SlideShare a Scribd company logo
๑
มคอ .๓ วิชา ๑๐๓ ๓๑๒ ศิลปะทางศาสนา
มคอ. ๓ รายละเอียดของรายวิชา
๑๐๓ ๓๑๒ ศิลปะทางศาสนา
ชื่อสถาบันอุดมศึกษา มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
วิทยาเขต/คณะ/ภาควิชา หน่วยวิทยบริการ คณะพุทธศาสตร์
มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วัดหงษ์ประดิษฐาราม จังหวัดสงขลา
หมวดที่ ๑ ข้อมูลโดยทั่วไป
๑. รหัสและชื่อรายวิชา
๑๐๓๓๑๒ ศิลปะทางศาสนา
๒. จานวนหน่วยกิต
๓ (๓-๐-๖)
๓. หลักสูตรและประเภทของรายวิชา
พุทธศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาพระพุทธศาสนา
๔. อาจารย์ผู้รับผิดชอบรายวิชาและอาจารย์ผู้สอน
อาจารย์ประจาวิชา พระครูประสุตโพธิคุณ ดร.
๕. ภาคการศึกษา / ชั้นปี ที่เรียน
ภาคการศึกษาที่ ๑/๒๕๖๕
ชั้นปีที่ ๓ สาขาวิชาศาสนา
ชั้นปีที่ ๔ สาขาวิชาศาสนา
๖. รายวิชาที่ต้องเรียนมาก่อน (Pre-requisite) (ถ้ามี)
ไม่มี
๗. รายวิชาที่ต้องเรียนพร้อมกัน (Co-requisites) (ถ้ามี)
ไม่มี
๘. สถานที่เรียน
หน่วยวิทยบริการ คณะพุทธศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
วัดห งษ์ประดิษฐาราม จังห วัดสงข ลา ๘๙๕ ตาบลห าด ใหญ่ อาเภอห าดให ญ่
จังหวัดสงขลา ๙๐๑๑๐
๙. วันที่จัดทาหรือปรับปรุงรายละเอียดของรายวิชาครั้งล่าสุด
พ.ศ.๒๕๖๒
หมวดที่ ๒ จุดมุ่งหมายและวัตถุประสงค์
๒
มคอ .๓ วิชา ๑๐๓ ๓๑๒ ศิลปะทางศาสนา
๑. จุดมุ่งหมายของรายวิชา
เพื่อให้นิสิตทราบความเป็นมาเรื่องของศิลปะทางศาสนา ของแต่ละศาสนาที่สาคัญ
เพื่อให้เกิดความรู้ความเข้าใจและซาบซึ้งในศิลปะทางศาสนา
รวมทั้งเห็นคุณค่าความงามและปรัชญาธรรมตามศาสนา
ลักษณะโดยเฉพาะที่ปรากฏในพุทธศาสนาและรู้จักที่จะอนุรักษ์พุทธศิลปะให้เป็ นมรด
กไทย มรดกโลก
วัตถุประสงค์
ก. วัตถุประสงค์การเรียนรู้
หลังเรียนจบรายวิชานี้แล้ว ผู้เรียนสามารถ
๑.
เพื่อเพิ่มเติมเนื้อหาความเป็นมาของศิลปะทางศาสนาของแต่ละศาสนาให้คลอบคลุมยิ่
งขึ้น
๒. อธิบายความหมาย หลักธรรมคาสอนและปรัชญาธรรม คติธรรม
ที่มีอยู่ในแต่ละศาสนา
๓. อธิบายรูปแบบของปัญหาและวิธีแก้ไขปัญหาความขัดแย้งเชิงศิลปะทางศาสนาได้
๔.
มีความและสามารถวิเคราะห์ข้อเปรียบเทียบระหว่างรูปแบบและวิธีแก้ไขปัญหาเชิงศิ
ลปะทางศาสนาได้
๕.
รู้วิธีและเข้าใจการประยุกต์ใช้รูปแบบและวิธีแก้ไขปัญหาความขัดแย้งโดยวิถีทางศิลป
ะของศาสนาเพื่อการแก้ไข
ปัญหาสังคมปัจจุบันได้
ข. วัตถุประสงค์เชิงคุณธรรม
๑.
มีความตะหนักถึงแนวคิดและกระบวนการเสริมสร้างความรู้ความเข้าใจโดยผ่านทาง
ศิลปะของแต่ละศาสนา ทั้งในระดับชาติและในระดับนานาชาติ
๒. มีความสามารถในการวิเคราะห์แนวทางการแก้ไขปัญหาความขัดแย้งโดยพุทธวิธี
และศิลปะทางศาสนาต่างๆ
๓.
มีความสามารถในการประยุกต์ใช้รูปแบบและวิธีแก้ไขปัญหาในทางพระพุทธศาสนา
และศิลปะทางศาสนาของแต่ละศาสนา
๒. วัตถุประสงค์ในการการพัฒนา/ปรับปรุงรายวิชา
๑. กาลังดาเนินการทาสื่อการเรียนการสอนโดย e-learning
๒. เปลี่ยนแปลงเนื้อหาการเรียนการสอนให้เป็นไปตามหลักฐานเชิงประจักษ์
๓
มคอ .๓ วิชา ๑๐๓ ๓๑๒ ศิลปะทางศาสนา
หมวดที่ ๓ ลักษณะและการดาเนินการ
๑. คาอธิบายรายวิชา
ศึกษ าวิเค ราะห์ ค วาม คิด ค วามเชื่ อ ทัศ นค ติ ค่านิย ม วิถีชี วิต ข อ ง
แต่ละยุคแต่ละสมัยจน ถึงปัจจุบันที่ก่อให้เกิดศิลปะ ปรัชญา คติธรรม คาสอน
ที่มีอยู่ในศิลปะคาสอนของแต่ละศาสนานั้นๆ เพื่อจะได้ปรัชญา คติธรรม คาสอน
ที่ มี อ ยู่ ใน ศิ ล ป ะ ข อ งส า ส น าม าร้อ ย เรี ย งเพื่ อ ก า รอ ยู่ ร่วม กัน โ ด ย สัน ติ
โดยผ่านศิลปะทางศาสนา
๒. จานวนชั่วโมงที่ใช้ต่อภาคการศึกษา
บรรยาย สอนเสริม การฝึกปฏิบัติ/งาน
ภาคสนาม/การฝึกง
าน
การศึกษาด้วยตนเอง
บรรยาย ๔๕
ชั่วโมงต่อภาคการ
ศึกษา
สอนเสริมตามควา
มต้องการของนิสิตเ
ฉพาะราย
ไม่มีการฝึกปฏิบัติง
านภาคสนาม
การศึกษาด้วยตนเอง ๖
ชั่วโมงต่อสัปดาห์
๓.
จานวนชั่วโมงต่อสัปดาห์ที่อาจารย์ให้คาปรึกษาและแนะนาทางวิชาการแก่นักศึกษาเป็น
รายบุคคล
- อาจารย์ประจารายวิชา ประกาศเวลาให้คาปรึกษาผ่านเวปไซด์คณะพุทธศาสตร์
- อาจารย์จัดเวลาให้คาปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือ รายกลุ่มตามความต้องการ ๑
ชั่วโมงต่อสัปดาห์ (เฉพาะรายที่ต้องการ)
หมวดที่ ๔ การพัฒนาการเรียนรู้ของนักศึกษา
ตารางการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานการเรียนรู้จากหลักสูตรสู่รายวิชา
(Curriculum Mapping)
ที่ Curriculum Mapping ทั้ง ๕ ด้าน ความรับ
ผิดชอบ
หลัก
ความรับ
ผิดชอบ
รอง
๑. ด้านคุณธรรม จริยธรรม
(๑) ตระหนักในคุณค่าและคุณธรรม จริยธรรม เสียสละ มีวินัย
และซื่อสัตย์สุจริต

(๒) ตรงต่อเวลา 
(๓) มีภาวะความเป็นผู้นาและผู้ตาม O
๔
มคอ .๓ วิชา ๑๐๓ ๓๑๒ ศิลปะทางศาสนา
สามารถทางานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งและลาดับความ
สาคัญ
(๔) เคารพสิทธิและรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
รวมทั้งเคารพในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์

(๕) เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับต่าง ๆ ขององค์กรและสังคม 
๒. ด้านความรู้
(๑)
มีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการและทฤษฎีที่สาคัญในเนื้อ
หาสาขาวิชาศาสนาต่างๆ

(๒)
สามารถวิเคราะห์ปัญหาทางสังคมโดยใช้แนวคิดทางด้านศิลปะทาง
ศาสนารวมทั้งประยุกต์ความรู้ ทักษะ
และการใช้เครื่องมือที่เหมาะสมกับการแก้ไขปัญหาในสังคม

(๓) สามารถติดตามความก้าวหน้าแนวคิดใหม่ๆทางด้านศาสนา
พร้อมทั้งเข้าใจวิธีการนาไปประยุกต์ใช้
O
(๔) รู้ เข้าใจและสนใจพัฒนาความรู้
ความชานาญทางด้านศิลปะของศาสนาต่างๆอย่างต่อเนื่อง

(๕) มีความรู้
ความเข้าใจในกระบวนการวิจัยและใช้เป็นเครื่องมือในการแสวงหา
วิทยาการใหม่ๆทางด้านคาสอนทางศาสนา

(๖)
มีความรู้ความเข้าใจหลักธรรมในทางศาสนาที่เป็นพื้นฐานของชีวิต
ที่ครอบคลุมทั้งวิทยาศาสตร์มนุษยศาสตร์ สังคมศาสตร์
กฎหมายและการปกครองในระบอบประชาธิปไตย

(๗)
สามารถบูรณาการความรู้ในสาขาวิชาศาสนากับความรู้ในศาสตร์อื่
น ๆ ที่เกี่ยวข้อง
O
๓. ด้านทักษะทางปัญญา
(๑) คิดอย่างมีวิจารณญาณและอย่างเป็นระบบ 
(๒) สามารถสืบค้น ตีความ และประเมินสารสนเทศ
เพื่อใช้ในการแก้ไขปัญหาอย่างสร้างสรรค์

(๓) สามารถรวบรวม ศึกษา วิเคราะห์
และสรุปประเด็นปัญหาและความต้องการ
O
(๔) สามารถประยุกต์ใช้ความรู้ทางศาสนาได้อย่างเหมาะสม O
๕
มคอ .๓ วิชา ๑๐๓ ๓๑๒ ศิลปะทางศาสนา
๔. ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ
(๑)
สามารถสื่อสารทั้งภาษาไทยและภาษาต่างประเทศกับกลุ่มคนหลาก
หลายได้อย่างมีประสิทธิภาพ

(๒)
สามารถให้ความช่วยเหลือและอานวยความสะดวกในการแก้ปัญหา
สถานการณ์ต่าง ๆ ทั้งในบทบาทของผู้นา
หรือในบทบาทของผู้ร่วมทีมทางาน

(๓)
สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาชี้นาสังคมในประเด็นที่เหมาะสม

(๔)มีความรับผิดชอบในการกระทาของตนเองและรับผิดชอบงานใ
นกลุ่ม
O
๕. ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
(๑) สามารถใช้เทคนิคทางคณิตศาสตร์และสถิติ
ในการวิเคราะห์ข้อมูลและแปลความหมายข้อมูลทั้งเชิงปริมาณและ
คุณภาพ

(๒)
สามารถแปลงข้อมูลเป็นข่าวสารที่มีคุณภาพและเหมาะสมต่อการสื่อ
สารทั้งกับบุคคลและกลุ่มคนในสถานการณ์ที่หลากหลาย

(๓) สามารถสื่อสารอย่างมีประสิทธิภาพทั้งการพูด การฟัง
และการเขียน
พร้อมทั้งเลือกใช้รูปแบบของสื่อการนาเสนอได้อย่างเหมาะสม
O
(๔) สามารถใช้สารสนเทศและเทคโนโลยีสื่อสารอย่างเหมาะสม O
อธิบายสัญลักษณ์  รับผิดชอบหลัก Oรับผิดชอบรอง วิธีที่ใช้
๑. คุณธรรม จริยธรรม
พัฒนานิสิตให้มีคุณธรรม
จริยธรรมในการปฏิบัติตนตามหลักสิทธิมนุษยชนและหลักการทางระพุทธศาสนาที่เกี่ยวข้
อง เพื่อให้เกิดความเคารพต่อตนเองและผู้อื่นได้อย่างเหมาะสม โดยมีคุณธรรม
จริยธรรม ตามคุณสมบัติในรายวิชา ดังนี้
๑.๑ คุณธรรม จริยธรรมที่ต้องพัฒนา
ที่ Curriculum Mapping ทั้ง ๕ ด้าน ความรับผิด
ชอบ
หลัก
ความรับผิด
ชอบ
รอง
๑. ด้านคุณธรรม จริยธรรม
๖
มคอ .๓ วิชา ๑๐๓ ๓๑๒ ศิลปะทางศาสนา
(๑) ตระหนักในคุณค่าและคุณธรรม จริยธรรม เสียสละ
มีวินัย และซื่อสัตย์สุจริต

(๒) ตรงต่อเวลา 
(๓) มีภาวะความเป็นผู้นาและผู้ตาม
สามารถทางานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งและลา
ดับความสาคัญ
O
(๔) เคารพสิทธิและรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
รวมทั้งเคารพในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์

(๕) เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับต่าง ๆ
ขององค์กรและสังคม

๑.๒ กลยุทธ์การสอนที่ใช้พัฒนาการเรียนรู้ด้านคุณธรรม จริยธรรม
 (๑) มีการสอดแทรกเรื่องคุณธรรม จริยธรรมในการเรียนการสอน
 (๒) การเป็นต้นแบบที่ดีของผู้สอน
 (๓) เรียนรู้จากกรณีตัวอย่างประเด็นปัญหาทางด้านคุณธรรม จริยธรรม
เพื่อให้ผู้เรียนฝึกการแก้ปัญหาการเรียนรู้จากสถานการณ์จริง
การจัดกิจกรรมในชั้นเรียนหรือนอกชั้นเรียน
 (๑) มีการสอดแทรกเรื่องคุณธรรม จริยธรรมในการเรียนการสอน
 (๒) การเป็นต้นแบบที่ดีของผู้สอน
๑.๓ กลยุทธ์การประเมินผลการเรียนรู้ด้านคุณธรรม จริยธรรม
 (๑) ประเมินโดยผู้สอนและเพื่อน สังเกตพฤติกรรมผู้เรียน
 (๒) ประเมินจากผลงานและความรับผิดชอบในงานที่ได้รับมอบหมาย
 (๓) ประเมินคุณธรรม
จริยธรรมของบัณฑิตที่สาเร็จการศึกษาโดยหน่วยงานผู้ใช้บัณฑิต
๒. ความรู้
พัฒนาความรู้ด้านสิทธิมนุษยชนและหลักการทางพระพุทธศาสนากับหลักสิทธิมนุษ
ยชน โดยผ่านศิลปะทางศาสนา รวมทั้งสถานการณ์ด้านสิทธิมนุษยชนในระดับต่างๆ
ที่ Curriculum Mapping ทั้ง ๕ ด้าน ความรับ
ผิดชอบ
หลัก
ความรับ
ผิดชอบ
รอง
๒.๑ ความรู้ที่ต้องได้รับ
(๑)
มีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการและทฤษฎีที่สาคัญในเนื้
อหาสาขาวิชาศาสนาต่างๆ

(๒)
สามารถวิเคราะห์ปัญหาทางสังคมโดยใช้แนวคิดทางด้านคัมภีร์ทา
งศาสนารวมทั้งประยุกต์ความรู้ ทักษะ

๗
มคอ .๓ วิชา ๑๐๓ ๓๑๒ ศิลปะทางศาสนา
และการใช้เครื่องมือที่เหมาะสมกับการแก้ไขปัญหาในสังคม
(๓) สามารถติดตามความก้าวหน้าแนวคิดใหม่ๆทางด้านศาสนา
พร้อมทั้งเข้าใจวิธีการนาไปประยุกต์ใช้
O
(๔) รู้ เข้าใจและสนใจพัฒนาความรู้
ความชานาญทางด้านศิลปะของศาสนาต่างๆอย่างต่อเนื่อง

(๕) มีความรู้
ความเข้าใจในกระบวนการวิจัยและใช้เป็นเครื่องมือในการแสวง
หาวิทยาการใหม่ๆทางด้านคาสอนทางศาสนา

(๖)
มีความรู้ความเข้าใจหลักธรรมในทางศาสนาที่เป็นพื้นฐานของชีวิ
ตที่ครอบคลุมทั้งวิทยาศาสตร์มนุษยศาสตร์ สังคมศาสตร์
กฎหมายและการปกครองในระบอบประชาธิปไตย

(๗)
สามารถบูรณาการความรู้ในสาขาวิชาศาสนากับความรู้ในศาสตร์
อื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง
O
๒.๒ กลยุทธ์การสอนที่ใช้พัฒนาการเรียนรู้ด้านความรู้
 (๑) สอนแบบบรรยายโดยใช้ภาพประกอบ
 (๒) สอนโดยใช้กรณีศึกษา
 (๓) เรียนรู้โดยการปฏิบัติ
 (๔) เรียนรู้แบบร่วมมือ
(๕) ศึกษาดูงาน
๒.๓ กลยุทธ์การประเมินผลการเรียนรู้ด้านความรู้
 (๑) การทดสอบย่อย
 (๒) การสอบกลางภาคและปลายภาคเรียน
 (๓) ประเมินจากรายงาน หรืองานที่มอบหมาย
 (๔) ประเมินจากการนาเสนอผลงาน
๓. ทักษะทางปัญญา
ที่ Curriculum Mapping ทั้ง ๕ ด้าน ความรับผิดชอ
บ
หลัก
ความรับผิดชอ
บ
รอง
๓.๑ ทักษะทางปัญญาที่ต้องพัฒนา
(๑) คิดอย่างมีวิจารณญาณและอย่างเป็นระบบ 
(๒) สามารถสืบค้น ตีความ และประเมินสารสนเทศ
เพื่อใช้ในการแก้ไขปัญหาอย่างสร้างสรรค์

(๓) สามารถรวบรวม ศึกษา วิเคราะห์ O
๘
มคอ .๓ วิชา ๑๐๓ ๓๑๒ ศิลปะทางศาสนา
และสรุปประเด็นปัญหาและความต้องการ
(๔)
สามารถประยุกต์ใช้ความรู้ทางศาสนาได้อย่างเหมาะ
สม
O
๓.๒ กลยุทธ์การสอนที่ใช้พัฒนาการเรียนรู้ด้านทักษะทางปัญญา
 (๑) เรียนรู้กรณีศึกษาและร่วมกันอภิปรายกลุ่ม
 (๒) รายวิชาปฏิบัติ ผู้เรียนต้องฝึกปฏิบัติเพื่อให้เกิดการเรียนรู้
สามารถนาไปประยุกต์ใช้ได้
 (๓) มีการศึกษาค้นคว้าในรูปรายงาน โครงงาน และนาเสนอ
 (๔) ศึกษาดูงาน เรียนรู้จากสภาพจริงเพื่อให้เกิดประสบการณ์ตรง
๓.๓ กลยุทธ์การประเมินผลการเรียนรู้ด้านทักษะทางปัญญา
 (๑) การทดสอบย่อย
 (๒) การสอบกลางภาคและปลายภาคเรียน
 (๓) ประเมินจากรายงานหรืองานที่มอบหมาย
 (๔) ประเมินจากการนาเสนอผลงาน
๔.ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ
ที่ Curriculum Mapping ทั้ง ๕ ด้าน ความรับผิ
ดชอบ
หลัก
ความรับผิ
ดชอบ
รอง
๔.๑
ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบที่ต้องพั
ฒนา
(๑)
สามารถสื่อสารทั้งภาษาไทยและภาษาต่างประเทศกับกลุ่มคนห
ลากหลายได้อย่างมีประสิทธิภาพ

(๒)
สามารถให้ความช่วยเหลือและอานวยความสะดวกในการแก้ปั
ญหาสถานการณ์ต่าง ๆ ทั้งในบทบาทของผู้นา
หรือในบทบาทของผู้ร่วมทีมทางาน

(๓)
สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาชี้นาสังคมในประเด็นที่เหมาะสม

(๔)มีความรับผิดชอบในการกระทาของตนเองและรับผิดชอบงา
นในกลุ่ม
O
๔.๒ กลยุทธ์การสอนที่ใช้พัฒนาการเรียนรู้ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล
และความรับผิดชอบ

(๑)
๙
มคอ .๓ วิชา ๑๐๓ ๓๑๒ ศิลปะทางศาสนา
มีการมอบหมายงานให้ผู้เรียนทางานเป็นกลุ่มเพื่อเรียนรู้ความรับผิดชอบและการเป็ นส
มาชิกที่ดีของกลุ่ม

(๒) กลยุทธ์การสอนที่เน้นการสร้างความสัมพันธ์ที่เอื้อต่อการเรียนรู้
ระหว่างผู้เรียนกับผู้เรียนและผู้เรียนกับผู้สอน

(๓) จัดกิจกรรมการเรียนการสอนเพื่อให้ผู้เรียนเรียนรู้การปรับตัวเข้ากับสถานการณ์
การจัดการอารมณ์ การมีมนุษยสัมพันธ์ที่ดีกับบุคลอื่น
๔.๓ กลยุทธ์การประเมินผลการเรียนรู้ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล
และความรับผิดชอบ
 (๑) ประเมินจากพฤติกรรมและการแสดงออกของผู้เรียนระหว่างการเรียนการสอน
และการทางานร่วมกับเพื่อน
 (๒) ประเมินจากผลงานของผู้เรียนที่นาเสนอตามที่ได้รับมอบหมาย
๕. ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
ที่ Curriculum Mapping ทั้ง ๕ ด้าน ความรับ
ผิดชอบ
หลัก
ความรับ
ผิดชอบ
รอง
๕.๑ ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร
และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศที่ต้องพัฒนา
(๑) สามารถใช้เทคนิคทางคณิตศาสตร์และสถิติ
ในการวิเคราะห์ข้อมูลและแปลความหมายข้อมูลทั้งเชิงปริมาณและ
คุณภาพ

(๒)
สามารถแปลงข้อมูลเป็นข่าวสารที่มีคุณภาพและเหมาะสมต่อการสื่อ
สารทั้งกับบุคคลและกลุ่มคนในสถานการณ์ที่หลากหลาย

(๓) สามารถสื่อสารอย่างมีประสิทธิภาพทั้งการพูด การฟัง
และการเขียน
พร้อมทั้งเลือกใช้รูปแบบของสื่อการนาเสนอได้อย่างเหมาะสม
O
(๔) สามารถใช้สารสนเทศและเทคโนโลยีสื่อสารอย่างเหมาะสม O
หมวดที่ ๕ แผนการสอนและการประเมินผล
๑. แผนการสอน
สัปด
าห์ที่
หัวข้อ/รายละเอียด
จานวน
ชั่วโมง
กิจกรรมการเรียน
การสอน สื่อที่ใช้
(ถ้ามี)
ผู้สอน
๑ แนะนารายวิชา
และวัดผลกิจกรรมการเรียน
การสอน บทนาที่ ๑
- ความหมายของศิลปะทางศาสนา
- องค์ประกอบของศิลปะ
๓ บรรยายโดยใช้
Powerpoint/
ยกตัวอย่างประกอ
บ
อภิปรายกลุ่มจากก
พระครูประ
สุตโพธิคุณ
ดร.
๑๐
มคอ .๓ วิชา ๑๐๓ ๓๑๒ ศิลปะทางศาสนา
สัปด
าห์ที่
หัวข้อ/รายละเอียด
จานวน
ชั่วโมง
กิจกรรมการเรียน
การสอน สื่อที่ใช้
(ถ้ามี)
ผู้สอน
-
ขอบเขตของการศึกษาศิลปะทางศาส
นา
- คุณค่าของศิลปะทางศาสนา
รณีศึกษา
ซักถามประเด็นสง
สัยในการบรรยาย
๒ บทที่ ๒ ศิลปะ กับศาสนา
- มนุษย์กับศาสนา
-
พุทธศิลปะกับการรับใช้พระพุทธศาส
นา
- กาเนิดพุทธศิลป
์ ในพระพุทธศาสนา
-
จุดมุ่งหมายในการสร้างงานพุทธศิลป
์
- หลักธรรมที่มีอิทธิพลต่อการ
สร้างงานพุทธศิลป
์
-
ศิลปะศาสตร์ในการสร้างพระพุทธรูป
- ความสาคัญในการเป็ นสิ่งโอบอุ้ม
งานพุทธศิลป
์
๓ บรรยายโดยใช้
Powerpoint/
ยกตัวอย่างประกอ
บ
อภิปรายกลุ่มจากก
รณีศึกษา
ซักถามประเด็นสง
สัยในการบรรยาย
พระครูประ
สุตโพธิคุณ
ดร.
๓ บทที่ ๓ ศิลปะกับศาสนา
- คริสตศิลปะกับการรับใช้
คริสต์ศาสนา
- กาเนิดคริสตศิลป
์ ในคริสต์ศาสนา
- จุดมุ่งหมายในการสร้างคริสต์ศิลปะ
- ศิลปะศาสตร์ในการสร้างรูปเคารพ
-
ความสาคัญในการเป็นสิ่งโอบอุ้มงาน
คริสต์ศิลปะ
๓ บรรยายโดยใช้
Powerpoint/
ยกตัวอย่างประกอ
บ
อภิปรายกลุ่มจากก
รณีศึกษา
ซักถามประเด็นสง
สัยในการบรรยาย
พระครูประ
สุตโพธิคุณ
ดร.
๔ บทที่ ๔ ศิลปะกับศาสนา
- ศิลปะอิสลามกับการรับใช้ ศาสนา
- กาเนิดศิลปะในศาสนาอิสลาม
-
จุดมุ่งหมายในการสร้างศิลปะทางศา
สนา
-
ศิลปะศาสตร์ในการสร้างศิลปะทางศ
๓ บรรยายโดยใช้
Powerpoint/
ยกตัวอย่างประกอ
บ
อภิปรายกลุ่มจากก
รณีศึกษา
ซักถามประเด็นสง
สัยในการบรรยาย
พระครูประ
สุตโพธิคุณ
ดร.
๑๑
มคอ .๓ วิชา ๑๐๓ ๓๑๒ ศิลปะทางศาสนา
สัปด
าห์ที่
หัวข้อ/รายละเอียด
จานวน
ชั่วโมง
กิจกรรมการเรียน
การสอน สื่อที่ใช้
(ถ้ามี)
ผู้สอน
าสนาอิสลาม
-
ความสาคัญในการเป็นสิ่งโอบอุ้มอิสล
ามศิลปะ
๕ บทที่ ๕ ศิลปะกับศาสนา
- พราหมณ์ฮินดู
ศิลปะกับการรับใช้ศาสนา
- กาเนิดศิลปะในศาสนาพราหมณ์-
ฮินดู
-
จุดมุ่งหมายในการสร้างงานศิลปะใน
ศาสนาพราหมณ์-ฮินดู
- ศิลปะศาสตร์ในการสร้างรูปเคารพ
-
ความสาคัญของศิลปะทางศาสนาในก
ารเป็นสิ่งโอบอุ้มงานศิลป
์
บทที่ ๖ ศิลปะกับศาสนา
-
ศิลปะทางศาสนาของศาสนาซิกซ์กับ
การรับใช้ ศาสนา
- กาเนิดศิลปะในศาสนาซิกซ์
-
จุดมุ่งหมายในการสร้างศิลปะในศาส
นาซิกซ์
-
ศิลปะศาสตร์ในการสร้างศิลปะทางศ
าสนา
-
ความสาคัญในการเป็นสิ่งโอบอุ้มศิล
ปะทางศาสนา
๓ บรรยายโดยใช้
Powerpoint/
ยกตัวอย่างประกอ
บ
อภิปรายกลุ่มจากก
รณีศึกษา
ซักถามประเด็นสง
สัยในการบรรยาย
พระครูประ
สุตโพธิคุณ
ดร.
๖ บทที่ ๗
-
วิวัฒนาการของศิลปะในอินเดียของ
พระพุทธศาสนา
- มูลเหตุแห่งพุทธเจดีย์ ๔ ประเภท
๓ บรรยายโดยใช้
Powerpoint/
ยกตัวอย่างประกอ
บ
อภิปรายกลุ่มจากก
พระครูประ
สุตโพธิคุณ
ดร.
๑๒
มคอ .๓ วิชา ๑๐๓ ๓๑๒ ศิลปะทางศาสนา
สัปด
าห์ที่
หัวข้อ/รายละเอียด
จานวน
ชั่วโมง
กิจกรรมการเรียน
การสอน สื่อที่ใช้
(ถ้ามี)
ผู้สอน
- พุทธศิลปะอินเดียในสมัยต่างๆ
- สกุลช่างศิลปะเมารยะ
- สกุลช่างศิลปะกันธาราษฎร์
- สกุลช่างศิลปะมกุรา
- สกุลช่างศิลปะคุปตะ
รณีศึกษา
ซักถามประเด็นสง
สัยในการบรรยาย
๗ สอบกลางภาค ๓ พระครูประ
สุตโพธิคุณ
ดร.
๘ บทที่ ๘
- วิวัฒนาการของพุทธศิลปะในไทย
- พุทธศิลปะก่อนประวัติศาสตร์
- พุทธศิลปะสมัยสุโขทัย
- พุทธศิลปะสมัยอยุธยา
- พุทธศิลปะสมัยธนบุรี
- พุทธศิลปะสมัยรัตนโกสินทร์
๓ บรรยายโดยใช้
Powerpoint/
ยกตัวอย่างประกอ
บ
อภิปรายกลุ่มจากก
รณีศึกษา
ซักถามประเด็นสง
สัยในการบรรยาย
พระครูประ
สุตโพธิคุณ
ดร.
๙ บทที่๙
-
วิวัฒนาการของศิลปะของคริสตศาส
นาตั้งแต่อิสราเอล-ปาเลสไตน์
-
มูลเหตุของการเกิดศิลปะทางคริสต์ศ
าสนา
-
ปัจจัยของการเกิดศิลปะทางคริสต์ศา
สนา
- ศิลปะทางศาสนาคริสตร์มีคติมาจาก
-
ศิลปะของศาสนาคริสต์เข้ามาอยู่ในสั
งคมไทยรูปแบบต่างๆ
๓ บรรยายโดยใช้
Powerpoint/
ยกตัวอย่างประกอ
บ
อภิปรายกลุ่มจากก
รณีศึกษา
ซักถามประเด็นสง
สัยในการบรรยาย
พระครูประ
สุตโพธิคุณ
ดร.
๑๐ บทที่๑๐
-
วิวัฒนาการของศิลปะของศาสนาพรา
หมณ์-ฮินดู ตั้งแต่อินเดีย
จนถึงประเทศไทย
๓ บรรยายโดยใช้
Powerpoint/
ยกตัวอย่างประกอ
บ
อภิปรายกลุ่มจากก
พระครูประ
สุตโพธิคุณ
ดร.
๑๓
มคอ .๓ วิชา ๑๐๓ ๓๑๒ ศิลปะทางศาสนา
สัปด
าห์ที่
หัวข้อ/รายละเอียด
จานวน
ชั่วโมง
กิจกรรมการเรียน
การสอน สื่อที่ใช้
(ถ้ามี)
ผู้สอน
-
มูลเหตุของการเกิดศิลปะของศาสนา
พราหมณ์-ฮินดู
- ปัจจัยของการเกิดศิลปะทางศาสนา
- ศิลปะทางศาสนาพราหมณ์-ฮินดู
มีคติมาจาก
- ศิลปะของศาสนาพราหมณ์-ฮินดู
ในรูปแบบต่างๆ
รณีศึกษา
ซักถามประเด็นสง
สัยในการบรรยาย
๑๑ บทที่ ๑๑
-
วิวัฒนาการศิลปะของศาสนาอิสลาม
ตั้งแต่ซาอุดิอารเบียถึงประเทศไทย
-
มูลเหตุแห่งศิลปะที่อยู่ในรูปแบบของ
ศาสนาอิสลาม
-
ปัจจัยของการเกิดศิลปะทางศาสนาอิ
สลาม
-
ศิลปะที่มีอยู่ในศาสนาอิสลามมีคติมา
จาก
-
ศิลปะของศาสนาอิสลามเข้ามาอยู่ใน
สังคมไทยในรูปแบบต่างๆ
๓ บรรยายโดยใช้
Powerpoint/
ยกตัวอย่างประกอ
บ
อภิปรายกลุ่มจากก
รณีศึกษา
ซักถามประเด็นสง
สัยในการบรรยาย
พระครูประ
สุตโพธิคุณ
ดร.
๑๒ บทที่๑๒
-
วิวัฒนาการศิลปะของศาสนาซิกซ์ตั้ง
แต่ประเทศอินเดียถึงประเทศไทย
-
มูลเหตุแห่งศิลปะที่อยู่ในรูปแบบของ
ศาสนาซิกซ์
-
ปัจจัยของการเกิดศิลปะทางศาสนาซิ
กซ์
-
ศิลปะที่มีอยู่ในศาสนาซิกซ์ในรูปแบบ
๓ บรรยายโดยใช้
Powerpoint/
ยกตัวอย่างประกอ
บ
อภิปรายกลุ่มจากก
รณีศึกษา
ซักถามประเด็นสง
สัยในการบรรยาย
พระครูประ
สุตโพธิคุณ
ดร.
๑๔
มคอ .๓ วิชา ๑๐๓ ๓๑๒ ศิลปะทางศาสนา
สัปด
าห์ที่
หัวข้อ/รายละเอียด
จานวน
ชั่วโมง
กิจกรรมการเรียน
การสอน สื่อที่ใช้
(ถ้ามี)
ผู้สอน
ต่างๆมาจากคติใดบ้าง
-
ศิลปะของศาสนาซิกซ์ที่มีอยู่ในสังคม
ไทยในรูปแบบต่างๆ
๑๓ บทที่ ๑๓
-
จุดยืนทางปรัชญาในการสร้างศิลปะท
างศาสนาสาคัญของโลก
- คติธรรม ความเชื่อ เทวนิยม
อเทวนิยม
- คติจากพระเจ้า คาสอน พิธีกรรม
- โลกหลังความตาย จิตวิญญาณ
๓ บรรยายโดยใช้
Powerpoint/
ยกตัวอย่างประกอ
บ
อภิปรายกลุ่มจากก
รณีศึกษา
ซักถามประเด็นสง
สัยในการบรรยาย
พระครูประ
สุตโพธิคุณ
ดร.
๑๔ บทที่ ๑๔
-
ศิลปะกับการสร้างจิตสานึกในการศึก
ษาและอนุรักษ์
-
สาเหตุที่ทาให้ศิลปะทางศาสนาชารุดเ
สื่อมโทรมหรือสูญหาย
-
ความสาคัญของการอนุรักษ์ศิลปะทา
งศาสนา
๓ บรรยายโดยใช้
Powerpoint/
ยกตัวอย่างประกอ
บ
อภิปรายกลุ่มจากก
รณีศึกษา
ซักถามประเด็นสง
สัยในการบรรยาย
พระครูประ
สุตโพธิคุณ
ดร.
๑๕ สรุปเนื้อหา ๓ บรรยายโดยใช้
Powerpoint/
ยกตัวอย่างประกอ
บ
อภิปรายกลุ่มจากก
รณีศึกษา
ซักถามประเด็นสง
สัยในการบรรยาย
พระครูประ
สุตโพธิคุณ
ดร.
๑๖ สอบปลายภาค ๓ นิสิตสอบ พระครูประ
สุตโพธิคุณ
ดร.
๒ แผนการประเมินผลการเรียนรู้
๑๕
มคอ .๓ วิชา ๑๐๓ ๓๑๒ ศิลปะทางศาสนา
ที่ วิธีการประเมิน สัปดาห์ที่ประ
เมิน
สัดส่วนของการประเมินผล
๑
สอบกลางภาค
สอบปลายภาค
๘
๑๖
๒๐%
๕๐%
๒
วิเคราะห์กรณีศึกษา ค้นคว้า
การนาเสนอรายงาน
การทางานกลุ่มและผลงาน
การอ่านและสรุปบทความ
การส่งงานตามที่มอบหมาย
ตลอดภาคกา
รศึกษา
๒๐%
๓
การเข้าชั้นเรียน
การมีส่วนร่วม อภิปราย
เสนอความคิดเห็นในชั้นเรียน
ตลอดภาคกา
รศึกษา
๑๐%
หมวดที่ ๖ ทรัพยากรประกอบการเรียนการสอน
๑. เอกสารและตาราหลัก
๑.เอกสารและตาราหลัก
จารุวรรณ พึ่งเทียร, พุทธศิลป
์ ,กรุงเทพ : มหาจุฬาลงกรณ์ราชวิทยาลัย, ๒๕๕๕
ส ม เกี ย ร ติ โล่เพ ช ร รัต น์ , พ ร ะ พุ ท ธ รู ป ศิ ล ป ะ ส มั ย อ ยุ ธ ย า :
ประวัติศาสตร์ชนชาติไทย กับ ปฏิมากรรมในพ ระพุทธศาสนา , กรุงเทพ ฯ,
อมรินทร์พริ้นติ้ง พับลิชชิ่ง, ๒๕๔๘
๒.เอกสารและข้อมูลสาคัญ
กีรติ บุญเจือ. (2522). ชุดปัญหาปรัชญา ปรัชญาศิลปะ. กรุงเทพฯ : ไทยวัฒนา
พานิช จากัด.
อารี สุทธิพันธุ์ .(2 5 3 5 ). ศิล ป ะ นิ ย ม . (พิ มพ์ ค รั้งที่ 4 ). กรุงเทพ ฯ :
สานักพิมพ์โอเดียนสโตร์.
ศรีศักร วัลลิโภดม.(2560). พุทธศาสนาและความเชื่อในสังคมไทย. กรุงเทพฯ :
มูลนิธิเล็ก-ประไพ วิริยพันธุ์.
Adams, D., and Apostolos-Cappadona, D. (2 0 0 2 ) . Art as
religious studies.
Eugene: Ore.
Laeuchli, S. (1980). Religion and Art in Conflict : Introduction to a
Cross- Disciplinary Task. Philadelphia: Fortress.
Mazur, E. M. (2002). Art and the Religious Impulse. Lewisburg:
Bucknell University Press.
Pilgrim,Richard B. (1998). Buddhism and the Arts of Japan. New
York:
Columbia University Press.
๑๖
มคอ .๓ วิชา ๑๐๓ ๓๑๒ ศิลปะทางศาสนา
หมวดที่ ๗ การประเมินและปรับปรุงการดาเนินการของรายวิชา
๑. กลยุทธ์การประเมินประสิทธิผลของรายวิชาโดยนักศึกษา
การป ระเมิน ป ระสิท ธิผ ลใน ราย วิช านี้ ที่ จัด ทาโด ย นัก ศึก ษ า
ได้จัดกิจกรรมในการนาแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาได้ดังนี้
-
ประเมินจากความสามารถในการนาเสนอต่อชั้นเรียนโดยใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
- ป ร ะ เ มิ น จ า ก ค ว า ม ส า ม า ร ถ ใ น ก า ร สื่ อ ส า ร ก า ร อ ธิ บ า ย
การอภิปรายกรณีศึกษาต่างๆ
- ประเมินจากผลงานตามกิจกรรมการเรียนการสอนที่ผู้สอนมอบหมาย
-
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสูตรสู่รา
ยวิชา (Curriculum Mapping)
๒. กลยุทธ์การประเมินการสอน
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์ ดังนี้
- การสังเกตการณ์สอนของผู้ร่วมทีมการสอน
- ผลการสอบ
- การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
๓. การปรับปรุงการสอน
ห ลังจากผ ลการประเมิน การสอน ในข้อ ๒ จึงมีการปรับปรุงการสอน
โดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน
ดังนี้
- สัมมนาการจัดการเรียนการสอน
- การวิจัยในและนอกชั้นเรียน
๔. การทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาในรายวิชา
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ
ต าม ที่ ค าด ห วัง จาก ก าร เรี ย น รู้ใน วิช า ได้จ าก ก าร ส อ บ ถ าม นั ก ศึก ษ า
หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการทดสอบย่อย
และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้
- การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์
อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่
ไม่ใช่อาจารย์ประจาหลักสูตร
มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา
โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
๕. การดาเนินการทบทวนและการวางแผนปรับปรุงประสิทธิผลของรายวิชา
จา กผ ล กา รป ร ะเมิน แล ะท วน ส อบ ผ ลสัม ฤ ทธิ์ป ระสิท ธิผ ล รา ย วิช า
ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอน และรายละเอียดวิชา เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น
ดังนี้
- ป รั บ ป รุ ง ร า ย วิ ช า ทุ ก ๓ ปี
หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ ๔
๑๗
มคอ .๓ วิชา ๑๐๓ ๓๑๒ ศิลปะทางศาสนา
- เ ป ลี่ ย น ห รื อ ส ลั บ อ า จ า ร ย์ ผู้ ส อ น
เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหาที่มาจากงานวิจัย
ของอาจารย์หรือแนวคิดใหม่ๆในอนาคต
ชื่ออาจารย์ผู้รับผิดชอบรายวิชา:
ลงชื่อ พระครูประสุตโพธิคุณ ดร. วันที่รายงาน
ประธานหลักสูตร สาขาวิชาศาสนา:
ลงชื่อ วันที่รายงาน

More Related Content

Similar to มคอ๓ ศิลปะทางศาสนา.doc

ฟิสิกส์วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ฟิสิกส์วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีฟิสิกส์วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ฟิสิกส์วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ชิตชัย โพธิ์ประภา
 
หลักสูตรwin win1
หลักสูตรwin win1หลักสูตรwin win1
หลักสูตรwin win1
kruthailand
 
สายธารปรัชญาคือที่มาของสรรพศาสตร์
สายธารปรัชญาคือที่มาของสรรพศาสตร์สายธารปรัชญาคือที่มาของสรรพศาสตร์
สายธารปรัชญาคือที่มาของสรรพศาสตร์pentanino
 
การวางแผนการจัดการเรียนรู้ วิชาพระพุทธศาสนา ชั้นมัธยมศึกษาปีท
การวางแผนการจัดการเรียนรู้  วิชาพระพุทธศาสนา  ชั้นมัธยมศึกษาปีทการวางแผนการจัดการเรียนรู้  วิชาพระพุทธศาสนา  ชั้นมัธยมศึกษาปีท
การวางแผนการจัดการเรียนรู้ วิชาพระพุทธศาสนา ชั้นมัธยมศึกษาปีทkroobannakakok
 
ประวัติอไ..
ประวัติอไ..ประวัติอไ..
ประวัติอไ..
Lib Rru
 
ประวัติอไ..
ประวัติอไ..ประวัติอไ..
ประวัติอไ..
Librru Phrisit
 
ประวัติอไ..
ประวัติอไ..ประวัติอไ..
ประวัติอไ..
Librru Phrisit
 
โครงสร้างตัวชี้วัดวิทย์.Doc ม.3 ภาค 2
โครงสร้างตัวชี้วัดวิทย์.Doc ม.3 ภาค 2โครงสร้างตัวชี้วัดวิทย์.Doc ม.3 ภาค 2
โครงสร้างตัวชี้วัดวิทย์.Doc ม.3 ภาค 2krupornpana55
 
บรรยายเทคโนโลยีการศึกษา..
บรรยายเทคโนโลยีการศึกษา..บรรยายเทคโนโลยีการศึกษา..
บรรยายเทคโนโลยีการศึกษา..
Wiwat Ch
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๓
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๓แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๓
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๓krusuparat01
 
มคอ.3 historical tourism
มคอ.3  historical tourismมคอ.3  historical tourism
มคอ.3 historical tourismchickyshare
 
แฟ้มสะสมผลงานดีเด่นระดับปริญญาเอก นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
แฟ้มสะสมผลงานดีเด่นระดับปริญญาเอก นายกอบวิทย์  พิริยะวัฒน์แฟ้มสะสมผลงานดีเด่นระดับปริญญาเอก นายกอบวิทย์  พิริยะวัฒน์
แฟ้มสะสมผลงานดีเด่นระดับปริญญาเอก นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์Kobwit Piriyawat
 
พุทธสาวก : พระราธะ ส16101 ป.6
พุทธสาวก :  พระราธะ  ส16101 ป.6พุทธสาวก :  พระราธะ  ส16101 ป.6
พุทธสาวก : พระราธะ ส16101 ป.6
Thanawut Rattanadon
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3
Ch Khankluay
 

Similar to มคอ๓ ศิลปะทางศาสนา.doc (20)

อังกฤษ ปลาย
อังกฤษ ปลายอังกฤษ ปลาย
อังกฤษ ปลาย
 
สังคมศึกษา ปลาย
สังคมศึกษา ปลายสังคมศึกษา ปลาย
สังคมศึกษา ปลาย
 
ฟิสิกส์วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ฟิสิกส์วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีฟิสิกส์วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ฟิสิกส์วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
 
หลักสูตรwin win1
หลักสูตรwin win1หลักสูตรwin win1
หลักสูตรwin win1
 
สายธารปรัชญาคือที่มาของสรรพศาสตร์
สายธารปรัชญาคือที่มาของสรรพศาสตร์สายธารปรัชญาคือที่มาของสรรพศาสตร์
สายธารปรัชญาคือที่มาของสรรพศาสตร์
 
การวางแผนการจัดการเรียนรู้ วิชาพระพุทธศาสนา ชั้นมัธยมศึกษาปีท
การวางแผนการจัดการเรียนรู้  วิชาพระพุทธศาสนา  ชั้นมัธยมศึกษาปีทการวางแผนการจัดการเรียนรู้  วิชาพระพุทธศาสนา  ชั้นมัธยมศึกษาปีท
การวางแผนการจัดการเรียนรู้ วิชาพระพุทธศาสนา ชั้นมัธยมศึกษาปีท
 
ประวัติอไ..
ประวัติอไ..ประวัติอไ..
ประวัติอไ..
 
ประวัติอไ..
ประวัติอไ..ประวัติอไ..
ประวัติอไ..
 
ประวัติอไ..
ประวัติอไ..ประวัติอไ..
ประวัติอไ..
 
โครงสร้างตัวชี้วัดวิทย์.Doc ม.3 ภาค 2
โครงสร้างตัวชี้วัดวิทย์.Doc ม.3 ภาค 2โครงสร้างตัวชี้วัดวิทย์.Doc ม.3 ภาค 2
โครงสร้างตัวชี้วัดวิทย์.Doc ม.3 ภาค 2
 
010
010010
010
 
90 โครงงานคณิตศาสตร์ ตอนที่3_การถอดรากที่3
90 โครงงานคณิตศาสตร์ ตอนที่3_การถอดรากที่390 โครงงานคณิตศาสตร์ ตอนที่3_การถอดรากที่3
90 โครงงานคณิตศาสตร์ ตอนที่3_การถอดรากที่3
 
ปรัชญาและปรัชญาการศึกษา
ปรัชญาและปรัชญาการศึกษาปรัชญาและปรัชญาการศึกษา
ปรัชญาและปรัชญาการศึกษา
 
บรรยายเทคโนโลยีการศึกษา..
บรรยายเทคโนโลยีการศึกษา..บรรยายเทคโนโลยีการศึกษา..
บรรยายเทคโนโลยีการศึกษา..
 
มคอ ๓ วิชาธรรมภาคปฏิบัติ ๕
มคอ ๓ วิชาธรรมภาคปฏิบัติ ๕มคอ ๓ วิชาธรรมภาคปฏิบัติ ๕
มคอ ๓ วิชาธรรมภาคปฏิบัติ ๕
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๓
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๓แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๓
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๓
 
มคอ.3 historical tourism
มคอ.3  historical tourismมคอ.3  historical tourism
มคอ.3 historical tourism
 
แฟ้มสะสมผลงานดีเด่นระดับปริญญาเอก นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
แฟ้มสะสมผลงานดีเด่นระดับปริญญาเอก นายกอบวิทย์  พิริยะวัฒน์แฟ้มสะสมผลงานดีเด่นระดับปริญญาเอก นายกอบวิทย์  พิริยะวัฒน์
แฟ้มสะสมผลงานดีเด่นระดับปริญญาเอก นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
 
พุทธสาวก : พระราธะ ส16101 ป.6
พุทธสาวก :  พระราธะ  ส16101 ป.6พุทธสาวก :  พระราธะ  ส16101 ป.6
พุทธสาวก : พระราธะ ส16101 ป.6
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3
 

Recently uploaded

1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdfงานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
Prachyanun Nilsook
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการฝึกสมาธิในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการฝึกสมาธิในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการฝึกสมาธิในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการฝึกสมาธิในพระพุทธศาสนา
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdfแนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 

Recently uploaded (10)

1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdfงานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
 
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการฝึกสมาธิในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการฝึกสมาธิในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการฝึกสมาธิในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการฝึกสมาธิในพระพุทธศาสนา
 
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdfแนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
 

มคอ๓ ศิลปะทางศาสนา.doc

  • 1. ๑ มคอ .๓ วิชา ๑๐๓ ๓๑๒ ศิลปะทางศาสนา มคอ. ๓ รายละเอียดของรายวิชา ๑๐๓ ๓๑๒ ศิลปะทางศาสนา ชื่อสถาบันอุดมศึกษา มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขต/คณะ/ภาควิชา หน่วยวิทยบริการ คณะพุทธศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วัดหงษ์ประดิษฐาราม จังหวัดสงขลา หมวดที่ ๑ ข้อมูลโดยทั่วไป ๑. รหัสและชื่อรายวิชา ๑๐๓๓๑๒ ศิลปะทางศาสนา ๒. จานวนหน่วยกิต ๓ (๓-๐-๖) ๓. หลักสูตรและประเภทของรายวิชา พุทธศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาพระพุทธศาสนา ๔. อาจารย์ผู้รับผิดชอบรายวิชาและอาจารย์ผู้สอน อาจารย์ประจาวิชา พระครูประสุตโพธิคุณ ดร. ๕. ภาคการศึกษา / ชั้นปี ที่เรียน ภาคการศึกษาที่ ๑/๒๕๖๕ ชั้นปีที่ ๓ สาขาวิชาศาสนา ชั้นปีที่ ๔ สาขาวิชาศาสนา ๖. รายวิชาที่ต้องเรียนมาก่อน (Pre-requisite) (ถ้ามี) ไม่มี ๗. รายวิชาที่ต้องเรียนพร้อมกัน (Co-requisites) (ถ้ามี) ไม่มี ๘. สถานที่เรียน หน่วยวิทยบริการ คณะพุทธศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วัดห งษ์ประดิษฐาราม จังห วัดสงข ลา ๘๙๕ ตาบลห าด ใหญ่ อาเภอห าดให ญ่ จังหวัดสงขลา ๙๐๑๑๐ ๙. วันที่จัดทาหรือปรับปรุงรายละเอียดของรายวิชาครั้งล่าสุด พ.ศ.๒๕๖๒ หมวดที่ ๒ จุดมุ่งหมายและวัตถุประสงค์
  • 2. ๒ มคอ .๓ วิชา ๑๐๓ ๓๑๒ ศิลปะทางศาสนา ๑. จุดมุ่งหมายของรายวิชา เพื่อให้นิสิตทราบความเป็นมาเรื่องของศิลปะทางศาสนา ของแต่ละศาสนาที่สาคัญ เพื่อให้เกิดความรู้ความเข้าใจและซาบซึ้งในศิลปะทางศาสนา รวมทั้งเห็นคุณค่าความงามและปรัชญาธรรมตามศาสนา ลักษณะโดยเฉพาะที่ปรากฏในพุทธศาสนาและรู้จักที่จะอนุรักษ์พุทธศิลปะให้เป็ นมรด กไทย มรดกโลก วัตถุประสงค์ ก. วัตถุประสงค์การเรียนรู้ หลังเรียนจบรายวิชานี้แล้ว ผู้เรียนสามารถ ๑. เพื่อเพิ่มเติมเนื้อหาความเป็นมาของศิลปะทางศาสนาของแต่ละศาสนาให้คลอบคลุมยิ่ งขึ้น ๒. อธิบายความหมาย หลักธรรมคาสอนและปรัชญาธรรม คติธรรม ที่มีอยู่ในแต่ละศาสนา ๓. อธิบายรูปแบบของปัญหาและวิธีแก้ไขปัญหาความขัดแย้งเชิงศิลปะทางศาสนาได้ ๔. มีความและสามารถวิเคราะห์ข้อเปรียบเทียบระหว่างรูปแบบและวิธีแก้ไขปัญหาเชิงศิ ลปะทางศาสนาได้ ๕. รู้วิธีและเข้าใจการประยุกต์ใช้รูปแบบและวิธีแก้ไขปัญหาความขัดแย้งโดยวิถีทางศิลป ะของศาสนาเพื่อการแก้ไข ปัญหาสังคมปัจจุบันได้ ข. วัตถุประสงค์เชิงคุณธรรม ๑. มีความตะหนักถึงแนวคิดและกระบวนการเสริมสร้างความรู้ความเข้าใจโดยผ่านทาง ศิลปะของแต่ละศาสนา ทั้งในระดับชาติและในระดับนานาชาติ ๒. มีความสามารถในการวิเคราะห์แนวทางการแก้ไขปัญหาความขัดแย้งโดยพุทธวิธี และศิลปะทางศาสนาต่างๆ ๓. มีความสามารถในการประยุกต์ใช้รูปแบบและวิธีแก้ไขปัญหาในทางพระพุทธศาสนา และศิลปะทางศาสนาของแต่ละศาสนา ๒. วัตถุประสงค์ในการการพัฒนา/ปรับปรุงรายวิชา ๑. กาลังดาเนินการทาสื่อการเรียนการสอนโดย e-learning ๒. เปลี่ยนแปลงเนื้อหาการเรียนการสอนให้เป็นไปตามหลักฐานเชิงประจักษ์
  • 3. ๓ มคอ .๓ วิชา ๑๐๓ ๓๑๒ ศิลปะทางศาสนา หมวดที่ ๓ ลักษณะและการดาเนินการ ๑. คาอธิบายรายวิชา ศึกษ าวิเค ราะห์ ค วาม คิด ค วามเชื่ อ ทัศ นค ติ ค่านิย ม วิถีชี วิต ข อ ง แต่ละยุคแต่ละสมัยจน ถึงปัจจุบันที่ก่อให้เกิดศิลปะ ปรัชญา คติธรรม คาสอน ที่มีอยู่ในศิลปะคาสอนของแต่ละศาสนานั้นๆ เพื่อจะได้ปรัชญา คติธรรม คาสอน ที่ มี อ ยู่ ใน ศิ ล ป ะ ข อ งส า ส น าม าร้อ ย เรี ย งเพื่ อ ก า รอ ยู่ ร่วม กัน โ ด ย สัน ติ โดยผ่านศิลปะทางศาสนา ๒. จานวนชั่วโมงที่ใช้ต่อภาคการศึกษา บรรยาย สอนเสริม การฝึกปฏิบัติ/งาน ภาคสนาม/การฝึกง าน การศึกษาด้วยตนเอง บรรยาย ๔๕ ชั่วโมงต่อภาคการ ศึกษา สอนเสริมตามควา มต้องการของนิสิตเ ฉพาะราย ไม่มีการฝึกปฏิบัติง านภาคสนาม การศึกษาด้วยตนเอง ๖ ชั่วโมงต่อสัปดาห์ ๓. จานวนชั่วโมงต่อสัปดาห์ที่อาจารย์ให้คาปรึกษาและแนะนาทางวิชาการแก่นักศึกษาเป็น รายบุคคล - อาจารย์ประจารายวิชา ประกาศเวลาให้คาปรึกษาผ่านเวปไซด์คณะพุทธศาสตร์ - อาจารย์จัดเวลาให้คาปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือ รายกลุ่มตามความต้องการ ๑ ชั่วโมงต่อสัปดาห์ (เฉพาะรายที่ต้องการ) หมวดที่ ๔ การพัฒนาการเรียนรู้ของนักศึกษา ตารางการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานการเรียนรู้จากหลักสูตรสู่รายวิชา (Curriculum Mapping) ที่ Curriculum Mapping ทั้ง ๕ ด้าน ความรับ ผิดชอบ หลัก ความรับ ผิดชอบ รอง ๑. ด้านคุณธรรม จริยธรรม (๑) ตระหนักในคุณค่าและคุณธรรม จริยธรรม เสียสละ มีวินัย และซื่อสัตย์สุจริต  (๒) ตรงต่อเวลา  (๓) มีภาวะความเป็นผู้นาและผู้ตาม O
  • 4. ๔ มคอ .๓ วิชา ๑๐๓ ๓๑๒ ศิลปะทางศาสนา สามารถทางานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งและลาดับความ สาคัญ (๔) เคารพสิทธิและรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น รวมทั้งเคารพในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์  (๕) เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับต่าง ๆ ขององค์กรและสังคม  ๒. ด้านความรู้ (๑) มีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการและทฤษฎีที่สาคัญในเนื้อ หาสาขาวิชาศาสนาต่างๆ  (๒) สามารถวิเคราะห์ปัญหาทางสังคมโดยใช้แนวคิดทางด้านศิลปะทาง ศาสนารวมทั้งประยุกต์ความรู้ ทักษะ และการใช้เครื่องมือที่เหมาะสมกับการแก้ไขปัญหาในสังคม  (๓) สามารถติดตามความก้าวหน้าแนวคิดใหม่ๆทางด้านศาสนา พร้อมทั้งเข้าใจวิธีการนาไปประยุกต์ใช้ O (๔) รู้ เข้าใจและสนใจพัฒนาความรู้ ความชานาญทางด้านศิลปะของศาสนาต่างๆอย่างต่อเนื่อง  (๕) มีความรู้ ความเข้าใจในกระบวนการวิจัยและใช้เป็นเครื่องมือในการแสวงหา วิทยาการใหม่ๆทางด้านคาสอนทางศาสนา  (๖) มีความรู้ความเข้าใจหลักธรรมในทางศาสนาที่เป็นพื้นฐานของชีวิต ที่ครอบคลุมทั้งวิทยาศาสตร์มนุษยศาสตร์ สังคมศาสตร์ กฎหมายและการปกครองในระบอบประชาธิปไตย  (๗) สามารถบูรณาการความรู้ในสาขาวิชาศาสนากับความรู้ในศาสตร์อื่ น ๆ ที่เกี่ยวข้อง O ๓. ด้านทักษะทางปัญญา (๑) คิดอย่างมีวิจารณญาณและอย่างเป็นระบบ  (๒) สามารถสืบค้น ตีความ และประเมินสารสนเทศ เพื่อใช้ในการแก้ไขปัญหาอย่างสร้างสรรค์  (๓) สามารถรวบรวม ศึกษา วิเคราะห์ และสรุปประเด็นปัญหาและความต้องการ O (๔) สามารถประยุกต์ใช้ความรู้ทางศาสนาได้อย่างเหมาะสม O
  • 5. ๕ มคอ .๓ วิชา ๑๐๓ ๓๑๒ ศิลปะทางศาสนา ๔. ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ (๑) สามารถสื่อสารทั้งภาษาไทยและภาษาต่างประเทศกับกลุ่มคนหลาก หลายได้อย่างมีประสิทธิภาพ  (๒) สามารถให้ความช่วยเหลือและอานวยความสะดวกในการแก้ปัญหา สถานการณ์ต่าง ๆ ทั้งในบทบาทของผู้นา หรือในบทบาทของผู้ร่วมทีมทางาน  (๓) สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาชี้นาสังคมในประเด็นที่เหมาะสม  (๔)มีความรับผิดชอบในการกระทาของตนเองและรับผิดชอบงานใ นกลุ่ม O ๕. ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ (๑) สามารถใช้เทคนิคทางคณิตศาสตร์และสถิติ ในการวิเคราะห์ข้อมูลและแปลความหมายข้อมูลทั้งเชิงปริมาณและ คุณภาพ  (๒) สามารถแปลงข้อมูลเป็นข่าวสารที่มีคุณภาพและเหมาะสมต่อการสื่อ สารทั้งกับบุคคลและกลุ่มคนในสถานการณ์ที่หลากหลาย  (๓) สามารถสื่อสารอย่างมีประสิทธิภาพทั้งการพูด การฟัง และการเขียน พร้อมทั้งเลือกใช้รูปแบบของสื่อการนาเสนอได้อย่างเหมาะสม O (๔) สามารถใช้สารสนเทศและเทคโนโลยีสื่อสารอย่างเหมาะสม O อธิบายสัญลักษณ์  รับผิดชอบหลัก Oรับผิดชอบรอง วิธีที่ใช้ ๑. คุณธรรม จริยธรรม พัฒนานิสิตให้มีคุณธรรม จริยธรรมในการปฏิบัติตนตามหลักสิทธิมนุษยชนและหลักการทางระพุทธศาสนาที่เกี่ยวข้ อง เพื่อให้เกิดความเคารพต่อตนเองและผู้อื่นได้อย่างเหมาะสม โดยมีคุณธรรม จริยธรรม ตามคุณสมบัติในรายวิชา ดังนี้ ๑.๑ คุณธรรม จริยธรรมที่ต้องพัฒนา ที่ Curriculum Mapping ทั้ง ๕ ด้าน ความรับผิด ชอบ หลัก ความรับผิด ชอบ รอง ๑. ด้านคุณธรรม จริยธรรม
  • 6. ๖ มคอ .๓ วิชา ๑๐๓ ๓๑๒ ศิลปะทางศาสนา (๑) ตระหนักในคุณค่าและคุณธรรม จริยธรรม เสียสละ มีวินัย และซื่อสัตย์สุจริต  (๒) ตรงต่อเวลา  (๓) มีภาวะความเป็นผู้นาและผู้ตาม สามารถทางานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งและลา ดับความสาคัญ O (๔) เคารพสิทธิและรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น รวมทั้งเคารพในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์  (๕) เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับต่าง ๆ ขององค์กรและสังคม  ๑.๒ กลยุทธ์การสอนที่ใช้พัฒนาการเรียนรู้ด้านคุณธรรม จริยธรรม  (๑) มีการสอดแทรกเรื่องคุณธรรม จริยธรรมในการเรียนการสอน  (๒) การเป็นต้นแบบที่ดีของผู้สอน  (๓) เรียนรู้จากกรณีตัวอย่างประเด็นปัญหาทางด้านคุณธรรม จริยธรรม เพื่อให้ผู้เรียนฝึกการแก้ปัญหาการเรียนรู้จากสถานการณ์จริง การจัดกิจกรรมในชั้นเรียนหรือนอกชั้นเรียน  (๑) มีการสอดแทรกเรื่องคุณธรรม จริยธรรมในการเรียนการสอน  (๒) การเป็นต้นแบบที่ดีของผู้สอน ๑.๓ กลยุทธ์การประเมินผลการเรียนรู้ด้านคุณธรรม จริยธรรม  (๑) ประเมินโดยผู้สอนและเพื่อน สังเกตพฤติกรรมผู้เรียน  (๒) ประเมินจากผลงานและความรับผิดชอบในงานที่ได้รับมอบหมาย  (๓) ประเมินคุณธรรม จริยธรรมของบัณฑิตที่สาเร็จการศึกษาโดยหน่วยงานผู้ใช้บัณฑิต ๒. ความรู้ พัฒนาความรู้ด้านสิทธิมนุษยชนและหลักการทางพระพุทธศาสนากับหลักสิทธิมนุษ ยชน โดยผ่านศิลปะทางศาสนา รวมทั้งสถานการณ์ด้านสิทธิมนุษยชนในระดับต่างๆ ที่ Curriculum Mapping ทั้ง ๕ ด้าน ความรับ ผิดชอบ หลัก ความรับ ผิดชอบ รอง ๒.๑ ความรู้ที่ต้องได้รับ (๑) มีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการและทฤษฎีที่สาคัญในเนื้ อหาสาขาวิชาศาสนาต่างๆ  (๒) สามารถวิเคราะห์ปัญหาทางสังคมโดยใช้แนวคิดทางด้านคัมภีร์ทา งศาสนารวมทั้งประยุกต์ความรู้ ทักษะ 
  • 7. ๗ มคอ .๓ วิชา ๑๐๓ ๓๑๒ ศิลปะทางศาสนา และการใช้เครื่องมือที่เหมาะสมกับการแก้ไขปัญหาในสังคม (๓) สามารถติดตามความก้าวหน้าแนวคิดใหม่ๆทางด้านศาสนา พร้อมทั้งเข้าใจวิธีการนาไปประยุกต์ใช้ O (๔) รู้ เข้าใจและสนใจพัฒนาความรู้ ความชานาญทางด้านศิลปะของศาสนาต่างๆอย่างต่อเนื่อง  (๕) มีความรู้ ความเข้าใจในกระบวนการวิจัยและใช้เป็นเครื่องมือในการแสวง หาวิทยาการใหม่ๆทางด้านคาสอนทางศาสนา  (๖) มีความรู้ความเข้าใจหลักธรรมในทางศาสนาที่เป็นพื้นฐานของชีวิ ตที่ครอบคลุมทั้งวิทยาศาสตร์มนุษยศาสตร์ สังคมศาสตร์ กฎหมายและการปกครองในระบอบประชาธิปไตย  (๗) สามารถบูรณาการความรู้ในสาขาวิชาศาสนากับความรู้ในศาสตร์ อื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง O ๒.๒ กลยุทธ์การสอนที่ใช้พัฒนาการเรียนรู้ด้านความรู้  (๑) สอนแบบบรรยายโดยใช้ภาพประกอบ  (๒) สอนโดยใช้กรณีศึกษา  (๓) เรียนรู้โดยการปฏิบัติ  (๔) เรียนรู้แบบร่วมมือ (๕) ศึกษาดูงาน ๒.๓ กลยุทธ์การประเมินผลการเรียนรู้ด้านความรู้  (๑) การทดสอบย่อย  (๒) การสอบกลางภาคและปลายภาคเรียน  (๓) ประเมินจากรายงาน หรืองานที่มอบหมาย  (๔) ประเมินจากการนาเสนอผลงาน ๓. ทักษะทางปัญญา ที่ Curriculum Mapping ทั้ง ๕ ด้าน ความรับผิดชอ บ หลัก ความรับผิดชอ บ รอง ๓.๑ ทักษะทางปัญญาที่ต้องพัฒนา (๑) คิดอย่างมีวิจารณญาณและอย่างเป็นระบบ  (๒) สามารถสืบค้น ตีความ และประเมินสารสนเทศ เพื่อใช้ในการแก้ไขปัญหาอย่างสร้างสรรค์  (๓) สามารถรวบรวม ศึกษา วิเคราะห์ O
  • 8. ๘ มคอ .๓ วิชา ๑๐๓ ๓๑๒ ศิลปะทางศาสนา และสรุปประเด็นปัญหาและความต้องการ (๔) สามารถประยุกต์ใช้ความรู้ทางศาสนาได้อย่างเหมาะ สม O ๓.๒ กลยุทธ์การสอนที่ใช้พัฒนาการเรียนรู้ด้านทักษะทางปัญญา  (๑) เรียนรู้กรณีศึกษาและร่วมกันอภิปรายกลุ่ม  (๒) รายวิชาปฏิบัติ ผู้เรียนต้องฝึกปฏิบัติเพื่อให้เกิดการเรียนรู้ สามารถนาไปประยุกต์ใช้ได้  (๓) มีการศึกษาค้นคว้าในรูปรายงาน โครงงาน และนาเสนอ  (๔) ศึกษาดูงาน เรียนรู้จากสภาพจริงเพื่อให้เกิดประสบการณ์ตรง ๓.๓ กลยุทธ์การประเมินผลการเรียนรู้ด้านทักษะทางปัญญา  (๑) การทดสอบย่อย  (๒) การสอบกลางภาคและปลายภาคเรียน  (๓) ประเมินจากรายงานหรืองานที่มอบหมาย  (๔) ประเมินจากการนาเสนอผลงาน ๔.ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ ที่ Curriculum Mapping ทั้ง ๕ ด้าน ความรับผิ ดชอบ หลัก ความรับผิ ดชอบ รอง ๔.๑ ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบที่ต้องพั ฒนา (๑) สามารถสื่อสารทั้งภาษาไทยและภาษาต่างประเทศกับกลุ่มคนห ลากหลายได้อย่างมีประสิทธิภาพ  (๒) สามารถให้ความช่วยเหลือและอานวยความสะดวกในการแก้ปั ญหาสถานการณ์ต่าง ๆ ทั้งในบทบาทของผู้นา หรือในบทบาทของผู้ร่วมทีมทางาน  (๓) สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาชี้นาสังคมในประเด็นที่เหมาะสม  (๔)มีความรับผิดชอบในการกระทาของตนเองและรับผิดชอบงา นในกลุ่ม O ๔.๒ กลยุทธ์การสอนที่ใช้พัฒนาการเรียนรู้ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล และความรับผิดชอบ  (๑)
  • 9. ๙ มคอ .๓ วิชา ๑๐๓ ๓๑๒ ศิลปะทางศาสนา มีการมอบหมายงานให้ผู้เรียนทางานเป็นกลุ่มเพื่อเรียนรู้ความรับผิดชอบและการเป็ นส มาชิกที่ดีของกลุ่ม  (๒) กลยุทธ์การสอนที่เน้นการสร้างความสัมพันธ์ที่เอื้อต่อการเรียนรู้ ระหว่างผู้เรียนกับผู้เรียนและผู้เรียนกับผู้สอน  (๓) จัดกิจกรรมการเรียนการสอนเพื่อให้ผู้เรียนเรียนรู้การปรับตัวเข้ากับสถานการณ์ การจัดการอารมณ์ การมีมนุษยสัมพันธ์ที่ดีกับบุคลอื่น ๔.๓ กลยุทธ์การประเมินผลการเรียนรู้ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล และความรับผิดชอบ  (๑) ประเมินจากพฤติกรรมและการแสดงออกของผู้เรียนระหว่างการเรียนการสอน และการทางานร่วมกับเพื่อน  (๒) ประเมินจากผลงานของผู้เรียนที่นาเสนอตามที่ได้รับมอบหมาย ๕. ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ที่ Curriculum Mapping ทั้ง ๕ ด้าน ความรับ ผิดชอบ หลัก ความรับ ผิดชอบ รอง ๕.๑ ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศที่ต้องพัฒนา (๑) สามารถใช้เทคนิคทางคณิตศาสตร์และสถิติ ในการวิเคราะห์ข้อมูลและแปลความหมายข้อมูลทั้งเชิงปริมาณและ คุณภาพ  (๒) สามารถแปลงข้อมูลเป็นข่าวสารที่มีคุณภาพและเหมาะสมต่อการสื่อ สารทั้งกับบุคคลและกลุ่มคนในสถานการณ์ที่หลากหลาย  (๓) สามารถสื่อสารอย่างมีประสิทธิภาพทั้งการพูด การฟัง และการเขียน พร้อมทั้งเลือกใช้รูปแบบของสื่อการนาเสนอได้อย่างเหมาะสม O (๔) สามารถใช้สารสนเทศและเทคโนโลยีสื่อสารอย่างเหมาะสม O หมวดที่ ๕ แผนการสอนและการประเมินผล ๑. แผนการสอน สัปด าห์ที่ หัวข้อ/รายละเอียด จานวน ชั่วโมง กิจกรรมการเรียน การสอน สื่อที่ใช้ (ถ้ามี) ผู้สอน ๑ แนะนารายวิชา และวัดผลกิจกรรมการเรียน การสอน บทนาที่ ๑ - ความหมายของศิลปะทางศาสนา - องค์ประกอบของศิลปะ ๓ บรรยายโดยใช้ Powerpoint/ ยกตัวอย่างประกอ บ อภิปรายกลุ่มจากก พระครูประ สุตโพธิคุณ ดร.
  • 10. ๑๐ มคอ .๓ วิชา ๑๐๓ ๓๑๒ ศิลปะทางศาสนา สัปด าห์ที่ หัวข้อ/รายละเอียด จานวน ชั่วโมง กิจกรรมการเรียน การสอน สื่อที่ใช้ (ถ้ามี) ผู้สอน - ขอบเขตของการศึกษาศิลปะทางศาส นา - คุณค่าของศิลปะทางศาสนา รณีศึกษา ซักถามประเด็นสง สัยในการบรรยาย ๒ บทที่ ๒ ศิลปะ กับศาสนา - มนุษย์กับศาสนา - พุทธศิลปะกับการรับใช้พระพุทธศาส นา - กาเนิดพุทธศิลป ์ ในพระพุทธศาสนา - จุดมุ่งหมายในการสร้างงานพุทธศิลป ์ - หลักธรรมที่มีอิทธิพลต่อการ สร้างงานพุทธศิลป ์ - ศิลปะศาสตร์ในการสร้างพระพุทธรูป - ความสาคัญในการเป็ นสิ่งโอบอุ้ม งานพุทธศิลป ์ ๓ บรรยายโดยใช้ Powerpoint/ ยกตัวอย่างประกอ บ อภิปรายกลุ่มจากก รณีศึกษา ซักถามประเด็นสง สัยในการบรรยาย พระครูประ สุตโพธิคุณ ดร. ๓ บทที่ ๓ ศิลปะกับศาสนา - คริสตศิลปะกับการรับใช้ คริสต์ศาสนา - กาเนิดคริสตศิลป ์ ในคริสต์ศาสนา - จุดมุ่งหมายในการสร้างคริสต์ศิลปะ - ศิลปะศาสตร์ในการสร้างรูปเคารพ - ความสาคัญในการเป็นสิ่งโอบอุ้มงาน คริสต์ศิลปะ ๓ บรรยายโดยใช้ Powerpoint/ ยกตัวอย่างประกอ บ อภิปรายกลุ่มจากก รณีศึกษา ซักถามประเด็นสง สัยในการบรรยาย พระครูประ สุตโพธิคุณ ดร. ๔ บทที่ ๔ ศิลปะกับศาสนา - ศิลปะอิสลามกับการรับใช้ ศาสนา - กาเนิดศิลปะในศาสนาอิสลาม - จุดมุ่งหมายในการสร้างศิลปะทางศา สนา - ศิลปะศาสตร์ในการสร้างศิลปะทางศ ๓ บรรยายโดยใช้ Powerpoint/ ยกตัวอย่างประกอ บ อภิปรายกลุ่มจากก รณีศึกษา ซักถามประเด็นสง สัยในการบรรยาย พระครูประ สุตโพธิคุณ ดร.
  • 11. ๑๑ มคอ .๓ วิชา ๑๐๓ ๓๑๒ ศิลปะทางศาสนา สัปด าห์ที่ หัวข้อ/รายละเอียด จานวน ชั่วโมง กิจกรรมการเรียน การสอน สื่อที่ใช้ (ถ้ามี) ผู้สอน าสนาอิสลาม - ความสาคัญในการเป็นสิ่งโอบอุ้มอิสล ามศิลปะ ๕ บทที่ ๕ ศิลปะกับศาสนา - พราหมณ์ฮินดู ศิลปะกับการรับใช้ศาสนา - กาเนิดศิลปะในศาสนาพราหมณ์- ฮินดู - จุดมุ่งหมายในการสร้างงานศิลปะใน ศาสนาพราหมณ์-ฮินดู - ศิลปะศาสตร์ในการสร้างรูปเคารพ - ความสาคัญของศิลปะทางศาสนาในก ารเป็นสิ่งโอบอุ้มงานศิลป ์ บทที่ ๖ ศิลปะกับศาสนา - ศิลปะทางศาสนาของศาสนาซิกซ์กับ การรับใช้ ศาสนา - กาเนิดศิลปะในศาสนาซิกซ์ - จุดมุ่งหมายในการสร้างศิลปะในศาส นาซิกซ์ - ศิลปะศาสตร์ในการสร้างศิลปะทางศ าสนา - ความสาคัญในการเป็นสิ่งโอบอุ้มศิล ปะทางศาสนา ๓ บรรยายโดยใช้ Powerpoint/ ยกตัวอย่างประกอ บ อภิปรายกลุ่มจากก รณีศึกษา ซักถามประเด็นสง สัยในการบรรยาย พระครูประ สุตโพธิคุณ ดร. ๖ บทที่ ๗ - วิวัฒนาการของศิลปะในอินเดียของ พระพุทธศาสนา - มูลเหตุแห่งพุทธเจดีย์ ๔ ประเภท ๓ บรรยายโดยใช้ Powerpoint/ ยกตัวอย่างประกอ บ อภิปรายกลุ่มจากก พระครูประ สุตโพธิคุณ ดร.
  • 12. ๑๒ มคอ .๓ วิชา ๑๐๓ ๓๑๒ ศิลปะทางศาสนา สัปด าห์ที่ หัวข้อ/รายละเอียด จานวน ชั่วโมง กิจกรรมการเรียน การสอน สื่อที่ใช้ (ถ้ามี) ผู้สอน - พุทธศิลปะอินเดียในสมัยต่างๆ - สกุลช่างศิลปะเมารยะ - สกุลช่างศิลปะกันธาราษฎร์ - สกุลช่างศิลปะมกุรา - สกุลช่างศิลปะคุปตะ รณีศึกษา ซักถามประเด็นสง สัยในการบรรยาย ๗ สอบกลางภาค ๓ พระครูประ สุตโพธิคุณ ดร. ๘ บทที่ ๘ - วิวัฒนาการของพุทธศิลปะในไทย - พุทธศิลปะก่อนประวัติศาสตร์ - พุทธศิลปะสมัยสุโขทัย - พุทธศิลปะสมัยอยุธยา - พุทธศิลปะสมัยธนบุรี - พุทธศิลปะสมัยรัตนโกสินทร์ ๓ บรรยายโดยใช้ Powerpoint/ ยกตัวอย่างประกอ บ อภิปรายกลุ่มจากก รณีศึกษา ซักถามประเด็นสง สัยในการบรรยาย พระครูประ สุตโพธิคุณ ดร. ๙ บทที่๙ - วิวัฒนาการของศิลปะของคริสตศาส นาตั้งแต่อิสราเอล-ปาเลสไตน์ - มูลเหตุของการเกิดศิลปะทางคริสต์ศ าสนา - ปัจจัยของการเกิดศิลปะทางคริสต์ศา สนา - ศิลปะทางศาสนาคริสตร์มีคติมาจาก - ศิลปะของศาสนาคริสต์เข้ามาอยู่ในสั งคมไทยรูปแบบต่างๆ ๓ บรรยายโดยใช้ Powerpoint/ ยกตัวอย่างประกอ บ อภิปรายกลุ่มจากก รณีศึกษา ซักถามประเด็นสง สัยในการบรรยาย พระครูประ สุตโพธิคุณ ดร. ๑๐ บทที่๑๐ - วิวัฒนาการของศิลปะของศาสนาพรา หมณ์-ฮินดู ตั้งแต่อินเดีย จนถึงประเทศไทย ๓ บรรยายโดยใช้ Powerpoint/ ยกตัวอย่างประกอ บ อภิปรายกลุ่มจากก พระครูประ สุตโพธิคุณ ดร.
  • 13. ๑๓ มคอ .๓ วิชา ๑๐๓ ๓๑๒ ศิลปะทางศาสนา สัปด าห์ที่ หัวข้อ/รายละเอียด จานวน ชั่วโมง กิจกรรมการเรียน การสอน สื่อที่ใช้ (ถ้ามี) ผู้สอน - มูลเหตุของการเกิดศิลปะของศาสนา พราหมณ์-ฮินดู - ปัจจัยของการเกิดศิลปะทางศาสนา - ศิลปะทางศาสนาพราหมณ์-ฮินดู มีคติมาจาก - ศิลปะของศาสนาพราหมณ์-ฮินดู ในรูปแบบต่างๆ รณีศึกษา ซักถามประเด็นสง สัยในการบรรยาย ๑๑ บทที่ ๑๑ - วิวัฒนาการศิลปะของศาสนาอิสลาม ตั้งแต่ซาอุดิอารเบียถึงประเทศไทย - มูลเหตุแห่งศิลปะที่อยู่ในรูปแบบของ ศาสนาอิสลาม - ปัจจัยของการเกิดศิลปะทางศาสนาอิ สลาม - ศิลปะที่มีอยู่ในศาสนาอิสลามมีคติมา จาก - ศิลปะของศาสนาอิสลามเข้ามาอยู่ใน สังคมไทยในรูปแบบต่างๆ ๓ บรรยายโดยใช้ Powerpoint/ ยกตัวอย่างประกอ บ อภิปรายกลุ่มจากก รณีศึกษา ซักถามประเด็นสง สัยในการบรรยาย พระครูประ สุตโพธิคุณ ดร. ๑๒ บทที่๑๒ - วิวัฒนาการศิลปะของศาสนาซิกซ์ตั้ง แต่ประเทศอินเดียถึงประเทศไทย - มูลเหตุแห่งศิลปะที่อยู่ในรูปแบบของ ศาสนาซิกซ์ - ปัจจัยของการเกิดศิลปะทางศาสนาซิ กซ์ - ศิลปะที่มีอยู่ในศาสนาซิกซ์ในรูปแบบ ๓ บรรยายโดยใช้ Powerpoint/ ยกตัวอย่างประกอ บ อภิปรายกลุ่มจากก รณีศึกษา ซักถามประเด็นสง สัยในการบรรยาย พระครูประ สุตโพธิคุณ ดร.
  • 14. ๑๔ มคอ .๓ วิชา ๑๐๓ ๓๑๒ ศิลปะทางศาสนา สัปด าห์ที่ หัวข้อ/รายละเอียด จานวน ชั่วโมง กิจกรรมการเรียน การสอน สื่อที่ใช้ (ถ้ามี) ผู้สอน ต่างๆมาจากคติใดบ้าง - ศิลปะของศาสนาซิกซ์ที่มีอยู่ในสังคม ไทยในรูปแบบต่างๆ ๑๓ บทที่ ๑๓ - จุดยืนทางปรัชญาในการสร้างศิลปะท างศาสนาสาคัญของโลก - คติธรรม ความเชื่อ เทวนิยม อเทวนิยม - คติจากพระเจ้า คาสอน พิธีกรรม - โลกหลังความตาย จิตวิญญาณ ๓ บรรยายโดยใช้ Powerpoint/ ยกตัวอย่างประกอ บ อภิปรายกลุ่มจากก รณีศึกษา ซักถามประเด็นสง สัยในการบรรยาย พระครูประ สุตโพธิคุณ ดร. ๑๔ บทที่ ๑๔ - ศิลปะกับการสร้างจิตสานึกในการศึก ษาและอนุรักษ์ - สาเหตุที่ทาให้ศิลปะทางศาสนาชารุดเ สื่อมโทรมหรือสูญหาย - ความสาคัญของการอนุรักษ์ศิลปะทา งศาสนา ๓ บรรยายโดยใช้ Powerpoint/ ยกตัวอย่างประกอ บ อภิปรายกลุ่มจากก รณีศึกษา ซักถามประเด็นสง สัยในการบรรยาย พระครูประ สุตโพธิคุณ ดร. ๑๕ สรุปเนื้อหา ๓ บรรยายโดยใช้ Powerpoint/ ยกตัวอย่างประกอ บ อภิปรายกลุ่มจากก รณีศึกษา ซักถามประเด็นสง สัยในการบรรยาย พระครูประ สุตโพธิคุณ ดร. ๑๖ สอบปลายภาค ๓ นิสิตสอบ พระครูประ สุตโพธิคุณ ดร. ๒ แผนการประเมินผลการเรียนรู้
  • 15. ๑๕ มคอ .๓ วิชา ๑๐๓ ๓๑๒ ศิลปะทางศาสนา ที่ วิธีการประเมิน สัปดาห์ที่ประ เมิน สัดส่วนของการประเมินผล ๑ สอบกลางภาค สอบปลายภาค ๘ ๑๖ ๒๐% ๕๐% ๒ วิเคราะห์กรณีศึกษา ค้นคว้า การนาเสนอรายงาน การทางานกลุ่มและผลงาน การอ่านและสรุปบทความ การส่งงานตามที่มอบหมาย ตลอดภาคกา รศึกษา ๒๐% ๓ การเข้าชั้นเรียน การมีส่วนร่วม อภิปราย เสนอความคิดเห็นในชั้นเรียน ตลอดภาคกา รศึกษา ๑๐% หมวดที่ ๖ ทรัพยากรประกอบการเรียนการสอน ๑. เอกสารและตาราหลัก ๑.เอกสารและตาราหลัก จารุวรรณ พึ่งเทียร, พุทธศิลป ์ ,กรุงเทพ : มหาจุฬาลงกรณ์ราชวิทยาลัย, ๒๕๕๕ ส ม เกี ย ร ติ โล่เพ ช ร รัต น์ , พ ร ะ พุ ท ธ รู ป ศิ ล ป ะ ส มั ย อ ยุ ธ ย า : ประวัติศาสตร์ชนชาติไทย กับ ปฏิมากรรมในพ ระพุทธศาสนา , กรุงเทพ ฯ, อมรินทร์พริ้นติ้ง พับลิชชิ่ง, ๒๕๔๘ ๒.เอกสารและข้อมูลสาคัญ กีรติ บุญเจือ. (2522). ชุดปัญหาปรัชญา ปรัชญาศิลปะ. กรุงเทพฯ : ไทยวัฒนา พานิช จากัด. อารี สุทธิพันธุ์ .(2 5 3 5 ). ศิล ป ะ นิ ย ม . (พิ มพ์ ค รั้งที่ 4 ). กรุงเทพ ฯ : สานักพิมพ์โอเดียนสโตร์. ศรีศักร วัลลิโภดม.(2560). พุทธศาสนาและความเชื่อในสังคมไทย. กรุงเทพฯ : มูลนิธิเล็ก-ประไพ วิริยพันธุ์. Adams, D., and Apostolos-Cappadona, D. (2 0 0 2 ) . Art as religious studies. Eugene: Ore. Laeuchli, S. (1980). Religion and Art in Conflict : Introduction to a Cross- Disciplinary Task. Philadelphia: Fortress. Mazur, E. M. (2002). Art and the Religious Impulse. Lewisburg: Bucknell University Press. Pilgrim,Richard B. (1998). Buddhism and the Arts of Japan. New York: Columbia University Press.
  • 16. ๑๖ มคอ .๓ วิชา ๑๐๓ ๓๑๒ ศิลปะทางศาสนา หมวดที่ ๗ การประเมินและปรับปรุงการดาเนินการของรายวิชา ๑. กลยุทธ์การประเมินประสิทธิผลของรายวิชาโดยนักศึกษา การป ระเมิน ป ระสิท ธิผ ลใน ราย วิช านี้ ที่ จัด ทาโด ย นัก ศึก ษ า ได้จัดกิจกรรมในการนาแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาได้ดังนี้ - ประเมินจากความสามารถในการนาเสนอต่อชั้นเรียนโดยใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ - ป ร ะ เ มิ น จ า ก ค ว า ม ส า ม า ร ถ ใ น ก า ร สื่ อ ส า ร ก า ร อ ธิ บ า ย การอภิปรายกรณีศึกษาต่างๆ - ประเมินจากผลงานตามกิจกรรมการเรียนการสอนที่ผู้สอนมอบหมาย - แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสูตรสู่รา ยวิชา (Curriculum Mapping) ๒. กลยุทธ์การประเมินการสอน ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์ ดังนี้ - การสังเกตการณ์สอนของผู้ร่วมทีมการสอน - ผลการสอบ - การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้ ๓. การปรับปรุงการสอน ห ลังจากผ ลการประเมิน การสอน ในข้อ ๒ จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน ดังนี้ - สัมมนาการจัดการเรียนการสอน - การวิจัยในและนอกชั้นเรียน ๔. การทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาในรายวิชา ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ต าม ที่ ค าด ห วัง จาก ก าร เรี ย น รู้ใน วิช า ได้จ าก ก าร ส อ บ ถ าม นั ก ศึก ษ า หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้ - การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์ อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ ไม่ใช่อาจารย์ประจาหลักสูตร มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม ๕. การดาเนินการทบทวนและการวางแผนปรับปรุงประสิทธิผลของรายวิชา จา กผ ล กา รป ร ะเมิน แล ะท วน ส อบ ผ ลสัม ฤ ทธิ์ป ระสิท ธิผ ล รา ย วิช า ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอน และรายละเอียดวิชา เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น ดังนี้ - ป รั บ ป รุ ง ร า ย วิ ช า ทุ ก ๓ ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ ๔
  • 17. ๑๗ มคอ .๓ วิชา ๑๐๓ ๓๑๒ ศิลปะทางศาสนา - เ ป ลี่ ย น ห รื อ ส ลั บ อ า จ า ร ย์ ผู้ ส อ น เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหาที่มาจากงานวิจัย ของอาจารย์หรือแนวคิดใหม่ๆในอนาคต ชื่ออาจารย์ผู้รับผิดชอบรายวิชา: ลงชื่อ พระครูประสุตโพธิคุณ ดร. วันที่รายงาน ประธานหลักสูตร สาขาวิชาศาสนา: ลงชื่อ วันที่รายงาน