SlideShare a Scribd company logo
1 of 3
. ข้อเสนอแนะ
ในการทาการศึกษาค้านคว้า เรื่อง โรคอัลไซเมอร์
ที่คณะผู้จัดทาได้ศึกษาค้นคว้าขึ้นนี้สามารถนาไปใช้เป็นแนวทางใ
นการรักษาผู้ป่วยโรคอัลไซเมอร์
ปัญหา อุปสรรคและแนวทางในการพัฒนา
1. นักเรียนไม่มีคอมพิวเตอร์ใช้ที่บ้าน
จึงทาให้การศึกษาโรคอัลไซเมอร์เกิดความล่าช้าตามไปด้วย
2. ระบบอินเตอร์เน็ต มีปัญหาบ่อยครั้ง
จึงทาให้การติดต่อครูที่ปรึกษาค้นคว้าและการสนทนา
ผลการศึกษา
จากการศึกษาข้อมูลต่างๆเกี่ยวกับโรคอัลไซเมอร์
คณะผู้จัดทาได้นาเนินการตามขั้นตอนในบทที่3 แล้ว
โดยได้ศึกษาเกี่ยวกับเรื่องราวของโรคอัลไซเมอร์
จากการศึกษาจากเว็บไซต์ต่างๆ ได้ข้อมูลดังนี้อัลไซเมอร์
เป็นโรคสมองเสื่อมชนิดหนึ่งที่พบได้บ่อยที่สุด
โดยจะมีการเสื่อมของเซลล์สมองทุกส่วนเป็นแล้วไม่มีวันหาย
ผู้ป่วยจะไม่สามารถควบคุมอารมณ์ตัวเอง ไม่สามารถแยกทุกผิด
มีปัญหาในเรื่องการใช้ภาษา
การประสานงานของกล้ามเนื้อเสียไปความจาเสื่อม
ในระยะท้ายของโรคจะสูญเสียความจาทั้งหมด
ในสหรัฐประมาณว่ามีผู้ป่วยเป็นโรคนี้กว่า3-4ล้านคน
และจะมีเพิ่มมากขึ้นเรื่อยๆ ทั่วโลก
เนื่องจากประชากรมีอายุยืนยาวขึ้น
ในประเทศไทยมีผู้ป่วยโรคนี้ประมาณ2-4%
ของผู้ที่มีอายุมากกว่า60ปี
ยิ่งอายุมากขึ้นก็จะพบผู้ป่วยด้วยโรคนี้มากขึ้น
กล่าวคือจะพบเพิ่มขึ้น2เท่าทุก 5 ปี หลังอายุ60 ปี
วิธีการรักษาโรคอัลไซเมอร์ ได้ข้อมูลดังนี้
การให้เวลาผู้ป่วยในการตอบคาถามหรือการตอบสนองกับสิ่งรอบ
ข้าง
เนื่องจากผู้ป่วยจะเชื่องช้าลงจากการทางานของสมองที่เสียไป
ควรจะช่วยให้ผู้ป่วยคลายความวิตกกังวลโดยบอกขั้นตอนทีละลา
ดับช้าๆ
เพื่อให้ผู้ป่วยทาตามได้และควรจัดให้ผู้ป่วยได้พักผ่อนเป็นช่วงๆซึ่ง
จะทาให้ผู้ป่วยอารมณ์ดีขึ้น
จากเพื่อนๆ ม.2/1
ได้ข้อมูลเพิ่มเติมและข้อเสนอแนะดังนี้1.ด.ญ.ทิพย์สุดา
ธรรมเจริญได้ให้ข้อมูลว่า
ให้พบแพทย์เพื่อรับก่ารตรวจและรับยามากิน 2. ด.ช.วุฒิไกร
ใจซื่อ ได้ให้ข้อมูลว่า ใช้การสะกดจิต 3.ด.ญ.ธรรมสรณ์
หายวิชัยวัฒนา ได้ให้ข้อมูลว่าใช้ไฟฟ้ ากระตุ้นสมอง
ซึ่งขากข้อมูลดังกล่าว ทาให้ผู้ศึกษาและผู้ที่สนใจ
เพื่อนๆ ม.2/1ได้รับความรู้
และสามารถนาความรู้ที่ได้ไปช่วยเหลือผู้ป่วยที่เป็นโรคอัลไซเมอร์
ในระแวกชุมชนของเราได้
การสื่อสารและการนาเสนอ(IS2)
เรื่อง โรคอัลไซเมอร์
เสนอ
คุณครูอุไร ทองดี
จัดทาโดย
เด็กชาย รัชพล ยานไกล เลขที่ 2
เด็กหญิง ธัญสุดา จินาย เลขที่ 7
เด็กหญิง ธรรมสรณ์ หาญวิชัยวัฒนา เลขที่ 9
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2/1
แนวคิดที่มา และความสาคัญ
โรคอัลไซเมอร์ เมื่อผู้คนได้ยินชื่อนี้แล้วมักจะพูดว่า
เป็นโรคที่ไม่ได้มีความร้ายแรงอะไรมากมาย
แต่คณะผู้จัดทาเห็นว่าเป็นเรื่องที่สาคัญมาก
เพราะจากที่คณะผู้จัดทาได้สืบค้นมาพบว่ามีผู้สูงอายุจานวนมาก
ในประเทศไทยที่ป่วยเป็นโรคอัลไซเมอร์
ผู้ป่วยที่ป่วยเป็นโรคอัลไซเมอร์บางรายป่วยถึงขั้นร้ายแรงจนจา
คนในครอบครัวของตนเองไม่ได้
ทาให้ญาติของผู้ป่วยที่ป่วยเป็นโรคอัลไซเมอร์บางรายอาจถึงขั้นต้
องหยุดพักงานเพื่อมาอยู่ดูแลผู้ป่วยที่ป่วยเป็นโรคอัลไซเมอร์
ทาให้เกิดปัญหาวุ่นวายเกี่ยวกับคนที่ป่วยเป็นโรคนี้และ
คนรอบข้าง
ผู้ป่วยที่ป่วยเป็นโรคอัลไซเมอร์บางรายอาจจาคนในครอบครัวหรือ
คนสนิทของตนเองได้
แต่อาจจาทางกลับบ้านหรือสถานที่ต่างๆเหตุการณ์ต่างๆที่เคยผ่า
นไปเมื่อไม่นานมานี้ไม่ได้ อาจทาให้คนที่อยู่ดูแลผู้ป่วย
เกิดอาการเบื่อหน่ายหงุดหงิด
และอารมณ์ไม่ดีเมื่อผู้ป่วยถามนู่นถามนี่
เกี่ยวกับเรื่องที่ผ่านไปเมื่อไม่นานมานี้
ทาให้มีผู้ป่วยที่ป่วยเป็นโรคอัลไซเมอร์บางราย
ต้องไปอาศัยอยู่บ้านพักคนชราเพราะถูกทอดทิ้งทาให้เกิด
ปัญหาสังคมวัตถุประสงค์
1)เพื่อศึกษาค้นคว้าเกี่ยวกับโรคอัลไซเมอร์
2)เพื่อศึกษาเกี่ยวกับวิธีการรักษาโรคอัลไซเมอร์
3)เพื่อนาเรื่องที่ศึกษาค้นคว้าไปช่วยเหลือผู้ป่วยในระแวกชุมชน
ท้องถิ่น
ขอบเขตของการศึกษา
1.ขอบเขตด้านเนื้อหา
แหล่งที่มาศึกษาค้นคว้าเกี่ยวกับโรคอัลไซเมอร์ จาก
http://www.siamhealth.net/public_html/D
isease/neuro/alzheimer/alzheimers.html
และศึกษาจากหนังสือ ทาอย่างไรไม่ให้เป็นโรคอัลไซเมอร์
2.ขอบเขตด้านสถานที่
สถานที่ในการศึกษาค้นคว้า โรงเรียนชุมแพศึกษา
3.ขอบเขตด้านระยะเวลา
ภาคเรียนที่2 ปีการศึกษา2556
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1.ได้รับความรู้เกี่ยวกับเรื่อง โรคอัลไซเมอร์
2.ได้นาเอาวิธีการป้ องกันของโรคอัลไซเมอร์ มาใช้ในชีวิต.
ขั้นตอนการดาเนินการศึกษา
1.ประชุมปรึกษาหารือเสนอความคิดเห็นและคัดเลือกเรื่องที่จะศึก
ษาและคิดหัวข้อเพื่อนาเสนอครูที่ปรึกษาค้นคว้า
2.ศึกษาและค้นคว้าข้อมูลเกี่ยวกับโรคอัลไซเมอร์
3.ทบทวนเรื่องที่ศึกษาจากis1เรื่องโรคอัลไซเมอร์
4.จัดทาโครงร่างต่อครูที่ปรึกษาค้นคว้าเพื่อพิจารณาอนุมัติ
5.ศึกษาวิธีการจัดทารายงานทางวิชาการเป็นรูปเล่ม
6.นาเสนอความก้าวหน้าเป็นระยะๆ
ตามระยะเวลาที่ครูที่ปรึกษาค้นคว้ากาหนด
เพื่อตรวจสอบความก้าวหน้า
7.ศึกษาวิธีการเขียนอ้างอิงและบรรณานุกรม
8.จัดทาร่างรายงานทางวิชาการและเป็นรูปเล่ม
9.ตรวจสอบความถูกต้องของร่างรายงานทางวิชาการ
10.นาเสนอร่างรายงานทางวิชาการเป็นรูปเล่มต่อครูที่ปรึกษาค้นค
ว้าเพื่อตรวจสอบความถูกต้อง
11.จัดทารายงานเป็นรูปเล่มฉบับสมบูรณ์
12.จัดทา เพาว์เวอร์พอยต์นาเสนอแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในชั้นเรียน
13.เผยแพร่ผลงานสู่สาธารณชนผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์เช่น
โซเชียลมีเดียออนไลน์ประจาวัน

More Related Content

Viewers also liked

Presentation1
Presentation1Presentation1
Presentation1
attaplab
 
Narrative report
Narrative reportNarrative report
Narrative report
AKoh Jomel
 
Livre Blanc Niouzeo L'usage des newsletters dans les entreprises du secteu...
Livre  Blanc  Niouzeo  L'usage des newsletters dans les entreprises du secteu...Livre  Blanc  Niouzeo  L'usage des newsletters dans les entreprises du secteu...
Livre Blanc Niouzeo L'usage des newsletters dans les entreprises du secteu...
Alain Planger
 
Email Marketing : usages et enjeux TIC
Email Marketing : usages et enjeux TICEmail Marketing : usages et enjeux TIC
Email Marketing : usages et enjeux TIC
Alain Planger
 

Viewers also liked (20)

แผ่นผับ
แผ่นผับแผ่นผับ
แผ่นผับ
 
Precentacion power point
Precentacion power pointPrecentacion power point
Precentacion power point
 
Presentation1
Presentation1Presentation1
Presentation1
 
Pinyata Partievi - Parti Malzemeleri - 1 Yaş Doğum Günü - İzmir Parti Malzeme...
Pinyata Partievi - Parti Malzemeleri - 1 Yaş Doğum Günü - İzmir Parti Malzeme...Pinyata Partievi - Parti Malzemeleri - 1 Yaş Doğum Günü - İzmir Parti Malzeme...
Pinyata Partievi - Parti Malzemeleri - 1 Yaş Doğum Günü - İzmir Parti Malzeme...
 
Smartphones...!!!
Smartphones...!!!Smartphones...!!!
Smartphones...!!!
 
Adidas 1
Adidas  1Adidas  1
Adidas 1
 
Evolution of computers
Evolution of computersEvolution of computers
Evolution of computers
 
Narrative report
Narrative reportNarrative report
Narrative report
 
GPlus Adapter для Salesforce.com
GPlus Adapter для Salesforce.comGPlus Adapter для Salesforce.com
GPlus Adapter для Salesforce.com
 
Shortest path problem
Shortest path problemShortest path problem
Shortest path problem
 
Salitang naglalarawan
Salitang naglalarawanSalitang naglalarawan
Salitang naglalarawan
 
Livre Blanc Niouzeo L'usage des newsletters dans les entreprises du secteu...
Livre  Blanc  Niouzeo  L'usage des newsletters dans les entreprises du secteu...Livre  Blanc  Niouzeo  L'usage des newsletters dans les entreprises du secteu...
Livre Blanc Niouzeo L'usage des newsletters dans les entreprises du secteu...
 
Email Marketing : usages et enjeux TIC
Email Marketing : usages et enjeux TICEmail Marketing : usages et enjeux TIC
Email Marketing : usages et enjeux TIC
 
Quel est le retour sur investissement de mon site Internet ?
Quel est le retour sur investissement de mon site Internet ?Quel est le retour sur investissement de mon site Internet ?
Quel est le retour sur investissement de mon site Internet ?
 
L’utilisation des outils du Web 2.0 dans une activité e-Commerce
L’utilisation des outils du Web 2.0 dans une activité e-Commerce L’utilisation des outils du Web 2.0 dans une activité e-Commerce
L’utilisation des outils du Web 2.0 dans une activité e-Commerce
 
Le social commerce
Le social commerceLe social commerce
Le social commerce
 
Comment bien rédiger le Cahier des charges de votre site web
Comment bien rédiger le Cahier des charges de votre site webComment bien rédiger le Cahier des charges de votre site web
Comment bien rédiger le Cahier des charges de votre site web
 
Comatelier : les relations presse et les réseaux sociaux
Comatelier : les relations presse et les réseaux sociauxComatelier : les relations presse et les réseaux sociaux
Comatelier : les relations presse et les réseaux sociaux
 
guide_e-learning
guide_e-learningguide_e-learning
guide_e-learning
 
Blockchain Jean-Antoine Moreau
Blockchain   Jean-Antoine MoreauBlockchain   Jean-Antoine Moreau
Blockchain Jean-Antoine Moreau
 

Similar to แผ่นผับ222

สุขฯ ม.2 หน่วย 8
สุขฯ ม.2 หน่วย 8สุขฯ ม.2 หน่วย 8
สุขฯ ม.2 หน่วย 8
supap6259
 
จุดเน้นที่ 4
จุดเน้นที่ 4จุดเน้นที่ 4
จุดเน้นที่ 4
Suwakhon Phus
 
แผนการจัดการเรียนรู้เพศศึกษาหน่วยที่ 2
แผนการจัดการเรียนรู้เพศศึกษาหน่วยที่ 2แผนการจัดการเรียนรู้เพศศึกษาหน่วยที่ 2
แผนการจัดการเรียนรู้เพศศึกษาหน่วยที่ 2
tassanee chaicharoen
 
วิชาการศึกษาค้นคว้า ม.33333
วิชาการศึกษาค้นคว้า ม.33333วิชาการศึกษาค้นคว้า ม.33333
วิชาการศึกษาค้นคว้า ม.33333
krujee
 
โครงงานคอมพร อมตกแต ง
โครงงานคอมพร อมตกแต งโครงงานคอมพร อมตกแต ง
โครงงานคอมพร อมตกแต ง
Sittikorn Thipnava
 
โครงงานสำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนนักเรียนชั้น ม.4-5
โครงงานสำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนนักเรียนชั้น ม.4-5โครงงานสำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนนักเรียนชั้น ม.4-5
โครงงานสำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนนักเรียนชั้น ม.4-5
kessara61977
 

Similar to แผ่นผับ222 (8)

สุขฯ ม.2 หน่วย 8
สุขฯ ม.2 หน่วย 8สุขฯ ม.2 หน่วย 8
สุขฯ ม.2 หน่วย 8
 
ปัญหาเด็กติดเทคโนโลยี
ปัญหาเด็กติดเทคโนโลยีปัญหาเด็กติดเทคโนโลยี
ปัญหาเด็กติดเทคโนโลยี
 
จุดเน้นที่ 4
จุดเน้นที่ 4จุดเน้นที่ 4
จุดเน้นที่ 4
 
สังคมก้มหน้า
สังคมก้มหน้าสังคมก้มหน้า
สังคมก้มหน้า
 
แผนการจัดการเรียนรู้เพศศึกษาหน่วยที่ 2
แผนการจัดการเรียนรู้เพศศึกษาหน่วยที่ 2แผนการจัดการเรียนรู้เพศศึกษาหน่วยที่ 2
แผนการจัดการเรียนรู้เพศศึกษาหน่วยที่ 2
 
วิชาการศึกษาค้นคว้า ม.33333
วิชาการศึกษาค้นคว้า ม.33333วิชาการศึกษาค้นคว้า ม.33333
วิชาการศึกษาค้นคว้า ม.33333
 
โครงงานคอมพร อมตกแต ง
โครงงานคอมพร อมตกแต งโครงงานคอมพร อมตกแต ง
โครงงานคอมพร อมตกแต ง
 
โครงงานสำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนนักเรียนชั้น ม.4-5
โครงงานสำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนนักเรียนชั้น ม.4-5โครงงานสำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนนักเรียนชั้น ม.4-5
โครงงานสำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนนักเรียนชั้น ม.4-5
 

แผ่นผับ222

  • 1. . ข้อเสนอแนะ ในการทาการศึกษาค้านคว้า เรื่อง โรคอัลไซเมอร์ ที่คณะผู้จัดทาได้ศึกษาค้นคว้าขึ้นนี้สามารถนาไปใช้เป็นแนวทางใ นการรักษาผู้ป่วยโรคอัลไซเมอร์ ปัญหา อุปสรรคและแนวทางในการพัฒนา 1. นักเรียนไม่มีคอมพิวเตอร์ใช้ที่บ้าน จึงทาให้การศึกษาโรคอัลไซเมอร์เกิดความล่าช้าตามไปด้วย 2. ระบบอินเตอร์เน็ต มีปัญหาบ่อยครั้ง จึงทาให้การติดต่อครูที่ปรึกษาค้นคว้าและการสนทนา ผลการศึกษา จากการศึกษาข้อมูลต่างๆเกี่ยวกับโรคอัลไซเมอร์ คณะผู้จัดทาได้นาเนินการตามขั้นตอนในบทที่3 แล้ว โดยได้ศึกษาเกี่ยวกับเรื่องราวของโรคอัลไซเมอร์ จากการศึกษาจากเว็บไซต์ต่างๆ ได้ข้อมูลดังนี้อัลไซเมอร์ เป็นโรคสมองเสื่อมชนิดหนึ่งที่พบได้บ่อยที่สุด โดยจะมีการเสื่อมของเซลล์สมองทุกส่วนเป็นแล้วไม่มีวันหาย ผู้ป่วยจะไม่สามารถควบคุมอารมณ์ตัวเอง ไม่สามารถแยกทุกผิด มีปัญหาในเรื่องการใช้ภาษา การประสานงานของกล้ามเนื้อเสียไปความจาเสื่อม ในระยะท้ายของโรคจะสูญเสียความจาทั้งหมด ในสหรัฐประมาณว่ามีผู้ป่วยเป็นโรคนี้กว่า3-4ล้านคน และจะมีเพิ่มมากขึ้นเรื่อยๆ ทั่วโลก เนื่องจากประชากรมีอายุยืนยาวขึ้น ในประเทศไทยมีผู้ป่วยโรคนี้ประมาณ2-4% ของผู้ที่มีอายุมากกว่า60ปี ยิ่งอายุมากขึ้นก็จะพบผู้ป่วยด้วยโรคนี้มากขึ้น กล่าวคือจะพบเพิ่มขึ้น2เท่าทุก 5 ปี หลังอายุ60 ปี วิธีการรักษาโรคอัลไซเมอร์ ได้ข้อมูลดังนี้ การให้เวลาผู้ป่วยในการตอบคาถามหรือการตอบสนองกับสิ่งรอบ ข้าง เนื่องจากผู้ป่วยจะเชื่องช้าลงจากการทางานของสมองที่เสียไป ควรจะช่วยให้ผู้ป่วยคลายความวิตกกังวลโดยบอกขั้นตอนทีละลา ดับช้าๆ เพื่อให้ผู้ป่วยทาตามได้และควรจัดให้ผู้ป่วยได้พักผ่อนเป็นช่วงๆซึ่ง จะทาให้ผู้ป่วยอารมณ์ดีขึ้น จากเพื่อนๆ ม.2/1 ได้ข้อมูลเพิ่มเติมและข้อเสนอแนะดังนี้1.ด.ญ.ทิพย์สุดา ธรรมเจริญได้ให้ข้อมูลว่า ให้พบแพทย์เพื่อรับก่ารตรวจและรับยามากิน 2. ด.ช.วุฒิไกร ใจซื่อ ได้ให้ข้อมูลว่า ใช้การสะกดจิต 3.ด.ญ.ธรรมสรณ์ หายวิชัยวัฒนา ได้ให้ข้อมูลว่าใช้ไฟฟ้ ากระตุ้นสมอง ซึ่งขากข้อมูลดังกล่าว ทาให้ผู้ศึกษาและผู้ที่สนใจ เพื่อนๆ ม.2/1ได้รับความรู้ และสามารถนาความรู้ที่ได้ไปช่วยเหลือผู้ป่วยที่เป็นโรคอัลไซเมอร์ ในระแวกชุมชนของเราได้ การสื่อสารและการนาเสนอ(IS2) เรื่อง โรคอัลไซเมอร์ เสนอ คุณครูอุไร ทองดี จัดทาโดย เด็กชาย รัชพล ยานไกล เลขที่ 2 เด็กหญิง ธัญสุดา จินาย เลขที่ 7 เด็กหญิง ธรรมสรณ์ หาญวิชัยวัฒนา เลขที่ 9 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2/1
  • 2. แนวคิดที่มา และความสาคัญ โรคอัลไซเมอร์ เมื่อผู้คนได้ยินชื่อนี้แล้วมักจะพูดว่า เป็นโรคที่ไม่ได้มีความร้ายแรงอะไรมากมาย แต่คณะผู้จัดทาเห็นว่าเป็นเรื่องที่สาคัญมาก เพราะจากที่คณะผู้จัดทาได้สืบค้นมาพบว่ามีผู้สูงอายุจานวนมาก ในประเทศไทยที่ป่วยเป็นโรคอัลไซเมอร์ ผู้ป่วยที่ป่วยเป็นโรคอัลไซเมอร์บางรายป่วยถึงขั้นร้ายแรงจนจา คนในครอบครัวของตนเองไม่ได้ ทาให้ญาติของผู้ป่วยที่ป่วยเป็นโรคอัลไซเมอร์บางรายอาจถึงขั้นต้ องหยุดพักงานเพื่อมาอยู่ดูแลผู้ป่วยที่ป่วยเป็นโรคอัลไซเมอร์ ทาให้เกิดปัญหาวุ่นวายเกี่ยวกับคนที่ป่วยเป็นโรคนี้และ คนรอบข้าง ผู้ป่วยที่ป่วยเป็นโรคอัลไซเมอร์บางรายอาจจาคนในครอบครัวหรือ คนสนิทของตนเองได้ แต่อาจจาทางกลับบ้านหรือสถานที่ต่างๆเหตุการณ์ต่างๆที่เคยผ่า นไปเมื่อไม่นานมานี้ไม่ได้ อาจทาให้คนที่อยู่ดูแลผู้ป่วย เกิดอาการเบื่อหน่ายหงุดหงิด และอารมณ์ไม่ดีเมื่อผู้ป่วยถามนู่นถามนี่ เกี่ยวกับเรื่องที่ผ่านไปเมื่อไม่นานมานี้ ทาให้มีผู้ป่วยที่ป่วยเป็นโรคอัลไซเมอร์บางราย ต้องไปอาศัยอยู่บ้านพักคนชราเพราะถูกทอดทิ้งทาให้เกิด ปัญหาสังคมวัตถุประสงค์ 1)เพื่อศึกษาค้นคว้าเกี่ยวกับโรคอัลไซเมอร์ 2)เพื่อศึกษาเกี่ยวกับวิธีการรักษาโรคอัลไซเมอร์ 3)เพื่อนาเรื่องที่ศึกษาค้นคว้าไปช่วยเหลือผู้ป่วยในระแวกชุมชน ท้องถิ่น ขอบเขตของการศึกษา 1.ขอบเขตด้านเนื้อหา แหล่งที่มาศึกษาค้นคว้าเกี่ยวกับโรคอัลไซเมอร์ จาก http://www.siamhealth.net/public_html/D isease/neuro/alzheimer/alzheimers.html และศึกษาจากหนังสือ ทาอย่างไรไม่ให้เป็นโรคอัลไซเมอร์ 2.ขอบเขตด้านสถานที่ สถานที่ในการศึกษาค้นคว้า โรงเรียนชุมแพศึกษา 3.ขอบเขตด้านระยะเวลา ภาคเรียนที่2 ปีการศึกษา2556 ผลที่คาดว่าจะได้รับ 1.ได้รับความรู้เกี่ยวกับเรื่อง โรคอัลไซเมอร์ 2.ได้นาเอาวิธีการป้ องกันของโรคอัลไซเมอร์ มาใช้ในชีวิต. ขั้นตอนการดาเนินการศึกษา 1.ประชุมปรึกษาหารือเสนอความคิดเห็นและคัดเลือกเรื่องที่จะศึก ษาและคิดหัวข้อเพื่อนาเสนอครูที่ปรึกษาค้นคว้า 2.ศึกษาและค้นคว้าข้อมูลเกี่ยวกับโรคอัลไซเมอร์ 3.ทบทวนเรื่องที่ศึกษาจากis1เรื่องโรคอัลไซเมอร์ 4.จัดทาโครงร่างต่อครูที่ปรึกษาค้นคว้าเพื่อพิจารณาอนุมัติ 5.ศึกษาวิธีการจัดทารายงานทางวิชาการเป็นรูปเล่ม 6.นาเสนอความก้าวหน้าเป็นระยะๆ ตามระยะเวลาที่ครูที่ปรึกษาค้นคว้ากาหนด เพื่อตรวจสอบความก้าวหน้า 7.ศึกษาวิธีการเขียนอ้างอิงและบรรณานุกรม 8.จัดทาร่างรายงานทางวิชาการและเป็นรูปเล่ม 9.ตรวจสอบความถูกต้องของร่างรายงานทางวิชาการ 10.นาเสนอร่างรายงานทางวิชาการเป็นรูปเล่มต่อครูที่ปรึกษาค้นค ว้าเพื่อตรวจสอบความถูกต้อง 11.จัดทารายงานเป็นรูปเล่มฉบับสมบูรณ์ 12.จัดทา เพาว์เวอร์พอยต์นาเสนอแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในชั้นเรียน