SlideShare a Scribd company logo
1 of 12
จดหมายข่าว

                                        สคร.7
                                                               Office of Disease Prevention and Control 7th Newsletter
ISSN 1685-2737




                  ปีที่ 14 ฉบับที่ 1 เดือนตุลาคม - ธันวาคม 2555




                 สวัสดีNewหม่ 2556
                 Happy
                       ปีใ Year 2013
     P.      2                                        P.   4                                P.   7
     ก้าวปีที่ 3 สู่อำ�เภอ         แนวทางการเฝ้าระวังเหตุการณ์                              บทเรียน
     “ส่งเสริม ป้องกัน ควบคุม”     และการพัฒนาความร่วมมือ                                   ฝ่าดงมาเลเรียสกลนคร...
                                                                                            ใจนำ�พา ศรัทธานำ�ทาง
     โรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน ปี 2556 กับเครือข่ายด้านสาธารณสุข

                                ส�ำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 7 จ.อุบลราชธานี | http://www.dpc7.net
"ใคร..ทำ�อะไร? ที่ไหน? ก้าวหน้าอย่างไร?"
    บรรณาธิการ                                                             ในอำ�เภอป้องกันควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน


                                                                                    ก้าวปีที่ 3 สู่อำ�เภอ “ส่งเ
    EDITOR TALK

         สวั ส ดี ค ่ ะ พบกั น อี ก ครั้ ง
    กั บ จดหมายข่ า ว ส� ำ นั ก งาน
    ป้องกันควบคุมโรคที่ 7 จังหวัด
    อุ บ ลราชธานี ฉบั บ ปฐมฤกษ์
                                                                                                                                   โรคเข้ม
                                                                                             เรื่อง: ฐิติมา โกศัลวิตร
    ปีงบประมาณ 2556 และเป็น                                                                  รอง ผู้อำ�นวยการ สคร.7
    ปีที่ 14 ที่จดหมายข่าวของเราได้เผยแพร่สู่สาธารณชน
    ฉบับนี้ตรงกับเดือนธันวาคมที่ประชาชนชาวไทยได้ร่วม
    กันถวายพระพรเนื่องในวโรกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา
    5 ธันวามหาราช ในนามผูบริหารและคณะเจ้าหน้าทีส�ำนักงาน
                                 ้
    ป้องกันควบคุมโรคที่ 7 จังหวัดอุบลราชธานี ขอถวายพระพร
                                                        ่                     ส         วัสดีปใหม่ถงเครือข่ายอ�ำเภอส่งเสริม ป้องกัน ควบคุมโรค
                                                                                              ี ึ
                                                                                        เข้มแข็งเครือข่ายเขตพื้นที่รับผิดชอบ ส�ำนักงานป้องกัน
                                                                           ควบคุมโรคที่ 7 จังหวัดอุบลราชธานีที่รักทุกท่าน คงสุขใจจากพรปี
    ขอพระองค์ทรงพระเจริญ                                                   ใหม่กนมาอย่างล้นเหลือ และพร้อมเดินหน้าต่อไปด้วยกันแล้วนะคะ
                                                                                   ั
         จดหมายข่าวฉบับนีได้ปรับเปลียนกองบรรณาธิการหลาย
                              ้            ่
                                                                                นับจากจุดเริ่มต้นปี 2554 เรื่อยมาจนถึงปี 2555 ที่ผู้ตรวจ
    ท่านซึ่งทุกท่านพร้อมที่จะน�ำเสนอเนื้อหาสาระดีๆ ที่จะเป็น
    ประโยชน์แก่ท่านผู้อ่านให้มากที่สุด เริ่มต้นในฉบับนี้มีเรื่องที่        ราชการกระทรวงสาธารณสุข นพ.ทวีเกียรติ บุญยไพศาลเจริญ
    ส�ำคัญเช่น “ก้าวปีที่ 3 สูอำเภอ ส่งเสริม ป้องกัน ควบคุมโรคเข้ม
                              ่�                                           (ผู้ตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุขเขตพื้นที่เครือข่ายบริการที่
    แข็งแบบยั่งยืน” ซึ่ง สคร.7 อุบลฯ มีความพร้อมที่จะเดินหน้า              10 คนปัจจุบัน) ผู้บริหาร และผู้ปฏิบัติ ระหว่าง สคร.7 อบ. กับ
    ถักทอเครือข่ายให้มีส่วนร่วมในการจัดการสุขภาพตนเอง                      พื้นที่ 7 จังหวัด ได้ท�ำความเข้าใจร่วมกัน ที่จะเดินหน้า ถักทอเครือ
    ต่อด้วยเรื่อง แนวทางการเฝ้าระวังเหตุการณ์และพัฒนา                      ข่ายในพื้นที่ให้บรรลุเป้าหมาย เป็นอ�ำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบ
    ความร่วมมือกับเครือข่ายด้านสาธารณสุข, ร่วมรณรงค์ให้                    ยั่งยืน เพื่อน้อมถวายเป็นมหากุศลแด่ในหลวงของปวงชนชาวไทย
    คนไทยตรวจเอดส์, บทเรียนฝ่าดงมาลาเรีย ใจน�ำพา ศรัทธา                         “พระบาทสมเด็ จ พระเจ้ า อยู ่ หั ว ภู มิ พ ลอดุ ล ยเดชฯ
    น�ำทาง, ด�ำเนินงานอย่างไร? โดยใช้ I SMART และปิดท้าย                    พระมหากษัตริย์ผู้ทรงไม่เคยละทิ้งประชาชนของพระองค์”
    ด้วยสัญลักษณ์แมลงเต่าทองคืออะไร เกี่ยวข้องอะไรกับ                           เส้นชัยในปีที่ 2 ของการร่วมมือ “สร้างเกราะ” ปกป้อง
    กรมควบคุมโรค เชิญท่านหาค�ำตอบได้ค่ะ                                    ประชาชนให้ปลอดภัยจากโรคและภัยสุขภาพ ด้วยพลังทุนทาง
         ช่วงนีอากาศเปลียนแปลง ขอให้ทกท่านมีสขภาพร่างกาย
               ้           ่                   ุ      ุ                    สังคม ขับเคลื่อน “อ�ำเภอควบคุมโรคและภัยสุขภาพเข้มแข็งแบบ
    ที่แข็งแรง มีความสุขในการท�ำงาน หากมีข้อเสนอแนะ                        ยั่งยืน” โดย การมีส่วนร่วมของภาคส่วนต่าง ๆ ทั้งภายในและนอก
    ขอเชิญส่งค�ำติชมมาได้ พวกเราน้อมรับที่จะน�ำมาพัฒนา                     กระทรวงสาธารณสุขอย่างแท้จริง
    ปรับปรุงเพือให้เป็นจดหมายข่าวทีมคณภาพต่อไป พบกันใหม่
                  ่                        ่ีุ                                  ปรากฏผลดัง.....ในหลายพื้นที่ หลายเครือข่าย และประชาชน
    ฉบับหน้านะคะ
                                                                           จ�ำนวนมาก ได้ตื่นตัวในการเป็นเจ้าภาพ ร่วมภาคภูมิใจกับผลงาน
         สวัสดีค่ะ                                                         ทีได้รวมลงมือ ท�ำเพือญาติพนอง ลูกหลานด้วยตนเอง ผนึกประสาน
                                                                              ่ ่                 ่       ี่ ้
                        มนัสนันท์ ลิมปวิทยากุล                             เป็นพลังในการเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรคและภัยสุขภาพ เป็น
                               บรรณาธิการฆ                                 เครือข่ายที่พร้อมจะลุกขึ้นมาร่วมจัดการสุขภาพของตนเอง ด้วย
                                                                           กลไก 5 คุณลักษณะของอ�ำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน
                                                                           แม้ว่าผลการด�ำเนินงานจะมีความส�ำเร็จในระดับที่แตกต่างกัน
                                                                           ในพืนทีทประสบความส�ำเร็จสูงพบว่า ผูบริหารและผูนำชุมชนหลาย
                                                                                 ้ ่ ี่                               ้         ้ �
        วัตถุประสงค์                                                       แห่งมีกระบวนทัศน์และบทบาทด้านสุขภาพเพิ่มมากขึ้น เกิดความ
         	 เพื่อเป็นช่องทางสื่อสารเผยแพร่ข้อมูล ความรู้ กิจกรรม แลก        ตระหนักว่าการพัฒนาท้องถิ่นด้านสาธารณูปโภคอย่างเดียวนั้นไม่
    เปลี่ยนเรียนรู้การท�ำงานด้านการเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรค และ          เพียงพอ และประชาชนมีความตืนตัว ร่วมมือในการเฝ้าระวังป้องกัน
                                                                                                                  ่
    ภัยสุขภาพระหว่างองค์กร ประชาชน และบุคลากรสาธารณสุขในพื้นที่            ควบคุมโรค รวมทั้งมีส่วนร่วมในการรับการประเมินและประกวด
    รับผิดชอบ
                                                                           จากคณะกรรมการประเมินอ�ำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งฯ อย่างเต็ม
        วิสัยทัศน์
         	 ส�ำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 7 จังหวัดอุบลราชธานีเป็นผูนำด้าน
                                                                  ้ �
                                                                           ก�ำลัง และมีความหวัง ผลลัพธ์ทมากด้วยคุณค่า คือ เกิดการท�ำงาน
                                                                                                               ี่
    วิชาการ นวัตกรรม เทคโนโลยี และศูนย์กลางการเรียนรู้ด้านการ              เป็นทีมของเครือข่ายแบบบูรณาการ และการควบคุมโรคได้อย่าง
    เฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรค และภัยสุขภาพ ระดับประเทศภายใน              รวดเร็ว เช่นกรณี โรคมือ เท้า ปาก ที่ถูกตรวจพบและแจ้งข่าวถึง
    ปี 2558                                                                เจ้าหน้าที่สาธารณสุขก่อน โดยเครือข่าย SRRT จากศูนย์เด็กเล็ก

2
ให้เกิดการประสานงาน และร่วมเป็นเจ้าของสุขภาพของประชาชน
                                                                          ในพืนทีของตนเอง และมีการเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรคอย่างเอา
                                                                                ้ ่

 เสริม ป้องกัน ควบคุม”                                                    จริงเอาจัง โดยทีม SRRT ต�ำบล
                                                                               จวบจนวันนี้ กล่าวได้ว่างานอ�ำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบ
                                                                          ยั่งยืนของจังหวัด/อ�ำเภอในเขตรับผิดชอบของส�ำนักงานป้องกัน

มแข็งแบบยั่งยืน ปี 2556                                                   ควบคุมโรคที่ 7 อุบลราชธานี ได้เติบโตอย่างต่อเนื่อง เหนือสิ่งอื่น
                                                                          ใดคือ ได้เกิดสายใยแห่งมิตร ระหว่าง เครือข่ายจังหวัด/อ�ำเภอ กับ
                                                                          สคร. 7 อบ. ผนึกเป็นปึกแผ่นที่แข็งแรง ที่จะร่วมมือกันขับเคลื่อน
     ของ อบต.แห่งหนึ่งในจังหวัดมุกดาหาร เป็นต้น                           อ�ำเภอควบคุมโรค ให้เข้มแข็งและยั่งยืนต่อไป
          ผลจากการประเมิน ประกวด อ�ำเภอควบคุมโรคและภัย                         นับจากจุดนีไป ในปี 2556 ซึงเป็นปีที่ 3 การสืบสานให้ “อ�ำเภอ
                                                                                            ้             ่
     สุขภาพเข้มแข็งแบบยังยืน ปี 2555 จ�ำนวน 37 อ�ำเภอ จากทังหมด
                            ่                                    ้        ควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน” ยังต้องด�ำเนินต่อไปให้ครอบคลุม
     100 อ�ำเภอ 7 จังหวัด ในเขตรับผิดชอบ สคร.7 อบ. เป็นที่น่าชื่นชม       ทุกพื้นที่โดยเร่งการหมุนฟันเฟืองกระบวนการมีส่วนร่วมของ
     ยินดีทหลายจังหวัดสามารถด�ำเนินการผ่านเกณฑ์การเป็นจังหวัดทีมี
             ี่                                                       ่   สังคม ทุกภาคส่วนและชุมชนอีก 65 อ�ำเภอในเขตพื้นที่เครือข่าย
     ระบบและกลไกการบริหารจัดการให้เกิดการพัฒนา “อ�ำเภอควบคุม              บริการที่ 8 และ 10 ให้บรรลุเกณฑ์ฯ ขยายเครือข่ายต่อยอดท�ำให้
     โรคเข้มแข็งแบบยังยืน” และหลายอ�ำเภอบรรลุเป็น “อ�ำเภอควบคุม
                        ่                                                 เรื่องสุขภาพเป็นหัวใจของการวางแผนและการบริหารจัดการทุก
     โรคและภัยสุขภาพเข้มแข็งแบบยั่งยืน” อย่างงดงาม โดย                    โครงการ เพื่อเฝ้าระวัง ป้องกัน และการควบคุมโรคและภัยที่จะ
          ชนะเลิศ เขตตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุขที่ 11 ได้แก่              คุกคามสุขภาพอย่างมีคณภาพ โดยเฉพาะเมือประตูแห่งอาเซียนได้
                                                                                                  ุ                   ่
     อ�ำเภอดอนตาล จังหวัดมุกดาหาร                                         เปิดกว้างรับการหลังไหลเคลือนย้ายของผูคน จากนานาประเทศเข้า
                                                                                               ่        ่           ้
          ด้วยปัจจัยความส�ำเร็จ คือ ด้านจังหวัดได้กำหนดนโยบาย “เมือง
                                                   �                      สู่ประเทศและเขตพื้นที่อาศัยของพี่น้องเรา และต่อยอดสู่ “อ�ำเภอ
     สวย บ้านสะอาด คนสุขภาพดี” ซึ่งมี “อ�ำเภอควบคุมโรคเข้มแข็ง”           ส่งเสริม ป้องกัน ควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน” โดยการจับมือ
     เป็นส่วนส�ำคัญ มีการลงนาม MOU ของทุกส่วนราชการ นโยบาย                กับเครือข่ายศูนย์วิชาการ “ศูนย์อนามัยที่ 7 อุบลราชธานี” และ
     ของนายแพทย์สาธารณสุขจังหวัดมุกดาหาร (นพ.จิณณพิภัทร                   พัฒนาไปสู่ระบบคุณภาพ (Public Health System Accredita-
     ชูปัญญา) ที่มอบหมายให้ทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้อง “จับมือ และเต็ม           tion) โดยมีรูปแบบ กลไกและวิธีการประเมินเชิงคุณภาพเพื่อให้
     ที่” กับนโยบายนี้ ร่วมขับเคลื่อนไปกับ สคร.7 อบ. แบบพี่น้อง           ค�ำรับรองเป็น “อ�ำเภอส่งเสริม ป้องกัน ควบคุมโรคเข้มแข็งแบบ
     ประสานเป็นหนึงเดียว ด้านพืนที่ นอกจากนโยบายนายอ�ำเภอแล้ว
                      ่            ้                                      ยั่งยืน” ที่ส่งผลลัพธ์ และผลกระทบต่อเป้าหมายการควบคุมโรค
     คปสอ.ดอนตาลมีประสบการณ์ต่อเนื่องมาจากปี 54 และมีผู้นำที่       �     และภัยสุขภาพของประชาชนที่มีประสิทธิภาพ
     เต็มไปด้วยความมุ่งมั่นอันแรงกล้า วางแผน เดินน�ำทัพสู่เป้าหมาย             ส�ำหรับกิจกรรมขับเคลื่อนนโยบายอ�ำเภอส่งเสริม ป้องกัน
     อย่างต่อเนื่อง เคียงบ่าเคียงไหล่กับภาคีเครือข่ายที่เข้มแข็ง อย่าง    ควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืนในปี 2556 หลังจากมีการประชุม
     เอาจริง จนส�ำเร็จผล. และได้สัมผัสเอง “ด้วยใจ” จากความทุ่มเท          เชิงปฏิบัติการเพื่อขับเคลื่อนการด�ำเนินงานอ�ำเภอส่งเสริมควบคุม
     ของทุกภาคีเครือข่าย ว่าสิ่งที่ได้ท�ำร่วมกันนั้น เป็นชัยชนะที่มีค่า   โรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน ส�ำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 7 จังหวัด
     มากกว่ารางวัลใด ๆ                                                    อุบลราชธานี วันที่ 19-20 ธันวาคม 2555 ณ ห้องประชุมโรงแรม
          ชนะเลิศ เขตตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุขที่ 13 ได้แก่              อุบลบุรี รีสอร์ท อ�ำเภอวารินช�ำราบ จังหวัดอุบลราชธานีที่ส่งมอบ
     อ�ำเภอกันทรารมย์ จังหวัดศรีสะเกษ โดยมีปัจจัยความส�ำเร็จ              “กระบี่” ให้เหล่าจอมยุทธไปแล้ว ล่าสุดในวันที่ 27-28 ธันวาคม
     ของการด�ำเนินงาน คือ ในระดับจังหวัด นายแพทย์สาธารณสุข                2555 สคร.7 อบ.ยังได้จัดกิจกรรมสนับสนุน “ลับคมกระบี่” ให้
     จังหวัดศรีสะเกษ (นพ.ประวิ อ�ำพันธุ)์ ได้มอบให้เป็นนโยบายส�ำคัญ
                                     ่                                    พื้นที่ที่ชนะเลิศได้ประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้การด�ำเนินงานอ�ำเภอ
     ของจังหวัด ให้ทุกอ�ำเภอด�ำเนินการ ในระดับพื้นที่ เริ่มจากการ         ควบคุมโรคเข้มแข็งเครือข่ายเขต 2, 5, 7 ทีเ่ ขาใหญ่ ทังในระดับ สคร.
                                                                                                                               ้
     ขับเคลื่อนที่ส�ำคัญของนายอ�ำเภอกันทรารมย์ที่มีมุมมองต่องาน           จังหวัด อ�ำเภอและต�ำบลอย่างเข้มข้น และชื่นมื่น เพื่อแสวงหาทาง
     สุขภาพว่า “สุขภาพไม่ใช่งานของสาธารณสุขฝ่ายเดียว เป็นงาน              ลัดก้าวสู่ “อ�ำเภอส่งเสริม ป้องกัน ควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน
     ของทุกคนในอ�ำเภอ โดยเฉพาะนายอ�ำเภอต้องดูแลสุขภาพ                     ในปี 2556” วาระแห่งพันธะต่อไปที่ชาวเครือข่ายที่รักทุกท่าน
     ประชาชน”                                                             คงไม่ลม คือการประเมินตนเองหา GAP วิเคราะห์ปญหาพืนที่ และ
                                                                                  ื                                          ั     ้
          นอกจากนี้ยังมีความส�ำเร็จของอีก 30 อ�ำเภอที่ผ่านเกณฑ์           เร่งด�ำเนินการโดยพลัน กลุมพัฒนาภาคีเรือข่าย ส�ำนักงานป้องกัน
                                                                                                      ่
     ประเมิน 40 คะแนน จากคะแนนเต็ม 50 คะแนน อย่างน่ายกย่อง                ควบคุมโรคที่ 7 จังหวัดอุบลราชธานีขอเป็นก�ำลังใจให้ทุกท่าน
          เป็นที่ประจักษ์ชัดแล้วว่า การสร้างพลัง แรงขับเคลื่อนอย่าง       ประสพความส�ำเร็จดังใจปรารถนา เป็น“อ�ำเภอส่งเสริม ป้องกัน
     เข้มข้น จนประสบความส�ำเร็จในหลายพื้นที่นั้นพบว่า จังหวัดมีผู้        ควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน”ตลอดไป
     ว่าราชการจังหวัดรับเป็นเจ้าภาพใหญ่ร่วมกับหัวหน้าส่วนราชการ
     ระดับอ�ำเภอมีนายอ�ำเภอเป็นแม่ทัพใหญ่ ถักทอเครือข่ายในพื้นที่                                ด้วยความปรารถนาดี

                                                                                                                                              3
แนวทางการเฝ้าระวังเหตุการณ์
                                                  และการพัฒนาความร่วมมือ
เรื่อง: วัชรชัย ครองใจ
กลุ่มระบาดวิทยาและข่าวกรอง
                                     กับเครือข่ายด้านสาธารณสุข
    ส     วัสดีครับเครือข่ายกัลยานมิตรด้านสาธารณสุขทุกท่าน ปัจจุบนท่านคงทราบนะครับว่าสภาพสิงแวดล้อม สังคม เศรษฐกิจทีมการเปลียนแปลง
                       ้               ่ ้          ี
                                                                  ั
                                                                      ่
                                                                                                ่
                                                                                                     ้                    ้
                                                                                                                            ่ี
          ตลอดเวลานัน โรคภัยต่างๆ ทีเกิดขึนกับคน ก็มการพัฒนาการเปลียนแปลงไปเช่นกัน สามารถเกิดขึนในหลายรูปแบบ เชือโรคก็มพฒนาการ    ี ั
                                                                                                                                      ่

ตามไปด้วย เกิดการปรับตัวเพื่อให้ตัวเองอยู่รอดตลอดเวลา จากสภาพดังกล่าว การจับตา เพื่อสังเกตความเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น ล�ำพังใช้ก�ำลังเจ้า
หน้าทีสาธารณสุขเพียงอย่างเดียว เห็นจะไม่เพียงพอและไม่สามารถก้าวทันความผิดปกติตางๆ ทีจะเกิดขึน จึงต้องพัฒนาความร่วมมือไปยังเจ้าหน้าที่
       ่                                                                            ่     ่       ้
จากหน่วยอื่นหรือกระทรวงอื่นๆ เพื่อการเฝ้าระวังร่วมด้วยช่วยกัน ซึ่งพบว่าได้ผลดีระดับหนึ่งครับ แต่พบว่าไม่สามารถพบเห็นความผิดปกติด้านโรค
ภัยไข้เจ็บได้รวดเร็วเพียงพอ ที่จะสามารถรีบจัดการเสียตั้งแต่ต้นตอของเหตุโรคระบาดและภัยที่เกิดขึ้นนั้น จึงท�ำให้เสียก�ำลังคน ก�ำลังงบประมาณ
เพื่อจัดการ กับโรคภัยไข้เจ็บนั้นเป็นจ�ำนวนมากกว่าเหตุการณ์จะสงบในเหตุการณ์หนึ่งๆ

      จากประเด็นดังกล่าว ก็มบทเรียนความร่วมมือของประชาชนทีเ่ ข้ามา
                                ี                                      อย่างต่อเนื่อง ด้วยกระบวนการที่เป็นระบบประกอบด้วย การรวบรวม
มีสวนร่วมในการเฝ้าระวัง จับตาเฝ้าสังเกตเหตุการณ์ความผิดปกติตางๆที่
    ่                                                         ่        เรียบเรียง วิเคราะห์แปลผล และกระจายข้อมูลข่าวสาร สู่ผู้ใช้ประโยชน์
ส่งผลให้เกิดโรคภัยไข้เจ็บในหลายพืนที่ พบว่าสามารถค้นพบเหตุได้อย่าง
                                       ้                               เพื่อการวางแผน ก�ำหนดนโยบาย การปฏิบัติงาน และการประเมิน
รวดเร็วก่อนเกิดการระบาดของโรคได้จริง จากตัวอย่างนี้ความส�ำคัญจึง       มาตรการควบคุมป้องกันโรคอย่างรวดเร็ว และมีประสิทธิภาพ การเฝ้า
อยู่ตรงที่ว่า ประชาชาชนทุกคนต้องเข้ามามีบทบาทและมีหน้าที่ในการ         ระวัง มี 2 ประเภทคือ การเฝ้าระวังรายโรค หรือการเฝ้าระวังผู้ป่วย หรือ
ร่วมด้วยช่วยจัดการเป็นส�ำคัญ โดยต้องเข้าใจว่า การจับตาเฝ้าสังเกต       เรียกง่ายๆว่า รง. 506 ซึ่งเป็นระบบมาตรฐานด�ำเนินการโดยเจ้าหน้าที่
ระวังเหตุการณ์ความผิดปกติต่างๆในชุมชนอะไรบ้าง อย่างไร บทบาท            สาธารณสุข รับข้อมูลจากสถานพยาบาลและหน่วยงานต่างๆอย่างเป็น
ที่ส�ำคัญตามมาคือการแจ้งข่าวที่โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพต�ำบลใน          ทางการ ที่เป็นระบบตั้งรับในหน่วยงาน และการเฝ้าระวังเหตุการณ์ ซึ่ง
พื้นที่เพื่อให้เจ้าหน้าที่รีบช่วยตรวจสอบ ค้นหาสาเหตุและด�ำเนินการ      เป็นระบบเฝ้าระวังเชิงรุกที่เน้นต้องการให้ประชาชนทั้งภาครัฐ เอกชน
ก�ำหนดแนวทางทีสามารถจัดการป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพทีทน
                    ่                                           ่ ั    ด�ำเนินการซึ่งจะช่วยเสริมประสิทธิภาพ ด้านความรวดเร็วเพิ่มขึ้นจาก
ท่วงที และถ้าพบเหตุการณ์ทมขนาดใหญ่เกินขีดความสามารถของระดับ
                                  ี่ ี                                 การเฝ้าระวังโรคในระบบปกติหรือระบบตังรับในหน่วยงานดังกล่าว โดยมี
                                                                                                              ้
ต�ำบล ก็ประสานขอความช่วยเหลือจากทีมระดับอ�ำเภอ หรือจังหวัดต่อ          หลักการคือการรับแจ้งเหตุการณ์ผดปกติอย่างรวดเร็วโดยมีการจัดการที่
                                                                                                         ิ
ไป ข้อคั้นพบส�ำคัญอีกอย่างหนึ่งที่ประชาชนต้องเรียนรู้ คือแจ้งเหตุผิด   เป็นระบบ เพื่อให้ได้ข่าวสารข้อมูลการเกิดโรคและภัยสุขภาพ จากแหล่ง
ปกติอะไรบ้าง จึงขอท�ำความเข้าใจด้านการเฝ้าระวังซึ่งหมายถึง การ         ข่าวชนิดต่างๆ ทั้งที่เป็นทางการ และไม่เป็นทางการ และต้องมีการตอบ
ติดตาม สังเกต ลักษณะการเปลี่ยนแปลงของการเกิด การกระจายของ              สนองทีรวดเร็ว โดยมีขอเปรียบเทียบจุดเด่น จุดด้อยทัง 2 ระบบดังนีครับ
                                                                               ่               ้                        ้              ้
โรคหรือปัญหาสาธารณสุข รวมทั้งปัจจัยที่มีผลต่อการเปลี่ยนแปลงนั้นๆ

                                               การเฝ้าระวังโดย                               การเฝ้าระวังโดย
                                               การรายงานผู้ป่วย                              การรายงานเหตุการณ์
                                               (Case-based surveillance)                     (Event-based surveillance)
 นิยามในการรายงาน                              - ผู้ป่วยอาการเข้าได้ตามนิยามโรค              - เหตุการณ์ที่มีความเสี่ยงต่อคน
                                               - เก็บข้อมูลผู้ป่วยรายคน                      - เหตุการณ์ผิดปกติในชุมชน
                                               - ใช้เกณฑ์ทางห้องปฏิบัติการร่วม               - มีความไว (แต่ความจ�ำเพาะต�่ำ)
                                               - มีความจ�ำเพาะสูงกว่า
 ความทันเวลา                                   - ก�ำหนดรายงานเป็นสัปดาห์ ยกเว้นบางโรคที่     - ทุกเหตุการณ์รายงานได้ทันที ทุกวัน
                                               ก�ำหนดให้รายงานทันที มักล่าช้า                ตลอด 24 ชั่วโมง
                                                                                             - รวดเร็วกว่า
 การตอบสนอง                                    - จ�ำนวนผู้ป่วยเกินค่ากลางที่ก�ำหนด เช่น      - ทันทีที่ยืนยันเป็นเหตุการณ์ผิดปกติ
                                               มัธยฐาน 5 ปี

  4
ความน่าเชื่อถือต้อง มีมากกว่าหนึ่งแหล่ง
                                                                                                            ข่าว (หรือแหล่งข้อมูล) ทั้งเป็นทางการ
                                                                                                            เช่น ระบบรายงานผู้ป่วย รายงาน
                                                                                                            สถานการณ์โรค บันทึกแจ้งข่าวการ
                                                                                                            ระบาด รายงานสอบสวนโรคฯ รวมถึง
                                                                                                            ระบบรายงานอื่น เช่น ข่าวสารทางห้อง
                                                                                                            ปฏิบตการ การแจ้งตาย หรือแหล่งข้อมูล
                                                                                                                 ัิ
                                                                                                            ข่าวสารสาธารณะ เช่น หนังสือพิมพ์
                                                                                                            วิทยุโทรทัศน์ อินเตอร์เน็ทฯ ส่วนใหญ่
                                                                                                            เป็นข่าวการระบาด ภัยพิบัติฯ ควร
                                                                                                            ระวังข่าวจ�ำนวนผู้ป่วยหรือผู้ได้รับผล
                                                                                                            กระทบ จะมากหรือรุนแรงกว่าความเป็น
                                                                                                            จริงและ แหล่งข้อมูลข่าวสารบุคคล เช่น
                                                                                                            การแจ้งข่าวจากบุคคลในข่ายงานเฝ้า
                                                                                                            ระวังโรค อาสาสมัคร ผู้น�ำชุมชน ผู้เห็น
                                                                                                            เหตุการณ์ การร้องเรียนจากประชาชนฯ
                                                                                                            ข่าวส่วนใหญ่เป็น ข้อมูลการป่วย/
     ประโยชน์ของการเฝ้าระวังเหตุการณ์ ท�ำให้พบเหตุการณ์ผิดปกติ             ตายรายบุคคล เหตุร�ำคาญฯ ข้อควรระวังคือ การแจ้งข่าวด้วยความ
หรือการระบาดได้เร็วขึ้น ขณะที่ปัญหายังไม่ลุกลาม ข้อมูลข่าวสารที่           เข้าใจผิด การกลั่นแกล้ง ข่าวลือ โดยมีรายละเอียดของข่าวสาร ตาม
ได้น�ำไปสู่การแก้ไขปัญหาโดยเร็วและมีฐานข้อมูลเหตุการณ์ผิดปกติใน            บุคคล เวลา สถานที่ ซึงตรวจสอบได้ มีพยานหลักฐาน หรือภาพถ่ายแสดง
                                                                                                 ่
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพต�ำบลเพื่อวางแผนในการป้องกันควบคุม                  เหตุการณ์เชื่อมโยงกับปัญหาที่พบมาก่อน การตรวจสอบด้านเหตุการณ์
โรค เสริมกับระบบรายงาน 506 ปัญหาที่ต้องช่วยกันคือ จะรู้เร็วได้             ร้ายแรงหรือไม่โรคร้ายแรง พิจารณาจาก อัตราป่วยตายสูง โรคที่รักษา
อย่างไร ค�ำตอบง่ายๆ ที่มีบทเรียนความส�ำเร็จคือการใช้แหล่งข่าวใน            ไม่ได้ หรือมีผลกระทบระยะยาว เช่น ความพิการ ประชากรส่วนใหญ่
ชุมชน ไม่ว่าจะเป็นบุคคลในชุมชน เช่น อสม. อบต. ครู อาสาสมัคร                ได้รับผลกระทบหรือเสี่ยง หรืออยู่ในความสนใจของสื่อมวลชนเนื่องจาก
ปศุสัตว์ต�ำบล สื่อมวลชน ผู้ด�ำเนินรายการวิทยุชุมชน และแหล่งข้อมูล          เป็นปัญหาส�ำคัญ ปัญหาสุขภาพนี้ผิดปกติหรือไม่ แพร่ระบาดได้เร็วหรือ
ข่าวสารในอินเตอร์เน็ต บุคลากรทางแพทย์และสาธารณสุข ทั้งภาค                  ไม่ มีผลกระทบต่อเศรษฐกิจหรือไม่ หรือเป็นปัญหามีความกังวลระดับ
รัฐและเอกชน เป็นผู้แจ้งข่าวโดยตั้งข้อตกลงเบื้องต้นร่วมกันในการ             นานาชาติหรือไม่ เช่น เกิดแถวพรมแดนระหว่างประเทศ เป็นโรคที่แพร่
ก�ำหนดจุดแจ้งเหตุ (รพสต.) เพื่อความรวดเร็วควรแจ้ง ภายใน 24                 ระหว่างประเทศได้ง่าย หรือเกี่ยวข้องกับการค้าและท่องเที่ยว เป็นต้น
ชั่วโมง ประเภทของเหตุการณ์ผิดปกติที่ต้องแจ้ง ได้แก่เหตุการณ์การ            แนวทางการตรวจสอบต้องมีการกรองข่าว หมายถึง การด�ำเนินการทันที
เกิดโรคในคน เช่น พบผู้ป่วยหลายคนพร้อมกัน หรือมีการตายผิด                   ที่รับข่าว เพื่อก�ำจัดข่าวลือที่เห็นชัดเจนว่าไม่ถูกต้อง ข่าวหลอกลวง
ปกติไม่ทราบสาเหตุโรคหรือกลุ่มอาการทั่วไปที่พบบ่อย หมายถึง โรค              หรือแหล่งข่าวไม่นาเชือถือ แล้วแยกข่าวทีเ่ ห็นว่าต้องแก้ไขปัญหาอย่าง
                                                                                               ่ ่
ประจ�ำถิ่นหรือกลุ่มอาการที่ประชาชนรู้จักดี และพบบ่อยในชุมชน เช่น           เร่งด่วน หรือต้องการตรวจสอบยืนยันมาด�ำเนินการทันที เมื่อตรวจ
ไข้เลือดออก อุจจาระร่วง ซึงอาจจะเกิดจากอาหารเป็นพิษ โรคไข้หวัดใหญ่
                          ่                                                สอบพบความผิดปกติหรือพบสัญญาณภัย หมายถึง สิ่งบอกเหตุที่ชี้ว่า
ทีพบการระบาดตามฤดูกาล โรคฉีหนู (ซึงเป็นโรคประจ�ำถินในภาคอีสาน
   ่                              ่   ่                 ่                  น่าจะมีเหตุการณ์บางอย่างเกิดขึ้น เช่น มีรายงานผู้ป่วยตามรายการ
บ้านเรา) โรคใหม่หรือกลุ่มอาการที่ไม่เคยพบในพื้นที่ หมายถึง โรค             โรคที่มีความส�ำคัญสูง มีจ�ำนวนผู้ป่วยหรือผู้ตายสูงกว่าเกณฑ์ชี้วัด
ใหม่หรือกลุ่มอาการที่ไม่เคยพบมาก่อนหรือไม่เป็นที่รู้จักในพื้นที่           หรือระดับเตือนภัย หรือข่าวสารไม่เป็นทางการที่มีเนื้อข่าวชัดเจนว่า
ตัวอย่าง เช่น ป่วยเสียชีวิตโดยไม่รู้สาเหตุ โรคฉี่หนูที่เกิดขึ้นในพื้นที่   เป็นเรื่องผิดปกติ หรือเกิดโรคภัยแล้วต้องด�ำเนินการควบคุมโรคทันที
ใหม่ครั้งแรก โรคไข้ปวดข้อยุงลาย (ชิคุนกุนยา) ในพื้นที่ใหม่ โรคสัตว์        ท�ำให้การป้องกันควบคุมโรคสามารถท�ำได้อย่างรวดเร็ว ถ้าเกินขอบเขต
สู่คน เช่น พิษสุนัขบ้า และเหตุการณ์ที่เป็นปัจจัยเสี่ยงอาจจะเกี่ยวข้อง      หรือความสามารถระดับต�ำบลก็รีบรายงานถึงทีมเฝ้าระวังสอบสวน
กับการเกิดโรคในคน เช่นสัตว์ปกป่วยตายผิดปกติ อาหารปนเปือนในงาน
                               ี                              ้            เคลื่อนที่เร็ว (SRRT) ระดับอ�ำเภอต่อไป….
เลี้ยงแห่งหนึ่งท�ำให้คนท้องเสียจ�ำนวนมาก สารเคมีรั่วจากโรงงาน หรือ
มีการตั้งร้านอาหารคาราโอเกะใหม่หลายร้านในชุมชน เป็นต้น แนวทาง
ปฏิบัติที่ส�ำคัญ บทบาทในการรับข่าวและตรวจสอบข่าวของเจ้าหน้าที่
รพสต.ที่ต้องมีบทบาทหน้าที่ในการตรวจสอบข่าวที่ได้รับแจ้งโดยใช้สมุด
ทะเบียนรับแจ้งข่าว และต้องตอบสนองข้อมูลให้กบแหล่งข่าวภายใน 48
                                                ั
ชั่วโมง การตรวจสอบด้านความน่าเชื่อถือของข่าวแหล่งข่าวหลักจะมี

                                                                                                                                              5
ร่วมรณรงค์ตรวจ เพื่อก้าวต่อ
                     ให้คนไทยตรวจเอดส์
             ปีละ 2 ครั้ง
      ประเด็น ตรวจเพื่อก้าวต่อ.... โดยสภากาชาดไทยได้ร่วมกับภาครัฐ                  ต่อไปนี้ เป็นเหตุผลที่คนไทยส่วนใหญ่ไม่ไปตรวจหาเชื้อเอชไอวี
และเอกชนตลอดจนภาคีเครือข่ายจัดท�ำขึ้น เพื่อต้องการชี้ประเด็น ให้                   1. ไม่คิดว่าเสี่ยง เช่น มีสามีหรือภรรยาเพียงคนเดียว ไม่เคยมีเพศ
ประชาชนคนไทยทุกคน ทั้งที่คิดว่าตัวเองเสี่ยง และคิดว่าตัวเองไม่เสี่ยง           สัมพันธ์กับคนอื่นเลยก่อนแต่งงาน เรามั่นใจเรา แต่เราไม่สามารถมั่นใจ
(จริง ๆ แล้วเราก็เสี่ยงกันทุกคนถ้าเรามีเพศสัมพันธ์โดยไม่ป้องกันถึง             “เขา” ดังนั้น จึงควรไปตรวจพร้อมๆ กันสักครั้ง
แม้เป็นสามีภรรยากัน) ในสหรัฐอเมริกา 20% ของคนที่ติดเชื้อไม่รู้ตัว                  2. กลัวถูกมองในแง่ไม่ดี เดินเข้าไปขอตรวจเชื้อ เอช ไอ วี ต้องโดน
ว่าติดเชื้อ ในขณะที่เกือบครึ่งของคนไทยที่ติดเชื้อยังไม่รู้ตัว ดังนั้น การ      มองว่ามีพฤติกรรมเสี่ยงแน่ๆ
ประชาสัมพันธ์เพื่อท�ำให้ทุกคนก้าวข้ามความไม่รู้ ความกลัว ความไม่                   3. กลัวตรวจแล้วเจอจริง ๆ รับไม่ได้ เพราะรู้มาว่า เอดส์ไม่มีทาง
ใส่ใจ ความไม่สะดวก และเหตุผลอื่นๆ ที่ทำให้ไม่ไปตรวจเอดส์ ได้มอง
                                                �                              รักษา เอดส์เป็นแล้วตายอย่างเดียว
เห็นประโยชน์ของการตรวจเอดส์วาเป็นหน้าทีหรือความรับผิดชอบทังต่อ
                                      ่           ่                        ้       4. กลัวจะถูกคนรังเกียจ และอาจถูกไล่ออกจากงาน
ตัวเองและต่อผูอน จนกล้าไปตรวจเอดส์สกครังหนึงในชีวต และตรวจต่อ
                   ้ ื่                       ั ้ ่          ิ                     5. ไม่รู้ว่าไปตรวจเอดส์ได้ที่ไหน ขั้นตอนท�ำยังไง
เนืองเป็นปกติวสยถ้ามีความจ�ำเป็นหรือมีเหตุผลทีตองท�ำเช่นนัน เช่น การ
    ่              ิั                               ่้               ้             6. ไม่รู้ว่ามีสิทธิ์ ตรวจฟรี ปีละ 2 ครั้ง
มีพฤติกรรมเสียงอีก กล่าวง่ายๆ คือ อยากให้คนไทยมองเห็นว่าการตรวจ
                 ่                                                                 7. เสียเวลา ต้องรอตรวจ รอฟังผล รอ รอ รอ
เอดส์เป็นเรื่องธรรมดา และเป็นสิ่งจ�ำเป็นอย่างหนึ่งคล้ายกับการตรวจ                  8. ตรวจแล้ว หมอไม่ได้แนะน�ำอะไร
สุขภาพประจ�ำปี ไม่จ�ำเป็นต้องเป็นเรื่องลึกลับหรือนิรนามอีกต่อไป หลัง               เชื่อว่าต้องมีสักข้อที่ตรงกับคุณๆ ผู้อ่านและอาจมีเหตุผลนอกเหนือ
จากตรวจแล้ว ชีวตจะได้กาวต่อไปอย่างมันคง ไม่วาจะเป็นชีวตเดียว หรือ
                        ิ     ้             ่       ่               ิ ่        จากนี้ อย่างไรก็ตามขอย�้ำในตอนท้ายนี้ถึง การใช้สิทธิประโยชน์ เรื่อง
ชีวิตคู่ หรือหากติดเชื้อก็มีสุขภาพที่ดีและอายุยืนยาวเหมือนคนอื่นทั่วไป         เอชไอวี เอดส์ ในระบบหลักประกันสุขภาพ (บัตรทอง) ของส�ำนักงาน
ภายใต้ค�ำขวัญวันเอดส์โลก ที่ว่า Getting to zero หรือมุ่งสู่เป้าหมายที่         หลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เพื่อให้คนไทยทุกคน รับบริการให้ค�ำ
เป็นศูนย์ ได้แก่ ลดผู้ติดเชื้อรายใหม่ให้เป็นศูนย์ ลดอัตราการตายให้เป็น         ปรึกษา และตรวจเลือดหาการติดเชื้อเอชไอวีโดยสมัครใจ สิทธินี้
ศูนย์ และลดการรังเกียจผู้ติดเชื้อให้เป็นศูนย์                                  ครอบคลุมคนไทยทุกคน ตรวจได้ปีละ 2 ครั้ง ทั้งนี้ไม่ครอบคลุมใน
      สิงทีตองรูและท�ำความเข้าใจก่อน คือ ผูตดเชือเอชไอวี กับ ผูปวยเอดส์
        ่ ่้ ้                                 ้ิ ้                    ้ ่     กรณีเพื่อน�ำไปสมัครเข้าท�ำงาน สมัครเข้าศึกษา การตรวจสุขภาพ
ไม่เหมือนกัน หลังจากที่เรารับเชื้อเอชไอวีเข้าไปในร่างกาย จะไม่ท�ำให้           ประจ�ำปี และการตรวจเพือท�ำประกันชีวต จึงขอเชิญชวนไปตรวจสุขภาพ
                                                                                                           ่            ิ
ป่วยทันที แต่เชื้อจะท�ำลายภูมิคุ้มกันไปเรื่อย ๆ โดยเฉลี่ยในประเทศไทย           กันเถอะ...
ใช้เวลา 7-10 ปี จึงจะเริ่มป่วย ที่เป็นอย่างนี้เพราะภูมิคุ้มกันของร่างกาย            สอบถามเรื่องสิทธิประโยชน์และการบริการได้ที่
สามารถจัดการกับเชื้อโรคต่าง ๆ ได้ อาการเจ็บป่วยจากโรคฉวยโอกาส                       1. ส�ำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ สายด่วน 1330
จึงไม่ปรากฏ เรียกว่า “ผู้ติดเชื้อ” แต่หากภูมิคุ้มกันถูกท�ำลาย จนไม่            www.nhso.go.th
สามารถควบคุมหรือจัดการกับเชื้อโรคบางอย่างได้ เราก็จะป่วยด้วยเชื้อ                   2. ส�ำนักงานประกันสังคม สายด่วน 1506 www.sso.go.th
โรคนั้น ๆ เรียกว่า เริ่มมี ภาวะภูมิคุ้มกันบกพร่องเป็น “ผู้ป่วยเอดส์” การ            3. บริการให้ค�ำปรึกษาเรื่องเอดส์ ที่มูลนิธิเข้าถึงเอดส์
เจ็บป่วยด้วยโรคฉวยโอกาสในผูตดเชือทีเกิดจากภาวะภูมคมกันบกพร่อง
                                   ้ิ ้ ่                      ิ ุ้            02-372-2222 ตั้งแต่ 10.00 – 20.00 ทุกวัน (ไม่ถามชื่อ)
เช่น ท้องเสีย เริม เชื้อราในปาก วัณโรค ปอดอักเสบ เชื้อราเยื่อหุ้มสมอง               www.aidsaccess.com
ฯลฯสามารถรักษาได้และบางโรคป้องกันได้ เช่น ปอดอักเสบพีซีพี ฝีใน                      4. ต่างจังหวัด โรงพยาบาลประจ�ำจังหวัด ,โรงพยาบาล
สมอง และเชื้อราเยื่อหุ้มสมอง หากได้รับการตรวจรักษาที่มีมาตรฐาน                 ประจ�ำอ�ำเภอ ทุกแห่ง
และทันท่วงที นอกจากนี้ เชื้อเอชไอวี ยังสามารถควบคุมได้โดยการใช้                     5. คลีนิคศูนย์สาธิตบริการ ส�ำนักงานป้องกันควบคุมโรค
ยาต้านไวรัส ซึ่งจะควบคุมไม่ให้เชื้อเอชไอวีท�ำลายภูมิคุ้มกันได้ ผู้ติดเชื้อ     ที่ 7 จังหวัดอุบลราชธานี โทร. 045-242226
ที่ได้รับยาต้านไวรัสอย่างเหมาะสม จะท�ำให้ภูมิคุ้มกันสูงพอที่จะป้องกัน              อ้างอิง
โรคฉวยโอกาสได้เกือบทุกโรค                                                           1. การใช้สทธิประโยชน์การดูแลรักษาผูตดเชือเอชไอวี/ผูปวยเอดส์ ในระบบหลัก
                                                                                              ิ                        ้ิ ้            ้ ่
      ด้วยเหตุนี้ เอดส์ จึงรักษาได้ ป้องกันได้ และเอชไอวีกสามารถควบคุม
                                                           ็                   ประกันสุขภาพ.ส�ำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ 2556
ได้ หากทุกคนมีข้อมูลที่ถูกต้องและได้รับการรักษาที่ได้มาตรฐานตาม                     2. ตรวจเพื่อก้าวต่อ คุณหมอขอบอก. http://www.dailynew.co.th/
แนวทางการรักษาของประเทศ รู้อย่างนี้แล้วเรายังต้องกลัวอะไร?                     article/1490/168483

 6
บทเรียนฝ่าดงมาเลเรียสกลนคร...
                             ...ใจนำ�พา ศรัทธานำ�ทาง...
                                                                                                                  เรื่อง: สมรรถ ปัญญาประชุม
                                                                                        ศูนย์ควบคุมโรคติดต่อนำ�โดยแมลงที่ 7.3 จังหวัดสกลนคร

 แกะรอยมาลาเรียภูพาน                                                     จะเข้าสู่เซลล์เม็ดเลือดแดงอื่นๆ อีกครั้งและด�ำเนินวงจรชีวิตในกระแส
    สถานการณ์โรคไข้มาลาเรียเมื่อสิบปีที่แล้ว โรคไข้มาลาเรียได้ลด         เลือดต่อไป อย่างไรก็ตามจะมีเชื้อบางส่วนที่จะพัฒนาเป็นระยะ
น้อยลงทุกปี ซึ่งมีผู้ป่วยในแต่ละปีไม่เกิน 20 ราย เดิมนั้น ศูนย์ควบคุม    เซลล์สืบพันธุ์เพศผู้และเพศเมียซึ่งเป็นระยะที่ติดต่อในยุง ซึ่งเรียกว่า
โรคติดต่อน�ำโดยแมลงที่ 7.3 สกลนคร เป็นผู้ปฏิบัติงานภายใต้แผนงาน          แกมเมตโตไซท์ (gametocytes) เมื่อยุงก้นปล่องกัดมนุษย์ที่มีเชื้อ
กรมควบคุมโรค (Vertical Program) ในปี 2548 ส�ำนักโรคติดต่อน�ำโดย          มาลาเรีย ก็จะได้รับเชื้อระยะเซลล์สืบพันธุ์เข้าไป เซลล์สืบพันธุ์ดังกล่าว
แมลง กรมควบคุมโรค จึงได้ผสมผสานงานไข้มาลาเรียเข้าสูระบบบริการ
                                                          ่              จะเจริญเติบโตในยุงจนกระทั่งถึงระยะติดต่อ ซึ่งเรียกว่า สปอร์โรซอยท์
สาธารณสุข โดยได้โอนงานไข้มาลาเรียให้กับจังหวัด เนื่องจากจังหวัด          (sporozoite) ซึงจะเคลือนทีเ่ ข้าสูตอมน�้ำลายของยุง และเมือยุงกัดมนุษย์
                                                                                         ่       ่         ่่                     ่
ขาดความพร้อมทังคน วัสดุอปกรณ์และงบประมาณ กิจกรรมบางส่วนได้
                    ้       ุ                                            เชื้อระยะ sporozoite ก็จะถ่ายทอดเข้าสู่ร่างกายมนุษย์ต่อไป
ยกเลิก เช่น การพ่นเคมีบ้าน กระท่อม มาลาเรียคลินิก อมม.(อาสาสมัคร
มาลาเรีย) ท�ำให้กจกรรมป้องกันควบคุมไข้มาลาเรียไม่ตอเนือง ในปี พ.ศ.
                  ิ                                  ่ ่                 เส้นทางมาลาเรีย
2549 โรคไข้มาลาเรียจึงได้เกิดระบาดขึนทีอำเภอภูพาน จังหวัดสกลนคร
                                       ้ ่�                                   5 พ.ค.55 รายงานทางระบาดวิทยา แจ้งว่าสถานการณ์โรคมาลาเรีย
โดยมีผู้ป่วยจ�ำนวน 33 ราย อัตราป่วยเท่ากับ 0.03 ต่อประชากรพันคน          ของจังหวัดสกลนคร เพิ่มสูงขึ้นผิดปกติ พบผู้ป่วยสะสมตั้งแต่ ม.ค. 55
และในปี พ.ศ.2555 โรคไข้มาลาเรียได้เกิดการระบาดขึ้นอีกครั้งในเดือน        เป็นต้นมาเพิ่มเป็น 12 ราย สูงกว่าช่วงเดียวกันของปีที่ผ่านมา สูงกว่าค่า
พฤษภาคม มิถนายน กรกฎาคม ในพืนทีอำเภอภูพาน กุดบากและอ�ำเภอ
                ุ                   ้ ่�                                 มัทธยฐาน นั้นแสดงว่า ..เกิดการระบาด ... SRRT.ของพื้นที่ ออกด�ำเนิน
เต่างอย เมื่อสิ้นปี 2555 พบผู้ป่วยจ�ำนวน 193 ราย.อัตราป่วยเท่ากับ        การควบคุมโรค การสอบสวนโรค ระบุสถานที่พบผู้ป่วย ในอ�ำเภอภูพาน
0.04 ต่อพันประชากร                                                       จ�ำนวน 10 ราย สถานที่ผู้ป่วยไปติดเชื้อคือพื้นที่ในเทือกเขาภูพาน เดิน
                                                                         ทางเข้าป่าเพือล่าสัตว์ หาของป่า พักค้างคืน และเดินทางกลับจากป่าช่วง
                                                                                       ่
ไข้มาลาเรียคืออะไร                                                       มืดค�่ำ ตามวิถีชีวิตเพื่อมายังชีพบางส่วนน�ำไปขาย อีก 2 รายเป็นผู้ป่วย
     การติดเชื้อมาลาเรีย เริ่มเมื่อยุงที่มีเชื้อมาลาเรียมากัดมนุษย์และ   จากอ�ำเภออืนซึงไปติดเชือมาลาเรียจากต่างจังหวัด ไม่มความเชือมโยงกัน
                                                                                      ่ ่          ้                            ี     ่
ปล่อยเชื้อมาลาเรียระยะติดต่อ ซึ่งเรียกว่า สปอร์โรซอยท์ (sporozoite)            10 พ.ค. 55 มีรายงานพบผู้ป่วยเพิ่มเป็น 20 ราย อีกใน 5 อ�ำเภอ
เข้าสู่กระแสเลือด จากนั้นเชื้อจะเข้าสู่เซลล์ตับ เพื่อเจริญเติบโตและ      สอบประวัติ ผู้ป่วย 3 ราย ใน 2 อ�ำเภอพบไปติดเชื้อมาลาเรียมาจาก
แบ่งตัวจนได้เซลล์เล็กๆจ�ำนวนมากมาย เดินทางจากเซลล์ของตับ ๆ               จังหวัดอื่น และจากต่างประเทศ (ลาว) คงเหลือที่ติดในพื้นที่ ขยายรวม
เข้าสู่เซลล์เม็ดเลือดแดง กินอาหารในเม็ดเลือดแดงและเจริญเติบโต            เป็น 3 อ�ำเภอ คือ ภูพานเพิ่มเป็น 14 ราย, กุดบาก 2 ราย, เมือง 1 ราย,
เป็นระยะต่างๆ จนท�ำให้เม็ดเลือดแดงแตกและปลดปล่อย เมอโรซอยท์              แนวโน้มสถานการณ์โรคน่าจะสูงขึน และขยายวงไปสูพนทีอน SRRT.ต้อง
                                                                                                            ้               ่ ื้ ่ ื่
(merozoite ) จ�ำนวนมากมายออกมา จากนั้น merozoite เหล่านี้                หยุดการระบาดของโรคให้ได้ หรืออยู่ในขอบเขตที่สามารถควบคุมได้ ซึ่ง




                                                                                                                                              7
โรคนี้ที่ผ่านมาไม่ได้หมดไป แต่ยังพบประปราย ถือเป็นโรคประจ�ำ         สถานการณ์โรคยังไม่ดีขึ้น ผู้ป่วยยังเข้ามาเป็นระยะๆ พบเชื้ออย่าง
    ถิ่น ในเบื้องต้นตั้งเป้าหมาย                                        ต่อเนือง ผลการค้นหาผูปวยเชิงรุก บริการถึงบ้าน เจาะเลือดได้มาก
                                                                              ่                 ้ ่
            1. ลดจ�ำนวนผู้ป่วยลงให้น้อยที่สุด หรือน้อยกว่าค่ามัทธยฐาน   ราย แต่ตรวจไม่พบเชือ ผูปวยพบเชือมีระยะเวลาเริมป่วย จนมาพบ
                                                                                              ้ ้ ่        ้             ่
            2. ไม่ให้มีผู้ป่วยตายจากโรคนี้                              แพทย์ เฉลี่ย 7-10 วัน ผิดปกติ เชื้อที่พบ เป็นระยะ ติดต่อพร้อม
    ภารกิจพิชิตเป้าหมาย                                                 แพร่สู่บุคคลอื่นถ้ามียุงพาหะน�ำไป พบผู้ป่วยที่ติดเชื้อในหมู่บ้านที่
            พื้นที่ที่มีการระบาด ของไข้มาลาเรีย ได้เปิด War room        ตนเองอาศัยอยู่ โดยไม่ต้องเดินทางเข้าไปในป่า
    รวบรวมข้อมูล วิเคราะห์สถานการณ์โรค และสภาพ ขนาดของ
                                                                      สัญญาณเชิงบวก เส้นทางโรคธรรมดา ที่ไม่ธรรมดา
    ปัญหา แนวโน้ม ค้นหาขอบเขตการกระจายของโรค ถึงแม้โรคนี้
                                                                            จากการรวบรวม และวิเคราะห์ข้อมูล ของ War room ถ้า
    ไม่ใช่โรคใหม่ แต่ความจ�ำเป็นที่ต้องใช้มาตรการที่เหมาะสม เข้ามา
                                                                      การระบาดมาจากผู้ที่เดินทางเข้าป่าเพื่อหาของป่าล่าสัตว์ ธรรมดา
    ด�ำเนินการ จึงต้องเตรียมความพร้อม วิธีการท�ำงานและ ทบทวน
                                                                      เท่านันนะหรือคือจุดเริมต้นของการระบาด มันต้องเป็นมากกว่านัน
                                                                              ้                  ่                                      ้
    วิธีปฏิบัติ พร้อมทั้งแสวงหาความรู้ใหม่ๆ จากประสบการณ์ในตัว
                                                                      เราไม่หยุดเพียงแค่นี้ เราพบจุด หรือประเด็นที่น่าสนใจ เริ่มจาก
    คน ต�ำรา เอกสาร น�ำมาใช้ออกแบบในการท�ำงาน มอบหมายงาน
                                                                      จ�ำนวนผู้ป่วยที่เพิ่มขึ้นในแต่ละวันๆละ 5-8 ราย เกิดขึ้นเป็นกลุ่มๆ
    กันน�ำไปปฏิบัติ โดยแบ่งเป็นทีมหลักที่ปฏิบัติในพื้นที่ของแต่ละ
                                                                      ในหมู่บ้าน ต�ำบล อ�ำเภอ ต่างๆ, เป็นกลุ่มอาชีพที่เกี่ยวข้องกับป่า,
    พื้นที่ ทีมสนับสนุน ของ Cup. ของ สสจ. และ ศตม.ทั้งอุปกรณ์/
                                                                      ส่วนมากเป็นผูชาย, ระยะเวลาทีพบผูปวยเกิดช่วงเวลาใกล้เคียงกัน,
                                                                                      ้                    ่ ้ ่
    วัสดุ/เวชภัณฑ์/เคมีภัณฑ์/เงิน/คน การรายงานต่อผู้บังคับบัญชา
                                                                      บุคคลที่พบอายุอยู่ในวัยแรงงาน, สอบประวัติวันเริ่มป่วยจนถึงวัน
    ผู้เกี่ยวข้อง สื่อ ศูนย์ควบคุมโรคติดต่อน�ำโดยแมลงที่ 7.3 สกลนคร
                                                                      พบแพทย์หรือมารักษาอยู่ระหว่าง 7-10 วัน, เชื้อมาลาเรียที่พบ
    (ศตม.) ได้เข้าร่วมภารกิจในทุกขันตอน ผูเขียนเอง มีบทบาททังเป็น
                                      ้       ้                  ้
                                                                      80 % เป็นเชื้อระยะติดต่อเมื่อยุงกัดและดูดเลือดไป สามารถไป
    ทีมหลักและทีมสนับสนุน ของทุกพื้นที่ ที่มีการระบาด
                                                                      ปล่อยเชื้อนี้สู่ผู้อื่น, เศรษฐฐานะของกลุ่มในวัยแรงงานมีความผิด
    การด�ำเนินกิจกรรมควบคุมโรค.. ท่ามกลางอุปสรรค ปกติ จับกลุมดืมสุรา เบียร์ ในปริมาณมากๆ บ่อยๆ พบเห็นได้ทวไป
                                                                                    ่ ่                                              ั่
          ท่ามกลางความขาดแคลน ทั้งอุปกรณ์/วัสดุ/เวชภัณฑ์/ ในแต่ละอ�ำเภอที่ติดชายขอบเขาภูพาน เกิดอะไรขึ้น.....
    เคมีภัณฑ์/เงิน/คน ที่ต้องใช้ในเบื้องต้น ล้วนเป็นการแก้ไขปัญหา
                                                                      กิจกรรมที่ด�ำเนินงาน
    เฉพาะหน้า โดยขอรับการสนับสนุนจากหลายส่วน ได้แก่ ศตม.ต่างๆ
                                                                            ช่วงนี้เป็นช่วงที่ ทั้งอุปกรณ์/วัสดุ/เวชภัณฑ์/เคมีภัณฑ์/เงิน/
    จากจังหวัดอุบลราชธานี, จังหวัดมุกดาหาร,และสกลนครเอง จาก
                                                                      คน ได้รับการสนับสนุนจากทุกที่ เข้ามาสามารถปฏิบัติงาน ได้
    ส�ำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 7 อุบลราชธานี จนกระทั่งถึงส่วน
                                                                      อย่างพอเพียงซึ่งก็เพียงระยะหนึ่งเท่านั้น พร้อมกับการปรับแผน
    กลาง ส�ำนักโรคติดต่อน�ำโดยแมลง กรมควบคุมโรค ซึ่งบางอย่าง
                                                                      กลยุทธ์ใหม่ ให้เหมาะสมกับบริบทของพื้นที่ ได้แก่ การเจาะ
    ต้องใช้เวลาพอสมควร ในการเดินทาง อย่างไรก็ตามการด�ำเนินการ
                                                                      เลือดตรวจหาเชื้อมาลาเรียกลุ่มเสี่ยง เพื่อบ�ำบัดรักษา โดยจัดทีม
    ทีสามารถท�ำได้ ได้ลงสูพนทีอย่างเข้มข้น ก�ำลังส�ำคัญโดยเฉพาะคน
      ่                     ่ ื้ ่
                                                                      Mobile malaria clinic ให้ครอบคลุมไปยังกลุ่มเสี่ยง - ขยายจุด
    ถูกส่งเข้าพื้นที่ กิจกรรมหลักที่ส�ำคัญ คือการเจาะเลือดตรวจหา
                                                                      ตรวจชั่วคราวไปยัง รพ.สต.ต่างๆ พบเร็ว รักษาเร็ว ไม่ให้เชื้อเจริญ
    เชื้อมาลาเรียกลุ่มเสี่ยง เพื่อบ�ำบัดรักษาให้เร็ว โดยจัดทีม Mobile
                                                                      ไปสู่ระยะติดต่อ - ส�ำรวจกลุ่มเสี่ยง/ขึ้นทะเบียน ติดตามอย่าง
    malaria clinic ให้ครอบคลุมพื้นที่หลายทีม
                                                                      ใกล้ชด นัดวัน เวลา สถานทีทชดเจน ในการสนับสนุน ช่วยเหลือ และ
                                                                            ิ                       ่ ี่ ั
    สัญญาณเชิงลบ                                                      ให้สุขศึกษาประชาสัมพันธ์ -ส�ำรวจจ�ำนวนมุ้ง, เปล, ที่มีและใช้ ของ
          จากการปฏิบัติงานมาได้ระยะหนึ่ง ซึ่งแน่ละเวที War room กลุ่มเสี่ยง สนับสนุนเพิ่มเติม รวมทั้งน�ำน�้ำยาป้องกันยุงมาชุบมุ้ง ,
    มีบทบาทส�ำคัญทีได้รวบรวมข้อมูลและวิเคราะห์ ผลการปฏิบตงาน เปล, เสื้อคลุม, กางเกง, หมวก เพื่อลดการสัมผัสระหว่างคนกับยุง
                       ่                                        ัิ
    ของ SRRT. การปฏิบัติงานอย่างสุดความสามารถ และเข้มแข็ง แต่ - พ่นสารเคมีที่มีฤทธิ์ตกค้างในพื้นที่เสี่ยงสูง ได้แก่ บ้าน, กระท่อม,

8
สคร7
สคร7
สคร7
สคร7

More Related Content

What's hot

นโยบายโรคเรื้อรังกับ UHC
นโยบายโรคเรื้อรังกับ UHCนโยบายโรคเรื้อรังกับ UHC
นโยบายโรคเรื้อรังกับ UHCChuchai Sornchumni
 
แนวทางการดำเนินงาน คลีนิกหมอครอบครัว
แนวทางการดำเนินงาน คลีนิกหมอครอบครัว แนวทางการดำเนินงาน คลีนิกหมอครอบครัว
แนวทางการดำเนินงาน คลีนิกหมอครอบครัว Utai Sukviwatsirikul
 
นโยบายการดำเนินงาน รมต.สธ.
นโยบายการดำเนินงาน รมต.สธ.นโยบายการดำเนินงาน รมต.สธ.
นโยบายการดำเนินงาน รมต.สธ.Dr.Suradet Chawadet
 
นำเสนอการดำเนินงาน Dhs ประเด็นสุขภาพ odop สุขภาพจิต
นำเสนอการดำเนินงาน Dhs ประเด็นสุขภาพ odop สุขภาพจิตนำเสนอการดำเนินงาน Dhs ประเด็นสุขภาพ odop สุขภาพจิต
นำเสนอการดำเนินงาน Dhs ประเด็นสุขภาพ odop สุขภาพจิตGob Chantaramanee
 
ทีมหมอครอบครัว
ทีมหมอครอบครัวทีมหมอครอบครัว
ทีมหมอครอบครัวChuchai Sornchumni
 
คู่มือมาตรฐานคลินิกผู้สูงอายุคุณภาพ
คู่มือมาตรฐานคลินิกผู้สูงอายุคุณภาพ คู่มือมาตรฐานคลินิกผู้สูงอายุคุณภาพ
คู่มือมาตรฐานคลินิกผู้สูงอายุคุณภาพ โปรตอน บรรณารักษ์
 
DHS เสนางคนิคม
DHS เสนางคนิคม DHS เสนางคนิคม
DHS เสนางคนิคม Dr.Suradet Chawadet
 
โครงร่างวิจัยเกี่ยวกับการแพทย์แผนไทยประยุกต์
โครงร่างวิจัยเกี่ยวกับการแพทย์แผนไทยประยุกต์โครงร่างวิจัยเกี่ยวกับการแพทย์แผนไทยประยุกต์
โครงร่างวิจัยเกี่ยวกับการแพทย์แผนไทยประยุกต์Apichat kon
 
ทีมหมอครอบครัว(Fct)พิมพ์ครั้งที่3
ทีมหมอครอบครัว(Fct)พิมพ์ครั้งที่3ทีมหมอครอบครัว(Fct)พิมพ์ครั้งที่3
ทีมหมอครอบครัว(Fct)พิมพ์ครั้งที่3Auamporn Junthong
 

What's hot (11)

นโยบายโรคเรื้อรังกับ UHC
นโยบายโรคเรื้อรังกับ UHCนโยบายโรคเรื้อรังกับ UHC
นโยบายโรคเรื้อรังกับ UHC
 
การทำแผนของ Cup ปี 2559
การทำแผนของ Cup ปี 2559การทำแผนของ Cup ปี 2559
การทำแผนของ Cup ปี 2559
 
แนวทางการดำเนินงาน คลีนิกหมอครอบครัว
แนวทางการดำเนินงาน คลีนิกหมอครอบครัว แนวทางการดำเนินงาน คลีนิกหมอครอบครัว
แนวทางการดำเนินงาน คลีนิกหมอครอบครัว
 
นโยบายการดำเนินงาน รมต.สธ.
นโยบายการดำเนินงาน รมต.สธ.นโยบายการดำเนินงาน รมต.สธ.
นโยบายการดำเนินงาน รมต.สธ.
 
นำเสนอการดำเนินงาน Dhs ประเด็นสุขภาพ odop สุขภาพจิต
นำเสนอการดำเนินงาน Dhs ประเด็นสุขภาพ odop สุขภาพจิตนำเสนอการดำเนินงาน Dhs ประเด็นสุขภาพ odop สุขภาพจิต
นำเสนอการดำเนินงาน Dhs ประเด็นสุขภาพ odop สุขภาพจิต
 
ทีมหมอครอบครัว
ทีมหมอครอบครัวทีมหมอครอบครัว
ทีมหมอครอบครัว
 
คู่มือมาตรฐานคลินิกผู้สูงอายุคุณภาพ
คู่มือมาตรฐานคลินิกผู้สูงอายุคุณภาพ คู่มือมาตรฐานคลินิกผู้สูงอายุคุณภาพ
คู่มือมาตรฐานคลินิกผู้สูงอายุคุณภาพ
 
DHS เสนางคนิคม
DHS เสนางคนิคม DHS เสนางคนิคม
DHS เสนางคนิคม
 
โครงร่างวิจัยเกี่ยวกับการแพทย์แผนไทยประยุกต์
โครงร่างวิจัยเกี่ยวกับการแพทย์แผนไทยประยุกต์โครงร่างวิจัยเกี่ยวกับการแพทย์แผนไทยประยุกต์
โครงร่างวิจัยเกี่ยวกับการแพทย์แผนไทยประยุกต์
 
ทีมหมอครอบครัว(Fct)พิมพ์ครั้งที่3
ทีมหมอครอบครัว(Fct)พิมพ์ครั้งที่3ทีมหมอครอบครัว(Fct)พิมพ์ครั้งที่3
ทีมหมอครอบครัว(Fct)พิมพ์ครั้งที่3
 
Final annual report nhso 2559
Final annual report nhso 2559Final annual report nhso 2559
Final annual report nhso 2559
 

Viewers also liked

ตาบอดกลางคืน
ตาบอดกลางคืนตาบอดกลางคืน
ตาบอดกลางคืนtanida2011
 
อาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์
อาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์อาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์
อาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์Nukaem Ayoyo
 
เริ่มต้นกับ PHP
เริ่มต้นกับ PHPเริ่มต้นกับ PHP
เริ่มต้นกับ PHPEKNARIN
 
วัสดุสารนิเทศ
วัสดุสารนิเทศวัสดุสารนิเทศ
วัสดุสารนิเทศO Phar O Amm
 
การออกแบบและเทคโนโลยี
การออกแบบและเทคโนโลยีการออกแบบและเทคโนโลยี
การออกแบบและเทคโนโลยีkrunoommr
 
จิตปัญญาศึกษา จำเรียง
จิตปัญญาศึกษา  จำเรียงจิตปัญญาศึกษา  จำเรียง
จิตปัญญาศึกษา จำเรียงchamriang
 
การเขียนผังงานแบบทางเลือก (050753)
การเขียนผังงานแบบทางเลือก  (050753)การเขียนผังงานแบบทางเลือก  (050753)
การเขียนผังงานแบบทางเลือก (050753)ธงชัย พาศรี
 
บทที่ 9 การทำงานแบบมีทางเลือก
บทที่ 9 การทำงานแบบมีทางเลือกบทที่ 9 การทำงานแบบมีทางเลือก
บทที่ 9 การทำงานแบบมีทางเลือกจูน นะค่ะ
 
การศึกษาผลกระทบด้านสังคมและสิ่งแวดล้อมของโครงงาน
การศึกษาผลกระทบด้านสังคมและสิ่งแวดล้อมของโครงงานการศึกษาผลกระทบด้านสังคมและสิ่งแวดล้อมของโครงงาน
การศึกษาผลกระทบด้านสังคมและสิ่งแวดล้อมของโครงงานManow Butnow
 
บทที่10พฤติกรรมสัตว์
บทที่10พฤติกรรมสัตว์บทที่10พฤติกรรมสัตว์
บทที่10พฤติกรรมสัตว์subhapit
 
GDP and National Income Accounting
GDP and National Income AccountingGDP and National Income Accounting
GDP and National Income AccountingMark Anthony
 

Viewers also liked (12)

ตาบอดกลางคืน
ตาบอดกลางคืนตาบอดกลางคืน
ตาบอดกลางคืน
 
1
11
1
 
อาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์
อาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์อาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์
อาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์
 
เริ่มต้นกับ PHP
เริ่มต้นกับ PHPเริ่มต้นกับ PHP
เริ่มต้นกับ PHP
 
วัสดุสารนิเทศ
วัสดุสารนิเทศวัสดุสารนิเทศ
วัสดุสารนิเทศ
 
การออกแบบและเทคโนโลยี
การออกแบบและเทคโนโลยีการออกแบบและเทคโนโลยี
การออกแบบและเทคโนโลยี
 
จิตปัญญาศึกษา จำเรียง
จิตปัญญาศึกษา  จำเรียงจิตปัญญาศึกษา  จำเรียง
จิตปัญญาศึกษา จำเรียง
 
การเขียนผังงานแบบทางเลือก (050753)
การเขียนผังงานแบบทางเลือก  (050753)การเขียนผังงานแบบทางเลือก  (050753)
การเขียนผังงานแบบทางเลือก (050753)
 
บทที่ 9 การทำงานแบบมีทางเลือก
บทที่ 9 การทำงานแบบมีทางเลือกบทที่ 9 การทำงานแบบมีทางเลือก
บทที่ 9 การทำงานแบบมีทางเลือก
 
การศึกษาผลกระทบด้านสังคมและสิ่งแวดล้อมของโครงงาน
การศึกษาผลกระทบด้านสังคมและสิ่งแวดล้อมของโครงงานการศึกษาผลกระทบด้านสังคมและสิ่งแวดล้อมของโครงงาน
การศึกษาผลกระทบด้านสังคมและสิ่งแวดล้อมของโครงงาน
 
บทที่10พฤติกรรมสัตว์
บทที่10พฤติกรรมสัตว์บทที่10พฤติกรรมสัตว์
บทที่10พฤติกรรมสัตว์
 
GDP and National Income Accounting
GDP and National Income AccountingGDP and National Income Accounting
GDP and National Income Accounting
 

Similar to สคร7

แถลงข่าว โครงการศึกษาดูงานการจัดระบบการเรียนรู้ โดยใช้ชุมชนเป็นฐาน มหาวิทยาลั...
แถลงข่าว โครงการศึกษาดูงานการจัดระบบการเรียนรู้ โดยใช้ชุมชนเป็นฐาน มหาวิทยาลั...แถลงข่าว โครงการศึกษาดูงานการจัดระบบการเรียนรู้ โดยใช้ชุมชนเป็นฐาน มหาวิทยาลั...
แถลงข่าว โครงการศึกษาดูงานการจัดระบบการเรียนรู้ โดยใช้ชุมชนเป็นฐาน มหาวิทยาลั...Pattie Pattie
 
บริการปฐมภูมิ
บริการปฐมภูมิบริการปฐมภูมิ
บริการปฐมภูมิSunisa Sudsawang
 
ระบบสุขภาพชุมชน รพ.ขอนแก่น
ระบบสุขภาพชุมชน รพ.ขอนแก่นระบบสุขภาพชุมชน รพ.ขอนแก่น
ระบบสุขภาพชุมชน รพ.ขอนแก่นKomsan Iemthaisong
 
ปลัดสธ. วางระบบDhs
ปลัดสธ. วางระบบDhsปลัดสธ. วางระบบDhs
ปลัดสธ. วางระบบDhsCddthai Thailand
 
กุ้ง
กุ้งกุ้ง
กุ้งJUNYA
 
กุ้ง
กุ้งกุ้ง
กุ้งJUNYA
 
แนวทางการดูแลผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังในชุมชน
แนวทางการดูแลผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังในชุมชนแนวทางการดูแลผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังในชุมชน
แนวทางการดูแลผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังในชุมชนCAPD AngThong
 
การดำเนินงานทันตปี2555
การดำเนินงานทันตปี2555การดำเนินงานทันตปี2555
การดำเนินงานทันตปี2555dentalfund
 
อ.บ ญเร อน
อ.บ ญเร อนอ.บ ญเร อน
อ.บ ญเร อนNooa Love
 
World Think Tank Monitors l พฤษภาคม 2559
World Think Tank Monitors l พฤษภาคม 2559World Think Tank Monitors l พฤษภาคม 2559
World Think Tank Monitors l พฤษภาคม 2559Klangpanya
 
ยุทธศาสตร์ระบบยา ในระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า
ยุทธศาสตร์ระบบยา ในระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้ายุทธศาสตร์ระบบยา ในระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า
ยุทธศาสตร์ระบบยา ในระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าUtai Sukviwatsirikul
 

Similar to สคร7 (20)

แถลงข่าว โครงการศึกษาดูงานการจัดระบบการเรียนรู้ โดยใช้ชุมชนเป็นฐาน มหาวิทยาลั...
แถลงข่าว โครงการศึกษาดูงานการจัดระบบการเรียนรู้ โดยใช้ชุมชนเป็นฐาน มหาวิทยาลั...แถลงข่าว โครงการศึกษาดูงานการจัดระบบการเรียนรู้ โดยใช้ชุมชนเป็นฐาน มหาวิทยาลั...
แถลงข่าว โครงการศึกษาดูงานการจัดระบบการเรียนรู้ โดยใช้ชุมชนเป็นฐาน มหาวิทยาลั...
 
551212 moph policy
551212 moph policy551212 moph policy
551212 moph policy
 
บริการปฐมภูมิ
บริการปฐมภูมิบริการปฐมภูมิ
บริการปฐมภูมิ
 
antidote y57
antidote y57antidote y57
antidote y57
 
Narathiwat Health Strategic plan_56
Narathiwat Health Strategic plan_56Narathiwat Health Strategic plan_56
Narathiwat Health Strategic plan_56
 
ระบบสุขภาพชุมชน รพ.ขอนแก่น
ระบบสุขภาพชุมชน รพ.ขอนแก่นระบบสุขภาพชุมชน รพ.ขอนแก่น
ระบบสุขภาพชุมชน รพ.ขอนแก่น
 
001007082009
001007082009001007082009
001007082009
 
Siiim
SiiimSiiim
Siiim
 
Siiim
SiiimSiiim
Siiim
 
ปลัดสธ. วางระบบDhs
ปลัดสธ. วางระบบDhsปลัดสธ. วางระบบDhs
ปลัดสธ. วางระบบDhs
 
กุ้ง
กุ้งกุ้ง
กุ้ง
 
กุ้ง
กุ้งกุ้ง
กุ้ง
 
แนวทางการดูแลผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังในชุมชน
แนวทางการดูแลผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังในชุมชนแนวทางการดูแลผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังในชุมชน
แนวทางการดูแลผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังในชุมชน
 
การดำเนินงานทันตปี2555
การดำเนินงานทันตปี2555การดำเนินงานทันตปี2555
การดำเนินงานทันตปี2555
 
Primary Health Care System_Padkao T
Primary Health Care System_Padkao TPrimary Health Care System_Padkao T
Primary Health Care System_Padkao T
 
อ.บ ญเร อน
อ.บ ญเร อนอ.บ ญเร อน
อ.บ ญเร อน
 
Elderly survey doh
Elderly survey dohElderly survey doh
Elderly survey doh
 
World Think Tank Monitors l พฤษภาคม 2559
World Think Tank Monitors l พฤษภาคม 2559World Think Tank Monitors l พฤษภาคม 2559
World Think Tank Monitors l พฤษภาคม 2559
 
วพบ นครราชสีมา๕๖
วพบ นครราชสีมา๕๖วพบ นครราชสีมา๕๖
วพบ นครราชสีมา๕๖
 
ยุทธศาสตร์ระบบยา ในระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า
ยุทธศาสตร์ระบบยา ในระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้ายุทธศาสตร์ระบบยา ในระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า
ยุทธศาสตร์ระบบยา ในระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า
 

สคร7

  • 1. จดหมายข่าว สคร.7 Office of Disease Prevention and Control 7th Newsletter ISSN 1685-2737 ปีที่ 14 ฉบับที่ 1 เดือนตุลาคม - ธันวาคม 2555 สวัสดีNewหม่ 2556 Happy ปีใ Year 2013 P. 2 P. 4 P. 7 ก้าวปีที่ 3 สู่อำ�เภอ แนวทางการเฝ้าระวังเหตุการณ์ บทเรียน “ส่งเสริม ป้องกัน ควบคุม” และการพัฒนาความร่วมมือ ฝ่าดงมาเลเรียสกลนคร... ใจนำ�พา ศรัทธานำ�ทาง โรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน ปี 2556 กับเครือข่ายด้านสาธารณสุข ส�ำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 7 จ.อุบลราชธานี | http://www.dpc7.net
  • 2. "ใคร..ทำ�อะไร? ที่ไหน? ก้าวหน้าอย่างไร?" บรรณาธิการ ในอำ�เภอป้องกันควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน ก้าวปีที่ 3 สู่อำ�เภอ “ส่งเ EDITOR TALK สวั ส ดี ค ่ ะ พบกั น อี ก ครั้ ง กั บ จดหมายข่ า ว ส� ำ นั ก งาน ป้องกันควบคุมโรคที่ 7 จังหวัด อุ บ ลราชธานี ฉบั บ ปฐมฤกษ์ โรคเข้ม เรื่อง: ฐิติมา โกศัลวิตร ปีงบประมาณ 2556 และเป็น รอง ผู้อำ�นวยการ สคร.7 ปีที่ 14 ที่จดหมายข่าวของเราได้เผยแพร่สู่สาธารณชน ฉบับนี้ตรงกับเดือนธันวาคมที่ประชาชนชาวไทยได้ร่วม กันถวายพระพรเนื่องในวโรกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา 5 ธันวามหาราช ในนามผูบริหารและคณะเจ้าหน้าทีส�ำนักงาน ้ ป้องกันควบคุมโรคที่ 7 จังหวัดอุบลราชธานี ขอถวายพระพร ่ ส วัสดีปใหม่ถงเครือข่ายอ�ำเภอส่งเสริม ป้องกัน ควบคุมโรค ี ึ เข้มแข็งเครือข่ายเขตพื้นที่รับผิดชอบ ส�ำนักงานป้องกัน ควบคุมโรคที่ 7 จังหวัดอุบลราชธานีที่รักทุกท่าน คงสุขใจจากพรปี ขอพระองค์ทรงพระเจริญ ใหม่กนมาอย่างล้นเหลือ และพร้อมเดินหน้าต่อไปด้วยกันแล้วนะคะ ั จดหมายข่าวฉบับนีได้ปรับเปลียนกองบรรณาธิการหลาย ้ ่ นับจากจุดเริ่มต้นปี 2554 เรื่อยมาจนถึงปี 2555 ที่ผู้ตรวจ ท่านซึ่งทุกท่านพร้อมที่จะน�ำเสนอเนื้อหาสาระดีๆ ที่จะเป็น ประโยชน์แก่ท่านผู้อ่านให้มากที่สุด เริ่มต้นในฉบับนี้มีเรื่องที่ ราชการกระทรวงสาธารณสุข นพ.ทวีเกียรติ บุญยไพศาลเจริญ ส�ำคัญเช่น “ก้าวปีที่ 3 สูอำเภอ ส่งเสริม ป้องกัน ควบคุมโรคเข้ม ่� (ผู้ตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุขเขตพื้นที่เครือข่ายบริการที่ แข็งแบบยั่งยืน” ซึ่ง สคร.7 อุบลฯ มีความพร้อมที่จะเดินหน้า 10 คนปัจจุบัน) ผู้บริหาร และผู้ปฏิบัติ ระหว่าง สคร.7 อบ. กับ ถักทอเครือข่ายให้มีส่วนร่วมในการจัดการสุขภาพตนเอง พื้นที่ 7 จังหวัด ได้ท�ำความเข้าใจร่วมกัน ที่จะเดินหน้า ถักทอเครือ ต่อด้วยเรื่อง แนวทางการเฝ้าระวังเหตุการณ์และพัฒนา ข่ายในพื้นที่ให้บรรลุเป้าหมาย เป็นอ�ำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบ ความร่วมมือกับเครือข่ายด้านสาธารณสุข, ร่วมรณรงค์ให้ ยั่งยืน เพื่อน้อมถวายเป็นมหากุศลแด่ในหลวงของปวงชนชาวไทย คนไทยตรวจเอดส์, บทเรียนฝ่าดงมาลาเรีย ใจน�ำพา ศรัทธา “พระบาทสมเด็ จ พระเจ้ า อยู ่ หั ว ภู มิ พ ลอดุ ล ยเดชฯ น�ำทาง, ด�ำเนินงานอย่างไร? โดยใช้ I SMART และปิดท้าย พระมหากษัตริย์ผู้ทรงไม่เคยละทิ้งประชาชนของพระองค์” ด้วยสัญลักษณ์แมลงเต่าทองคืออะไร เกี่ยวข้องอะไรกับ เส้นชัยในปีที่ 2 ของการร่วมมือ “สร้างเกราะ” ปกป้อง กรมควบคุมโรค เชิญท่านหาค�ำตอบได้ค่ะ ประชาชนให้ปลอดภัยจากโรคและภัยสุขภาพ ด้วยพลังทุนทาง ช่วงนีอากาศเปลียนแปลง ขอให้ทกท่านมีสขภาพร่างกาย ้ ่ ุ ุ สังคม ขับเคลื่อน “อ�ำเภอควบคุมโรคและภัยสุขภาพเข้มแข็งแบบ ที่แข็งแรง มีความสุขในการท�ำงาน หากมีข้อเสนอแนะ ยั่งยืน” โดย การมีส่วนร่วมของภาคส่วนต่าง ๆ ทั้งภายในและนอก ขอเชิญส่งค�ำติชมมาได้ พวกเราน้อมรับที่จะน�ำมาพัฒนา กระทรวงสาธารณสุขอย่างแท้จริง ปรับปรุงเพือให้เป็นจดหมายข่าวทีมคณภาพต่อไป พบกันใหม่ ่ ่ีุ ปรากฏผลดัง.....ในหลายพื้นที่ หลายเครือข่าย และประชาชน ฉบับหน้านะคะ จ�ำนวนมาก ได้ตื่นตัวในการเป็นเจ้าภาพ ร่วมภาคภูมิใจกับผลงาน สวัสดีค่ะ ทีได้รวมลงมือ ท�ำเพือญาติพนอง ลูกหลานด้วยตนเอง ผนึกประสาน ่ ่ ่ ี่ ้ มนัสนันท์ ลิมปวิทยากุล เป็นพลังในการเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรคและภัยสุขภาพ เป็น บรรณาธิการฆ เครือข่ายที่พร้อมจะลุกขึ้นมาร่วมจัดการสุขภาพของตนเอง ด้วย กลไก 5 คุณลักษณะของอ�ำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน แม้ว่าผลการด�ำเนินงานจะมีความส�ำเร็จในระดับที่แตกต่างกัน ในพืนทีทประสบความส�ำเร็จสูงพบว่า ผูบริหารและผูนำชุมชนหลาย ้ ่ ี่ ้ ้ � วัตถุประสงค์ แห่งมีกระบวนทัศน์และบทบาทด้านสุขภาพเพิ่มมากขึ้น เกิดความ เพื่อเป็นช่องทางสื่อสารเผยแพร่ข้อมูล ความรู้ กิจกรรม แลก ตระหนักว่าการพัฒนาท้องถิ่นด้านสาธารณูปโภคอย่างเดียวนั้นไม่ เปลี่ยนเรียนรู้การท�ำงานด้านการเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรค และ เพียงพอ และประชาชนมีความตืนตัว ร่วมมือในการเฝ้าระวังป้องกัน ่ ภัยสุขภาพระหว่างองค์กร ประชาชน และบุคลากรสาธารณสุขในพื้นที่ ควบคุมโรค รวมทั้งมีส่วนร่วมในการรับการประเมินและประกวด รับผิดชอบ จากคณะกรรมการประเมินอ�ำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งฯ อย่างเต็ม วิสัยทัศน์ ส�ำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 7 จังหวัดอุบลราชธานีเป็นผูนำด้าน ้ � ก�ำลัง และมีความหวัง ผลลัพธ์ทมากด้วยคุณค่า คือ เกิดการท�ำงาน ี่ วิชาการ นวัตกรรม เทคโนโลยี และศูนย์กลางการเรียนรู้ด้านการ เป็นทีมของเครือข่ายแบบบูรณาการ และการควบคุมโรคได้อย่าง เฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรค และภัยสุขภาพ ระดับประเทศภายใน รวดเร็ว เช่นกรณี โรคมือ เท้า ปาก ที่ถูกตรวจพบและแจ้งข่าวถึง ปี 2558 เจ้าหน้าที่สาธารณสุขก่อน โดยเครือข่าย SRRT จากศูนย์เด็กเล็ก 2
  • 3. ให้เกิดการประสานงาน และร่วมเป็นเจ้าของสุขภาพของประชาชน ในพืนทีของตนเอง และมีการเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรคอย่างเอา ้ ่ เสริม ป้องกัน ควบคุม” จริงเอาจัง โดยทีม SRRT ต�ำบล จวบจนวันนี้ กล่าวได้ว่างานอ�ำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบ ยั่งยืนของจังหวัด/อ�ำเภอในเขตรับผิดชอบของส�ำนักงานป้องกัน มแข็งแบบยั่งยืน ปี 2556 ควบคุมโรคที่ 7 อุบลราชธานี ได้เติบโตอย่างต่อเนื่อง เหนือสิ่งอื่น ใดคือ ได้เกิดสายใยแห่งมิตร ระหว่าง เครือข่ายจังหวัด/อ�ำเภอ กับ สคร. 7 อบ. ผนึกเป็นปึกแผ่นที่แข็งแรง ที่จะร่วมมือกันขับเคลื่อน ของ อบต.แห่งหนึ่งในจังหวัดมุกดาหาร เป็นต้น อ�ำเภอควบคุมโรค ให้เข้มแข็งและยั่งยืนต่อไป ผลจากการประเมิน ประกวด อ�ำเภอควบคุมโรคและภัย นับจากจุดนีไป ในปี 2556 ซึงเป็นปีที่ 3 การสืบสานให้ “อ�ำเภอ ้ ่ สุขภาพเข้มแข็งแบบยังยืน ปี 2555 จ�ำนวน 37 อ�ำเภอ จากทังหมด ่ ้ ควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน” ยังต้องด�ำเนินต่อไปให้ครอบคลุม 100 อ�ำเภอ 7 จังหวัด ในเขตรับผิดชอบ สคร.7 อบ. เป็นที่น่าชื่นชม ทุกพื้นที่โดยเร่งการหมุนฟันเฟืองกระบวนการมีส่วนร่วมของ ยินดีทหลายจังหวัดสามารถด�ำเนินการผ่านเกณฑ์การเป็นจังหวัดทีมี ี่ ่ สังคม ทุกภาคส่วนและชุมชนอีก 65 อ�ำเภอในเขตพื้นที่เครือข่าย ระบบและกลไกการบริหารจัดการให้เกิดการพัฒนา “อ�ำเภอควบคุม บริการที่ 8 และ 10 ให้บรรลุเกณฑ์ฯ ขยายเครือข่ายต่อยอดท�ำให้ โรคเข้มแข็งแบบยังยืน” และหลายอ�ำเภอบรรลุเป็น “อ�ำเภอควบคุม ่ เรื่องสุขภาพเป็นหัวใจของการวางแผนและการบริหารจัดการทุก โรคและภัยสุขภาพเข้มแข็งแบบยั่งยืน” อย่างงดงาม โดย โครงการ เพื่อเฝ้าระวัง ป้องกัน และการควบคุมโรคและภัยที่จะ ชนะเลิศ เขตตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุขที่ 11 ได้แก่ คุกคามสุขภาพอย่างมีคณภาพ โดยเฉพาะเมือประตูแห่งอาเซียนได้ ุ ่ อ�ำเภอดอนตาล จังหวัดมุกดาหาร เปิดกว้างรับการหลังไหลเคลือนย้ายของผูคน จากนานาประเทศเข้า ่ ่ ้ ด้วยปัจจัยความส�ำเร็จ คือ ด้านจังหวัดได้กำหนดนโยบาย “เมือง � สู่ประเทศและเขตพื้นที่อาศัยของพี่น้องเรา และต่อยอดสู่ “อ�ำเภอ สวย บ้านสะอาด คนสุขภาพดี” ซึ่งมี “อ�ำเภอควบคุมโรคเข้มแข็ง” ส่งเสริม ป้องกัน ควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน” โดยการจับมือ เป็นส่วนส�ำคัญ มีการลงนาม MOU ของทุกส่วนราชการ นโยบาย กับเครือข่ายศูนย์วิชาการ “ศูนย์อนามัยที่ 7 อุบลราชธานี” และ ของนายแพทย์สาธารณสุขจังหวัดมุกดาหาร (นพ.จิณณพิภัทร พัฒนาไปสู่ระบบคุณภาพ (Public Health System Accredita- ชูปัญญา) ที่มอบหมายให้ทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้อง “จับมือ และเต็ม tion) โดยมีรูปแบบ กลไกและวิธีการประเมินเชิงคุณภาพเพื่อให้ ที่” กับนโยบายนี้ ร่วมขับเคลื่อนไปกับ สคร.7 อบ. แบบพี่น้อง ค�ำรับรองเป็น “อ�ำเภอส่งเสริม ป้องกัน ควบคุมโรคเข้มแข็งแบบ ประสานเป็นหนึงเดียว ด้านพืนที่ นอกจากนโยบายนายอ�ำเภอแล้ว ่ ้ ยั่งยืน” ที่ส่งผลลัพธ์ และผลกระทบต่อเป้าหมายการควบคุมโรค คปสอ.ดอนตาลมีประสบการณ์ต่อเนื่องมาจากปี 54 และมีผู้นำที่ � และภัยสุขภาพของประชาชนที่มีประสิทธิภาพ เต็มไปด้วยความมุ่งมั่นอันแรงกล้า วางแผน เดินน�ำทัพสู่เป้าหมาย ส�ำหรับกิจกรรมขับเคลื่อนนโยบายอ�ำเภอส่งเสริม ป้องกัน อย่างต่อเนื่อง เคียงบ่าเคียงไหล่กับภาคีเครือข่ายที่เข้มแข็ง อย่าง ควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืนในปี 2556 หลังจากมีการประชุม เอาจริง จนส�ำเร็จผล. และได้สัมผัสเอง “ด้วยใจ” จากความทุ่มเท เชิงปฏิบัติการเพื่อขับเคลื่อนการด�ำเนินงานอ�ำเภอส่งเสริมควบคุม ของทุกภาคีเครือข่าย ว่าสิ่งที่ได้ท�ำร่วมกันนั้น เป็นชัยชนะที่มีค่า โรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน ส�ำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 7 จังหวัด มากกว่ารางวัลใด ๆ อุบลราชธานี วันที่ 19-20 ธันวาคม 2555 ณ ห้องประชุมโรงแรม ชนะเลิศ เขตตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุขที่ 13 ได้แก่ อุบลบุรี รีสอร์ท อ�ำเภอวารินช�ำราบ จังหวัดอุบลราชธานีที่ส่งมอบ อ�ำเภอกันทรารมย์ จังหวัดศรีสะเกษ โดยมีปัจจัยความส�ำเร็จ “กระบี่” ให้เหล่าจอมยุทธไปแล้ว ล่าสุดในวันที่ 27-28 ธันวาคม ของการด�ำเนินงาน คือ ในระดับจังหวัด นายแพทย์สาธารณสุข 2555 สคร.7 อบ.ยังได้จัดกิจกรรมสนับสนุน “ลับคมกระบี่” ให้ จังหวัดศรีสะเกษ (นพ.ประวิ อ�ำพันธุ)์ ได้มอบให้เป็นนโยบายส�ำคัญ ่ พื้นที่ที่ชนะเลิศได้ประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้การด�ำเนินงานอ�ำเภอ ของจังหวัด ให้ทุกอ�ำเภอด�ำเนินการ ในระดับพื้นที่ เริ่มจากการ ควบคุมโรคเข้มแข็งเครือข่ายเขต 2, 5, 7 ทีเ่ ขาใหญ่ ทังในระดับ สคร. ้ ขับเคลื่อนที่ส�ำคัญของนายอ�ำเภอกันทรารมย์ที่มีมุมมองต่องาน จังหวัด อ�ำเภอและต�ำบลอย่างเข้มข้น และชื่นมื่น เพื่อแสวงหาทาง สุขภาพว่า “สุขภาพไม่ใช่งานของสาธารณสุขฝ่ายเดียว เป็นงาน ลัดก้าวสู่ “อ�ำเภอส่งเสริม ป้องกัน ควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน ของทุกคนในอ�ำเภอ โดยเฉพาะนายอ�ำเภอต้องดูแลสุขภาพ ในปี 2556” วาระแห่งพันธะต่อไปที่ชาวเครือข่ายที่รักทุกท่าน ประชาชน” คงไม่ลม คือการประเมินตนเองหา GAP วิเคราะห์ปญหาพืนที่ และ ื ั ้ นอกจากนี้ยังมีความส�ำเร็จของอีก 30 อ�ำเภอที่ผ่านเกณฑ์ เร่งด�ำเนินการโดยพลัน กลุมพัฒนาภาคีเรือข่าย ส�ำนักงานป้องกัน ่ ประเมิน 40 คะแนน จากคะแนนเต็ม 50 คะแนน อย่างน่ายกย่อง ควบคุมโรคที่ 7 จังหวัดอุบลราชธานีขอเป็นก�ำลังใจให้ทุกท่าน เป็นที่ประจักษ์ชัดแล้วว่า การสร้างพลัง แรงขับเคลื่อนอย่าง ประสพความส�ำเร็จดังใจปรารถนา เป็น“อ�ำเภอส่งเสริม ป้องกัน เข้มข้น จนประสบความส�ำเร็จในหลายพื้นที่นั้นพบว่า จังหวัดมีผู้ ควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน”ตลอดไป ว่าราชการจังหวัดรับเป็นเจ้าภาพใหญ่ร่วมกับหัวหน้าส่วนราชการ ระดับอ�ำเภอมีนายอ�ำเภอเป็นแม่ทัพใหญ่ ถักทอเครือข่ายในพื้นที่ ด้วยความปรารถนาดี 3
  • 4. แนวทางการเฝ้าระวังเหตุการณ์ และการพัฒนาความร่วมมือ เรื่อง: วัชรชัย ครองใจ กลุ่มระบาดวิทยาและข่าวกรอง กับเครือข่ายด้านสาธารณสุข ส วัสดีครับเครือข่ายกัลยานมิตรด้านสาธารณสุขทุกท่าน ปัจจุบนท่านคงทราบนะครับว่าสภาพสิงแวดล้อม สังคม เศรษฐกิจทีมการเปลียนแปลง ้ ่ ้ ี ั ่ ่ ้ ้ ่ี ตลอดเวลานัน โรคภัยต่างๆ ทีเกิดขึนกับคน ก็มการพัฒนาการเปลียนแปลงไปเช่นกัน สามารถเกิดขึนในหลายรูปแบบ เชือโรคก็มพฒนาการ ี ั ่ ตามไปด้วย เกิดการปรับตัวเพื่อให้ตัวเองอยู่รอดตลอดเวลา จากสภาพดังกล่าว การจับตา เพื่อสังเกตความเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น ล�ำพังใช้ก�ำลังเจ้า หน้าทีสาธารณสุขเพียงอย่างเดียว เห็นจะไม่เพียงพอและไม่สามารถก้าวทันความผิดปกติตางๆ ทีจะเกิดขึน จึงต้องพัฒนาความร่วมมือไปยังเจ้าหน้าที่ ่ ่ ่ ้ จากหน่วยอื่นหรือกระทรวงอื่นๆ เพื่อการเฝ้าระวังร่วมด้วยช่วยกัน ซึ่งพบว่าได้ผลดีระดับหนึ่งครับ แต่พบว่าไม่สามารถพบเห็นความผิดปกติด้านโรค ภัยไข้เจ็บได้รวดเร็วเพียงพอ ที่จะสามารถรีบจัดการเสียตั้งแต่ต้นตอของเหตุโรคระบาดและภัยที่เกิดขึ้นนั้น จึงท�ำให้เสียก�ำลังคน ก�ำลังงบประมาณ เพื่อจัดการ กับโรคภัยไข้เจ็บนั้นเป็นจ�ำนวนมากกว่าเหตุการณ์จะสงบในเหตุการณ์หนึ่งๆ จากประเด็นดังกล่าว ก็มบทเรียนความร่วมมือของประชาชนทีเ่ ข้ามา ี อย่างต่อเนื่อง ด้วยกระบวนการที่เป็นระบบประกอบด้วย การรวบรวม มีสวนร่วมในการเฝ้าระวัง จับตาเฝ้าสังเกตเหตุการณ์ความผิดปกติตางๆที่ ่ ่ เรียบเรียง วิเคราะห์แปลผล และกระจายข้อมูลข่าวสาร สู่ผู้ใช้ประโยชน์ ส่งผลให้เกิดโรคภัยไข้เจ็บในหลายพืนที่ พบว่าสามารถค้นพบเหตุได้อย่าง ้ เพื่อการวางแผน ก�ำหนดนโยบาย การปฏิบัติงาน และการประเมิน รวดเร็วก่อนเกิดการระบาดของโรคได้จริง จากตัวอย่างนี้ความส�ำคัญจึง มาตรการควบคุมป้องกันโรคอย่างรวดเร็ว และมีประสิทธิภาพ การเฝ้า อยู่ตรงที่ว่า ประชาชาชนทุกคนต้องเข้ามามีบทบาทและมีหน้าที่ในการ ระวัง มี 2 ประเภทคือ การเฝ้าระวังรายโรค หรือการเฝ้าระวังผู้ป่วย หรือ ร่วมด้วยช่วยจัดการเป็นส�ำคัญ โดยต้องเข้าใจว่า การจับตาเฝ้าสังเกต เรียกง่ายๆว่า รง. 506 ซึ่งเป็นระบบมาตรฐานด�ำเนินการโดยเจ้าหน้าที่ ระวังเหตุการณ์ความผิดปกติต่างๆในชุมชนอะไรบ้าง อย่างไร บทบาท สาธารณสุข รับข้อมูลจากสถานพยาบาลและหน่วยงานต่างๆอย่างเป็น ที่ส�ำคัญตามมาคือการแจ้งข่าวที่โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพต�ำบลใน ทางการ ที่เป็นระบบตั้งรับในหน่วยงาน และการเฝ้าระวังเหตุการณ์ ซึ่ง พื้นที่เพื่อให้เจ้าหน้าที่รีบช่วยตรวจสอบ ค้นหาสาเหตุและด�ำเนินการ เป็นระบบเฝ้าระวังเชิงรุกที่เน้นต้องการให้ประชาชนทั้งภาครัฐ เอกชน ก�ำหนดแนวทางทีสามารถจัดการป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพทีทน ่ ่ ั ด�ำเนินการซึ่งจะช่วยเสริมประสิทธิภาพ ด้านความรวดเร็วเพิ่มขึ้นจาก ท่วงที และถ้าพบเหตุการณ์ทมขนาดใหญ่เกินขีดความสามารถของระดับ ี่ ี การเฝ้าระวังโรคในระบบปกติหรือระบบตังรับในหน่วยงานดังกล่าว โดยมี ้ ต�ำบล ก็ประสานขอความช่วยเหลือจากทีมระดับอ�ำเภอ หรือจังหวัดต่อ หลักการคือการรับแจ้งเหตุการณ์ผดปกติอย่างรวดเร็วโดยมีการจัดการที่ ิ ไป ข้อคั้นพบส�ำคัญอีกอย่างหนึ่งที่ประชาชนต้องเรียนรู้ คือแจ้งเหตุผิด เป็นระบบ เพื่อให้ได้ข่าวสารข้อมูลการเกิดโรคและภัยสุขภาพ จากแหล่ง ปกติอะไรบ้าง จึงขอท�ำความเข้าใจด้านการเฝ้าระวังซึ่งหมายถึง การ ข่าวชนิดต่างๆ ทั้งที่เป็นทางการ และไม่เป็นทางการ และต้องมีการตอบ ติดตาม สังเกต ลักษณะการเปลี่ยนแปลงของการเกิด การกระจายของ สนองทีรวดเร็ว โดยมีขอเปรียบเทียบจุดเด่น จุดด้อยทัง 2 ระบบดังนีครับ ่ ้ ้ ้ โรคหรือปัญหาสาธารณสุข รวมทั้งปัจจัยที่มีผลต่อการเปลี่ยนแปลงนั้นๆ การเฝ้าระวังโดย การเฝ้าระวังโดย การรายงานผู้ป่วย การรายงานเหตุการณ์ (Case-based surveillance) (Event-based surveillance) นิยามในการรายงาน - ผู้ป่วยอาการเข้าได้ตามนิยามโรค - เหตุการณ์ที่มีความเสี่ยงต่อคน - เก็บข้อมูลผู้ป่วยรายคน - เหตุการณ์ผิดปกติในชุมชน - ใช้เกณฑ์ทางห้องปฏิบัติการร่วม - มีความไว (แต่ความจ�ำเพาะต�่ำ) - มีความจ�ำเพาะสูงกว่า ความทันเวลา - ก�ำหนดรายงานเป็นสัปดาห์ ยกเว้นบางโรคที่ - ทุกเหตุการณ์รายงานได้ทันที ทุกวัน ก�ำหนดให้รายงานทันที มักล่าช้า ตลอด 24 ชั่วโมง - รวดเร็วกว่า การตอบสนอง - จ�ำนวนผู้ป่วยเกินค่ากลางที่ก�ำหนด เช่น - ทันทีที่ยืนยันเป็นเหตุการณ์ผิดปกติ มัธยฐาน 5 ปี 4
  • 5. ความน่าเชื่อถือต้อง มีมากกว่าหนึ่งแหล่ง ข่าว (หรือแหล่งข้อมูล) ทั้งเป็นทางการ เช่น ระบบรายงานผู้ป่วย รายงาน สถานการณ์โรค บันทึกแจ้งข่าวการ ระบาด รายงานสอบสวนโรคฯ รวมถึง ระบบรายงานอื่น เช่น ข่าวสารทางห้อง ปฏิบตการ การแจ้งตาย หรือแหล่งข้อมูล ัิ ข่าวสารสาธารณะ เช่น หนังสือพิมพ์ วิทยุโทรทัศน์ อินเตอร์เน็ทฯ ส่วนใหญ่ เป็นข่าวการระบาด ภัยพิบัติฯ ควร ระวังข่าวจ�ำนวนผู้ป่วยหรือผู้ได้รับผล กระทบ จะมากหรือรุนแรงกว่าความเป็น จริงและ แหล่งข้อมูลข่าวสารบุคคล เช่น การแจ้งข่าวจากบุคคลในข่ายงานเฝ้า ระวังโรค อาสาสมัคร ผู้น�ำชุมชน ผู้เห็น เหตุการณ์ การร้องเรียนจากประชาชนฯ ข่าวส่วนใหญ่เป็น ข้อมูลการป่วย/ ประโยชน์ของการเฝ้าระวังเหตุการณ์ ท�ำให้พบเหตุการณ์ผิดปกติ ตายรายบุคคล เหตุร�ำคาญฯ ข้อควรระวังคือ การแจ้งข่าวด้วยความ หรือการระบาดได้เร็วขึ้น ขณะที่ปัญหายังไม่ลุกลาม ข้อมูลข่าวสารที่ เข้าใจผิด การกลั่นแกล้ง ข่าวลือ โดยมีรายละเอียดของข่าวสาร ตาม ได้น�ำไปสู่การแก้ไขปัญหาโดยเร็วและมีฐานข้อมูลเหตุการณ์ผิดปกติใน บุคคล เวลา สถานที่ ซึงตรวจสอบได้ มีพยานหลักฐาน หรือภาพถ่ายแสดง ่ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพต�ำบลเพื่อวางแผนในการป้องกันควบคุม เหตุการณ์เชื่อมโยงกับปัญหาที่พบมาก่อน การตรวจสอบด้านเหตุการณ์ โรค เสริมกับระบบรายงาน 506 ปัญหาที่ต้องช่วยกันคือ จะรู้เร็วได้ ร้ายแรงหรือไม่โรคร้ายแรง พิจารณาจาก อัตราป่วยตายสูง โรคที่รักษา อย่างไร ค�ำตอบง่ายๆ ที่มีบทเรียนความส�ำเร็จคือการใช้แหล่งข่าวใน ไม่ได้ หรือมีผลกระทบระยะยาว เช่น ความพิการ ประชากรส่วนใหญ่ ชุมชน ไม่ว่าจะเป็นบุคคลในชุมชน เช่น อสม. อบต. ครู อาสาสมัคร ได้รับผลกระทบหรือเสี่ยง หรืออยู่ในความสนใจของสื่อมวลชนเนื่องจาก ปศุสัตว์ต�ำบล สื่อมวลชน ผู้ด�ำเนินรายการวิทยุชุมชน และแหล่งข้อมูล เป็นปัญหาส�ำคัญ ปัญหาสุขภาพนี้ผิดปกติหรือไม่ แพร่ระบาดได้เร็วหรือ ข่าวสารในอินเตอร์เน็ต บุคลากรทางแพทย์และสาธารณสุข ทั้งภาค ไม่ มีผลกระทบต่อเศรษฐกิจหรือไม่ หรือเป็นปัญหามีความกังวลระดับ รัฐและเอกชน เป็นผู้แจ้งข่าวโดยตั้งข้อตกลงเบื้องต้นร่วมกันในการ นานาชาติหรือไม่ เช่น เกิดแถวพรมแดนระหว่างประเทศ เป็นโรคที่แพร่ ก�ำหนดจุดแจ้งเหตุ (รพสต.) เพื่อความรวดเร็วควรแจ้ง ภายใน 24 ระหว่างประเทศได้ง่าย หรือเกี่ยวข้องกับการค้าและท่องเที่ยว เป็นต้น ชั่วโมง ประเภทของเหตุการณ์ผิดปกติที่ต้องแจ้ง ได้แก่เหตุการณ์การ แนวทางการตรวจสอบต้องมีการกรองข่าว หมายถึง การด�ำเนินการทันที เกิดโรคในคน เช่น พบผู้ป่วยหลายคนพร้อมกัน หรือมีการตายผิด ที่รับข่าว เพื่อก�ำจัดข่าวลือที่เห็นชัดเจนว่าไม่ถูกต้อง ข่าวหลอกลวง ปกติไม่ทราบสาเหตุโรคหรือกลุ่มอาการทั่วไปที่พบบ่อย หมายถึง โรค หรือแหล่งข่าวไม่นาเชือถือ แล้วแยกข่าวทีเ่ ห็นว่าต้องแก้ไขปัญหาอย่าง ่ ่ ประจ�ำถิ่นหรือกลุ่มอาการที่ประชาชนรู้จักดี และพบบ่อยในชุมชน เช่น เร่งด่วน หรือต้องการตรวจสอบยืนยันมาด�ำเนินการทันที เมื่อตรวจ ไข้เลือดออก อุจจาระร่วง ซึงอาจจะเกิดจากอาหารเป็นพิษ โรคไข้หวัดใหญ่ ่ สอบพบความผิดปกติหรือพบสัญญาณภัย หมายถึง สิ่งบอกเหตุที่ชี้ว่า ทีพบการระบาดตามฤดูกาล โรคฉีหนู (ซึงเป็นโรคประจ�ำถินในภาคอีสาน ่ ่ ่ ่ น่าจะมีเหตุการณ์บางอย่างเกิดขึ้น เช่น มีรายงานผู้ป่วยตามรายการ บ้านเรา) โรคใหม่หรือกลุ่มอาการที่ไม่เคยพบในพื้นที่ หมายถึง โรค โรคที่มีความส�ำคัญสูง มีจ�ำนวนผู้ป่วยหรือผู้ตายสูงกว่าเกณฑ์ชี้วัด ใหม่หรือกลุ่มอาการที่ไม่เคยพบมาก่อนหรือไม่เป็นที่รู้จักในพื้นที่ หรือระดับเตือนภัย หรือข่าวสารไม่เป็นทางการที่มีเนื้อข่าวชัดเจนว่า ตัวอย่าง เช่น ป่วยเสียชีวิตโดยไม่รู้สาเหตุ โรคฉี่หนูที่เกิดขึ้นในพื้นที่ เป็นเรื่องผิดปกติ หรือเกิดโรคภัยแล้วต้องด�ำเนินการควบคุมโรคทันที ใหม่ครั้งแรก โรคไข้ปวดข้อยุงลาย (ชิคุนกุนยา) ในพื้นที่ใหม่ โรคสัตว์ ท�ำให้การป้องกันควบคุมโรคสามารถท�ำได้อย่างรวดเร็ว ถ้าเกินขอบเขต สู่คน เช่น พิษสุนัขบ้า และเหตุการณ์ที่เป็นปัจจัยเสี่ยงอาจจะเกี่ยวข้อง หรือความสามารถระดับต�ำบลก็รีบรายงานถึงทีมเฝ้าระวังสอบสวน กับการเกิดโรคในคน เช่นสัตว์ปกป่วยตายผิดปกติ อาหารปนเปือนในงาน ี ้ เคลื่อนที่เร็ว (SRRT) ระดับอ�ำเภอต่อไป…. เลี้ยงแห่งหนึ่งท�ำให้คนท้องเสียจ�ำนวนมาก สารเคมีรั่วจากโรงงาน หรือ มีการตั้งร้านอาหารคาราโอเกะใหม่หลายร้านในชุมชน เป็นต้น แนวทาง ปฏิบัติที่ส�ำคัญ บทบาทในการรับข่าวและตรวจสอบข่าวของเจ้าหน้าที่ รพสต.ที่ต้องมีบทบาทหน้าที่ในการตรวจสอบข่าวที่ได้รับแจ้งโดยใช้สมุด ทะเบียนรับแจ้งข่าว และต้องตอบสนองข้อมูลให้กบแหล่งข่าวภายใน 48 ั ชั่วโมง การตรวจสอบด้านความน่าเชื่อถือของข่าวแหล่งข่าวหลักจะมี 5
  • 6. ร่วมรณรงค์ตรวจ เพื่อก้าวต่อ ให้คนไทยตรวจเอดส์ ปีละ 2 ครั้ง ประเด็น ตรวจเพื่อก้าวต่อ.... โดยสภากาชาดไทยได้ร่วมกับภาครัฐ ต่อไปนี้ เป็นเหตุผลที่คนไทยส่วนใหญ่ไม่ไปตรวจหาเชื้อเอชไอวี และเอกชนตลอดจนภาคีเครือข่ายจัดท�ำขึ้น เพื่อต้องการชี้ประเด็น ให้ 1. ไม่คิดว่าเสี่ยง เช่น มีสามีหรือภรรยาเพียงคนเดียว ไม่เคยมีเพศ ประชาชนคนไทยทุกคน ทั้งที่คิดว่าตัวเองเสี่ยง และคิดว่าตัวเองไม่เสี่ยง สัมพันธ์กับคนอื่นเลยก่อนแต่งงาน เรามั่นใจเรา แต่เราไม่สามารถมั่นใจ (จริง ๆ แล้วเราก็เสี่ยงกันทุกคนถ้าเรามีเพศสัมพันธ์โดยไม่ป้องกันถึง “เขา” ดังนั้น จึงควรไปตรวจพร้อมๆ กันสักครั้ง แม้เป็นสามีภรรยากัน) ในสหรัฐอเมริกา 20% ของคนที่ติดเชื้อไม่รู้ตัว 2. กลัวถูกมองในแง่ไม่ดี เดินเข้าไปขอตรวจเชื้อ เอช ไอ วี ต้องโดน ว่าติดเชื้อ ในขณะที่เกือบครึ่งของคนไทยที่ติดเชื้อยังไม่รู้ตัว ดังนั้น การ มองว่ามีพฤติกรรมเสี่ยงแน่ๆ ประชาสัมพันธ์เพื่อท�ำให้ทุกคนก้าวข้ามความไม่รู้ ความกลัว ความไม่ 3. กลัวตรวจแล้วเจอจริง ๆ รับไม่ได้ เพราะรู้มาว่า เอดส์ไม่มีทาง ใส่ใจ ความไม่สะดวก และเหตุผลอื่นๆ ที่ทำให้ไม่ไปตรวจเอดส์ ได้มอง � รักษา เอดส์เป็นแล้วตายอย่างเดียว เห็นประโยชน์ของการตรวจเอดส์วาเป็นหน้าทีหรือความรับผิดชอบทังต่อ ่ ่ ้ 4. กลัวจะถูกคนรังเกียจ และอาจถูกไล่ออกจากงาน ตัวเองและต่อผูอน จนกล้าไปตรวจเอดส์สกครังหนึงในชีวต และตรวจต่อ ้ ื่ ั ้ ่ ิ 5. ไม่รู้ว่าไปตรวจเอดส์ได้ที่ไหน ขั้นตอนท�ำยังไง เนืองเป็นปกติวสยถ้ามีความจ�ำเป็นหรือมีเหตุผลทีตองท�ำเช่นนัน เช่น การ ่ ิั ่้ ้ 6. ไม่รู้ว่ามีสิทธิ์ ตรวจฟรี ปีละ 2 ครั้ง มีพฤติกรรมเสียงอีก กล่าวง่ายๆ คือ อยากให้คนไทยมองเห็นว่าการตรวจ ่ 7. เสียเวลา ต้องรอตรวจ รอฟังผล รอ รอ รอ เอดส์เป็นเรื่องธรรมดา และเป็นสิ่งจ�ำเป็นอย่างหนึ่งคล้ายกับการตรวจ 8. ตรวจแล้ว หมอไม่ได้แนะน�ำอะไร สุขภาพประจ�ำปี ไม่จ�ำเป็นต้องเป็นเรื่องลึกลับหรือนิรนามอีกต่อไป หลัง เชื่อว่าต้องมีสักข้อที่ตรงกับคุณๆ ผู้อ่านและอาจมีเหตุผลนอกเหนือ จากตรวจแล้ว ชีวตจะได้กาวต่อไปอย่างมันคง ไม่วาจะเป็นชีวตเดียว หรือ ิ ้ ่ ่ ิ ่ จากนี้ อย่างไรก็ตามขอย�้ำในตอนท้ายนี้ถึง การใช้สิทธิประโยชน์ เรื่อง ชีวิตคู่ หรือหากติดเชื้อก็มีสุขภาพที่ดีและอายุยืนยาวเหมือนคนอื่นทั่วไป เอชไอวี เอดส์ ในระบบหลักประกันสุขภาพ (บัตรทอง) ของส�ำนักงาน ภายใต้ค�ำขวัญวันเอดส์โลก ที่ว่า Getting to zero หรือมุ่งสู่เป้าหมายที่ หลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เพื่อให้คนไทยทุกคน รับบริการให้ค�ำ เป็นศูนย์ ได้แก่ ลดผู้ติดเชื้อรายใหม่ให้เป็นศูนย์ ลดอัตราการตายให้เป็น ปรึกษา และตรวจเลือดหาการติดเชื้อเอชไอวีโดยสมัครใจ สิทธินี้ ศูนย์ และลดการรังเกียจผู้ติดเชื้อให้เป็นศูนย์ ครอบคลุมคนไทยทุกคน ตรวจได้ปีละ 2 ครั้ง ทั้งนี้ไม่ครอบคลุมใน สิงทีตองรูและท�ำความเข้าใจก่อน คือ ผูตดเชือเอชไอวี กับ ผูปวยเอดส์ ่ ่้ ้ ้ิ ้ ้ ่ กรณีเพื่อน�ำไปสมัครเข้าท�ำงาน สมัครเข้าศึกษา การตรวจสุขภาพ ไม่เหมือนกัน หลังจากที่เรารับเชื้อเอชไอวีเข้าไปในร่างกาย จะไม่ท�ำให้ ประจ�ำปี และการตรวจเพือท�ำประกันชีวต จึงขอเชิญชวนไปตรวจสุขภาพ ่ ิ ป่วยทันที แต่เชื้อจะท�ำลายภูมิคุ้มกันไปเรื่อย ๆ โดยเฉลี่ยในประเทศไทย กันเถอะ... ใช้เวลา 7-10 ปี จึงจะเริ่มป่วย ที่เป็นอย่างนี้เพราะภูมิคุ้มกันของร่างกาย สอบถามเรื่องสิทธิประโยชน์และการบริการได้ที่ สามารถจัดการกับเชื้อโรคต่าง ๆ ได้ อาการเจ็บป่วยจากโรคฉวยโอกาส 1. ส�ำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ สายด่วน 1330 จึงไม่ปรากฏ เรียกว่า “ผู้ติดเชื้อ” แต่หากภูมิคุ้มกันถูกท�ำลาย จนไม่ www.nhso.go.th สามารถควบคุมหรือจัดการกับเชื้อโรคบางอย่างได้ เราก็จะป่วยด้วยเชื้อ 2. ส�ำนักงานประกันสังคม สายด่วน 1506 www.sso.go.th โรคนั้น ๆ เรียกว่า เริ่มมี ภาวะภูมิคุ้มกันบกพร่องเป็น “ผู้ป่วยเอดส์” การ 3. บริการให้ค�ำปรึกษาเรื่องเอดส์ ที่มูลนิธิเข้าถึงเอดส์ เจ็บป่วยด้วยโรคฉวยโอกาสในผูตดเชือทีเกิดจากภาวะภูมคมกันบกพร่อง ้ิ ้ ่ ิ ุ้ 02-372-2222 ตั้งแต่ 10.00 – 20.00 ทุกวัน (ไม่ถามชื่อ) เช่น ท้องเสีย เริม เชื้อราในปาก วัณโรค ปอดอักเสบ เชื้อราเยื่อหุ้มสมอง www.aidsaccess.com ฯลฯสามารถรักษาได้และบางโรคป้องกันได้ เช่น ปอดอักเสบพีซีพี ฝีใน 4. ต่างจังหวัด โรงพยาบาลประจ�ำจังหวัด ,โรงพยาบาล สมอง และเชื้อราเยื่อหุ้มสมอง หากได้รับการตรวจรักษาที่มีมาตรฐาน ประจ�ำอ�ำเภอ ทุกแห่ง และทันท่วงที นอกจากนี้ เชื้อเอชไอวี ยังสามารถควบคุมได้โดยการใช้ 5. คลีนิคศูนย์สาธิตบริการ ส�ำนักงานป้องกันควบคุมโรค ยาต้านไวรัส ซึ่งจะควบคุมไม่ให้เชื้อเอชไอวีท�ำลายภูมิคุ้มกันได้ ผู้ติดเชื้อ ที่ 7 จังหวัดอุบลราชธานี โทร. 045-242226 ที่ได้รับยาต้านไวรัสอย่างเหมาะสม จะท�ำให้ภูมิคุ้มกันสูงพอที่จะป้องกัน อ้างอิง โรคฉวยโอกาสได้เกือบทุกโรค 1. การใช้สทธิประโยชน์การดูแลรักษาผูตดเชือเอชไอวี/ผูปวยเอดส์ ในระบบหลัก ิ ้ิ ้ ้ ่ ด้วยเหตุนี้ เอดส์ จึงรักษาได้ ป้องกันได้ และเอชไอวีกสามารถควบคุม ็ ประกันสุขภาพ.ส�ำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ 2556 ได้ หากทุกคนมีข้อมูลที่ถูกต้องและได้รับการรักษาที่ได้มาตรฐานตาม 2. ตรวจเพื่อก้าวต่อ คุณหมอขอบอก. http://www.dailynew.co.th/ แนวทางการรักษาของประเทศ รู้อย่างนี้แล้วเรายังต้องกลัวอะไร? article/1490/168483 6
  • 7. บทเรียนฝ่าดงมาเลเรียสกลนคร... ...ใจนำ�พา ศรัทธานำ�ทาง... เรื่อง: สมรรถ ปัญญาประชุม ศูนย์ควบคุมโรคติดต่อนำ�โดยแมลงที่ 7.3 จังหวัดสกลนคร แกะรอยมาลาเรียภูพาน จะเข้าสู่เซลล์เม็ดเลือดแดงอื่นๆ อีกครั้งและด�ำเนินวงจรชีวิตในกระแส สถานการณ์โรคไข้มาลาเรียเมื่อสิบปีที่แล้ว โรคไข้มาลาเรียได้ลด เลือดต่อไป อย่างไรก็ตามจะมีเชื้อบางส่วนที่จะพัฒนาเป็นระยะ น้อยลงทุกปี ซึ่งมีผู้ป่วยในแต่ละปีไม่เกิน 20 ราย เดิมนั้น ศูนย์ควบคุม เซลล์สืบพันธุ์เพศผู้และเพศเมียซึ่งเป็นระยะที่ติดต่อในยุง ซึ่งเรียกว่า โรคติดต่อน�ำโดยแมลงที่ 7.3 สกลนคร เป็นผู้ปฏิบัติงานภายใต้แผนงาน แกมเมตโตไซท์ (gametocytes) เมื่อยุงก้นปล่องกัดมนุษย์ที่มีเชื้อ กรมควบคุมโรค (Vertical Program) ในปี 2548 ส�ำนักโรคติดต่อน�ำโดย มาลาเรีย ก็จะได้รับเชื้อระยะเซลล์สืบพันธุ์เข้าไป เซลล์สืบพันธุ์ดังกล่าว แมลง กรมควบคุมโรค จึงได้ผสมผสานงานไข้มาลาเรียเข้าสูระบบบริการ ่ จะเจริญเติบโตในยุงจนกระทั่งถึงระยะติดต่อ ซึ่งเรียกว่า สปอร์โรซอยท์ สาธารณสุข โดยได้โอนงานไข้มาลาเรียให้กับจังหวัด เนื่องจากจังหวัด (sporozoite) ซึงจะเคลือนทีเ่ ข้าสูตอมน�้ำลายของยุง และเมือยุงกัดมนุษย์ ่ ่ ่่ ่ ขาดความพร้อมทังคน วัสดุอปกรณ์และงบประมาณ กิจกรรมบางส่วนได้ ้ ุ เชื้อระยะ sporozoite ก็จะถ่ายทอดเข้าสู่ร่างกายมนุษย์ต่อไป ยกเลิก เช่น การพ่นเคมีบ้าน กระท่อม มาลาเรียคลินิก อมม.(อาสาสมัคร มาลาเรีย) ท�ำให้กจกรรมป้องกันควบคุมไข้มาลาเรียไม่ตอเนือง ในปี พ.ศ. ิ ่ ่ เส้นทางมาลาเรีย 2549 โรคไข้มาลาเรียจึงได้เกิดระบาดขึนทีอำเภอภูพาน จังหวัดสกลนคร ้ ่� 5 พ.ค.55 รายงานทางระบาดวิทยา แจ้งว่าสถานการณ์โรคมาลาเรีย โดยมีผู้ป่วยจ�ำนวน 33 ราย อัตราป่วยเท่ากับ 0.03 ต่อประชากรพันคน ของจังหวัดสกลนคร เพิ่มสูงขึ้นผิดปกติ พบผู้ป่วยสะสมตั้งแต่ ม.ค. 55 และในปี พ.ศ.2555 โรคไข้มาลาเรียได้เกิดการระบาดขึ้นอีกครั้งในเดือน เป็นต้นมาเพิ่มเป็น 12 ราย สูงกว่าช่วงเดียวกันของปีที่ผ่านมา สูงกว่าค่า พฤษภาคม มิถนายน กรกฎาคม ในพืนทีอำเภอภูพาน กุดบากและอ�ำเภอ ุ ้ ่� มัทธยฐาน นั้นแสดงว่า ..เกิดการระบาด ... SRRT.ของพื้นที่ ออกด�ำเนิน เต่างอย เมื่อสิ้นปี 2555 พบผู้ป่วยจ�ำนวน 193 ราย.อัตราป่วยเท่ากับ การควบคุมโรค การสอบสวนโรค ระบุสถานที่พบผู้ป่วย ในอ�ำเภอภูพาน 0.04 ต่อพันประชากร จ�ำนวน 10 ราย สถานที่ผู้ป่วยไปติดเชื้อคือพื้นที่ในเทือกเขาภูพาน เดิน ทางเข้าป่าเพือล่าสัตว์ หาของป่า พักค้างคืน และเดินทางกลับจากป่าช่วง ่ ไข้มาลาเรียคืออะไร มืดค�่ำ ตามวิถีชีวิตเพื่อมายังชีพบางส่วนน�ำไปขาย อีก 2 รายเป็นผู้ป่วย การติดเชื้อมาลาเรีย เริ่มเมื่อยุงที่มีเชื้อมาลาเรียมากัดมนุษย์และ จากอ�ำเภออืนซึงไปติดเชือมาลาเรียจากต่างจังหวัด ไม่มความเชือมโยงกัน ่ ่ ้ ี ่ ปล่อยเชื้อมาลาเรียระยะติดต่อ ซึ่งเรียกว่า สปอร์โรซอยท์ (sporozoite) 10 พ.ค. 55 มีรายงานพบผู้ป่วยเพิ่มเป็น 20 ราย อีกใน 5 อ�ำเภอ เข้าสู่กระแสเลือด จากนั้นเชื้อจะเข้าสู่เซลล์ตับ เพื่อเจริญเติบโตและ สอบประวัติ ผู้ป่วย 3 ราย ใน 2 อ�ำเภอพบไปติดเชื้อมาลาเรียมาจาก แบ่งตัวจนได้เซลล์เล็กๆจ�ำนวนมากมาย เดินทางจากเซลล์ของตับ ๆ จังหวัดอื่น และจากต่างประเทศ (ลาว) คงเหลือที่ติดในพื้นที่ ขยายรวม เข้าสู่เซลล์เม็ดเลือดแดง กินอาหารในเม็ดเลือดแดงและเจริญเติบโต เป็น 3 อ�ำเภอ คือ ภูพานเพิ่มเป็น 14 ราย, กุดบาก 2 ราย, เมือง 1 ราย, เป็นระยะต่างๆ จนท�ำให้เม็ดเลือดแดงแตกและปลดปล่อย เมอโรซอยท์ แนวโน้มสถานการณ์โรคน่าจะสูงขึน และขยายวงไปสูพนทีอน SRRT.ต้อง ้ ่ ื้ ่ ื่ (merozoite ) จ�ำนวนมากมายออกมา จากนั้น merozoite เหล่านี้ หยุดการระบาดของโรคให้ได้ หรืออยู่ในขอบเขตที่สามารถควบคุมได้ ซึ่ง 7
  • 8. โรคนี้ที่ผ่านมาไม่ได้หมดไป แต่ยังพบประปราย ถือเป็นโรคประจ�ำ สถานการณ์โรคยังไม่ดีขึ้น ผู้ป่วยยังเข้ามาเป็นระยะๆ พบเชื้ออย่าง ถิ่น ในเบื้องต้นตั้งเป้าหมาย ต่อเนือง ผลการค้นหาผูปวยเชิงรุก บริการถึงบ้าน เจาะเลือดได้มาก ่ ้ ่ 1. ลดจ�ำนวนผู้ป่วยลงให้น้อยที่สุด หรือน้อยกว่าค่ามัทธยฐาน ราย แต่ตรวจไม่พบเชือ ผูปวยพบเชือมีระยะเวลาเริมป่วย จนมาพบ ้ ้ ่ ้ ่ 2. ไม่ให้มีผู้ป่วยตายจากโรคนี้ แพทย์ เฉลี่ย 7-10 วัน ผิดปกติ เชื้อที่พบ เป็นระยะ ติดต่อพร้อม ภารกิจพิชิตเป้าหมาย แพร่สู่บุคคลอื่นถ้ามียุงพาหะน�ำไป พบผู้ป่วยที่ติดเชื้อในหมู่บ้านที่ พื้นที่ที่มีการระบาด ของไข้มาลาเรีย ได้เปิด War room ตนเองอาศัยอยู่ โดยไม่ต้องเดินทางเข้าไปในป่า รวบรวมข้อมูล วิเคราะห์สถานการณ์โรค และสภาพ ขนาดของ สัญญาณเชิงบวก เส้นทางโรคธรรมดา ที่ไม่ธรรมดา ปัญหา แนวโน้ม ค้นหาขอบเขตการกระจายของโรค ถึงแม้โรคนี้ จากการรวบรวม และวิเคราะห์ข้อมูล ของ War room ถ้า ไม่ใช่โรคใหม่ แต่ความจ�ำเป็นที่ต้องใช้มาตรการที่เหมาะสม เข้ามา การระบาดมาจากผู้ที่เดินทางเข้าป่าเพื่อหาของป่าล่าสัตว์ ธรรมดา ด�ำเนินการ จึงต้องเตรียมความพร้อม วิธีการท�ำงานและ ทบทวน เท่านันนะหรือคือจุดเริมต้นของการระบาด มันต้องเป็นมากกว่านัน ้ ่ ้ วิธีปฏิบัติ พร้อมทั้งแสวงหาความรู้ใหม่ๆ จากประสบการณ์ในตัว เราไม่หยุดเพียงแค่นี้ เราพบจุด หรือประเด็นที่น่าสนใจ เริ่มจาก คน ต�ำรา เอกสาร น�ำมาใช้ออกแบบในการท�ำงาน มอบหมายงาน จ�ำนวนผู้ป่วยที่เพิ่มขึ้นในแต่ละวันๆละ 5-8 ราย เกิดขึ้นเป็นกลุ่มๆ กันน�ำไปปฏิบัติ โดยแบ่งเป็นทีมหลักที่ปฏิบัติในพื้นที่ของแต่ละ ในหมู่บ้าน ต�ำบล อ�ำเภอ ต่างๆ, เป็นกลุ่มอาชีพที่เกี่ยวข้องกับป่า, พื้นที่ ทีมสนับสนุน ของ Cup. ของ สสจ. และ ศตม.ทั้งอุปกรณ์/ ส่วนมากเป็นผูชาย, ระยะเวลาทีพบผูปวยเกิดช่วงเวลาใกล้เคียงกัน, ้ ่ ้ ่ วัสดุ/เวชภัณฑ์/เคมีภัณฑ์/เงิน/คน การรายงานต่อผู้บังคับบัญชา บุคคลที่พบอายุอยู่ในวัยแรงงาน, สอบประวัติวันเริ่มป่วยจนถึงวัน ผู้เกี่ยวข้อง สื่อ ศูนย์ควบคุมโรคติดต่อน�ำโดยแมลงที่ 7.3 สกลนคร พบแพทย์หรือมารักษาอยู่ระหว่าง 7-10 วัน, เชื้อมาลาเรียที่พบ (ศตม.) ได้เข้าร่วมภารกิจในทุกขันตอน ผูเขียนเอง มีบทบาททังเป็น ้ ้ ้ 80 % เป็นเชื้อระยะติดต่อเมื่อยุงกัดและดูดเลือดไป สามารถไป ทีมหลักและทีมสนับสนุน ของทุกพื้นที่ ที่มีการระบาด ปล่อยเชื้อนี้สู่ผู้อื่น, เศรษฐฐานะของกลุ่มในวัยแรงงานมีความผิด การด�ำเนินกิจกรรมควบคุมโรค.. ท่ามกลางอุปสรรค ปกติ จับกลุมดืมสุรา เบียร์ ในปริมาณมากๆ บ่อยๆ พบเห็นได้ทวไป ่ ่ ั่ ท่ามกลางความขาดแคลน ทั้งอุปกรณ์/วัสดุ/เวชภัณฑ์/ ในแต่ละอ�ำเภอที่ติดชายขอบเขาภูพาน เกิดอะไรขึ้น..... เคมีภัณฑ์/เงิน/คน ที่ต้องใช้ในเบื้องต้น ล้วนเป็นการแก้ไขปัญหา กิจกรรมที่ด�ำเนินงาน เฉพาะหน้า โดยขอรับการสนับสนุนจากหลายส่วน ได้แก่ ศตม.ต่างๆ ช่วงนี้เป็นช่วงที่ ทั้งอุปกรณ์/วัสดุ/เวชภัณฑ์/เคมีภัณฑ์/เงิน/ จากจังหวัดอุบลราชธานี, จังหวัดมุกดาหาร,และสกลนครเอง จาก คน ได้รับการสนับสนุนจากทุกที่ เข้ามาสามารถปฏิบัติงาน ได้ ส�ำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 7 อุบลราชธานี จนกระทั่งถึงส่วน อย่างพอเพียงซึ่งก็เพียงระยะหนึ่งเท่านั้น พร้อมกับการปรับแผน กลาง ส�ำนักโรคติดต่อน�ำโดยแมลง กรมควบคุมโรค ซึ่งบางอย่าง กลยุทธ์ใหม่ ให้เหมาะสมกับบริบทของพื้นที่ ได้แก่ การเจาะ ต้องใช้เวลาพอสมควร ในการเดินทาง อย่างไรก็ตามการด�ำเนินการ เลือดตรวจหาเชื้อมาลาเรียกลุ่มเสี่ยง เพื่อบ�ำบัดรักษา โดยจัดทีม ทีสามารถท�ำได้ ได้ลงสูพนทีอย่างเข้มข้น ก�ำลังส�ำคัญโดยเฉพาะคน ่ ่ ื้ ่ Mobile malaria clinic ให้ครอบคลุมไปยังกลุ่มเสี่ยง - ขยายจุด ถูกส่งเข้าพื้นที่ กิจกรรมหลักที่ส�ำคัญ คือการเจาะเลือดตรวจหา ตรวจชั่วคราวไปยัง รพ.สต.ต่างๆ พบเร็ว รักษาเร็ว ไม่ให้เชื้อเจริญ เชื้อมาลาเรียกลุ่มเสี่ยง เพื่อบ�ำบัดรักษาให้เร็ว โดยจัดทีม Mobile ไปสู่ระยะติดต่อ - ส�ำรวจกลุ่มเสี่ยง/ขึ้นทะเบียน ติดตามอย่าง malaria clinic ให้ครอบคลุมพื้นที่หลายทีม ใกล้ชด นัดวัน เวลา สถานทีทชดเจน ในการสนับสนุน ช่วยเหลือ และ ิ ่ ี่ ั สัญญาณเชิงลบ ให้สุขศึกษาประชาสัมพันธ์ -ส�ำรวจจ�ำนวนมุ้ง, เปล, ที่มีและใช้ ของ จากการปฏิบัติงานมาได้ระยะหนึ่ง ซึ่งแน่ละเวที War room กลุ่มเสี่ยง สนับสนุนเพิ่มเติม รวมทั้งน�ำน�้ำยาป้องกันยุงมาชุบมุ้ง , มีบทบาทส�ำคัญทีได้รวบรวมข้อมูลและวิเคราะห์ ผลการปฏิบตงาน เปล, เสื้อคลุม, กางเกง, หมวก เพื่อลดการสัมผัสระหว่างคนกับยุง ่ ัิ ของ SRRT. การปฏิบัติงานอย่างสุดความสามารถ และเข้มแข็ง แต่ - พ่นสารเคมีที่มีฤทธิ์ตกค้างในพื้นที่เสี่ยงสูง ได้แก่ บ้าน, กระท่อม, 8