SlideShare a Scribd company logo
1 of 4
1. การประกัน สัง คมคือ อะไร
       การประกันสังคม คือ การสร้างหลักประกันในการดำารงชีวิตใน
กลุ่มของสมาชิกที่มีรายได้ และจ่ายเงินสมทบเข้ากองทุนประกันสังคม
เพื่อรับผิดชอบในการเฉลี่ยความเสี่ยงที่อาจเกิดขึ้นจากการเจ็บป่วย
คลอดบุตร ทุพพลภาพ ตาย สงเคราะห์บุตร ชราภาพ และการว่างงาน
เพื่อให้ได้รับการรักษาพยาบาล และมีการทดแทนรายได้อย่างต่อเนื่อง
2. ยื่น แบบขึ้น ทะเบีย นเมื่อ ใด
       นายจ้างที่มีลูกจ้าง ตั้งแต่ 1 คนขึ้นไป ต้องขึ้นทะเบียนนายจ้าง
พร้อมกับขึ้นทะเบียนลูกจ้าง เป็นผู้ประกันตน ภายใน 30 วัน และเมื่อมี
การรับลูกจ้างใหม่ต้องแจ้งขึ้นทะเบียนลูกจ้างใหม่ ภายใน 30 วัน แช่
นกัน
3. เมื่อ ขึ้น ทะเบีย นแล้ว ผู้ป ระกัน ตนจะได้ร ับ อะไรจากประกัน
สัง คม
       3.1 บัต รประกัน สัง คม
              3.1.1 ผู้ประกันตนที่เป็นคนไทย ใช้บัตรประจำาตัวประชาชน
แทนบัตรประกันสังคม
              3.1.2 ผู้ประกันตนที่เป็นคนต่างด้าว จะได้รับบัตรประกัน
สังคมเพื่อใช้ในการติดต่อกับสำานักงานประกันสังคม
       3.2 บัต รรับ รองสิท ธิก ารรัก ษาพยาบาล
              3.2.1 เมื่อได้ขึ้นทะเบียนและส่งเงินสมทบครบ 3 เดือนแล้ว
ผู้ประกันตนจะได้รับบัตรรับรองสิทธิฯ เพื่อเข้ารับการรักษาในสถาน
พยาบาลที่ระบุไว้ในบัตรรับรองสิทธิ
4. กรณีเ จ็บ ป่ว ยจะได้อ ะไร ?
       ได้รับการรักษาพยาบาลโดยไม่ต้องเสียค่าใช้จ่ายใด ๆ เมื่อเข้ารับ
การรักษาในสถานพยาบาลตามบัตรรับรองสิทธิฯ จะได้รับเงินทดแทน
การขาดรายได้ ร้อยละ 50 ของค่าจ้าง
5. หลัก ฐานอะไรบ้า งที่ต ้อ งใช้เ มื่อ ไปรับ การรัก ษาพยาบาล ?
       5.1 บัตรรับรองสิทธิการรักษาพยาบาล ซึ่งสำานักงานประกันสังคม
เป็นผู้ออกให้
       5.2 บัตรประจำาตัวประชาชนหรือบัตรอื่น ที่ทางราชการออกให้ซึ่ง
มีรูปถ่ายด้วย
6. หากไม่ส ามารถเข้า รับ การรัก ษาในสถานพยาบาลที่ร ะบุไ ว้
ตามบัต รฯ จะรัก ษาที่อ ื่น ได้ห รือ ไม่?
       ผู้ประกันตนจะเข้ารักการรักษาในสถานพยาบาลอื่นได้ ในกรณี
ประสบอันตรายหรือเจ็บป่วยฉุกเฉินเท่านั้น โดยมีเหตุผลอันสมควร
7. กรณีไ ม่ม ีบ ัต รรับ รองสิท ธิฯ และได้จ ่า ยเงิน สมทบครบ 3
เดือ น ภายใน 15 เดือ นแล้ว
7.1 ให้ยื่นขอมีบัตรรับรองสิทธิฯ ที่สำานักงานประกันสังคม
       7.2 ถ้ามีอาการเจ็บป่วยขณะยังไม่มีบัตรรับรองสิทธิฯ กรณีที่เข้า
รักษาพยาบาล ณ สถานพยาบาลของรัฐ สามารถเบิกค่าบริการทางการ
แพทย์ได้เท่าที่จ่ายจริงตามความจำาเป็น กรณีที่เข้ารักษาพยาบาล ณ
สถานพยาบาลของเอกชน สามารถเบิกค่าบริการทางการแพทย์ได้ตาม
ประกาศฯ กำาหนด
8. กรณีท ัน ตกรรมจะได้ส ิท ฺธ ิอ ะไรบ้า ง
       8.1 กรณีถอนฟัน อุดฟัน และขูดหินปูน ได้รับค่าบริการทางการ
แพทย์ เท่าที่จ่ายจริงตามความจำาเป็น ไม่เกิน 300 บาทต่อครั้งและไม่
เกิน 600 บาทต่อปี
       8.2 กรณีใส่ฟันเทียนชนิดถอดได้ฐานอคริลิก จะได้รับค่าบริการ
ทางการแพทย์และค่าฟันเทียม เท่าที่จ่ายจริงตามความจำาเป็นในวงเงิน
ไม่เกิน 1,500 บาท ภายในระยะเวลา 5 ปีนับแต่วันที่ได้ใส่ฟันเทียม ดังนี้
             8.2.1 1-5 ซี่ เท่าที่จ่ายจริงตามความจำาเป็นไม่เกิน 1,300
บาท
             8.2.2 มากกว่า 5 ซี่ เท่าที่จ่ายจริงตามความจำาเป็น ไม่เกิน
1,500 บาท
9. กรณีค ลอดบุต ร จะได้ส ิท ธิอ ย่า งไร ?
       ผู้ประกันตนมีสิทธิได้รับค่าคลอดบุตรคนละ 2 ครั้ง โดยมีสิทธิ ดังนี้
       9.1 ผู้ประกันตนหญิง สามารถคลอดบุตรที่สถานพยาบาลใดก็ได้
โดยจะได้รับเงินเหมาจ่ายค่าคลอดบุตร จำานวน 13,000 บาท และยังจะ
ได้รับเงินสงเคราะห์การหยุดงานเพื่อการคลอดบุตรอีก ในอัตราร้อยละ
50 ของค่าจ้างเฉลี่ยเป็นเวลา 90 วัน
       9.2 ผู้ประกันตนชาย ที่มีภริยาจดทะเบียนสมรสหรือหญิงซึ่งอยู่กิน
ฉันสามีภริยา จะได้รับเฉพาะเงินเหมาจ่ายค่าคลอดบุตรจำานวน 13,000
บาท เท่านั้น
10. กรณีต ายจะได้ร ับ เงิน เท่า ไร ?
       ได้รับค่าทำาศพ 40,000 บาทและได้รับเงินสงเคราะห์กรณีตาย
ดังนี้
       10.1 จ่ายเงินสมทบ ตั้งแต่ 3 ปีขึ้นไป แต่ไม่ถึง 10 ปี จะได้รับเงิน
สงเคราะห์ในอัตราร้อยละ 50 ของค่าจ้างเฉลี่ย 3 เดือน
       10.2 จ่ายเงินสมทบ ตั้งแต่ 10 ปีขึ้นไป จะได้รับเงินสงเคราะห์ใน
อัตราร้อยละ 50 ของค่าจ้างเฉลี่ย 10 เดือน
11. กรณีส งเคราะห์บ ุต รจะได้ร ับ เงิน เท่า ไร ?
       ได้รับเงินสงเคราะห์บุตรเหมาจ่าย เดือนละ 400 บาทต่อบุตรหนึ่ง
คน สำาหรับบุตรชายด้วยกฎหมาย ซึ่งมีอายุไม่เกิน 6 ปีบริบูรณ์คราวละ
ไม่เกิน 2 คน
12. กรณีช ราภาพจะได้ร ับ เงิน เท่า ไร ?
เงิน บำา นาญชราภาพ
       1. กรณีจ่ายเงินสมทบครบ 180 เดือน (15 ปี) ได้รับเงินบำานาญ
ชราภาพ ในอัตราร้อยละ 20 ของค่าจ้างเฉลี่ย 60 เดือนสุดท้ายที่ใช้เป็น
ฐานในการคำานวณเงินสมทบ ก่อนความเป็นผู้ประกันตนสิ้นสุดลง
       2. กรณีจ่ายเงินสมทบมากกว่า 180 เดือน (15 ปี) ขึ้นไปให้ปรับ
เพิ่มอัตราเงินบำานาญชราภาพ ตามข้อ 1 ขึนอีกร้อยละ 1.5 ต่อระยะเวลา
                                           ้
การจ่ายเงินสมทบครบทุก 12 เดือน
เงิน บำา เหน็จ ชราภาพ
       1. กรณีจ่ายเงินสมทบ ตำ่ากว่า 12 เดือน จะได้รับเงินบำาเหน็จ
ชราภาพเท่ากับจำานวนเงินสมทบเฉพาะส่วนของผู้ประกันตน เพื่อการ
จ่ายประโยชน์ทดแทนในกรณีสงเคราะห์บุตรและชราภาพ
       2. กรณีจ่ายเงินสมทบ ตั้งแต่ 12 เดือนขึ้นไป จะได้รับเงินบำาเหน็จ
ชราภาพเท่ากับจำานวนเงินสมทบ ที่ผู้ประกันตนและนายจ้างจ่ายสมทบ
เพื่อการจ่ายประโยชน์ตอบแทนตามที่สำานักงานประกันสังคมประกาศ
กำาหนด
13. กรณีว ่า งงานจะได้อ ะไร ?
       ถูก เลิก จ้า ง
         - ได้รับเงินทดแทนในระหว่างการว่างงาน ร้อยละ 50 ของค่า
จ้างครั้งละไม่เกิน 180 วัน
       ลาออกหรือ สิ้น สุด สัญ ญาจ้า งที่ม ีก ำา หนดระยะเวลาการจ้า ง
ไว้แ น่น อน
         - ได้รับเงินทดแทนในระหว่างการว่างงาน ร้อยละ 30 ของค่า
จ้างครั้งละไม่เกิน 90 วัน
         - หากใน 1 ปีปฏิทิน มีการยื่นขอรับเงินทดแทนในระหว่างการ
ว่างงาน ทั้ง 2 กรณี ให้นับระยะเวลาการรับเงินทดแทนในระหว่างการ
ว่างงานรวมกันไม่เกิน 180 วัน*
       หมายเหตุ : ผู้ประกันตนต้องขึ้นทะเบียนผู้ว่างงานที่สำานักจัดหา
งานของรัฐ ภายใน 30 วัน นับแต่วันที่ลาออกหรือถูกเลิกจ้างหรือสิ้นสุด
สัญญา เพื่อมิให้เสียสิทธิในการับเงินทดแทน (ค่าจ้างที่ใช้เป็นฐานใน
การคำานวณ เงินสมทบไม่ตำ่ากว่า เดือนละ 1,650 บาท และสูงสุดไม่เกิน
เดือนละ 15,000 บาท)
14. ผู้ป ระกัน ตนจะรับ เงิน ประโยชน์ท ดแทนได้โ ดยวิธ ีใ ด ?
       14.1 รับเงินด้วยตนเอง/หรือมอบอำานาจรับเงินทดแทน ณ
สำานักงานประกันสังคม
       14.2 รับเงินทางธนาณัติ
       14.3 รับเงินผ่านธนาคาร 9 แห่ง ได้แก่
1. ธนาคารกสิกรไทย                 6. ธนาคารกรุงไทย
            2. ธนาคารกรุงศรีอยุธยา                   7. ธนาคารธนชาต
            3. ธนาคารกรุงเทพ                  8. ธนาคารอิสลามแห่ง
ประเทศไทย
            4. ธนาคารไทยพาณิชย์                      9. ธนาคารไทย
ธนาคาร
            5. ธนาคารทหารไทย
15 ผู้ป ระกัน ตนโดยสมัค รใจ (มาตรา 40)
      คุณ สมบัต ิข องผู้ส มัค ร
      1. มีอายุไม่ตำ่ากว่า 15 ปีบริบูรณ์ และไม่เกิน 60 ปีบริบูรณ์
      2. ไม่เป็นผู้ประกันตน ตามมาตรา 33 หรือ 39
      การยื่นใบสมัคร
      บุคคลที่มีคุณสมบัติ สามารถยื่นใบสมัครเป็นผู้ประกันตนเองได้ที่
สำานักงานประกันสังคมเขตพื้นที่/จังหวัด/สาขา ทั่วประเทศ
      หลัก ฐานการสมัค ร
      1. แบบคำาขอสมัครเป็นผู้ประกันตน ตามมาตรา 40
      2. บัตรประจำาตัวประชาชน

More Related Content

Similar to การประกันสังคมคืออะไร

Sso senior
Sso seniorSso senior
Sso seniorToNn Na
 
Assurance Knowledge
Assurance KnowledgeAssurance Knowledge
Assurance KnowledgePao Nanu
 
B T C1 M S Y.
B T C1  M S Y.B T C1  M S Y.
B T C1 M S Y.patmsy
 
งานคอมประก นภ ย
งานคอมประก นภ ยงานคอมประก นภ ย
งานคอมประก นภ ยDiZz Tang Art Zii
 
สวัสดิการและสิทธิประโยชน์
สวัสดิการและสิทธิประโยชน์สวัสดิการและสิทธิประโยชน์
สวัสดิการและสิทธิประโยชน์eXscript
 
การประกันภัย
การประกันภัย การประกันภัย
การประกันภัย Saharat Yimpakdee
 
การประกันภัย ( คปภ )
การประกันภัย ( คปภ )การประกันภัย ( คปภ )
การประกันภัย ( คปภ )Maneerat Amrapal
 
ผลการประชาพิจารณ์
ผลการประชาพิจารณ์ผลการประชาพิจารณ์
ผลการประชาพิจารณ์thaitrl
 
2 ผลงานภารกิจปลดทุกข์ลุงสำราญ (กลุ่มธนิตา)
2 ผลงานภารกิจปลดทุกข์ลุงสำราญ (กลุ่มธนิตา)2 ผลงานภารกิจปลดทุกข์ลุงสำราญ (กลุ่มธนิตา)
2 ผลงานภารกิจปลดทุกข์ลุงสำราญ (กลุ่มธนิตา)Nutthakorn Songkram
 
ได้อะไรจากร่าง พ.ร.บ.คุ้มครองผู้เสียหาย 1/2
ได้อะไรจากร่าง พ.ร.บ.คุ้มครองผู้เสียหาย 1/2ได้อะไรจากร่าง พ.ร.บ.คุ้มครองผู้เสียหาย 1/2
ได้อะไรจากร่าง พ.ร.บ.คุ้มครองผู้เสียหาย 1/2patientrightsth
 
ร่วมแสดงความเห็นใน 12 ประเด็น ที่เกี่ยวกับร่าง พรบ.697
ร่วมแสดงความเห็นใน 12 ประเด็น ที่เกี่ยวกับร่าง พรบ.697ร่วมแสดงความเห็นใน 12 ประเด็น ที่เกี่ยวกับร่าง พรบ.697
ร่วมแสดงความเห็นใน 12 ประเด็น ที่เกี่ยวกับร่าง พรบ.697dentyomaraj
 
การประกันภัย
การประกันภัยการประกันภัย
การประกันภัยBank Kitsana
 
5up พนักงาน 5 19 คน
5up พนักงาน 5 19 คน5up พนักงาน 5 19 คน
5up พนักงาน 5 19 คนssuserbecb25
 
แผนประกันสำหรับคุณผู้ชาย อายุ 28ปี
แผนประกันสำหรับคุณผู้ชาย อายุ 28ปีแผนประกันสำหรับคุณผู้ชาย อายุ 28ปี
แผนประกันสำหรับคุณผู้ชาย อายุ 28ปีcloxshop
 
จักราวุธ คำทวี อบรม กศน.ตำบล รุ่น ๑ ปี ๕๔ กฏหมายเกี่ยวกับพนักงานราชการ
จักราวุธ คำทวี อบรม กศน.ตำบล รุ่น ๑ ปี ๕๔ กฏหมายเกี่ยวกับพนักงานราชการจักราวุธ คำทวี อบรม กศน.ตำบล รุ่น ๑ ปี ๕๔ กฏหมายเกี่ยวกับพนักงานราชการ
จักราวุธ คำทวี อบรม กศน.ตำบล รุ่น ๑ ปี ๕๔ กฏหมายเกี่ยวกับพนักงานราชการนายจักราวุธ คำทวี
 

Similar to การประกันสังคมคืออะไร (20)

Sso senior
Sso seniorSso senior
Sso senior
 
what
whatwhat
what
 
Assurance Knowledge
Assurance KnowledgeAssurance Knowledge
Assurance Knowledge
 
B T C1 M S Y.
B T C1  M S Y.B T C1  M S Y.
B T C1 M S Y.
 
งานคอมประก นภ ย
งานคอมประก นภ ยงานคอมประก นภ ย
งานคอมประก นภ ย
 
สวัสดิการและสิทธิประโยชน์
สวัสดิการและสิทธิประโยชน์สวัสดิการและสิทธิประโยชน์
สวัสดิการและสิทธิประโยชน์
 
การประกันภัย
การประกันภัย การประกันภัย
การประกันภัย
 
การประกันภัย ( คปภ )
การประกันภัย ( คปภ )การประกันภัย ( คปภ )
การประกันภัย ( คปภ )
 
ผลการประชาพิจารณ์
ผลการประชาพิจารณ์ผลการประชาพิจารณ์
ผลการประชาพิจารณ์
 
2 ผลงานภารกิจปลดทุกข์ลุงสำราญ (กลุ่มธนิตา)
2 ผลงานภารกิจปลดทุกข์ลุงสำราญ (กลุ่มธนิตา)2 ผลงานภารกิจปลดทุกข์ลุงสำราญ (กลุ่มธนิตา)
2 ผลงานภารกิจปลดทุกข์ลุงสำราญ (กลุ่มธนิตา)
 
ได้อะไรจากร่าง พ.ร.บ.คุ้มครองผู้เสียหาย 1/2
ได้อะไรจากร่าง พ.ร.บ.คุ้มครองผู้เสียหาย 1/2ได้อะไรจากร่าง พ.ร.บ.คุ้มครองผู้เสียหาย 1/2
ได้อะไรจากร่าง พ.ร.บ.คุ้มครองผู้เสียหาย 1/2
 
White paper on_no_fault
White paper on_no_faultWhite paper on_no_fault
White paper on_no_fault
 
ร่วมแสดงความเห็นใน 12 ประเด็น ที่เกี่ยวกับร่าง พรบ.697
ร่วมแสดงความเห็นใน 12 ประเด็น ที่เกี่ยวกับร่าง พรบ.697ร่วมแสดงความเห็นใน 12 ประเด็น ที่เกี่ยวกับร่าง พรบ.697
ร่วมแสดงความเห็นใน 12 ประเด็น ที่เกี่ยวกับร่าง พรบ.697
 
PA CHARTIS
PA CHARTISPA CHARTIS
PA CHARTIS
 
การประกันภัย
การประกันภัยการประกันภัย
การประกันภัย
 
5up พนักงาน 5 19 คน
5up พนักงาน 5 19 คน5up พนักงาน 5 19 คน
5up พนักงาน 5 19 คน
 
น ด
น ดน ด
น ด
 
Hotnew1
Hotnew1Hotnew1
Hotnew1
 
แผนประกันสำหรับคุณผู้ชาย อายุ 28ปี
แผนประกันสำหรับคุณผู้ชาย อายุ 28ปีแผนประกันสำหรับคุณผู้ชาย อายุ 28ปี
แผนประกันสำหรับคุณผู้ชาย อายุ 28ปี
 
จักราวุธ คำทวี อบรม กศน.ตำบล รุ่น ๑ ปี ๕๔ กฏหมายเกี่ยวกับพนักงานราชการ
จักราวุธ คำทวี อบรม กศน.ตำบล รุ่น ๑ ปี ๕๔ กฏหมายเกี่ยวกับพนักงานราชการจักราวุธ คำทวี อบรม กศน.ตำบล รุ่น ๑ ปี ๕๔ กฏหมายเกี่ยวกับพนักงานราชการ
จักราวุธ คำทวี อบรม กศน.ตำบล รุ่น ๑ ปี ๕๔ กฏหมายเกี่ยวกับพนักงานราชการ
 

การประกันสังคมคืออะไร

  • 1. 1. การประกัน สัง คมคือ อะไร การประกันสังคม คือ การสร้างหลักประกันในการดำารงชีวิตใน กลุ่มของสมาชิกที่มีรายได้ และจ่ายเงินสมทบเข้ากองทุนประกันสังคม เพื่อรับผิดชอบในการเฉลี่ยความเสี่ยงที่อาจเกิดขึ้นจากการเจ็บป่วย คลอดบุตร ทุพพลภาพ ตาย สงเคราะห์บุตร ชราภาพ และการว่างงาน เพื่อให้ได้รับการรักษาพยาบาล และมีการทดแทนรายได้อย่างต่อเนื่อง 2. ยื่น แบบขึ้น ทะเบีย นเมื่อ ใด นายจ้างที่มีลูกจ้าง ตั้งแต่ 1 คนขึ้นไป ต้องขึ้นทะเบียนนายจ้าง พร้อมกับขึ้นทะเบียนลูกจ้าง เป็นผู้ประกันตน ภายใน 30 วัน และเมื่อมี การรับลูกจ้างใหม่ต้องแจ้งขึ้นทะเบียนลูกจ้างใหม่ ภายใน 30 วัน แช่ นกัน 3. เมื่อ ขึ้น ทะเบีย นแล้ว ผู้ป ระกัน ตนจะได้ร ับ อะไรจากประกัน สัง คม 3.1 บัต รประกัน สัง คม 3.1.1 ผู้ประกันตนที่เป็นคนไทย ใช้บัตรประจำาตัวประชาชน แทนบัตรประกันสังคม 3.1.2 ผู้ประกันตนที่เป็นคนต่างด้าว จะได้รับบัตรประกัน สังคมเพื่อใช้ในการติดต่อกับสำานักงานประกันสังคม 3.2 บัต รรับ รองสิท ธิก ารรัก ษาพยาบาล 3.2.1 เมื่อได้ขึ้นทะเบียนและส่งเงินสมทบครบ 3 เดือนแล้ว ผู้ประกันตนจะได้รับบัตรรับรองสิทธิฯ เพื่อเข้ารับการรักษาในสถาน พยาบาลที่ระบุไว้ในบัตรรับรองสิทธิ 4. กรณีเ จ็บ ป่ว ยจะได้อ ะไร ? ได้รับการรักษาพยาบาลโดยไม่ต้องเสียค่าใช้จ่ายใด ๆ เมื่อเข้ารับ การรักษาในสถานพยาบาลตามบัตรรับรองสิทธิฯ จะได้รับเงินทดแทน การขาดรายได้ ร้อยละ 50 ของค่าจ้าง 5. หลัก ฐานอะไรบ้า งที่ต ้อ งใช้เ มื่อ ไปรับ การรัก ษาพยาบาล ? 5.1 บัตรรับรองสิทธิการรักษาพยาบาล ซึ่งสำานักงานประกันสังคม เป็นผู้ออกให้ 5.2 บัตรประจำาตัวประชาชนหรือบัตรอื่น ที่ทางราชการออกให้ซึ่ง มีรูปถ่ายด้วย 6. หากไม่ส ามารถเข้า รับ การรัก ษาในสถานพยาบาลที่ร ะบุไ ว้ ตามบัต รฯ จะรัก ษาที่อ ื่น ได้ห รือ ไม่? ผู้ประกันตนจะเข้ารักการรักษาในสถานพยาบาลอื่นได้ ในกรณี ประสบอันตรายหรือเจ็บป่วยฉุกเฉินเท่านั้น โดยมีเหตุผลอันสมควร 7. กรณีไ ม่ม ีบ ัต รรับ รองสิท ธิฯ และได้จ ่า ยเงิน สมทบครบ 3 เดือ น ภายใน 15 เดือ นแล้ว
  • 2. 7.1 ให้ยื่นขอมีบัตรรับรองสิทธิฯ ที่สำานักงานประกันสังคม 7.2 ถ้ามีอาการเจ็บป่วยขณะยังไม่มีบัตรรับรองสิทธิฯ กรณีที่เข้า รักษาพยาบาล ณ สถานพยาบาลของรัฐ สามารถเบิกค่าบริการทางการ แพทย์ได้เท่าที่จ่ายจริงตามความจำาเป็น กรณีที่เข้ารักษาพยาบาล ณ สถานพยาบาลของเอกชน สามารถเบิกค่าบริการทางการแพทย์ได้ตาม ประกาศฯ กำาหนด 8. กรณีท ัน ตกรรมจะได้ส ิท ฺธ ิอ ะไรบ้า ง 8.1 กรณีถอนฟัน อุดฟัน และขูดหินปูน ได้รับค่าบริการทางการ แพทย์ เท่าที่จ่ายจริงตามความจำาเป็น ไม่เกิน 300 บาทต่อครั้งและไม่ เกิน 600 บาทต่อปี 8.2 กรณีใส่ฟันเทียนชนิดถอดได้ฐานอคริลิก จะได้รับค่าบริการ ทางการแพทย์และค่าฟันเทียม เท่าที่จ่ายจริงตามความจำาเป็นในวงเงิน ไม่เกิน 1,500 บาท ภายในระยะเวลา 5 ปีนับแต่วันที่ได้ใส่ฟันเทียม ดังนี้ 8.2.1 1-5 ซี่ เท่าที่จ่ายจริงตามความจำาเป็นไม่เกิน 1,300 บาท 8.2.2 มากกว่า 5 ซี่ เท่าที่จ่ายจริงตามความจำาเป็น ไม่เกิน 1,500 บาท 9. กรณีค ลอดบุต ร จะได้ส ิท ธิอ ย่า งไร ? ผู้ประกันตนมีสิทธิได้รับค่าคลอดบุตรคนละ 2 ครั้ง โดยมีสิทธิ ดังนี้ 9.1 ผู้ประกันตนหญิง สามารถคลอดบุตรที่สถานพยาบาลใดก็ได้ โดยจะได้รับเงินเหมาจ่ายค่าคลอดบุตร จำานวน 13,000 บาท และยังจะ ได้รับเงินสงเคราะห์การหยุดงานเพื่อการคลอดบุตรอีก ในอัตราร้อยละ 50 ของค่าจ้างเฉลี่ยเป็นเวลา 90 วัน 9.2 ผู้ประกันตนชาย ที่มีภริยาจดทะเบียนสมรสหรือหญิงซึ่งอยู่กิน ฉันสามีภริยา จะได้รับเฉพาะเงินเหมาจ่ายค่าคลอดบุตรจำานวน 13,000 บาท เท่านั้น 10. กรณีต ายจะได้ร ับ เงิน เท่า ไร ? ได้รับค่าทำาศพ 40,000 บาทและได้รับเงินสงเคราะห์กรณีตาย ดังนี้ 10.1 จ่ายเงินสมทบ ตั้งแต่ 3 ปีขึ้นไป แต่ไม่ถึง 10 ปี จะได้รับเงิน สงเคราะห์ในอัตราร้อยละ 50 ของค่าจ้างเฉลี่ย 3 เดือน 10.2 จ่ายเงินสมทบ ตั้งแต่ 10 ปีขึ้นไป จะได้รับเงินสงเคราะห์ใน อัตราร้อยละ 50 ของค่าจ้างเฉลี่ย 10 เดือน 11. กรณีส งเคราะห์บ ุต รจะได้ร ับ เงิน เท่า ไร ? ได้รับเงินสงเคราะห์บุตรเหมาจ่าย เดือนละ 400 บาทต่อบุตรหนึ่ง คน สำาหรับบุตรชายด้วยกฎหมาย ซึ่งมีอายุไม่เกิน 6 ปีบริบูรณ์คราวละ ไม่เกิน 2 คน
  • 3. 12. กรณีช ราภาพจะได้ร ับ เงิน เท่า ไร ? เงิน บำา นาญชราภาพ 1. กรณีจ่ายเงินสมทบครบ 180 เดือน (15 ปี) ได้รับเงินบำานาญ ชราภาพ ในอัตราร้อยละ 20 ของค่าจ้างเฉลี่ย 60 เดือนสุดท้ายที่ใช้เป็น ฐานในการคำานวณเงินสมทบ ก่อนความเป็นผู้ประกันตนสิ้นสุดลง 2. กรณีจ่ายเงินสมทบมากกว่า 180 เดือน (15 ปี) ขึ้นไปให้ปรับ เพิ่มอัตราเงินบำานาญชราภาพ ตามข้อ 1 ขึนอีกร้อยละ 1.5 ต่อระยะเวลา ้ การจ่ายเงินสมทบครบทุก 12 เดือน เงิน บำา เหน็จ ชราภาพ 1. กรณีจ่ายเงินสมทบ ตำ่ากว่า 12 เดือน จะได้รับเงินบำาเหน็จ ชราภาพเท่ากับจำานวนเงินสมทบเฉพาะส่วนของผู้ประกันตน เพื่อการ จ่ายประโยชน์ทดแทนในกรณีสงเคราะห์บุตรและชราภาพ 2. กรณีจ่ายเงินสมทบ ตั้งแต่ 12 เดือนขึ้นไป จะได้รับเงินบำาเหน็จ ชราภาพเท่ากับจำานวนเงินสมทบ ที่ผู้ประกันตนและนายจ้างจ่ายสมทบ เพื่อการจ่ายประโยชน์ตอบแทนตามที่สำานักงานประกันสังคมประกาศ กำาหนด 13. กรณีว ่า งงานจะได้อ ะไร ? ถูก เลิก จ้า ง - ได้รับเงินทดแทนในระหว่างการว่างงาน ร้อยละ 50 ของค่า จ้างครั้งละไม่เกิน 180 วัน ลาออกหรือ สิ้น สุด สัญ ญาจ้า งที่ม ีก ำา หนดระยะเวลาการจ้า ง ไว้แ น่น อน - ได้รับเงินทดแทนในระหว่างการว่างงาน ร้อยละ 30 ของค่า จ้างครั้งละไม่เกิน 90 วัน - หากใน 1 ปีปฏิทิน มีการยื่นขอรับเงินทดแทนในระหว่างการ ว่างงาน ทั้ง 2 กรณี ให้นับระยะเวลาการรับเงินทดแทนในระหว่างการ ว่างงานรวมกันไม่เกิน 180 วัน* หมายเหตุ : ผู้ประกันตนต้องขึ้นทะเบียนผู้ว่างงานที่สำานักจัดหา งานของรัฐ ภายใน 30 วัน นับแต่วันที่ลาออกหรือถูกเลิกจ้างหรือสิ้นสุด สัญญา เพื่อมิให้เสียสิทธิในการับเงินทดแทน (ค่าจ้างที่ใช้เป็นฐานใน การคำานวณ เงินสมทบไม่ตำ่ากว่า เดือนละ 1,650 บาท และสูงสุดไม่เกิน เดือนละ 15,000 บาท) 14. ผู้ป ระกัน ตนจะรับ เงิน ประโยชน์ท ดแทนได้โ ดยวิธ ีใ ด ? 14.1 รับเงินด้วยตนเอง/หรือมอบอำานาจรับเงินทดแทน ณ สำานักงานประกันสังคม 14.2 รับเงินทางธนาณัติ 14.3 รับเงินผ่านธนาคาร 9 แห่ง ได้แก่
  • 4. 1. ธนาคารกสิกรไทย 6. ธนาคารกรุงไทย 2. ธนาคารกรุงศรีอยุธยา 7. ธนาคารธนชาต 3. ธนาคารกรุงเทพ 8. ธนาคารอิสลามแห่ง ประเทศไทย 4. ธนาคารไทยพาณิชย์ 9. ธนาคารไทย ธนาคาร 5. ธนาคารทหารไทย 15 ผู้ป ระกัน ตนโดยสมัค รใจ (มาตรา 40) คุณ สมบัต ิข องผู้ส มัค ร 1. มีอายุไม่ตำ่ากว่า 15 ปีบริบูรณ์ และไม่เกิน 60 ปีบริบูรณ์ 2. ไม่เป็นผู้ประกันตน ตามมาตรา 33 หรือ 39 การยื่นใบสมัคร บุคคลที่มีคุณสมบัติ สามารถยื่นใบสมัครเป็นผู้ประกันตนเองได้ที่ สำานักงานประกันสังคมเขตพื้นที่/จังหวัด/สาขา ทั่วประเทศ หลัก ฐานการสมัค ร 1. แบบคำาขอสมัครเป็นผู้ประกันตน ตามมาตรา 40 2. บัตรประจำาตัวประชาชน