ ใกล้เคียงกับพันธุ์ Hel66 ,Hel231 ,Hel53 ( 10,464,
8,358, 8,320 กิโลกรัมต่อไร่ตามลำาดับ ) โดยมีจำานวนหัวเฉลี่ยต่อต้นทุก
สายพันธุ์พบว่ามีประมาณ 22.7 หัวต่อต้น โดยที่พันธุ์ JA21 มีจำานวนหัว
เฉลี่ยต่อต้นตำ่าสุดเพียง 2.8 หัวต่อต้น

ขนาดหัวใหญ่พิเศษมีนำ้า

หนักต่อหัวประมาณ 36-100 กรัมต่อต้น พบว่าทุกพันธุ์มีขนาดหัวใหญ่
พิเศษเฉลี่ย 9.4 หัว โดยพันธุ์Hel53 มีนำ้าหนักขนาดหัวใหญ่พิเศษเฉลี่ย
สูงสุดคือ 15.8 หัว และจำานวนหัวใหญ่ต่อต้นเฉลี่ยของ Jerusalem
Artichoke ทั้ง 16 พันธุ์มีหัวใหญ่ต่อต้นเฉลี่ยประมาณ 4.5 หัวต่อต้นซึ่งหัว
ขนาดใหญ่จะมีนำ้าหนักต่อหัวประมาณ 26-35 กรัมและพบว่าพันธุ์ JA102 มี
หัวขนาดใหญ่ต่อต้นเฉลี่ยสูงสุดคือ 6.0 หัวและมีหวขนาดกลางเฉลี่ย
ั
ประมาณ 4.6 หัวต่อต้นโดยมีนำ้าหนักต่อหัวประมาณ 16-25 กรัมซึ่งพันธุ์
JA67 มีหัวขนาดกลางเฉลี่ยสูงสุดต่อต้นคือ 6.7 หัว

การนำา มาใช้ป ระโยชน์
ใช้เป็นอาหารประเภทหลักผัก หัวสดมีรสชาติคล้ายแห้ว นำามา
ประกอบอาหารคาว หวาน ได้หลายชนิด หัวเป็นแหล่งสะสมของอินนูลิน
(inulin) ซึ่งประกอบด้วยนำ้าตาลฟลุ๊กโต้สทีต่อกันเป็นโมเลกุลยาว เมื่อเก็บหัว
แก่นตะวันไว้ในห้องเย็นจะทำาให้หัวแก่นตะวันมีความหวานมากขึ้น

“อิน

นูลิน” มีคุณสมบัติช่วยเจริญอาหาร กระตุ้นการหลั่งของนำ้าดี ขับปัสสาวะ ลด
ความเสี่ยงของการเป็นโรคเบาหวาน ลดไขมันในเลือด ลดความเสี่ยงเป็น
โรคความดันโลหิตสูง โรคหลอดเลือดและโรคหัวใจ สร้างภูมิคุ้มกันโรค อิน
นูลิน เป็นสารเยื่อไยอาหาร ไม่ถูกย่อยในกระเพาะ และลำาไส้เล็ก จึงอยู่ใน
ระบบทางเดินอาหารเป็นเวลานาน ทำาให้ไม่มีความรู้สึกหิว กินอาหารได้
น้อยลงจึงช่วยลดความอ้วนได้ จึงนับว่าเป็นพืชอาหารเพื่อสุขภาพ

หัว ใช้เสริมในอาหารสัตว์ มีผลต่อการเจริญเติบโต ลดจุลินทรีย์ที่
เป็นโทษในระบบทางเดินอาหาร สร้างภูมิคุ้มกัน ทำาให้ลดการใช้สาร
ปฏิชีวนะและมูลสัตว์มีกลิ่นเหม็นน้อยลง จึงถูกนำามาใช้เป็นสมุนไพรในสัตว์
หัวใช้เป็นวัตถุดิบในการผลิตแอลกอฮอล์ ผลผลิตหัวสด 1 ตัน
สามารถผลิต เอทานอลได้ 80-100 ลิตร นำาไปผสมเบนซิน เพื่อผลิตแก๊ซโซ
ฮอล์ จึงจัดเป็นพืชพลังงานทดแทน
แก่นตะวันจะมีดอกบานเมื่ออายุประมาณ 60 วัน และทั้งแปลงปลูก
จะมีต้นออกดอกประมาณ 2 เดือน ดอกมีสีเหลืองคล้ายบัวตอง มีความ
สวยงามไม่แพ้ทุ่งบัวตอง หรือทุ่งทานตะวันเลยทีเดียว จึงนับได้ว่าเป็นพืช
เพื่อการท่องเที่ยวได้อีกชนิดหนึ่ง

ลัก ษณะทางพฤกษศาสตร์
แก่นตะวันเป็นพืชล้มลุก เพาะปลูกในเขตร้อนได้ดี มีขนคล้ายหนาม
กระจายทั่วลำาต้น และใบ จึงต้านทานต่อแมลงได้ดี ความสูงประมาณ 1.5 2.0 เมตร ลักษณะหัว คล้ายหัวของขิงหรือข่า และมีดอกคล้ายดอกบัวตอง

พัน ธุ์แ ก่น ตะวัน
หลังจากนำาพันธุ์จากต่างประเทศเข้ามาปลูกทดสอบจำานวน 24 สาย
พันธุ์ และคัดเลือกสายพันธุ์ให้บริสุทธิ์ พบว่าสายพันธุ์ KKU Ac 008 ให้
ผลผลิตหัวสดสูง 2-3 ตัน /ไร่ ทั้งการปลูกในฤดูฝนและฤดูแล้ง หัวใหญ่ มี
แขนงน้อย รสชาติหวานเหมาะที่จะรับประทานหัวสด และอุตสาหกรรม จึง
ได้แนะนำาพันธุ์นี้สำาหรับเกษตรไทยใช้ปลูก โดยใช้ชื่อพันธุ์แก่นตะวันพันธุ์
ใหม่นี้ว่า “พันธุ์แก่นตะวัน #1”

ฤดูป ลูก แก่น ตะวัน
ปลูกได้ทุกฤดู ต้นฤดูหรือปลายฤดูฝนในพื้นที่ไร่ ควรมีการให้นำ้าฝน
ทิ้งช่วง และในสภาพนาให้นำ้าชลประทานในฤดูแล้ง ออกดอกเมื่ออายุ
ประมาณ 60-65 วันหลังปลูก อายุการเก็บเกี่ยวประมาณ 100-140 วัน หรือ
สังเกตจากดอกร่วงเกือบหมด และลำาต้นเปลี่ยนเป็นสีนำ้าตาล และต้นเริ่มแห้ง

การปลูก และการดูแ ลรัก ษา
ตัดหัวแก่นตะวันเป็นชิ้นขนาดประมาณ ยาว 3-5 ซม. แล้วนำามาบ่ม
ในแกลบดำาชื้นเพื่อชักนำาให้เกิดต้นอ่อน ประมาณ 1 สัปดาห์ นำาต้นอ่อนมา
ปลูกให้ลึกประมาณ 1-2 เซนติเมตร ระยะปลูก 50 x 50 เซนติเมตร ขณะ
ปลูกดินควรมีความชื้นสูง โดยดินที่เหมาะสม คือ ดินร่วนปนทรายระบาย
นำ้าดี
การกำาจัดวัชพืชทำา 1-2 ครั้ง เมื่อต้นมีความสูงประมาณ 15 เซนติเมตร ควร
ใส่ปุ๋ย 15-15-15 อัตรา 25 กก./ไร่ การเก็บเกี่ยวโดยใช้พลั่วขุด และถอน
ด้วยมือผลผลิตหัวสด ประมาณ 2-3 ตันต่อไร่ ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับฤดูปลูก แหล่ง
ปลูก และการจัดการผลิต
แก่น ตะวัน ไม้ด อกประดับ บ้า น พืช อาหารสมุน ไพร
แก่นตะวันมีดอกบานเมื่ออายุประมาณ 2 เดือน และมีดอกทยอยบาน
อยู่ประมาณ 2 เดือน จึงเหมาะปลูกเป็นไม้กระถาง หรือแปลงปลูกในบ้าน
เพื่อใช้เป็นไม้ดอกไม้ประดับบ้านเรือนให้สวยงาม เมื่อต้นเริ่มแก่เก็บเกี่ยว
ล้างทำาความสะอาดหัว ใส่ถุงพลาสติกเก็บไว้ในตู้เย็น สำาหรับใช้รับประทาน
เพื่อสุขภาพ สามารถเก็บไว้ในตู้เย็นได้นาน 6-8 เดือน
แก่น ตะวัน ไม้ด อกประดับ บ้า น พืช อาหารสมุน ไพร
แก่นตะวันมีดอกบานเมื่ออายุประมาณ 2 เดือน และมีดอกทยอยบาน
อยู่ประมาณ 2 เดือน จึงเหมาะปลูกเป็นไม้กระถาง หรือแปลงปลูกในบ้าน
เพื่อใช้เป็นไม้ดอกไม้ประดับบ้านเรือนให้สวยงาม เมื่อต้นเริ่มแก่เก็บเกี่ยว
ล้างทำาความสะอาดหัว ใส่ถุงพลาสติกเก็บไว้ในตู้เย็น สำาหรับใช้รับประทาน
เพื่อสุขภาพ สามารถเก็บไว้ในตู้เย็นได้นาน 6-8 เดือน

More Related Content

What's hot

สารควบคุมการเจริญเติบโตของพืช
สารควบคุมการเจริญเติบโตของพืชสารควบคุมการเจริญเติบโตของพืช
สารควบคุมการเจริญเติบโตของพืชAnana Anana
 
การสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศของพืช
การสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศของพืชการสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศของพืช
การสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศของพืชdnavaroj
 
การถ่ายละอองเรณู (T)
การถ่ายละอองเรณู (T)การถ่ายละอองเรณู (T)
การถ่ายละอองเรณู (T)Thitaree Samphao
 
วิทยาศาสตร์ ม. 1 การสืบพันธุ์ของพืช
วิทยาศาสตร์ ม. 1 การสืบพันธุ์ของพืชวิทยาศาสตร์ ม. 1 การสืบพันธุ์ของพืช
วิทยาศาสตร์ ม. 1 การสืบพันธุ์ของพืชSara Hayo
 
Plant kingdom 2
Plant kingdom 2Plant kingdom 2
Plant kingdom 2krunidhswk
 
การสืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศของพืช
การสืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศของพืชการสืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศของพืช
การสืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศของพืชdnavaroj
 
ผลและเมล็ดแก้
ผลและเมล็ดแก้ผลและเมล็ดแก้
ผลและเมล็ดแก้Anana Anana
 
บทที่3การสืบพันธุ์เจริญเติบโตพืชดอก
บทที่3การสืบพันธุ์เจริญเติบโตพืชดอกบทที่3การสืบพันธุ์เจริญเติบโตพืชดอก
บทที่3การสืบพันธุ์เจริญเติบโตพืชดอกWichai Likitponrak
 
การปฏิสนธิและการเจริญเติบโตของพืชดอก
การปฏิสนธิและการเจริญเติบโตของพืชดอกการปฏิสนธิและการเจริญเติบโตของพืชดอก
การปฏิสนธิและการเจริญเติบโตของพืชดอกThanyamon Chat.
 
บท3การเจริญดอก
บท3การเจริญดอกบท3การเจริญดอก
บท3การเจริญดอกWichai Likitponrak
 
การเกิดผลและเมล็ด
การเกิดผลและเมล็ดการเกิดผลและเมล็ด
การเกิดผลและเมล็ดNokko Bio
 
การจัดจำแนก
การจัดจำแนกการจัดจำแนก
การจัดจำแนกNonglawan Saithong
 
แบบทดสอบ เรื่องส่วนประกอบของพืช ป.4
แบบทดสอบ เรื่องส่วนประกอบของพืช ป.4แบบทดสอบ เรื่องส่วนประกอบของพืช ป.4
แบบทดสอบ เรื่องส่วนประกอบของพืช ป.4Ngamsiri Prasertkul
 
โครงสร้างของดอกไม้
โครงสร้างของดอกไม้โครงสร้างของดอกไม้
โครงสร้างของดอกไม้dnavaroj
 
ติวสอบเตรียมสืบพันธุ์เจริญเติบโต
ติวสอบเตรียมสืบพันธุ์เจริญเติบโตติวสอบเตรียมสืบพันธุ์เจริญเติบโต
ติวสอบเตรียมสืบพันธุ์เจริญเติบโตWichai Likitponrak
 
ส่วนประกอบของดอกไม้
ส่วนประกอบของดอกไม้ส่วนประกอบของดอกไม้
ส่วนประกอบของดอกไม้sawaddee
 

What's hot (20)

สารควบคุมการเจริญเติบโตของพืช
สารควบคุมการเจริญเติบโตของพืชสารควบคุมการเจริญเติบโตของพืช
สารควบคุมการเจริญเติบโตของพืช
 
สืบดอก
สืบดอกสืบดอก
สืบดอก
 
การสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศของพืช
การสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศของพืชการสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศของพืช
การสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศของพืช
 
การถ่ายละอองเรณู (T)
การถ่ายละอองเรณู (T)การถ่ายละอองเรณู (T)
การถ่ายละอองเรณู (T)
 
วิทยาศาสตร์ ม. 1 การสืบพันธุ์ของพืช
วิทยาศาสตร์ ม. 1 การสืบพันธุ์ของพืชวิทยาศาสตร์ ม. 1 การสืบพันธุ์ของพืช
วิทยาศาสตร์ ม. 1 การสืบพันธุ์ของพืช
 
Plant kingdom 2
Plant kingdom 2Plant kingdom 2
Plant kingdom 2
 
การสืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศของพืช
การสืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศของพืชการสืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศของพืช
การสืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศของพืช
 
ผลและเมล็ดแก้
ผลและเมล็ดแก้ผลและเมล็ดแก้
ผลและเมล็ดแก้
 
สมุดเล่มเล็ก
สมุดเล่มเล็กสมุดเล่มเล็ก
สมุดเล่มเล็ก
 
บทที่3การสืบพันธุ์เจริญเติบโตพืชดอก
บทที่3การสืบพันธุ์เจริญเติบโตพืชดอกบทที่3การสืบพันธุ์เจริญเติบโตพืชดอก
บทที่3การสืบพันธุ์เจริญเติบโตพืชดอก
 
การปฏิสนธิและการเจริญเติบโตของพืชดอก
การปฏิสนธิและการเจริญเติบโตของพืชดอกการปฏิสนธิและการเจริญเติบโตของพืชดอก
การปฏิสนธิและการเจริญเติบโตของพืชดอก
 
ใบความรู้ที่1pdf
ใบความรู้ที่1pdfใบความรู้ที่1pdf
ใบความรู้ที่1pdf
 
บท3การเจริญดอก
บท3การเจริญดอกบท3การเจริญดอก
บท3การเจริญดอก
 
การเกิดผลและเมล็ด
การเกิดผลและเมล็ดการเกิดผลและเมล็ด
การเกิดผลและเมล็ด
 
การจัดจำแนก
การจัดจำแนกการจัดจำแนก
การจัดจำแนก
 
แบบทดสอบ เรื่องส่วนประกอบของพืช ป.4
แบบทดสอบ เรื่องส่วนประกอบของพืช ป.4แบบทดสอบ เรื่องส่วนประกอบของพืช ป.4
แบบทดสอบ เรื่องส่วนประกอบของพืช ป.4
 
โครงสร้างของดอกไม้
โครงสร้างของดอกไม้โครงสร้างของดอกไม้
โครงสร้างของดอกไม้
 
Plant
PlantPlant
Plant
 
ติวสอบเตรียมสืบพันธุ์เจริญเติบโต
ติวสอบเตรียมสืบพันธุ์เจริญเติบโตติวสอบเตรียมสืบพันธุ์เจริญเติบโต
ติวสอบเตรียมสืบพันธุ์เจริญเติบโต
 
ส่วนประกอบของดอกไม้
ส่วนประกอบของดอกไม้ส่วนประกอบของดอกไม้
ส่วนประกอบของดอกไม้
 

Similar to การปลูก Jerusalem artichoke

Plant kingdom 1
Plant kingdom 1Plant kingdom 1
Plant kingdom 1krunidhswk
 
พืชรอบตัวเรา
พืชรอบตัวเราพืชรอบตัวเรา
พืชรอบตัวเราsujitrapa
 
พืชรอบตัวเรา
พืชรอบตัวเราพืชรอบตัวเรา
พืชรอบตัวเราsujitrapa
 
พืชรอบตัวเรา
พืชรอบตัวเราพืชรอบตัวเรา
พืชรอบตัวเราsujitrapa
 
พืชรอบตัวเรา
พืชรอบตัวเราพืชรอบตัวเรา
พืชรอบตัวเราsujitrapa
 
พืชรอบตัวเรา
พืชรอบตัวเราพืชรอบตัวเรา
พืชรอบตัวเราsujitrapa
 
พืชรอบตัวเรา
พืชรอบตัวเราพืชรอบตัวเรา
พืชรอบตัวเราsujitrapa
 
ผักบุ้งทะเล
ผักบุ้งทะเลผักบุ้งทะเล
ผักบุ้งทะเลKrujhim
 
เกษตรกรรมบ้านนางแล
เกษตรกรรมบ้านนางแลเกษตรกรรมบ้านนางแล
เกษตรกรรมบ้านนางแลIammonsicha
 
Stemแก้net
Stemแก้netStemแก้net
Stemแก้netAnana Anana
 
โครงงานเสร็จสมบูรณ์
โครงงานเสร็จสมบูรณ์โครงงานเสร็จสมบูรณ์
โครงงานเสร็จสมบูรณ์Yuporn Tugsila
 
พืชที่อยู่รอบตัวเรา
พืชที่อยู่รอบตัวเราพืชที่อยู่รอบตัวเรา
พืชที่อยู่รอบตัวเราsujitrapa
 
พืชรอบตัวเรา
พืชรอบตัวเราพืชรอบตัวเรา
พืชรอบตัวเราsujitrapa
 
หญ้าถอดปล้อง
หญ้าถอดปล้องหญ้าถอดปล้อง
หญ้าถอดปล้องphairoa
 

Similar to การปลูก Jerusalem artichoke (20)

Biomapcontest2014 xoxo
Biomapcontest2014 xoxoBiomapcontest2014 xoxo
Biomapcontest2014 xoxo
 
my research
my researchmy research
my research
 
Plant kingdom 1
Plant kingdom 1Plant kingdom 1
Plant kingdom 1
 
ลำต้น54
ลำต้น54ลำต้น54
ลำต้น54
 
พืชรอบตัวเรา
พืชรอบตัวเราพืชรอบตัวเรา
พืชรอบตัวเรา
 
พืชรอบตัวเรา
พืชรอบตัวเราพืชรอบตัวเรา
พืชรอบตัวเรา
 
พืชรอบตัวเรา
พืชรอบตัวเราพืชรอบตัวเรา
พืชรอบตัวเรา
 
พืชรอบตัวเรา
พืชรอบตัวเราพืชรอบตัวเรา
พืชรอบตัวเรา
 
พืชรอบตัวเรา
พืชรอบตัวเราพืชรอบตัวเรา
พืชรอบตัวเรา
 
พืชรอบตัวเรา
พืชรอบตัวเราพืชรอบตัวเรา
พืชรอบตัวเรา
 
ผักบุ้งทะเล
ผักบุ้งทะเลผักบุ้งทะเล
ผักบุ้งทะเล
 
เกษตรกรรมบ้านนางแล
เกษตรกรรมบ้านนางแลเกษตรกรรมบ้านนางแล
เกษตรกรรมบ้านนางแล
 
Stemแก้net
Stemแก้netStemแก้net
Stemแก้net
 
Flowers by 931 group 3
Flowers by 931 group 3Flowers by 931 group 3
Flowers by 931 group 3
 
โครงงานเสร็จสมบูรณ์
โครงงานเสร็จสมบูรณ์โครงงานเสร็จสมบูรณ์
โครงงานเสร็จสมบูรณ์
 
พืชที่อยู่รอบตัวเรา
พืชที่อยู่รอบตัวเราพืชที่อยู่รอบตัวเรา
พืชที่อยู่รอบตัวเรา
 
พืชรอบตัวเรา
พืชรอบตัวเราพืชรอบตัวเรา
พืชรอบตัวเรา
 
Sweet
SweetSweet
Sweet
 
Plant ser 77_60_2
Plant ser 77_60_2Plant ser 77_60_2
Plant ser 77_60_2
 
หญ้าถอดปล้อง
หญ้าถอดปล้องหญ้าถอดปล้อง
หญ้าถอดปล้อง
 

More from Arom Arom

ระเบียบกระทรวงมหาดไทย
ระเบียบกระทรวงมหาดไทยระเบียบกระทรวงมหาดไทย
ระเบียบกระทรวงมหาดไทยArom Arom
 
ระเบียบกระทรวงมหาดไทย
ระเบียบกระทรวงมหาดไทยระเบียบกระทรวงมหาดไทย
ระเบียบกระทรวงมหาดไทยArom Arom
 
ระเบียบ มท.ว่าด้วยการรับเงินฯ
ระเบียบ มท.ว่าด้วยการรับเงินฯระเบียบ มท.ว่าด้วยการรับเงินฯ
ระเบียบ มท.ว่าด้วยการรับเงินฯArom Arom
 
ระเบียบกระทรวงมหาดไทย
ระเบียบกระทรวงมหาดไทยระเบียบกระทรวงมหาดไทย
ระเบียบกระทรวงมหาดไทยArom Arom
 
ระเบียบกระทรวงมหาดไทย
ระเบียบกระทรวงมหาดไทยระเบียบกระทรวงมหาดไทย
ระเบียบกระทรวงมหาดไทยArom Arom
 
ระเบียบกระทรวงมหาดไทย
ระเบียบกระทรวงมหาดไทยระเบียบกระทรวงมหาดไทย
ระเบียบกระทรวงมหาดไทยArom Arom
 

More from Arom Arom (6)

ระเบียบกระทรวงมหาดไทย
ระเบียบกระทรวงมหาดไทยระเบียบกระทรวงมหาดไทย
ระเบียบกระทรวงมหาดไทย
 
ระเบียบกระทรวงมหาดไทย
ระเบียบกระทรวงมหาดไทยระเบียบกระทรวงมหาดไทย
ระเบียบกระทรวงมหาดไทย
 
ระเบียบ มท.ว่าด้วยการรับเงินฯ
ระเบียบ มท.ว่าด้วยการรับเงินฯระเบียบ มท.ว่าด้วยการรับเงินฯ
ระเบียบ มท.ว่าด้วยการรับเงินฯ
 
ระเบียบกระทรวงมหาดไทย
ระเบียบกระทรวงมหาดไทยระเบียบกระทรวงมหาดไทย
ระเบียบกระทรวงมหาดไทย
 
ระเบียบกระทรวงมหาดไทย
ระเบียบกระทรวงมหาดไทยระเบียบกระทรวงมหาดไทย
ระเบียบกระทรวงมหาดไทย
 
ระเบียบกระทรวงมหาดไทย
ระเบียบกระทรวงมหาดไทยระเบียบกระทรวงมหาดไทย
ระเบียบกระทรวงมหาดไทย
 

การปลูก Jerusalem artichoke

  • 1. การปลูก Jerusalem Artichoke (แก่น ตะวัน )บนพืน ทีส ูง ณ ้ ่ สถานีว ิจ ัย เพชรบูร ณ์ The Cultivation of Jerusalem Artichoke Plant on Highland Area at Petchabun Research Station Jerusalem Artichoke (Helianthus tuberosus) หรือ Sunchoke ชื่อที่เรียก เป็นภาษาไทย เรียกว่า แห้วบัวตอง (สุรพงษ์, 2539) เนื่องจากเป็นพืช ตระกูลเดียวกับทานตะวัน และมีดอกสีเหลืองคล้ายดอกบัวตอง แต่มีขนาด เล็ก มีหว (tuber) รูปร่างคล้ายขิงอวบ เปลือกเป็นผิวสีนำ้าตาลอ่อน เนื้อในสี ั ขาว และกรอบคล้ายแห้วเมื่อดิบ มีถิ่นกำาเนิดแถบทวีปอเมริกาเหนือ และได้มี การนำามาปลูกในแถบทวีปยุโรปอย่างแพร่หลาย ในเขตหนาว เขตกึ่งหนาว และเขตร้อน เช่น ในประเทศอินเดีย ต่อมา รศ.ดร.สนั่น จอกลอย ได้นำาพืช Jerusalem Artichoke ไปศึกษาวิจัยที่มหาวิทยาลัยขอนแก่นและมีการตั้ง ชื่อภาษาไทยขึ้นมาใหม่อีกครั้งเนื่องจากเหตุผลการที่มีถิ่นกำาเนิดในเขต หนาวเย็น แต่ปลูกในแถบร้อนได้ดี มีความสามารถปรับตัวได้ดีกับสภาพภูมิ อากาศที่แตกต่างกันมาก มีความแข็งแกร่งทนทาน จึงให้ชื่อนำาหน้าพืชนี้ว่า “แก่น” และเป็นพืชที่ใกล้ชิดกับทานตะวัน จึงให้ชื่อพืชชนิดใหม่นี้ว่า “แก่น ตะวัน” พืชนี้จัดเป็นพืชหัว พืชอาหารเพื่อสุขภาพ พืชสมุนไพรสัตว์ พืช พลังงานทดแทน และพืชเพื่อการท่องเที่ยว (สนั่น,2549) สำาหรับ ประเทศไทยได้มีการนำามาปลูกบนสถานีเกษตรหลวงปางดะ มูลนิธิโครงการ หลวง จ.เชียงใหม่ จะเห็นได้ว่าเป็นพืชที่ให้ผลผลิตสูง และมีต้นทุนในการ ปลูกและการดูแลรักษาน้อย แม้ในบางพื้นที่มีความอุดมสมบูรณ์ของดินตำ่า นอกจากนั้นยังสามารถนำาหัวมาปลูกเป็นเป็นแปลงไม้ดอกประดับ เพื่อเป็น ที่พักผ่อนหย่อนใจ (สุพจน์, 2540) หัวที่ได้เมื่อต้นแก่แล้วสามารถนำาหัวมา ใช้ประโยชน์ในการเป็นอาหารของคนเราได้หลายอย่าง เนื่องจากในหัว ของ Jerusalem Artichoke อุดมไปด้วยไวตามินบี เหล็ก และแคลเซียมสูง ซึ่งถือได้ว่าเป็นอาหารเสริมสุขภาพได้ชนิดหนึ่ง (ประภาส, 2543) หัว พืช ชนิด นี้ม ีค าร์โ บไฮเดรตซึ่ง ส่ว นใหญ่จ ะอยู่ใ นรูป inulin โดยเป็น polymer ของ fructose จึง มีป ระโยชน์ต ่อ ผู้ป ่ว ยที่
  • 2. เป็น โรคเบาหวาน ในประเทศสหรัฐอเมริกา ได้นำาหัวพืชชนิดนี้มาบริ โภค (Anonymous, 1984) นอกจากนี้ในหัวยังสามารถนำาไปใช้เป็น วัตถุดิบในการผลิต inulin ซึ่งจะพบในหัวพืชชนิดนี้มากถึง 16-39 เปอร์เซ็นต์ (suzuki, 1993) โดย inulin จะใช้เป็นวัตถุดิบในการผลิตนำ้า เชื่อมฟรุคโตสเข้มข้น (Fructose syrup) (Kosaric และคณะ, 1984 Stauffer และคณะ, 1975) เพื่อใช้เป็นสารให้ความหวานในอุตสาหกรรม อาหาร เนื่องจากในหัวของ Jerusalem Artichoke มีคาร์โบไฮเดรตซึ่งส่วน ใหญ่จะอยู่ในรูป inulin โดยเป็น polymer ของ fructose จึงมีประโยชน์ต่อ ผู้ป่วยที่เป็นโรคเบาหวาน และยังพบว่า การเสริมสารสกัดของพืชชนิดนี้ใน อาหารสัตว์ เช่น สุกร, สุนัข จะช่วยลดปริมาณแอมโมเนียในระบบทางเดิน อาหารและในสิ่งขับถ่าย ทำาให้ลดปริมาณสารที่ทำาให้เกิดกลิ่นเหม็นในสิ่ง ขับถ่าย กล่าวได้ว่าพืช Jerusalem Artichoke เป็นพืชที่มีการปลูกกันอย่างแพร่ หลาย และได้รับความสนใจกันมาก สำาหรับในประเทศไทยพืชนี้มีการปรับ ตัวได้ดี และให้ผลผลิตหัวสดสูง แม้จะเป็นพืชใหม่ในบ้านเรา ถ้าได้รับการ พัฒนาศึกษาวิจัยให้ทราบถึงศักยภาพของพืชชนิดนี้ เนื่องจากมีประโยชน์ มากมายทั้งเป็นวัตถุดิบในด้านอาหารเสริมสุขภาพของคน ด้านอุตสาหกรรม อาหารและใช้แปรรูปใช้ในทางปศุสัตว์เพื่อลดปริมาณสารที่ทำาให้เกิดกลิ่น เหม็นในสิ่งขับถ่ายของสัตว์ เช่น สุกร ไก่ สุนัข ซึ่งจะเป็นประโยชน์ต่อ สังคมและชุมชนตลอดจน จะเป็นการช่วยสิ่งแวดล้อมให้ดีขึ้น จึงเป็นพืชที่ น่าจะได้มีการพัฒนาศึกษาวิจัย ให้ทราบถึงศักยภาพของพืชชนิดนี้ เพื่อ พัฒนาและสร้างเทคโนโลยีของการนำาเอาพืชนี้ไปใช้ประโยชน์ในด้านต่าง ๆ ที่ได้กล่าวมาแล้วในข้างต้นนี้ให้บรรลุตามวัตถุประสงค์ที่วางไว้ จะเห็น ประโยชน์ของพืชชนิดนี้มีคุณค่าสูงในการพัฒนา หากแต่เดิมพืชชนิดนี้ได้ มีการพัฒนาการวิจัยและการปลูกในระยะแรกจากมหาวิทยาลัย เกษตรศาสตร์แต่ไม่ได้รับการสนับสนุนงานวิจัยอย่างต่อเนื่องเมื่อปี 2543 เมื่อได้รับการสนับสนุนงบประมาณในปี 2551 โดยมีวัตถุประสงค์ของ
  • 3. โครงการวิจัยเพื่อศึกษาพันธุ์ของ Jerusalem Artichoke (Helianthus tuberosus) ที่เหมาะสมในพื้นที่สูงของประเทศไทยจำานวน 16 สายพันธุ์หรือ ตำารับทดลอง (treatment) ได้แก่ ตำารับที่ 1 ตำารับใช้เปรียบเทียบ JA 1 (control) ตำารับที่ 2 ตำารับใช้เปรียบเทียบ JA 2 (control) ตำารับที่ 3 JA 37 , ตำารับที่ 4 JA 38, ตำารับที่ 5 JA 67, ตำารับที่ 6 JA 102, ตำารับที่ 7 Hel 53 , ตำารับที่ 8 Hel 61, ตำารับที่ 9 Hel 62, ตำารับที่ 10 Hel 66, ตำารับที่ 11 Hel ,68 ตำารับที่ 12, Hel 69 ,ตำารับที่13 Hel 231, ตำารับที่ 14 Hel 335, ตำารับที่ 15 CN 52867,ตำารับที่ 16 Kku.AC โดยการสุ่มตลอด การปลูก Jerusalem Artichoke บนพื้นที่สูง ณ สถานีวิจัย เพชรบูรณ์ในการปลูกทดสอบผลผลิตในปีที่ 1 แปลงทดลองที่ปลูกในช่วง ฤดูฝน ซึ่งมีเนื้อดินเป็นดินร่วนปนทราย ทำาการทดลองที่สถานีวิจัย เพชรบูรณ์ แปลงทดลองบ้านห้วยนำ้าขาว มีความสูง 900 เมตรจากระดับนำ้า ทะเล ตำาบลเข็กน้อย อำาเภอเขาค้อ จังหวัดเพชรบูรณ์ ซึ่งทำาการปลูกเมื่อวัน ที่ 17 พฤษภาคม 2551 พันธุ์ Jerusalem Artichoke จำานวน 16 พันธุ์ พบว่าผลผลิตหัวสด จำานวนหัวเฉลี่ยต่อต้น ขนาดหัวใหญ่พิเศษ ขนาดหัว ใหญ่ต่อต้น ขนาดหัวขนาดกลางต่อต้นเฉลี่ย ทั้ง 16 พันธุ์มีความแตกต่างกัน ทางสถิติ พบว่าในพันธุ์ JA 102 ให้ผลผลิตหัวสดเฉลี่ยสูงสุดคือ 10,476 กิโลกรัมต่อไร่ ใกล้เคียงกับพันธุ์ Hel66 ,Hel231 ,Hel53 ( 10,464, 8,358, 8,320 กิโลกรัมต่อไร่ตามลำาดับ ) โดยมีจำานวนหัวเฉลี่ยต่อต้นทุก สายพันธุ์พบว่ามีประมาณ 22.7 หัวต่อต้น โดยที่พันธุ์ JA21 มีจำานวนหัว เฉลี่ยต่อต้นตำ่าสุดเพียง 2.8 หัวต่อต้น ขนาดหัวใหญ่พิเศษมีนำ้า หนักต่อหัวประมาณ 36-100 กรัมต่อต้น พบว่าทุกพันธุ์มีขนาดหัวใหญ่ พิเศษเฉลี่ย 9.4 หัว โดยพันธุ์Hel53 มีนำ้าหนักขนาดหัวใหญ่พิเศษเฉลี่ย สูงสุดคือ 15.8 หัว และจำานวนหัวใหญ่ต่อต้นเฉลี่ยของ Jerusalem Artichoke ทั้ง 16 พันธุ์มีหัวใหญ่ต่อต้นเฉลี่ยประมาณ 4.5 หัวต่อต้นซึ่งหัว ขนาดใหญ่จะมีนำ้าหนักต่อหัวประมาณ 26-35 กรัมและพบว่าพันธุ์ JA102 มี หัวขนาดใหญ่ต่อต้นเฉลี่ยสูงสุดคือ 6.0 หัวและมีหวขนาดกลางเฉลี่ย ั
  • 4. ประมาณ 4.6 หัวต่อต้นโดยมีนำ้าหนักต่อหัวประมาณ 16-25 กรัมซึ่งพันธุ์ JA67 มีหัวขนาดกลางเฉลี่ยสูงสุดต่อต้นคือ 6.7 หัว การนำา มาใช้ป ระโยชน์ ใช้เป็นอาหารประเภทหลักผัก หัวสดมีรสชาติคล้ายแห้ว นำามา ประกอบอาหารคาว หวาน ได้หลายชนิด หัวเป็นแหล่งสะสมของอินนูลิน (inulin) ซึ่งประกอบด้วยนำ้าตาลฟลุ๊กโต้สทีต่อกันเป็นโมเลกุลยาว เมื่อเก็บหัว แก่นตะวันไว้ในห้องเย็นจะทำาให้หัวแก่นตะวันมีความหวานมากขึ้น “อิน นูลิน” มีคุณสมบัติช่วยเจริญอาหาร กระตุ้นการหลั่งของนำ้าดี ขับปัสสาวะ ลด ความเสี่ยงของการเป็นโรคเบาหวาน ลดไขมันในเลือด ลดความเสี่ยงเป็น โรคความดันโลหิตสูง โรคหลอดเลือดและโรคหัวใจ สร้างภูมิคุ้มกันโรค อิน นูลิน เป็นสารเยื่อไยอาหาร ไม่ถูกย่อยในกระเพาะ และลำาไส้เล็ก จึงอยู่ใน ระบบทางเดินอาหารเป็นเวลานาน ทำาให้ไม่มีความรู้สึกหิว กินอาหารได้ น้อยลงจึงช่วยลดความอ้วนได้ จึงนับว่าเป็นพืชอาหารเพื่อสุขภาพ หัว ใช้เสริมในอาหารสัตว์ มีผลต่อการเจริญเติบโต ลดจุลินทรีย์ที่ เป็นโทษในระบบทางเดินอาหาร สร้างภูมิคุ้มกัน ทำาให้ลดการใช้สาร ปฏิชีวนะและมูลสัตว์มีกลิ่นเหม็นน้อยลง จึงถูกนำามาใช้เป็นสมุนไพรในสัตว์ หัวใช้เป็นวัตถุดิบในการผลิตแอลกอฮอล์ ผลผลิตหัวสด 1 ตัน สามารถผลิต เอทานอลได้ 80-100 ลิตร นำาไปผสมเบนซิน เพื่อผลิตแก๊ซโซ ฮอล์ จึงจัดเป็นพืชพลังงานทดแทน แก่นตะวันจะมีดอกบานเมื่ออายุประมาณ 60 วัน และทั้งแปลงปลูก จะมีต้นออกดอกประมาณ 2 เดือน ดอกมีสีเหลืองคล้ายบัวตอง มีความ สวยงามไม่แพ้ทุ่งบัวตอง หรือทุ่งทานตะวันเลยทีเดียว จึงนับได้ว่าเป็นพืช เพื่อการท่องเที่ยวได้อีกชนิดหนึ่ง ลัก ษณะทางพฤกษศาสตร์
  • 5. แก่นตะวันเป็นพืชล้มลุก เพาะปลูกในเขตร้อนได้ดี มีขนคล้ายหนาม กระจายทั่วลำาต้น และใบ จึงต้านทานต่อแมลงได้ดี ความสูงประมาณ 1.5 2.0 เมตร ลักษณะหัว คล้ายหัวของขิงหรือข่า และมีดอกคล้ายดอกบัวตอง พัน ธุ์แ ก่น ตะวัน หลังจากนำาพันธุ์จากต่างประเทศเข้ามาปลูกทดสอบจำานวน 24 สาย พันธุ์ และคัดเลือกสายพันธุ์ให้บริสุทธิ์ พบว่าสายพันธุ์ KKU Ac 008 ให้ ผลผลิตหัวสดสูง 2-3 ตัน /ไร่ ทั้งการปลูกในฤดูฝนและฤดูแล้ง หัวใหญ่ มี แขนงน้อย รสชาติหวานเหมาะที่จะรับประทานหัวสด และอุตสาหกรรม จึง ได้แนะนำาพันธุ์นี้สำาหรับเกษตรไทยใช้ปลูก โดยใช้ชื่อพันธุ์แก่นตะวันพันธุ์ ใหม่นี้ว่า “พันธุ์แก่นตะวัน #1” ฤดูป ลูก แก่น ตะวัน ปลูกได้ทุกฤดู ต้นฤดูหรือปลายฤดูฝนในพื้นที่ไร่ ควรมีการให้นำ้าฝน ทิ้งช่วง และในสภาพนาให้นำ้าชลประทานในฤดูแล้ง ออกดอกเมื่ออายุ ประมาณ 60-65 วันหลังปลูก อายุการเก็บเกี่ยวประมาณ 100-140 วัน หรือ สังเกตจากดอกร่วงเกือบหมด และลำาต้นเปลี่ยนเป็นสีนำ้าตาล และต้นเริ่มแห้ง การปลูก และการดูแ ลรัก ษา ตัดหัวแก่นตะวันเป็นชิ้นขนาดประมาณ ยาว 3-5 ซม. แล้วนำามาบ่ม ในแกลบดำาชื้นเพื่อชักนำาให้เกิดต้นอ่อน ประมาณ 1 สัปดาห์ นำาต้นอ่อนมา ปลูกให้ลึกประมาณ 1-2 เซนติเมตร ระยะปลูก 50 x 50 เซนติเมตร ขณะ ปลูกดินควรมีความชื้นสูง โดยดินที่เหมาะสม คือ ดินร่วนปนทรายระบาย นำ้าดี การกำาจัดวัชพืชทำา 1-2 ครั้ง เมื่อต้นมีความสูงประมาณ 15 เซนติเมตร ควร ใส่ปุ๋ย 15-15-15 อัตรา 25 กก./ไร่ การเก็บเกี่ยวโดยใช้พลั่วขุด และถอน ด้วยมือผลผลิตหัวสด ประมาณ 2-3 ตันต่อไร่ ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับฤดูปลูก แหล่ง ปลูก และการจัดการผลิต
  • 6. แก่น ตะวัน ไม้ด อกประดับ บ้า น พืช อาหารสมุน ไพร แก่นตะวันมีดอกบานเมื่ออายุประมาณ 2 เดือน และมีดอกทยอยบาน อยู่ประมาณ 2 เดือน จึงเหมาะปลูกเป็นไม้กระถาง หรือแปลงปลูกในบ้าน เพื่อใช้เป็นไม้ดอกไม้ประดับบ้านเรือนให้สวยงาม เมื่อต้นเริ่มแก่เก็บเกี่ยว ล้างทำาความสะอาดหัว ใส่ถุงพลาสติกเก็บไว้ในตู้เย็น สำาหรับใช้รับประทาน เพื่อสุขภาพ สามารถเก็บไว้ในตู้เย็นได้นาน 6-8 เดือน
  • 7. แก่น ตะวัน ไม้ด อกประดับ บ้า น พืช อาหารสมุน ไพร แก่นตะวันมีดอกบานเมื่ออายุประมาณ 2 เดือน และมีดอกทยอยบาน อยู่ประมาณ 2 เดือน จึงเหมาะปลูกเป็นไม้กระถาง หรือแปลงปลูกในบ้าน เพื่อใช้เป็นไม้ดอกไม้ประดับบ้านเรือนให้สวยงาม เมื่อต้นเริ่มแก่เก็บเกี่ยว ล้างทำาความสะอาดหัว ใส่ถุงพลาสติกเก็บไว้ในตู้เย็น สำาหรับใช้รับประทาน เพื่อสุขภาพ สามารถเก็บไว้ในตู้เย็นได้นาน 6-8 เดือน