SlideShare a Scribd company logo
1 of 10
ข้อข่าวน่า       1

                                                                 สนใจ
“หากดู แ ค่ ต ั ว เลขกำ า ไรขาดทุ น ของโรงพยาบาลสั ง กั ด สธ. คง
ยั ง ไม่ ส ามารถบอกได้ ว ่ า จริ ง ๆ แล้ ว โรงพยาบาลมี ก ำ า ไรหรื อ
ขาดทุ น กั น แน่ เพราะว่ า โรงพยาบาลสั ง กั ด สธ.ทำ า บั ญ ชี เ หมื อ
นร้ า นโชห่ ว ย ที ่ น ำ า เงิ น ทั ้ ง หมดใส่ ต ะกร้ า ขายของได้ ก ็ น ำ า เงิ น
ใส่ จ่ า ยซื ้ อ ของก็ น ำ า เงิ น จากตะกร้ า หรื อ แม้ แ ต่ ล ู ก ขอตั ง ค์ ก ็
นำ า เงิ น จากตะกร้ า บั ญ ชี ท ี ่ ท ำ า จึ ง ดู แ ปลกๆ ลงบั ญ ชี ผ ิ ด ๆ ถู ก ๆ
เรี ย กว่ า เป็ น ระบบบั ญ ชี ท ี ่ เ ละเทะ และมาบอกว่ า สปสช. เราให้
เงิ น โรงพยาบาลลดลง ”
'อัมมาร'ทวงสัญญารัฐบาลอ้างว่าไม่มีงบดูแลสุขภาพไม่ได้

วันที่ 21 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2554 กรุงเทพธุรกิจออนไลน์

ภาระงบประมาณค่ารักษาพยาบาลที่เพิ่มมากขึ้น ทำาให้หลายฝ่ายเริ่ม
กังวล ว่า จะกระทบต่อภาระการเงินการคลังของประเทศจนอาจแบกรับ
ไม่ไหว รวมไปถึงปัญหาโรงพยาบาลขาดทุน โดย ดร.อัมมาร สยามวาลา
นักวิชาการ ทีดีอาร์ไอ ในฐานะประธานคณะอนุกรรมการพัฒนาระบบ
การเงินการคลัง คณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เพื่อร่วมกัน
วิเคราะห์ปัญหาระบบสาธารณสุขของประเทศ ให้สัมภาษณ์ถึงปมปัญหา
ต่างๆที่เกิดขึ้น

จากปัญหาโรงพยาบาลในสังกัด กระทรวงสาธารณสุข (สธ.) กว่า 900
แห่ง ซึ่งมีปัญหาสภาพคล่อง หลายโรงพยาบาลถึงขั้นขาดทุน ซึ่งสาเหตุ
อาจจะเกิดจากงบประมาณค่ารายหัวของบัตรประกันสุขภาพมีจำานวนไม่
เพียงพอ



รายงานโดย ดวงกมล สจิ ร วั ฒ นากุ ล

ประเด็นดังกล่าว ดร.อัมมาร กล่าวว่า เมื่อดูงบประมาณหลักประกัน
สุขภาพถ้วนหน้า พบว่ามีการขยับเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง จนในปี 2551
เป็นปีแรกที่สำานักงบประมาณ กระทรวงการคลัง จัดสรรงบประมาณให้
ในอัตราที่พอเพียงกับการใช้บริการแล้ว ส่วนตัวเลขต้นทุนของ
กระทรวงที่คิดคำานวณและบอกว่าโรงพยาบาลขาดทุนนั้น ผมไม่เชื่อตัว
เลขใดๆ จากการทำาบัญชีของกระทรวง เพราะการทำาบัญชีของกระทรวง
มีปัญหา ไม่ว่าเปลี่ยนวิธีการทำาบัญชีอย่างไร คนทำาบัญชีต้องรู้เรื่อง
ตราบใดที่คนทำาบัญชียังเป็นหมอก็คงเชื่อบัญชีของกระทรวงได้ยาก
ข้อข่าวน่า    2

                                                       สนใจ
กลุ่มประกันชี้แจง การจัดทำาบัญชีของหน่วยบริการในสังกัดสป.จัดทำา
โดยนักบัญชีประจำาโรงพยาบาล ซึ่งรายงานด้วยข้อมูลที่มีหลักฐาน
ประกอบการดำาเนินการในโรงพยาบาลอย่างเป็นทางการ (Official
Data) ต้องรายงาน สตง. สามารถตรวจสอบได้ กลุ่มประกันชี้แจงบัญชี
ของรพ.สังกัดสป.ดำาเนินการตามมาตรฐานบัญชีเกณฑ์คงค้าง ที่เป็นที่
ยอมรับว่ามีความถูกต้องเป็นมาตรฐานของผู้นำาไปใช้ รวมถึงสปสช.ที่นำา
ไปทำาประมาณการค่าใช้จ่ายเพื่อของบขาขึ้นด้วย ทั้งนี้ในปัจจุบันมีการ
ตรวจสอบบัญชีโดยนักบัญชีที่ผ่านการอบรมการตรวจบัญชีโดยเฉพาะ
มีความครบถ้วนเกือบเกินร้อยละ 90 ของจำานวนรพ. และมีคุณภาพใน
ระดับเกือบ ร้อยละ 80 การนำาเสนอข้อมูลโดยส่วนกลางเป็นไปตาม
ข้อมูลที่พื้นที่รายงานมาโดยตรงไม่ได้มีการแต่งเติมข้อมูลเพื่อแสดงการ
ขาดทุนแต่อย่างใด ทั้งนี้ยังสามารถให้การตรวจสอบได้ อย่างไรก็ดี
การนำาข้อมูลมาใช้สามารถชี้ปัญหาในภาพรวมได้อย่างมีคุณภาพเพียง
พอ แต่ในกรณีการพิจารณาปัญหารายโรงพยาบาลพบว่าปัญหาความ
เดือดร้อนทางการเงินที่ปรากฏมากกว่าตัวเลข ได้แก่ ภาระค่าใช้จ่ายที่
เกิดจากผู้ป่วยหลักประกันสุขภาพที่เพิ่มขึ้นอย่างมากจนเงินที่ได้รับ
จัดสรรมาแบบกองทุนปลายปิดผลักภาระความเสี่ยงให้หน่วยบริการรับ
ผิดชอบเอง ทำาให้ค่าใช้จ่ายไม่เพียงพอ จนเกิดภาวะเป็นหนี้มากกว่า
วงเงินที่จะจ่ายได้ มีการค้างค่ายาบริษัทต่างๆ จนถูกฟ้อง มีการค้างค่า
ตอบแทนเจ้าหน้าที่จนมีการขอย้าย ยังไม่รวมการชดเชยข้ามกองทุน
จากสิทธิ์อื่นและเงินบำารุงของโรงพยาบาลเกลี่ยมาช่วยกองทุนหลัก
ประกันสุขภาพแห่งชาติ ซึ่งประมาณการในปี 2553 มีถึง 16,000 ล้าน
บาท จนเงินบำารุงโรงพยาบาลที่รวบรวมอย่างเป็นทางการคงเหลือเพียง
7,100 ล้านบาทซึ่งเป็นระดับที่เสี่ยงต่อการจัดบริการ อย่างไรก็ดีหลัก
พิจารณาที่แสดงว่างบไม่เพียงที่ชัดเจนที่สุดในขณะนี้คือ การดำาเนินการ
ของสปสช.ในการเพิ่มคำาของบประมาณในปี 2555 จำานวนที่เพิ่มขึ้น
มากจาก 2,546 เป็น 3,249 บาทต่อหัว เพิ่มขึ้น 703 บาทต่อหัว แสดงถึง
ปัญหาการเงินของหน่วยบริการที่ไม่เพียงพอ ในลักษณะที่ว่า หากไม่
เชื่อว่าบัญชีหน่วยบริการสป.สะท้อนความไม่เพียงพอของงบหลักประกัน
แล้ว แสดงว่าสปสช.ประเมินว่างบประมาณค่าใช้จ่ายของหน่วยบริการ
เพียงพอแล้วทำาไมจึงต้องของบประมาณในปี 2555 มากถึงขนาดนั้น
และเป็นที่ทราบกันดีว่า การประมาณค่าใช้จ่ายของสปสช.โดยหลักใหญ่
ร้อยละ 80 มาจากข้อมูลบริการ และบัญชีของหน่วยบริการสังกัดสป.

ส่วนปัญหางบการลงทุนเพื่อก่อสร้างและพัฒนาโรงพยาบาลนั้น ดร.อัม
มาร ยอมรับว่า ที่ผ่านมา สธ.ได้งบนี้น้อยมากตั้งแต่มีการจัดตั้ง สปสช.
ข้อข่าวน่า      3

                                                               สนใจ
ซึ่งต้องยอมรับว่าเราเองก็พลาดไป ทำาให้จากเดิมที่ สธ.เคยได้งบก้อนนี้ปี
ละ 8-9 พันล้านบาท เหลือเพียงแค่ไม่กี่พันล้านบาทเท่านั้น

กลุ่มประกันชี้แจง ประเด็นนี้มีความสำาคัญต่อปัญหาผู้ป่วยที่เพิ่มมากขึ้น
ต้องมีการพัฒนาอาคารและครุภัณฑ์การแพทย์ เมื่องบหลักประกัน
สุขภาพไม่เพียงพอ หลายโรงพยาบาลต้องนำาเงินบำารุงมาจัดหาอาคาร
และครุภัณฑ์การแพทย์เพื่อดูแลผู้ป่วย ยิ่งทำาให้ปัญหาการขาดสภาพ
คล่องรุนแรงขึ้น เนื่องจากเงินบำารุงที่จะมาชดเชยงบหลักประกันที่ไม่
เพียงพอจำาเป็นต้องลดลงอย่างชัดเจนในปี 2553

นอกจากนี้ ดร.อัมมาร กล่าวอีกว่า เรื ่ อ งระบบหลั ก ประกั น สุ ข ภาพ
นั ้ น ผมถื อ ว่ า เป็ น สั ญ ญาที ่ ร ั ฐ บาลได้ ใ ห้ ไ ว้ ก ั บ ประชาชน ว่ า
ประชาชนไม่ ต ้ อ งดู แ ลเรื ่ อ งการรั ก ษาพยาบาล แต่ ร ั ฐ บาลจะ
เป็ น ผู ้ ร ั บ ผิ ด ชอบเอง ดั ง นั ้ น จึ ง จะอ้ า งว่ า รั ฐ บาลไม่ ม ี ง บ
ประมาณไม่ ไ ด้ ซึ ่ ง ต้ อ งทำ า เช่ น เดี ย วกั บ รู ป แบบการจ่ า ยเงิ น
เดื อ นข้ า ราชการที ่ ไ ม่ ว ่ า จะมี ร ายจ่ า ยอะไร แต่ ต ้ อ งกั น งบส่ ว น
นี ้ ข ึ ้ น มาให้ ไ ว้ ก ่ อ น

ดร.อัมมาร ยังได้กล่าวถึงงบประมาณหลักประกันสุขภาพ ซึ่งทางสำานัก
งบประมาณจ่ายให้แก่ สปสช. ที่ไม่สอดคล้องกับอัตราการใช้บริการของ
ประชาชนที่เพิ่มขึ้น โดยเฉพาะในกลุ่มผู้ป่วยนอก ทั้งยังมีแนวโน้มช่อง
ว่างความแตกต่างที่มากขึ้นเรื่อยๆ ว่า อัตราการใช้บริการบ้านเราอยู่ที่ 3
ครั้งต่อคนต่อปี ซึ่งยังถือว่าเป็นจำานวนที่ไม่มากเมื่อเปรียบเทียบกับ
หลายๆ ประเทศ โดยอังกฤษอยู่ที่ 5 ครั้งต่อคนต่อปี แคนาดา 8 ครั้งต่อ
คนต่อปี ขณะที่ไต้หวันอยู่ที่ 14 ครั้งต่อคนต่อปี โดยบ้านเรายังมีอัตรา
การรับบริการที่ขยับเพิ่มขึ้นอีก ขณะที่สำานักงบประมาณยังคงคำานวณ
จ่ายจากตัวเลขเดิม ดังนั้น ปัญหาโรงพยาบาลขาดทุนจึงเป็นส่วนหนึ่ง
ที่มาจากงบประมาณที่ได้น้อยจริง

กลุ่มประกันชี้แจง ส่วนนี้เห็นได้ชัดว่า สปสช.ต้องการชี้ว่างบประมาณ
กองทุนหลักประกัน ทำาให้โรงพยาบาลพยาบาลขาดทุนจากการได้รับงบ
ประมาณไม่เพียงพอ แต่ทำาไมสปสช.ยังไม่ยอมรับการสะท้อนปัญหา
ความไม่เพียงพอจากบัญชีที่สป.รายงาน

ส่วนที่ทางสำานักงบประมาณต้องการให้ทาง สปสช. คำานวณงบเหมาจ่าย
รายหัวในอัตราที่คงในช่วง 4-5 ปี และไม่ต้องขอขยับเพิ่มในทุกปีนั้น
ขณะนี้อยู่ระหว่างการคำานวณตัวเลขงบเหมาจ่ายรายในช่วง 5 ปีข้าง
หน้าจากนี้ว่าจะเป็นอย่างไร เพื่อนำาไปคุยกับทางสำานักงบประมาณ
ข้อข่าวน่า            4

                                                                                  สนใจ
อย่างไรก็ตามต้องยอมรับว่าเป็นเรื่องที่ยาก ในการคาดการณ์ค่าใช้จ่าย
ระยะยาว

ปัญหา รพ.ขาดทุน นั้น บางส่วนอาจจะเป็นเรื่องของการเพิ่มค่าตอบแทน
แพทย์ ซึ่งในเรื่องนี้ ดร.อัมมาร กล่าวว่า การจ่ายค่าตอบแทนแพทย์เกิด
ขึ้นในปี 2552 เป็นปีแรก เนื่องจากเป็นปีที่โรงพยาบาลได้เงินเกิน มีเงิน
เหลือจากการรักษาพยาบาล สรุปก็คือมีกำาไร ทำาให้มีบำารุงสะสมของ
โรงพยาบาลเป็นจำานวนเงินถึง 40,000 ล้านบาท ซึ่งถือเป็นจำานวนที่มาก
เป็นประวัติศาสตร์

จากนั้นจึงมีการเสนอเพิ่มค่าตอบแทนให้แพทย์ โดยใช้เงินบำารุงโรง
พยาบาลไปก่อน เพราะว่ามีกำาไร ทั้งๆ ที่ ที่กำาไรนี้ไม่ใช่ว่าจะได้มาตลอด
ต่อเนื่อง ขณะที่การจ่ายค่าตอบแทนถือเป็นรายจ่ายที่ต้องจ่ายสมำ่าเสมอ
ด้วยเหตุให้เงินบำารุงที่สะสมมาเริ่มหมดไป

"หลั ก การเพิ ่ ม ค่ า ตอบแทนแพทย์ น ั ้ น เห็ น ด้ ว ยและเป็ น สิ ่ ง ที ่
ต้ อ งทำ า อย่ า งยิ ่ ง เพี ย งแต่ ว ิ ธ ี ท ี ่ ท ำ า อยู ่ น ี ้ เ ป็ น วิ ธ ี ก ารที ่ ใ ช้ ไ ม่ ไ ด้
และซำ ้ า เมื ่ อ มี ก ารอนุ ม ั ต ิ ค ่ า ตอบแทนให้ แ พทย์ ช นบทกลุ ่ ม แรก
ก็ เ กิ ด ความไม่ เ สมอภาค ทำ า ให้ แ พทย์ ใ นกลุ ่ ม อื ่ น ๆ และ
บุ ค ลากรด้ า นสาธารณสุ ข อื ่ น ๆ ขอค่ า ตอบแทนด้ ว ย ซึ ่ ง ล้ ว นแต่
ใช้ เ งิ น บำ า รุ ง โรงพยาบาลอี ก เช่ น กั น " ดร. อั ม มาร กล่ า ว

กลุ่มประกันชี้แจง เงินบำารุงหน่วยบริการแท้จริงหักภาระผูกพันแล้วเหลือ
เพียง 1 1,990 ล้านบาท เท่านั้น ปี 2552 ในภาพรวมโรงพยาบาลทั้งหมอ
ขาดทุนที่ 1,246 ล้านบาท ซึ่งเป็นปีแรกที่ขาดทุน แต่ปัญหาค่าตอบแทน
เพื่อรักษาแพทย์ในระบบ และรองรับปริมาณที่เพิ่มขึ้นเป็นปัญหาสำาคัญ
ในการปรับค่าตอบแทนเพื่อรักษาบุคลากรไว้ในระบบ และเพื่อให้มีผล
ตอบแทนเหมาะสมกับภาระงาน การปรับนี้ได้ประสานสปสช.ให้อยู่ใน
รายหัวปกติแล้วแต่ไม่ได้รับสนับสนุน ทั้งนี้ส่วนหนึ่งมาจากการดำาเนิน
การของสปสช.โดยตั้งแยกค่าตอบแทนส่วนเพิ่มไม่ได้นำาไปรวมในค่าหัว
ปกติทำาให้สำานักงบประมาณไม่จัดสรรให้ผ่านอัตราเหมาจ่ายรายหัว
อย่างไรก็ดีงบประมาณส่วนนี้เป็นภาระกับโรงพยาบาลชุมชนมากที่สุด
รัฐได้จัดสรรเพิ่มเติมเป็นงบประมาณให้เฉพาะ โรงพยาบาลชุมชน
จำานวน 2,870 ล้านบาท ทั้งนี้เพราะสัดส่วนค่าใช้จ่ายด้านบุคลากรใน
รพช.เฉลี่ยทั้งประเทศสูงถึง 50% ในขณะที่รพท. รพศ. มีสัดส่วนเพียง
36%
ข้อข่าวน่า       5

                                                                 สนใจ
เมื่อเงินบำารุงโรงพยาบาลเริ่มหมด ก็เกิดปัญหาขึ้น จำาเป็นต้องของบ
ประมาณเพิ่มเติม โดยอ้างว่าโรงพยาบาลเกิดภาวะขาดทุน และโทษการ
บริหารในระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า นอกจากนี้ยังให้สำานักงาน
หลักประกันสุขภาพแห่งชาติ (สปสช.) เป็นผู้แบกหน้าไปของบประมาณ
นี้จากสำานักงบประมาณ โดยในปีงบประมาณ 2555 นี้ ทาง รมว.สธ.ก็ขอ
ให้ สปสช.ของบค่าตอบแทนอีก

อย่างไรก็ตาม ผมเห็นว่าปัญหาค่าตอบแทนแพทย์นั้น เป็นเรื่องที่ต้องทำา
แต่รัฐบาลต้องเป็นผู้ดูแล เพราะที่ผ่านมามีการรายงานชี้ชัดว่า จากการ
เพิ่มค่าตอบแทนสามารถหยุดปัญหาแพทย์สมองไหลได้

“ หากดู แ ค่ ต ั ว เลขกำ า ไรขาดทุ น ของโรงพยาบาลสั ง กั ด สธ. คง
ยั ง ไม่ ส ามารถบอกได้ ว ่ า จริ ง ๆ แล้ ว โรงพยาบาลมี ก ำ า ไรหรื อ
ขาดทุ น กั น แน่ เพราะว่ า โรงพยาบาลสั ง กั ด สธ.ทำ า บั ญ ชี เ หมื อ
นร้ า นโชห่ ว ย ที ่ น ำ า เงิ น ทั ้ ง หมดใส่ ต ะกร้ า ขายของได้ ก ็ น ำ า เงิ น
ใส่ จ่ า ยซื ้ อ ของก็ น ำ า เงิ น จากตะกร้ า หรื อ แม้ แ ต่ ล ู ก ขอตั ง ค์ ก ็
นำ า เงิ น จากตะกร้ า บั ญ ชี ท ี ่ ท ำ า จึ ง ดู แ ปลกๆ ลงบั ญ ชี ผ ิ ด ๆ ถู ก ๆ
เรี ย กว่ า เป็ น ระบบบั ญ ชี ท ี ่ เ ละเทะ และมาบอกว่ า สปสช. เราให้
เงิ น โรงพยาบาลลดลง ” นั ก วิ ช าการ ที ด ี อ าร์ ไ อ กล่ า ว

กลุ่มประกันชี้แจง ระบบบัญชีนี้ที่ปรึกษาบัญชีทางสปสช.นำาไปใช้อย่าง
เป็นทางการ ผู้กำาหนดการลงบัญชีก็เป็นไปโดยที่ปรึกษาซึ่งเคยสังกัด
สป.ในอดีต เพียงแต่พอมีปัญหาระบบเงินในระบบหลักประกันไม่เพียง
พอ ซึ่งมีหลักฐานชัดเจนจากการของบเพิ่มมหาศาลของสปสช. จาก
ปัญหาการจัดสรรที่กระจายตามจำานวนปชก. และการหักเงินเดือน
ทำาให้หน่วยบริการจำานวนมากมีงบดำาเนินการไม่เพียงพอในภาพรวมมี
จังหวัดซึ่งงบประมาณไม่เพียงพอถึง 60 จังหวัด จากการจัดสรรทั้งหมด
75 จังหวัด และจากการกันเงินกองกลางเพื่อรักษาโรคยาก ราคาแพง
และเงื่อนไขเฉพาะแทนที่จะจัดสรรให้บริการพื้นฐานก่อน ในทำานอง
เดียวกันเมื่อพิจารณาว่าเงินกองทุน หลักประกันมีมากพอจึงมีการขยาย
สิทธิ์พิเศษออกไปโดยไม่ประเมินสถานะทางการเงินล่วงหน้าให้ถ่องแท้
ทำาให้หน่วยบริการเล็กไม่สามารถเข้าถึงงบส่วนนี้ที่ถูกแบ่งไปจากงบพื้น
ฐานของตัวเองตั้งแต่แรก เหล่านี้คือกลุ่มประกันชี้แจงที่ทุกหน่วยบริการ
ทุกหน่วยบริหารรับทราบดีว่าเป็นปัจจัยสำาคัญต่อการขาดทุน พอมี
ปัญหาการขาดทุนที่เกิดจากการบริหารจัดการจึงปกป้องตนเองด้วยการ
โทษบัญชีว่าไม่น่าเชื่อถือ เป็นเรื่องที่นับว่าไม่น่าจะเป็นการแสดงข้อคิด
เห็นที่จะนำาไปใช้เป็นประจักษ์พยานได้
ข้อข่าวน่า     6

                                                             สนใจ
ดร.อัมมาร กล่าวว่า เงินบำารุงโรงพยาบาล 40,000 ล้านบาท ในปี 2552
นั้น โรงพยาบาลแต่ละแห่งก็มีไม่เท่ากัน บางแห่งมีเงินบำารุงสะสมหลัก
พันล้านบาท บางแห่งมีพอที่จะจ่ายค่าตอบแทนได้ แต่บางแห่งเมื่อจ่าย
ไปแล้วก็ประสบปัญหาโรงพยาบาลขาดทุน ดังนั้นจึงมีเสียงโวยวายว่า
โรงพยาบาลขาดทุน ปัญหาโรงพยาบาลขาดทุนนี้แตกต่างจากช่วงแรก
ของการตั้ง สปสช. เพราะขณะนั้นเกิดจากรัฐบาลให้งบน้อย ไม่เพียงพอ
จริงๆ จากนั้นจึงได้มีการขยับขึ้นจนเพียงพอ

กลุ่มประกันชี้แจง กลไกการเกิดปัญหากรณีมีความแตกต่างทางการเงิน
ที่สำาคัญ คือการจัดสรรงบประมาณจากสปสช.ไปยังหน่วยบริการ
โดยตรง ไม่ได้นำาผ่านสธ. ทำาให้การเกลี่ยงบประมาณเป็นไปด้วยความ
ยากลำาบาก เนื่องจากหลักเกณฑ์การจ่ายก็กำาหนดโดยสปสช. ตกลงกับ
หน่วยบริการ พบว่าเป็นเหตุสำาคัญให้งบประมาณไหลไปสู่โรงพยาบาลที่
มีศักยภาพรักษาโรคยาก ราคาแพง ดังนั้นโรงพยาบาลชุมชนที่มีสัดส่วน
ผู้มารับบริการจากสิทธิหลักประกันถ้วนหน้ามากเฉลี่ยร้อยละ 70 ไม่มี
รายได้จากสิทธิอื่นที่มากพอมาชดเชยจึงขาดทุนจากกองทุนหลักประกัน
เด่นชัดจึงขาดทุนและประสบภาวะวิกฤตจำานวนมาก ในขณะที่รพศ.
รพท. มีรายได้จากหลักประกันถ้วนหน้าเพียงร้อยละ 30 มีรายได้จาก
แหล่งอื่นถึงร้อยละ 70 จึงสามารถดำาเนินการอยู่ได้ และโรงพยาบาล
สามารถดำาเนินการมีเงินทุนหมุนเวียน(คือสินทรัพย์หมุนเวียนรวมวัสดุ
คงคลังที่นำาไปใช้ได้ หักลบด้วยหนี้สินหมุนเวียน ซึ่งเป็นค่าที่ดีที่สุดใน
การบอกฐานะการเงิน) เป็นลบคือหนี้ล้นตัวอยู่ถึง 258 รพ. รพ.ที่เป็นบวก
ส่วนใหญ่เป็นเพียงหลักสิบล้าน สูงสุดเพียง 825 ล้านไม่ได้เป็นหลักพัน
ล้านอย่างที่ว่า

" ปั ญ หาขาดทุ น ขณะนี ้ ม าจากการเพิ ่ ม ค่ า ตอบแทน โดยก่ อ น
หน้ า นี ้ ใ นช่ ว ง 2-3 ปี ข องการเพิ ่ ม ค่ า ตอบแทนก็ ไ ม่ เ ป็ น ปั ญ หา
อย่ า งไรก็ ต ามในการบริ ห ารงบประมาณรั ก ษาพยาบาลนั ้ น ตน
พบว่ า หากเราให้ ง บประมาณโรงพยาบาลมาก เขาก็ จ ะใช้ ม าก
แต่ ห ากให้ น ้ อ ย เขาก็ จ ะใช้ น ้ อ ยตาม" ดร. อั ม มาร กล่ า ว

กลุ่มประกันชี้แจง ในประเด็นนี้การให้งบประมาณไม่ควรเป็นไปตาม
ความรู้สึกเพียงเพื่อการควบคุมค่าใช้จ่าย เหมือนพ่อควบคุมเงินค่าขนม
ลูก เนื่องจากการใช้จ่ายด้านสุขภาพเป็นการใช้จ่ายที่จำาเป็นบนฐานของ
การดูแลสุขภาพ ความเป็นความตายของประชาชน อีกประการโรง
พยาบาลภาครัฐเป็นโรงพยาบาลไม่ได้หวังกำาไร การดำาเนินการใดๆ ก็
เป็นไปเพื่อให้ประโยชน์สุดท้ายตกไปกับสุขภาพประชาชนที่ดีขึ้น การ
ข้อข่าวน่า      7

                                                            สนใจ
ปรับค่าตอบแทนดูเหมือนทำาเพื่อบุคลากร แต่หากไม่ดำาเนินการ ปัจจัย
หลักในการดำาเนินการระบบดูแลสุขภาพ คือตัวบุคลากรจะสูญหาย
ขาดแคลนจนไม่สามารถให้บริการประชาชนเพื่อสุขภาพดีได้

ส่วนเสียงบ่นจากโรงพยาบาล อย่างเช่น โรงเรียนแพทย์ ในการจัดงบ
ประมาณระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าที่ไม่เพียงพอ ต้องนำางบใน
ระบบสวัสดิการข้าราชการเพื่ออุดหนุนนั้น ดร.อัมมาร กล่าวว่า หาก
เป็นการบ่นจากโรงเรียนแพทย์ ผมเห็นว่าโรงเรียนแพทย์ไม่มีสิทธิ์พูด
อะไร เพราะโรงเรียนแพทย์รวยมาก แค่เฉพาะงบประมาณลงทุนที่มา
จากเงินงบประมาณจริงๆ ไม่รวมงบประมาณที่มาจากเงินบริจาคอุดหนุน
โดยโรงเรียนแพทย์ทุกแห่งทั่วประเทศ ซึ่งมีทั้งหมด 20 แห่ง ใช้เงิน
มากกว่างบประมาณโรงพยาบาลสังกัดกระทรวงสาธารณสุขซึ่งมีถึง 900
แห่งรวมกัน ดังนั้น จะเห็นได้ว่าโรงเรียนแพทย์จึงไม่มีปัญหาในเรื่องงบ
ประมาณ

กลุ่มประกันชี้แจง ถึงตอนนี้แสดงได้ชัดว่าขนาดโรงพยาบาลที่ฐานะการ
เงินดี ยังบ่นถึงความไม่เพียงพอของระบบหลักประกัน ในขณะที่ยอมรับ
แล้วว่ารพ.รัฐสป.ใช้งบน้อยกว่าแต่ภาระมากกว่าจะอยู่รอดได้อย่างไร

ส่วนปัญหาระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า เดินหน้าเข้าสู่ปีที่ 9 แล้ว มี
จุดอ่อนใดที่ยังต้องปรับหรือไม่ ดร.อัมมาร กล่าวว่า สปสช. ยังเป็นปัญหา
เพราะว่าถูกควบคุมโดย สธ. ที่เป็นผู้ให้บริการลูกค้า ซึ่งเมื่อนำาระบบหลัก
ประกันสุขภาพถ้วนหน้าเปรียบเทียบกับประกันสังคม พบว่าสิ่งที่คน
พอใจกับระบบประกันสังคมเพราะเขาสามารถเลือกใช้บริการโรง
พยาบาลใดก็ได้ และพอใจที่เป็นผู้เลือก ดังนั้นจากประเด็นเหล่านี้ จึง
มองว่าการมีสิทธิเลือกสถานพยาบาลกับโอกาสที่จะได้รับบริการที่ดีต้อง
เดินไปด้วยกัน สถานพยาบาลไหนดี ประชาชนต้องมีสิทธิเลือก

ดร. อั ม มาร มองว่ า จริ ง ๆ แล้ ว ผมอยากให้ โ รงพยาบาลทั ้ ง หมด
ออกจาก สธ. เป็ น อิ ส ระ ให้ เ ขาบริ ห ารกั น เอง ซึ ่ ง หลั ง จากออก
จาก สธ. แล้ ว สปสช.จะดึ ง กลั บ ไปอยู ่ ใ น สธ. ก็ ไ ด้ โดย สธ.จะ
ดู แ ลแต่ เ ฉพาะโรงพยาบาลเล็ ก ๆ ในพื ้ น ที ่ ท ี ่ ห ่ า งไกลเท่ า นั ้ น
เช่ น โรงพยาบาลเกาะยาว รวมทั ้ ง โรงพยาบาลศู น ย์

กลุ่มประกันชี้แจง การเสนอนี้ถือว่าไม่ได้มีพื้นฐานความเข้าใจระบบ
สุขภาพที่ดำาเนินการผ่านเครือข่ายสุขภาพภายใต้กระทรวงสาธารณสุข
เลย แท้จริงการบริหารทรัพยากรโดยมีภาคส่วนบริหารทำาให้เกิด
ประสิทธิภาพโดยไม่ต้องใช้เงินอยู่จำานวนมาก โดยเฉพาะการ
ข้อข่าวน่า      8

                                                            สนใจ
กำาหนดการรับและส่งต่อ การปรับเกลี่ยงบประมาณให้เกิดสมดุลเท่า
เทียมกับภาระงานจริง แต่การที่สปสช.มาทำาใช้เงินอย่างเดียวขับเคลื่อน
ให้หน่วยบริการดำาเนินการด้านสุขภาพตามนโยบายสปสช.ใยระยะ 9 ปี
นับว่าล้มเหลวอย่างเห็นได้ชัด ทั้งที่งบประมาณก็เพิ่มขึ้นทุกปี อย่างมาก
แต่ยังไม่สามารถนำาพาหน่วยบริการทั้งหมดไปได้ ในขณะที่มีการจัดสรร
เงินข้ามอำานาจกระทรวงสาธารณสุข ทำาให้ความสามารถปรับเกลี่ย
เฉลี่ยทุกข์เฉลี่ยสุข ตามวงเงินที่มีไม่สามารถดำาเนินการได้ ส่วนสำาคัญ
เกิดจากวัฒนธรรมที่สปสช.สร้างขึ้นให้หน่วยบริการแข่งขันกันทำาผล
งาน บริการประชาชนที่เข้าถึงบริการโดยไม่มีเครื่องมือควบคุม จนปี
หลังๆงบตามผลงานจ่ายได้น้อยกว่าผลงานจริงที่เกิดขึ้น จึงไม่เป็นการ
ถูกต้องนักที่พูดอย่างหนึ่งว่าให้เงินน้อยแต่ทำาอย่างหนึ่งคือให้แข่งขันกัน
ทำาผลงาน ถึงเวลามาบอกว่าการบริหารจัดการโดยสธ.ไม่เหมาะสม ที่แท้
เกิดจากกระบวนการของสปสช.ทั้งหมดใช่หรือไม่ แล้วมาบอกให้แยก
หน่วยบริการออกไป เช่นนี้แล้วตัวเองทำาผิดแล้วยกผิดให้คนอื่นใช่หรือ
ไม่

ฝากพี ่ น ้ อ งนั ก บั ญ ชี แ ละผู ้ อ ่ า นช่ ว ยพิ จ ารณาว่ า คำ า พู ด
เหล่ า นี ้ เ กิ ด ขึ ้ น ได้ อ ย่ า งไร เราต้ อ งปรั บ ปรุ ง อะไรบ้ า ง
เขี ย นเสนอส่ ง มาที ่ uchakrit@yahoo.com แล้ ว จะเอามาเป็ น
แนวทางดำ า เนิ น การของกลุ ่ ม ประกั น ครั บ /นพ .บั ญ ชา
ค้ า ของ รองผอ .กลุ ่ ม ประกั น สุ ข ภาพ สป .
มี ผ ู ้ ร ่ ว มชี ้ แ จงต่ อ ............
นักบัญชีขอชี้แจง
        ปัญหาที่เกิดขึ้นมาจาก ٢ ประการ

ประการแรก ต้องเข้าใจว่า กระบวนการจัดสรรเงินแบบ
Capitation ในระบบ UC เป็นแนวคิดของนักเศรษฐศาสตร์
สาธารณสุข มิใช่ของนักบัญชี แนวคิดของนักบัญชีกบ    ั
นักเศรษฐศาสตร์มีความแตกต่างกันโดยพื้นฐาน ในการ
บริหารองค์กรไม่ว่ากรณีแสวงหากำาไรหรือไม่แสวงหา
กำาไร จะใช้ทั้ง 2 ส่วนประกอบกัน (ไม่ควรโจมตีต่อต้าน
ข้อข่าวน่า        9

                                                                      สนใจ
กัน) ดังนั้นการที่ใช้คำาว่า “โรงพยาบาลสั ง กั ด สธ.ทำ า บั ญ ชี
เหมื อ นร้ า นโชห่ ว ย ที ่ น ำ า เงิ น ทั ้ ง หมดใส่ ต ะกร้ า ขายของได้ ก ็
นำ า เงิ น ใส่ จ่ า ยซื ้ อ ของก็ น ำ า เงิ น จากตะกร้ า หรื อ แม้ แ ต่ ล ู ก ขอ
ตั ง ค์ ก ็ น ำ า เงิ น จากตะกร้ า บั ญ ชี ท ี ่ ท ำ า จึ ง ดู แ ปลกๆ ลงบั ญ ชี ผ ิ ด ๆ
ถู ก ๆ เรี ย กว่ า เป็ น ระบบบั ญ ชี ท ี ่ เ ละเทะ และมาบอกว่ า สปสช.
เราให้ เ งิ น โรงพยาบาลลดลง ” นั ้ น หากพิ จ ารณาดู แ ล้ ว
เข้ า ใจว่ า ผู ้ เ ขี ย นยั ง ไม่ ม ี ค วามเข้ า ใจจิ ต วิ ญ ญาณ
ของนั ก บั ญ ชี แ ละสิ ่ ง ที ่ น ั ก บั ญ ชี ถ ู ก ปลู ก ฝั ง ไว้ ใ น
สถาบั น การศึ ก ษามาเป็ น เวลาหลายปี เราคง
ปฏิ เ สธไม่ ไ ด้ ว ่ า คงมี น ั ก บั ญ ชี จ ำ า นวนหนึ ่ ง ที ่ อ าจมี
ความผิ ด พลาดในการลงบั ญ ชี แต่ ก ็ ม ิ ใ ช่ ท ั ้ ง หมด
อย่ า งไรก็ ต าม คงปฏิ เ สธไม่ ไ ด้ เ ช่ น กั ้ น ว่ า คงมี น ั ก
เศรษฐศาสตร์ จ ำ า นวนไม่ น ้ อ ยที ่ ม ี ค วามผิ ด พลาด
ในการคาดการณ์ และพาให้ ป ระเทศไปสู ่ ค วาม
ล้ ม เหลว ปั ญ หาคื อ “ ใ ค รมี ส ่ ว นทำ า ให้ เ กิ ด ความ
ผิ ด พลาดล้ ม เหลวมากกว่ า กั น ระหว่ า ง คนคิ ด กั บ
คนที ่ ต ้ อ งปฏิ บ ั ต ิ ต ามความคิ ด ที ่ ผ ิ ด พลาดมาตั ้ ง แต่
ต้ น ”
ประการที่สอง ความต้องการที่ไม่รู้จักพอ แม้ว่าเงินกองทุน
ที่เพิ่มขึ้นทุกปีเป็นสิ่งที่ดี และเป็นความคาดหวังของฝ่ายผู้
ให้บริการว่าจะได้รับการจัดสรรเงินเพิ่มขึ้น แต่ในความ
เป็นจริงการจัดสรรเงินเหล่านั้นได้จ่ายให้กับหน่วยบริการ
จริงหรือ? การเพิ่มเงินควบคู่กับสิทธิประโยชน์ ทั้งในทาง
ต่อรอง เจรจา และความคาดหวังของรัฐบาลที่จะให้เกิด
ผลประโยชน์ต่อประชาชน สำานักงาน สปสช.ก็ขยายกิ่ง
ก้านสาขามากขึ้น ตำาแหน่งงานที่เพิ่มขึ้น ความเติบโตใน
องค์กร จำานวนกองทุนย่อย ผู้จัดการกองทุน เจ้าหน้าที่
กองทุนเพิ่มมากขึ้น แต่กระทรวงสาธารณสุขได้อะไร ผู้
ข้อข่าวน่า   10

                                          สนใจ
ให้บริการได้อะไร ทุกคนย่อมทราบตัวเองดี อยากให้ทุก
คนเก็บไว้คดเป็นประเด็น
          ิ
    อมรรัตน์ พีระพล หัวหน้าฝ่ายการเงินและบัญชี กลุ่ม
                                      ประกันสุขภาพ

More Related Content

Similar to Hotnew1

2 ผลงานภารกิจปลดทุกข์ลุงสำราญ (กลุ่มธนิตา)
2 ผลงานภารกิจปลดทุกข์ลุงสำราญ (กลุ่มธนิตา)2 ผลงานภารกิจปลดทุกข์ลุงสำราญ (กลุ่มธนิตา)
2 ผลงานภารกิจปลดทุกข์ลุงสำราญ (กลุ่มธนิตา)Nutthakorn Songkram
 
Healthcare ปัญหาและอุปสรรค ในการพัฒนาพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
Healthcare ปัญหาและอุปสรรค ในการพัฒนาพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์Healthcare ปัญหาและอุปสรรค ในการพัฒนาพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
Healthcare ปัญหาและอุปสรรค ในการพัฒนาพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์Jaratpan Onghununtakul
 
Distribute
DistributeDistribute
Distributethaitrl
 
บริการปฐมภูมิ
บริการปฐมภูมิบริการปฐมภูมิ
บริการปฐมภูมิSunisa Sudsawang
 
ระบบบริการปฐมภูมิหมออนามัย
ระบบบริการปฐมภูมิหมออนามัยระบบบริการปฐมภูมิหมออนามัย
ระบบบริการปฐมภูมิหมออนามัยChuchai Sornchumni
 
ร่วมแสดงความเห็นใน 12 ประเด็น ที่เกี่ยวกับร่าง พรบ.697
ร่วมแสดงความเห็นใน 12 ประเด็น ที่เกี่ยวกับร่าง พรบ.697ร่วมแสดงความเห็นใน 12 ประเด็น ที่เกี่ยวกับร่าง พรบ.697
ร่วมแสดงความเห็นใน 12 ประเด็น ที่เกี่ยวกับร่าง พรบ.697dentyomaraj
 
การประกันสังคมคืออะไร
การประกันสังคมคืออะไรการประกันสังคมคืออะไร
การประกันสังคมคืออะไรwanarrom
 
โรงพยาบาลคุณธรรม
โรงพยาบาลคุณธรรมโรงพยาบาลคุณธรรม
โรงพยาบาลคุณธรรมDr.Suradet Chawadet
 
Business Plan for CMU Pharmacy 2540
Business Plan for CMU Pharmacy 2540Business Plan for CMU Pharmacy 2540
Business Plan for CMU Pharmacy 2540Utai Sukviwatsirikul
 
ปลัดสธ. วางระบบDhs
ปลัดสธ. วางระบบDhsปลัดสธ. วางระบบDhs
ปลัดสธ. วางระบบDhsCddthai Thailand
 
B T C1 M S Y.
B T C1  M S Y.B T C1  M S Y.
B T C1 M S Y.patmsy
 
สวัสดิการและสิทธิประโยชน์
สวัสดิการและสิทธิประโยชน์สวัสดิการและสิทธิประโยชน์
สวัสดิการและสิทธิประโยชน์eXscript
 
57 03หลักการขึ้นทะเบียน ขจีรัตน์
57 03หลักการขึ้นทะเบียน ขจีรัตน์57 03หลักการขึ้นทะเบียน ขจีรัตน์
57 03หลักการขึ้นทะเบียน ขจีรัตน์หมอปอ ขจีรัตน์
 

Similar to Hotnew1 (20)

2 ผลงานภารกิจปลดทุกข์ลุงสำราญ (กลุ่มธนิตา)
2 ผลงานภารกิจปลดทุกข์ลุงสำราญ (กลุ่มธนิตา)2 ผลงานภารกิจปลดทุกข์ลุงสำราญ (กลุ่มธนิตา)
2 ผลงานภารกิจปลดทุกข์ลุงสำราญ (กลุ่มธนิตา)
 
Healthcare ปัญหาและอุปสรรค ในการพัฒนาพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
Healthcare ปัญหาและอุปสรรค ในการพัฒนาพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์Healthcare ปัญหาและอุปสรรค ในการพัฒนาพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
Healthcare ปัญหาและอุปสรรค ในการพัฒนาพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
 
Distribute
DistributeDistribute
Distribute
 
บริการปฐมภูมิ
บริการปฐมภูมิบริการปฐมภูมิ
บริการปฐมภูมิ
 
ระบบบริการปฐมภูมิหมออนามัย
ระบบบริการปฐมภูมิหมออนามัยระบบบริการปฐมภูมิหมออนามัย
ระบบบริการปฐมภูมิหมออนามัย
 
วพบ นครราชสีมา๕๖
วพบ นครราชสีมา๕๖วพบ นครราชสีมา๕๖
วพบ นครราชสีมา๕๖
 
Smart Industry Vol.23
Smart Industry Vol.23Smart Industry Vol.23
Smart Industry Vol.23
 
ร่วมแสดงความเห็นใน 12 ประเด็น ที่เกี่ยวกับร่าง พรบ.697
ร่วมแสดงความเห็นใน 12 ประเด็น ที่เกี่ยวกับร่าง พรบ.697ร่วมแสดงความเห็นใน 12 ประเด็น ที่เกี่ยวกับร่าง พรบ.697
ร่วมแสดงความเห็นใน 12 ประเด็น ที่เกี่ยวกับร่าง พรบ.697
 
การประกันสังคมคืออะไร
การประกันสังคมคืออะไรการประกันสังคมคืออะไร
การประกันสังคมคืออะไร
 
โรงพยาบาลคุณธรรม
โรงพยาบาลคุณธรรมโรงพยาบาลคุณธรรม
โรงพยาบาลคุณธรรม
 
สคร7
สคร7สคร7
สคร7
 
Business Plan for CMU Pharmacy 2540
Business Plan for CMU Pharmacy 2540Business Plan for CMU Pharmacy 2540
Business Plan for CMU Pharmacy 2540
 
National Consultation on PMTCT option B plus in Thailand
National Consultation on PMTCT option B plus in ThailandNational Consultation on PMTCT option B plus in Thailand
National Consultation on PMTCT option B plus in Thailand
 
ปลัดสธ. วางระบบDhs
ปลัดสธ. วางระบบDhsปลัดสธ. วางระบบDhs
ปลัดสธ. วางระบบDhs
 
B T C1 M S Y.
B T C1  M S Y.B T C1  M S Y.
B T C1 M S Y.
 
Aesthetic plastic surgery final
Aesthetic plastic surgery finalAesthetic plastic surgery final
Aesthetic plastic surgery final
 
Thai2009 2
Thai2009 2Thai2009 2
Thai2009 2
 
CPG COPD Thailand 2553
CPG COPD Thailand 2553CPG COPD Thailand 2553
CPG COPD Thailand 2553
 
สวัสดิการและสิทธิประโยชน์
สวัสดิการและสิทธิประโยชน์สวัสดิการและสิทธิประโยชน์
สวัสดิการและสิทธิประโยชน์
 
57 03หลักการขึ้นทะเบียน ขจีรัตน์
57 03หลักการขึ้นทะเบียน ขจีรัตน์57 03หลักการขึ้นทะเบียน ขจีรัตน์
57 03หลักการขึ้นทะเบียน ขจีรัตน์
 

More from yim2009

2 pts10jun2554
2 pts10jun25542 pts10jun2554
2 pts10jun2554yim2009
 
1 p4 p10sep
1 p4 p10sep1 p4 p10sep
1 p4 p10sepyim2009
 
สิทธิการตาย
สิทธิการตายสิทธิการตาย
สิทธิการตายyim2009
 
Criteria 6
Criteria 6Criteria 6
Criteria 6yim2009
 
Criteria 4
Criteria 4Criteria 4
Criteria 4yim2009
 
สถิติการสอบวิชาสามัญฯ กสพท.2554
สถิติการสอบวิชาสามัญฯ กสพท.2554สถิติการสอบวิชาสามัญฯ กสพท.2554
สถิติการสอบวิชาสามัญฯ กสพท.2554yim2009
 
การประกาศผลการสอบคัดเลือกฯ กสพท.2554
การประกาศผลการสอบคัดเลือกฯ กสพท.2554การประกาศผลการสอบคัดเลือกฯ กสพท.2554
การประกาศผลการสอบคัดเลือกฯ กสพท.2554yim2009
 

More from yim2009 (8)

3 tavee
3 tavee3 tavee
3 tavee
 
2 pts10jun2554
2 pts10jun25542 pts10jun2554
2 pts10jun2554
 
1 p4 p10sep
1 p4 p10sep1 p4 p10sep
1 p4 p10sep
 
สิทธิการตาย
สิทธิการตายสิทธิการตาย
สิทธิการตาย
 
Criteria 6
Criteria 6Criteria 6
Criteria 6
 
Criteria 4
Criteria 4Criteria 4
Criteria 4
 
สถิติการสอบวิชาสามัญฯ กสพท.2554
สถิติการสอบวิชาสามัญฯ กสพท.2554สถิติการสอบวิชาสามัญฯ กสพท.2554
สถิติการสอบวิชาสามัญฯ กสพท.2554
 
การประกาศผลการสอบคัดเลือกฯ กสพท.2554
การประกาศผลการสอบคัดเลือกฯ กสพท.2554การประกาศผลการสอบคัดเลือกฯ กสพท.2554
การประกาศผลการสอบคัดเลือกฯ กสพท.2554
 

Hotnew1

  • 1. ข้อข่าวน่า 1 สนใจ “หากดู แ ค่ ต ั ว เลขกำ า ไรขาดทุ น ของโรงพยาบาลสั ง กั ด สธ. คง ยั ง ไม่ ส ามารถบอกได้ ว ่ า จริ ง ๆ แล้ ว โรงพยาบาลมี ก ำ า ไรหรื อ ขาดทุ น กั น แน่ เพราะว่ า โรงพยาบาลสั ง กั ด สธ.ทำ า บั ญ ชี เ หมื อ นร้ า นโชห่ ว ย ที ่ น ำ า เงิ น ทั ้ ง หมดใส่ ต ะกร้ า ขายของได้ ก ็ น ำ า เงิ น ใส่ จ่ า ยซื ้ อ ของก็ น ำ า เงิ น จากตะกร้ า หรื อ แม้ แ ต่ ล ู ก ขอตั ง ค์ ก ็ นำ า เงิ น จากตะกร้ า บั ญ ชี ท ี ่ ท ำ า จึ ง ดู แ ปลกๆ ลงบั ญ ชี ผ ิ ด ๆ ถู ก ๆ เรี ย กว่ า เป็ น ระบบบั ญ ชี ท ี ่ เ ละเทะ และมาบอกว่ า สปสช. เราให้ เงิ น โรงพยาบาลลดลง ” 'อัมมาร'ทวงสัญญารัฐบาลอ้างว่าไม่มีงบดูแลสุขภาพไม่ได้ วันที่ 21 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2554 กรุงเทพธุรกิจออนไลน์ ภาระงบประมาณค่ารักษาพยาบาลที่เพิ่มมากขึ้น ทำาให้หลายฝ่ายเริ่ม กังวล ว่า จะกระทบต่อภาระการเงินการคลังของประเทศจนอาจแบกรับ ไม่ไหว รวมไปถึงปัญหาโรงพยาบาลขาดทุน โดย ดร.อัมมาร สยามวาลา นักวิชาการ ทีดีอาร์ไอ ในฐานะประธานคณะอนุกรรมการพัฒนาระบบ การเงินการคลัง คณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เพื่อร่วมกัน วิเคราะห์ปัญหาระบบสาธารณสุขของประเทศ ให้สัมภาษณ์ถึงปมปัญหา ต่างๆที่เกิดขึ้น จากปัญหาโรงพยาบาลในสังกัด กระทรวงสาธารณสุข (สธ.) กว่า 900 แห่ง ซึ่งมีปัญหาสภาพคล่อง หลายโรงพยาบาลถึงขั้นขาดทุน ซึ่งสาเหตุ อาจจะเกิดจากงบประมาณค่ารายหัวของบัตรประกันสุขภาพมีจำานวนไม่ เพียงพอ รายงานโดย ดวงกมล สจิ ร วั ฒ นากุ ล ประเด็นดังกล่าว ดร.อัมมาร กล่าวว่า เมื่อดูงบประมาณหลักประกัน สุขภาพถ้วนหน้า พบว่ามีการขยับเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง จนในปี 2551 เป็นปีแรกที่สำานักงบประมาณ กระทรวงการคลัง จัดสรรงบประมาณให้ ในอัตราที่พอเพียงกับการใช้บริการแล้ว ส่วนตัวเลขต้นทุนของ กระทรวงที่คิดคำานวณและบอกว่าโรงพยาบาลขาดทุนนั้น ผมไม่เชื่อตัว เลขใดๆ จากการทำาบัญชีของกระทรวง เพราะการทำาบัญชีของกระทรวง มีปัญหา ไม่ว่าเปลี่ยนวิธีการทำาบัญชีอย่างไร คนทำาบัญชีต้องรู้เรื่อง ตราบใดที่คนทำาบัญชียังเป็นหมอก็คงเชื่อบัญชีของกระทรวงได้ยาก
  • 2. ข้อข่าวน่า 2 สนใจ กลุ่มประกันชี้แจง การจัดทำาบัญชีของหน่วยบริการในสังกัดสป.จัดทำา โดยนักบัญชีประจำาโรงพยาบาล ซึ่งรายงานด้วยข้อมูลที่มีหลักฐาน ประกอบการดำาเนินการในโรงพยาบาลอย่างเป็นทางการ (Official Data) ต้องรายงาน สตง. สามารถตรวจสอบได้ กลุ่มประกันชี้แจงบัญชี ของรพ.สังกัดสป.ดำาเนินการตามมาตรฐานบัญชีเกณฑ์คงค้าง ที่เป็นที่ ยอมรับว่ามีความถูกต้องเป็นมาตรฐานของผู้นำาไปใช้ รวมถึงสปสช.ที่นำา ไปทำาประมาณการค่าใช้จ่ายเพื่อของบขาขึ้นด้วย ทั้งนี้ในปัจจุบันมีการ ตรวจสอบบัญชีโดยนักบัญชีที่ผ่านการอบรมการตรวจบัญชีโดยเฉพาะ มีความครบถ้วนเกือบเกินร้อยละ 90 ของจำานวนรพ. และมีคุณภาพใน ระดับเกือบ ร้อยละ 80 การนำาเสนอข้อมูลโดยส่วนกลางเป็นไปตาม ข้อมูลที่พื้นที่รายงานมาโดยตรงไม่ได้มีการแต่งเติมข้อมูลเพื่อแสดงการ ขาดทุนแต่อย่างใด ทั้งนี้ยังสามารถให้การตรวจสอบได้ อย่างไรก็ดี การนำาข้อมูลมาใช้สามารถชี้ปัญหาในภาพรวมได้อย่างมีคุณภาพเพียง พอ แต่ในกรณีการพิจารณาปัญหารายโรงพยาบาลพบว่าปัญหาความ เดือดร้อนทางการเงินที่ปรากฏมากกว่าตัวเลข ได้แก่ ภาระค่าใช้จ่ายที่ เกิดจากผู้ป่วยหลักประกันสุขภาพที่เพิ่มขึ้นอย่างมากจนเงินที่ได้รับ จัดสรรมาแบบกองทุนปลายปิดผลักภาระความเสี่ยงให้หน่วยบริการรับ ผิดชอบเอง ทำาให้ค่าใช้จ่ายไม่เพียงพอ จนเกิดภาวะเป็นหนี้มากกว่า วงเงินที่จะจ่ายได้ มีการค้างค่ายาบริษัทต่างๆ จนถูกฟ้อง มีการค้างค่า ตอบแทนเจ้าหน้าที่จนมีการขอย้าย ยังไม่รวมการชดเชยข้ามกองทุน จากสิทธิ์อื่นและเงินบำารุงของโรงพยาบาลเกลี่ยมาช่วยกองทุนหลัก ประกันสุขภาพแห่งชาติ ซึ่งประมาณการในปี 2553 มีถึง 16,000 ล้าน บาท จนเงินบำารุงโรงพยาบาลที่รวบรวมอย่างเป็นทางการคงเหลือเพียง 7,100 ล้านบาทซึ่งเป็นระดับที่เสี่ยงต่อการจัดบริการ อย่างไรก็ดีหลัก พิจารณาที่แสดงว่างบไม่เพียงที่ชัดเจนที่สุดในขณะนี้คือ การดำาเนินการ ของสปสช.ในการเพิ่มคำาของบประมาณในปี 2555 จำานวนที่เพิ่มขึ้น มากจาก 2,546 เป็น 3,249 บาทต่อหัว เพิ่มขึ้น 703 บาทต่อหัว แสดงถึง ปัญหาการเงินของหน่วยบริการที่ไม่เพียงพอ ในลักษณะที่ว่า หากไม่ เชื่อว่าบัญชีหน่วยบริการสป.สะท้อนความไม่เพียงพอของงบหลักประกัน แล้ว แสดงว่าสปสช.ประเมินว่างบประมาณค่าใช้จ่ายของหน่วยบริการ เพียงพอแล้วทำาไมจึงต้องของบประมาณในปี 2555 มากถึงขนาดนั้น และเป็นที่ทราบกันดีว่า การประมาณค่าใช้จ่ายของสปสช.โดยหลักใหญ่ ร้อยละ 80 มาจากข้อมูลบริการ และบัญชีของหน่วยบริการสังกัดสป. ส่วนปัญหางบการลงทุนเพื่อก่อสร้างและพัฒนาโรงพยาบาลนั้น ดร.อัม มาร ยอมรับว่า ที่ผ่านมา สธ.ได้งบนี้น้อยมากตั้งแต่มีการจัดตั้ง สปสช.
  • 3. ข้อข่าวน่า 3 สนใจ ซึ่งต้องยอมรับว่าเราเองก็พลาดไป ทำาให้จากเดิมที่ สธ.เคยได้งบก้อนนี้ปี ละ 8-9 พันล้านบาท เหลือเพียงแค่ไม่กี่พันล้านบาทเท่านั้น กลุ่มประกันชี้แจง ประเด็นนี้มีความสำาคัญต่อปัญหาผู้ป่วยที่เพิ่มมากขึ้น ต้องมีการพัฒนาอาคารและครุภัณฑ์การแพทย์ เมื่องบหลักประกัน สุขภาพไม่เพียงพอ หลายโรงพยาบาลต้องนำาเงินบำารุงมาจัดหาอาคาร และครุภัณฑ์การแพทย์เพื่อดูแลผู้ป่วย ยิ่งทำาให้ปัญหาการขาดสภาพ คล่องรุนแรงขึ้น เนื่องจากเงินบำารุงที่จะมาชดเชยงบหลักประกันที่ไม่ เพียงพอจำาเป็นต้องลดลงอย่างชัดเจนในปี 2553 นอกจากนี้ ดร.อัมมาร กล่าวอีกว่า เรื ่ อ งระบบหลั ก ประกั น สุ ข ภาพ นั ้ น ผมถื อ ว่ า เป็ น สั ญ ญาที ่ ร ั ฐ บาลได้ ใ ห้ ไ ว้ ก ั บ ประชาชน ว่ า ประชาชนไม่ ต ้ อ งดู แ ลเรื ่ อ งการรั ก ษาพยาบาล แต่ ร ั ฐ บาลจะ เป็ น ผู ้ ร ั บ ผิ ด ชอบเอง ดั ง นั ้ น จึ ง จะอ้ า งว่ า รั ฐ บาลไม่ ม ี ง บ ประมาณไม่ ไ ด้ ซึ ่ ง ต้ อ งทำ า เช่ น เดี ย วกั บ รู ป แบบการจ่ า ยเงิ น เดื อ นข้ า ราชการที ่ ไ ม่ ว ่ า จะมี ร ายจ่ า ยอะไร แต่ ต ้ อ งกั น งบส่ ว น นี ้ ข ึ ้ น มาให้ ไ ว้ ก ่ อ น ดร.อัมมาร ยังได้กล่าวถึงงบประมาณหลักประกันสุขภาพ ซึ่งทางสำานัก งบประมาณจ่ายให้แก่ สปสช. ที่ไม่สอดคล้องกับอัตราการใช้บริการของ ประชาชนที่เพิ่มขึ้น โดยเฉพาะในกลุ่มผู้ป่วยนอก ทั้งยังมีแนวโน้มช่อง ว่างความแตกต่างที่มากขึ้นเรื่อยๆ ว่า อัตราการใช้บริการบ้านเราอยู่ที่ 3 ครั้งต่อคนต่อปี ซึ่งยังถือว่าเป็นจำานวนที่ไม่มากเมื่อเปรียบเทียบกับ หลายๆ ประเทศ โดยอังกฤษอยู่ที่ 5 ครั้งต่อคนต่อปี แคนาดา 8 ครั้งต่อ คนต่อปี ขณะที่ไต้หวันอยู่ที่ 14 ครั้งต่อคนต่อปี โดยบ้านเรายังมีอัตรา การรับบริการที่ขยับเพิ่มขึ้นอีก ขณะที่สำานักงบประมาณยังคงคำานวณ จ่ายจากตัวเลขเดิม ดังนั้น ปัญหาโรงพยาบาลขาดทุนจึงเป็นส่วนหนึ่ง ที่มาจากงบประมาณที่ได้น้อยจริง กลุ่มประกันชี้แจง ส่วนนี้เห็นได้ชัดว่า สปสช.ต้องการชี้ว่างบประมาณ กองทุนหลักประกัน ทำาให้โรงพยาบาลพยาบาลขาดทุนจากการได้รับงบ ประมาณไม่เพียงพอ แต่ทำาไมสปสช.ยังไม่ยอมรับการสะท้อนปัญหา ความไม่เพียงพอจากบัญชีที่สป.รายงาน ส่วนที่ทางสำานักงบประมาณต้องการให้ทาง สปสช. คำานวณงบเหมาจ่าย รายหัวในอัตราที่คงในช่วง 4-5 ปี และไม่ต้องขอขยับเพิ่มในทุกปีนั้น ขณะนี้อยู่ระหว่างการคำานวณตัวเลขงบเหมาจ่ายรายในช่วง 5 ปีข้าง หน้าจากนี้ว่าจะเป็นอย่างไร เพื่อนำาไปคุยกับทางสำานักงบประมาณ
  • 4. ข้อข่าวน่า 4 สนใจ อย่างไรก็ตามต้องยอมรับว่าเป็นเรื่องที่ยาก ในการคาดการณ์ค่าใช้จ่าย ระยะยาว ปัญหา รพ.ขาดทุน นั้น บางส่วนอาจจะเป็นเรื่องของการเพิ่มค่าตอบแทน แพทย์ ซึ่งในเรื่องนี้ ดร.อัมมาร กล่าวว่า การจ่ายค่าตอบแทนแพทย์เกิด ขึ้นในปี 2552 เป็นปีแรก เนื่องจากเป็นปีที่โรงพยาบาลได้เงินเกิน มีเงิน เหลือจากการรักษาพยาบาล สรุปก็คือมีกำาไร ทำาให้มีบำารุงสะสมของ โรงพยาบาลเป็นจำานวนเงินถึง 40,000 ล้านบาท ซึ่งถือเป็นจำานวนที่มาก เป็นประวัติศาสตร์ จากนั้นจึงมีการเสนอเพิ่มค่าตอบแทนให้แพทย์ โดยใช้เงินบำารุงโรง พยาบาลไปก่อน เพราะว่ามีกำาไร ทั้งๆ ที่ ที่กำาไรนี้ไม่ใช่ว่าจะได้มาตลอด ต่อเนื่อง ขณะที่การจ่ายค่าตอบแทนถือเป็นรายจ่ายที่ต้องจ่ายสมำ่าเสมอ ด้วยเหตุให้เงินบำารุงที่สะสมมาเริ่มหมดไป "หลั ก การเพิ ่ ม ค่ า ตอบแทนแพทย์ น ั ้ น เห็ น ด้ ว ยและเป็ น สิ ่ ง ที ่ ต้ อ งทำ า อย่ า งยิ ่ ง เพี ย งแต่ ว ิ ธ ี ท ี ่ ท ำ า อยู ่ น ี ้ เ ป็ น วิ ธ ี ก ารที ่ ใ ช้ ไ ม่ ไ ด้ และซำ ้ า เมื ่ อ มี ก ารอนุ ม ั ต ิ ค ่ า ตอบแทนให้ แ พทย์ ช นบทกลุ ่ ม แรก ก็ เ กิ ด ความไม่ เ สมอภาค ทำ า ให้ แ พทย์ ใ นกลุ ่ ม อื ่ น ๆ และ บุ ค ลากรด้ า นสาธารณสุ ข อื ่ น ๆ ขอค่ า ตอบแทนด้ ว ย ซึ ่ ง ล้ ว นแต่ ใช้ เ งิ น บำ า รุ ง โรงพยาบาลอี ก เช่ น กั น " ดร. อั ม มาร กล่ า ว กลุ่มประกันชี้แจง เงินบำารุงหน่วยบริการแท้จริงหักภาระผูกพันแล้วเหลือ เพียง 1 1,990 ล้านบาท เท่านั้น ปี 2552 ในภาพรวมโรงพยาบาลทั้งหมอ ขาดทุนที่ 1,246 ล้านบาท ซึ่งเป็นปีแรกที่ขาดทุน แต่ปัญหาค่าตอบแทน เพื่อรักษาแพทย์ในระบบ และรองรับปริมาณที่เพิ่มขึ้นเป็นปัญหาสำาคัญ ในการปรับค่าตอบแทนเพื่อรักษาบุคลากรไว้ในระบบ และเพื่อให้มีผล ตอบแทนเหมาะสมกับภาระงาน การปรับนี้ได้ประสานสปสช.ให้อยู่ใน รายหัวปกติแล้วแต่ไม่ได้รับสนับสนุน ทั้งนี้ส่วนหนึ่งมาจากการดำาเนิน การของสปสช.โดยตั้งแยกค่าตอบแทนส่วนเพิ่มไม่ได้นำาไปรวมในค่าหัว ปกติทำาให้สำานักงบประมาณไม่จัดสรรให้ผ่านอัตราเหมาจ่ายรายหัว อย่างไรก็ดีงบประมาณส่วนนี้เป็นภาระกับโรงพยาบาลชุมชนมากที่สุด รัฐได้จัดสรรเพิ่มเติมเป็นงบประมาณให้เฉพาะ โรงพยาบาลชุมชน จำานวน 2,870 ล้านบาท ทั้งนี้เพราะสัดส่วนค่าใช้จ่ายด้านบุคลากรใน รพช.เฉลี่ยทั้งประเทศสูงถึง 50% ในขณะที่รพท. รพศ. มีสัดส่วนเพียง 36%
  • 5. ข้อข่าวน่า 5 สนใจ เมื่อเงินบำารุงโรงพยาบาลเริ่มหมด ก็เกิดปัญหาขึ้น จำาเป็นต้องของบ ประมาณเพิ่มเติม โดยอ้างว่าโรงพยาบาลเกิดภาวะขาดทุน และโทษการ บริหารในระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า นอกจากนี้ยังให้สำานักงาน หลักประกันสุขภาพแห่งชาติ (สปสช.) เป็นผู้แบกหน้าไปของบประมาณ นี้จากสำานักงบประมาณ โดยในปีงบประมาณ 2555 นี้ ทาง รมว.สธ.ก็ขอ ให้ สปสช.ของบค่าตอบแทนอีก อย่างไรก็ตาม ผมเห็นว่าปัญหาค่าตอบแทนแพทย์นั้น เป็นเรื่องที่ต้องทำา แต่รัฐบาลต้องเป็นผู้ดูแล เพราะที่ผ่านมามีการรายงานชี้ชัดว่า จากการ เพิ่มค่าตอบแทนสามารถหยุดปัญหาแพทย์สมองไหลได้ “ หากดู แ ค่ ต ั ว เลขกำ า ไรขาดทุ น ของโรงพยาบาลสั ง กั ด สธ. คง ยั ง ไม่ ส ามารถบอกได้ ว ่ า จริ ง ๆ แล้ ว โรงพยาบาลมี ก ำ า ไรหรื อ ขาดทุ น กั น แน่ เพราะว่ า โรงพยาบาลสั ง กั ด สธ.ทำ า บั ญ ชี เ หมื อ นร้ า นโชห่ ว ย ที ่ น ำ า เงิ น ทั ้ ง หมดใส่ ต ะกร้ า ขายของได้ ก ็ น ำ า เงิ น ใส่ จ่ า ยซื ้ อ ของก็ น ำ า เงิ น จากตะกร้ า หรื อ แม้ แ ต่ ล ู ก ขอตั ง ค์ ก ็ นำ า เงิ น จากตะกร้ า บั ญ ชี ท ี ่ ท ำ า จึ ง ดู แ ปลกๆ ลงบั ญ ชี ผ ิ ด ๆ ถู ก ๆ เรี ย กว่ า เป็ น ระบบบั ญ ชี ท ี ่ เ ละเทะ และมาบอกว่ า สปสช. เราให้ เงิ น โรงพยาบาลลดลง ” นั ก วิ ช าการ ที ด ี อ าร์ ไ อ กล่ า ว กลุ่มประกันชี้แจง ระบบบัญชีนี้ที่ปรึกษาบัญชีทางสปสช.นำาไปใช้อย่าง เป็นทางการ ผู้กำาหนดการลงบัญชีก็เป็นไปโดยที่ปรึกษาซึ่งเคยสังกัด สป.ในอดีต เพียงแต่พอมีปัญหาระบบเงินในระบบหลักประกันไม่เพียง พอ ซึ่งมีหลักฐานชัดเจนจากการของบเพิ่มมหาศาลของสปสช. จาก ปัญหาการจัดสรรที่กระจายตามจำานวนปชก. และการหักเงินเดือน ทำาให้หน่วยบริการจำานวนมากมีงบดำาเนินการไม่เพียงพอในภาพรวมมี จังหวัดซึ่งงบประมาณไม่เพียงพอถึง 60 จังหวัด จากการจัดสรรทั้งหมด 75 จังหวัด และจากการกันเงินกองกลางเพื่อรักษาโรคยาก ราคาแพง และเงื่อนไขเฉพาะแทนที่จะจัดสรรให้บริการพื้นฐานก่อน ในทำานอง เดียวกันเมื่อพิจารณาว่าเงินกองทุน หลักประกันมีมากพอจึงมีการขยาย สิทธิ์พิเศษออกไปโดยไม่ประเมินสถานะทางการเงินล่วงหน้าให้ถ่องแท้ ทำาให้หน่วยบริการเล็กไม่สามารถเข้าถึงงบส่วนนี้ที่ถูกแบ่งไปจากงบพื้น ฐานของตัวเองตั้งแต่แรก เหล่านี้คือกลุ่มประกันชี้แจงที่ทุกหน่วยบริการ ทุกหน่วยบริหารรับทราบดีว่าเป็นปัจจัยสำาคัญต่อการขาดทุน พอมี ปัญหาการขาดทุนที่เกิดจากการบริหารจัดการจึงปกป้องตนเองด้วยการ โทษบัญชีว่าไม่น่าเชื่อถือ เป็นเรื่องที่นับว่าไม่น่าจะเป็นการแสดงข้อคิด เห็นที่จะนำาไปใช้เป็นประจักษ์พยานได้
  • 6. ข้อข่าวน่า 6 สนใจ ดร.อัมมาร กล่าวว่า เงินบำารุงโรงพยาบาล 40,000 ล้านบาท ในปี 2552 นั้น โรงพยาบาลแต่ละแห่งก็มีไม่เท่ากัน บางแห่งมีเงินบำารุงสะสมหลัก พันล้านบาท บางแห่งมีพอที่จะจ่ายค่าตอบแทนได้ แต่บางแห่งเมื่อจ่าย ไปแล้วก็ประสบปัญหาโรงพยาบาลขาดทุน ดังนั้นจึงมีเสียงโวยวายว่า โรงพยาบาลขาดทุน ปัญหาโรงพยาบาลขาดทุนนี้แตกต่างจากช่วงแรก ของการตั้ง สปสช. เพราะขณะนั้นเกิดจากรัฐบาลให้งบน้อย ไม่เพียงพอ จริงๆ จากนั้นจึงได้มีการขยับขึ้นจนเพียงพอ กลุ่มประกันชี้แจง กลไกการเกิดปัญหากรณีมีความแตกต่างทางการเงิน ที่สำาคัญ คือการจัดสรรงบประมาณจากสปสช.ไปยังหน่วยบริการ โดยตรง ไม่ได้นำาผ่านสธ. ทำาให้การเกลี่ยงบประมาณเป็นไปด้วยความ ยากลำาบาก เนื่องจากหลักเกณฑ์การจ่ายก็กำาหนดโดยสปสช. ตกลงกับ หน่วยบริการ พบว่าเป็นเหตุสำาคัญให้งบประมาณไหลไปสู่โรงพยาบาลที่ มีศักยภาพรักษาโรคยาก ราคาแพง ดังนั้นโรงพยาบาลชุมชนที่มีสัดส่วน ผู้มารับบริการจากสิทธิหลักประกันถ้วนหน้ามากเฉลี่ยร้อยละ 70 ไม่มี รายได้จากสิทธิอื่นที่มากพอมาชดเชยจึงขาดทุนจากกองทุนหลักประกัน เด่นชัดจึงขาดทุนและประสบภาวะวิกฤตจำานวนมาก ในขณะที่รพศ. รพท. มีรายได้จากหลักประกันถ้วนหน้าเพียงร้อยละ 30 มีรายได้จาก แหล่งอื่นถึงร้อยละ 70 จึงสามารถดำาเนินการอยู่ได้ และโรงพยาบาล สามารถดำาเนินการมีเงินทุนหมุนเวียน(คือสินทรัพย์หมุนเวียนรวมวัสดุ คงคลังที่นำาไปใช้ได้ หักลบด้วยหนี้สินหมุนเวียน ซึ่งเป็นค่าที่ดีที่สุดใน การบอกฐานะการเงิน) เป็นลบคือหนี้ล้นตัวอยู่ถึง 258 รพ. รพ.ที่เป็นบวก ส่วนใหญ่เป็นเพียงหลักสิบล้าน สูงสุดเพียง 825 ล้านไม่ได้เป็นหลักพัน ล้านอย่างที่ว่า " ปั ญ หาขาดทุ น ขณะนี ้ ม าจากการเพิ ่ ม ค่ า ตอบแทน โดยก่ อ น หน้ า นี ้ ใ นช่ ว ง 2-3 ปี ข องการเพิ ่ ม ค่ า ตอบแทนก็ ไ ม่ เ ป็ น ปั ญ หา อย่ า งไรก็ ต ามในการบริ ห ารงบประมาณรั ก ษาพยาบาลนั ้ น ตน พบว่ า หากเราให้ ง บประมาณโรงพยาบาลมาก เขาก็ จ ะใช้ ม าก แต่ ห ากให้ น ้ อ ย เขาก็ จ ะใช้ น ้ อ ยตาม" ดร. อั ม มาร กล่ า ว กลุ่มประกันชี้แจง ในประเด็นนี้การให้งบประมาณไม่ควรเป็นไปตาม ความรู้สึกเพียงเพื่อการควบคุมค่าใช้จ่าย เหมือนพ่อควบคุมเงินค่าขนม ลูก เนื่องจากการใช้จ่ายด้านสุขภาพเป็นการใช้จ่ายที่จำาเป็นบนฐานของ การดูแลสุขภาพ ความเป็นความตายของประชาชน อีกประการโรง พยาบาลภาครัฐเป็นโรงพยาบาลไม่ได้หวังกำาไร การดำาเนินการใดๆ ก็ เป็นไปเพื่อให้ประโยชน์สุดท้ายตกไปกับสุขภาพประชาชนที่ดีขึ้น การ
  • 7. ข้อข่าวน่า 7 สนใจ ปรับค่าตอบแทนดูเหมือนทำาเพื่อบุคลากร แต่หากไม่ดำาเนินการ ปัจจัย หลักในการดำาเนินการระบบดูแลสุขภาพ คือตัวบุคลากรจะสูญหาย ขาดแคลนจนไม่สามารถให้บริการประชาชนเพื่อสุขภาพดีได้ ส่วนเสียงบ่นจากโรงพยาบาล อย่างเช่น โรงเรียนแพทย์ ในการจัดงบ ประมาณระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าที่ไม่เพียงพอ ต้องนำางบใน ระบบสวัสดิการข้าราชการเพื่ออุดหนุนนั้น ดร.อัมมาร กล่าวว่า หาก เป็นการบ่นจากโรงเรียนแพทย์ ผมเห็นว่าโรงเรียนแพทย์ไม่มีสิทธิ์พูด อะไร เพราะโรงเรียนแพทย์รวยมาก แค่เฉพาะงบประมาณลงทุนที่มา จากเงินงบประมาณจริงๆ ไม่รวมงบประมาณที่มาจากเงินบริจาคอุดหนุน โดยโรงเรียนแพทย์ทุกแห่งทั่วประเทศ ซึ่งมีทั้งหมด 20 แห่ง ใช้เงิน มากกว่างบประมาณโรงพยาบาลสังกัดกระทรวงสาธารณสุขซึ่งมีถึง 900 แห่งรวมกัน ดังนั้น จะเห็นได้ว่าโรงเรียนแพทย์จึงไม่มีปัญหาในเรื่องงบ ประมาณ กลุ่มประกันชี้แจง ถึงตอนนี้แสดงได้ชัดว่าขนาดโรงพยาบาลที่ฐานะการ เงินดี ยังบ่นถึงความไม่เพียงพอของระบบหลักประกัน ในขณะที่ยอมรับ แล้วว่ารพ.รัฐสป.ใช้งบน้อยกว่าแต่ภาระมากกว่าจะอยู่รอดได้อย่างไร ส่วนปัญหาระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า เดินหน้าเข้าสู่ปีที่ 9 แล้ว มี จุดอ่อนใดที่ยังต้องปรับหรือไม่ ดร.อัมมาร กล่าวว่า สปสช. ยังเป็นปัญหา เพราะว่าถูกควบคุมโดย สธ. ที่เป็นผู้ให้บริการลูกค้า ซึ่งเมื่อนำาระบบหลัก ประกันสุขภาพถ้วนหน้าเปรียบเทียบกับประกันสังคม พบว่าสิ่งที่คน พอใจกับระบบประกันสังคมเพราะเขาสามารถเลือกใช้บริการโรง พยาบาลใดก็ได้ และพอใจที่เป็นผู้เลือก ดังนั้นจากประเด็นเหล่านี้ จึง มองว่าการมีสิทธิเลือกสถานพยาบาลกับโอกาสที่จะได้รับบริการที่ดีต้อง เดินไปด้วยกัน สถานพยาบาลไหนดี ประชาชนต้องมีสิทธิเลือก ดร. อั ม มาร มองว่ า จริ ง ๆ แล้ ว ผมอยากให้ โ รงพยาบาลทั ้ ง หมด ออกจาก สธ. เป็ น อิ ส ระ ให้ เ ขาบริ ห ารกั น เอง ซึ ่ ง หลั ง จากออก จาก สธ. แล้ ว สปสช.จะดึ ง กลั บ ไปอยู ่ ใ น สธ. ก็ ไ ด้ โดย สธ.จะ ดู แ ลแต่ เ ฉพาะโรงพยาบาลเล็ ก ๆ ในพื ้ น ที ่ ท ี ่ ห ่ า งไกลเท่ า นั ้ น เช่ น โรงพยาบาลเกาะยาว รวมทั ้ ง โรงพยาบาลศู น ย์ กลุ่มประกันชี้แจง การเสนอนี้ถือว่าไม่ได้มีพื้นฐานความเข้าใจระบบ สุขภาพที่ดำาเนินการผ่านเครือข่ายสุขภาพภายใต้กระทรวงสาธารณสุข เลย แท้จริงการบริหารทรัพยากรโดยมีภาคส่วนบริหารทำาให้เกิด ประสิทธิภาพโดยไม่ต้องใช้เงินอยู่จำานวนมาก โดยเฉพาะการ
  • 8. ข้อข่าวน่า 8 สนใจ กำาหนดการรับและส่งต่อ การปรับเกลี่ยงบประมาณให้เกิดสมดุลเท่า เทียมกับภาระงานจริง แต่การที่สปสช.มาทำาใช้เงินอย่างเดียวขับเคลื่อน ให้หน่วยบริการดำาเนินการด้านสุขภาพตามนโยบายสปสช.ใยระยะ 9 ปี นับว่าล้มเหลวอย่างเห็นได้ชัด ทั้งที่งบประมาณก็เพิ่มขึ้นทุกปี อย่างมาก แต่ยังไม่สามารถนำาพาหน่วยบริการทั้งหมดไปได้ ในขณะที่มีการจัดสรร เงินข้ามอำานาจกระทรวงสาธารณสุข ทำาให้ความสามารถปรับเกลี่ย เฉลี่ยทุกข์เฉลี่ยสุข ตามวงเงินที่มีไม่สามารถดำาเนินการได้ ส่วนสำาคัญ เกิดจากวัฒนธรรมที่สปสช.สร้างขึ้นให้หน่วยบริการแข่งขันกันทำาผล งาน บริการประชาชนที่เข้าถึงบริการโดยไม่มีเครื่องมือควบคุม จนปี หลังๆงบตามผลงานจ่ายได้น้อยกว่าผลงานจริงที่เกิดขึ้น จึงไม่เป็นการ ถูกต้องนักที่พูดอย่างหนึ่งว่าให้เงินน้อยแต่ทำาอย่างหนึ่งคือให้แข่งขันกัน ทำาผลงาน ถึงเวลามาบอกว่าการบริหารจัดการโดยสธ.ไม่เหมาะสม ที่แท้ เกิดจากกระบวนการของสปสช.ทั้งหมดใช่หรือไม่ แล้วมาบอกให้แยก หน่วยบริการออกไป เช่นนี้แล้วตัวเองทำาผิดแล้วยกผิดให้คนอื่นใช่หรือ ไม่ ฝากพี ่ น ้ อ งนั ก บั ญ ชี แ ละผู ้ อ ่ า นช่ ว ยพิ จ ารณาว่ า คำ า พู ด เหล่ า นี ้ เ กิ ด ขึ ้ น ได้ อ ย่ า งไร เราต้ อ งปรั บ ปรุ ง อะไรบ้ า ง เขี ย นเสนอส่ ง มาที ่ uchakrit@yahoo.com แล้ ว จะเอามาเป็ น แนวทางดำ า เนิ น การของกลุ ่ ม ประกั น ครั บ /นพ .บั ญ ชา ค้ า ของ รองผอ .กลุ ่ ม ประกั น สุ ข ภาพ สป . มี ผ ู ้ ร ่ ว มชี ้ แ จงต่ อ ............ นักบัญชีขอชี้แจง ปัญหาที่เกิดขึ้นมาจาก ٢ ประการ ประการแรก ต้องเข้าใจว่า กระบวนการจัดสรรเงินแบบ Capitation ในระบบ UC เป็นแนวคิดของนักเศรษฐศาสตร์ สาธารณสุข มิใช่ของนักบัญชี แนวคิดของนักบัญชีกบ ั นักเศรษฐศาสตร์มีความแตกต่างกันโดยพื้นฐาน ในการ บริหารองค์กรไม่ว่ากรณีแสวงหากำาไรหรือไม่แสวงหา กำาไร จะใช้ทั้ง 2 ส่วนประกอบกัน (ไม่ควรโจมตีต่อต้าน
  • 9. ข้อข่าวน่า 9 สนใจ กัน) ดังนั้นการที่ใช้คำาว่า “โรงพยาบาลสั ง กั ด สธ.ทำ า บั ญ ชี เหมื อ นร้ า นโชห่ ว ย ที ่ น ำ า เงิ น ทั ้ ง หมดใส่ ต ะกร้ า ขายของได้ ก ็ นำ า เงิ น ใส่ จ่ า ยซื ้ อ ของก็ น ำ า เงิ น จากตะกร้ า หรื อ แม้ แ ต่ ล ู ก ขอ ตั ง ค์ ก ็ น ำ า เงิ น จากตะกร้ า บั ญ ชี ท ี ่ ท ำ า จึ ง ดู แ ปลกๆ ลงบั ญ ชี ผ ิ ด ๆ ถู ก ๆ เรี ย กว่ า เป็ น ระบบบั ญ ชี ท ี ่ เ ละเทะ และมาบอกว่ า สปสช. เราให้ เ งิ น โรงพยาบาลลดลง ” นั ้ น หากพิ จ ารณาดู แ ล้ ว เข้ า ใจว่ า ผู ้ เ ขี ย นยั ง ไม่ ม ี ค วามเข้ า ใจจิ ต วิ ญ ญาณ ของนั ก บั ญ ชี แ ละสิ ่ ง ที ่ น ั ก บั ญ ชี ถ ู ก ปลู ก ฝั ง ไว้ ใ น สถาบั น การศึ ก ษามาเป็ น เวลาหลายปี เราคง ปฏิ เ สธไม่ ไ ด้ ว ่ า คงมี น ั ก บั ญ ชี จ ำ า นวนหนึ ่ ง ที ่ อ าจมี ความผิ ด พลาดในการลงบั ญ ชี แต่ ก ็ ม ิ ใ ช่ ท ั ้ ง หมด อย่ า งไรก็ ต าม คงปฏิ เ สธไม่ ไ ด้ เ ช่ น กั ้ น ว่ า คงมี น ั ก เศรษฐศาสตร์ จ ำ า นวนไม่ น ้ อ ยที ่ ม ี ค วามผิ ด พลาด ในการคาดการณ์ และพาให้ ป ระเทศไปสู ่ ค วาม ล้ ม เหลว ปั ญ หาคื อ “ ใ ค รมี ส ่ ว นทำ า ให้ เ กิ ด ความ ผิ ด พลาดล้ ม เหลวมากกว่ า กั น ระหว่ า ง คนคิ ด กั บ คนที ่ ต ้ อ งปฏิ บ ั ต ิ ต ามความคิ ด ที ่ ผ ิ ด พลาดมาตั ้ ง แต่ ต้ น ” ประการที่สอง ความต้องการที่ไม่รู้จักพอ แม้ว่าเงินกองทุน ที่เพิ่มขึ้นทุกปีเป็นสิ่งที่ดี และเป็นความคาดหวังของฝ่ายผู้ ให้บริการว่าจะได้รับการจัดสรรเงินเพิ่มขึ้น แต่ในความ เป็นจริงการจัดสรรเงินเหล่านั้นได้จ่ายให้กับหน่วยบริการ จริงหรือ? การเพิ่มเงินควบคู่กับสิทธิประโยชน์ ทั้งในทาง ต่อรอง เจรจา และความคาดหวังของรัฐบาลที่จะให้เกิด ผลประโยชน์ต่อประชาชน สำานักงาน สปสช.ก็ขยายกิ่ง ก้านสาขามากขึ้น ตำาแหน่งงานที่เพิ่มขึ้น ความเติบโตใน องค์กร จำานวนกองทุนย่อย ผู้จัดการกองทุน เจ้าหน้าที่ กองทุนเพิ่มมากขึ้น แต่กระทรวงสาธารณสุขได้อะไร ผู้
  • 10. ข้อข่าวน่า 10 สนใจ ให้บริการได้อะไร ทุกคนย่อมทราบตัวเองดี อยากให้ทุก คนเก็บไว้คดเป็นประเด็น ิ อมรรัตน์ พีระพล หัวหน้าฝ่ายการเงินและบัญชี กลุ่ม ประกันสุขภาพ