SlideShare a Scribd company logo
1 of 46
Download to read offline
สาระสําคัญ
แผนพัฒนาดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม
[ฉบับนําเสนอคณะรัฐมนตรี 5 เมษายน 2559]
1
หัวขอ
การนําเสนอ
๓. วิสัยทัศน
๖. ภูมิทัศนดิจิทัลในกรอบ
ระยะเวลา ๒๐ ป
๔. เปาหมาย๕. ยุทธศาสตร
๗. กิจกรรมขับเคลื่อนระยะ
เรงดวน ๑ ป ๖ เดือน
๒. บริบทความทาทายของไทย
2
๑. นโยบายดิจิทัลในตางประเทศ
นโยบายดิจิทัลในตางประเทศ (Country Plan Year Aspiration)
Ireland National Digital Strategy
2013-2015 Do more with digital
United Kingdom Information Economy Strategy
2013-2018 For a thriving UK information economy,
enhancing national competitiveness
Canada Digital Canada 150
2014-2017 Towards a Thriving Digital Canada
Europe Digital Agenda
2011-2020 Develop a digital single market
to generate smart, sustainable and
inclusive growth in Europe
Korea K-ICT Strategy
2015-2020 Transform into a creative economy
Malaysia Digital Malaysia 2012-2020
Assist towards Malaysia’s Vision 2020, becoming a high-income nation
Singapore Infocomm Media 2025
2015-2025 Towards the world’s first smart nation
Australia #au20 National Digital Economy Strategy
2011-2020 Stand among the world’s leading digital
economies by 2020
นโยบายตางประเทศ
๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖ ๗
บริบท วิสัยทัศน เปาหมาย ยุทธศาสตร กิจกรรมขับเคลื่อนภูมิทัศน
เปรียบเทียบแนวทางการพัฒนาดิจิทัลตางประเทศ
นโยบายตางประเทศ
๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖ ๗
บริบท วิสัยทัศน เปาหมาย ยุทธศาสตร กิจกรรมขับเคลื่อนภูมิทัศน
พัฒนาโครงสรางพื้นฐาน พัฒนาอุตสาหกรรมดิจิทัล พัฒนาและสงเสริมนวัตกรร
พัฒนาและใชประโยชนจากขอมูล สรางธุรกิจเกิดใหม พัฒนากําลังคนดิจิทัล
สงเสริมการใชในภาคธุรกิจ สงเสริมการคาออนไลน/ SMEs
ลดความเหลื่อมล้ําทางการเขาถึง สงเสริมการใชของประชาชน พัฒนารัฐบาลอิเล็กทรอนิกส
เพิ่มความปลอดภัยและ
ความเปนสวนตัว
สรางกฎ กติกา มาตรฐาน พัฒนาการศึกษา
พัฒนาระบบบริการสุขภาพ พัฒนาระบบคมนาคม
สรางการทํางานแบบ telework
บริหารจัดการพลังงาน
สงเสริมอุตสาหกรรมเนื้อหาดิจิทัล
บริบทความทาทายของไทย
กาวขามกับดักรายไดปานกลาง พัฒนาขีดความสามารถของเกษตร
อุตสาหกรรม และบริการ
ปรับตัวและฉกฉวย
โอกาสจากการ
รวมกลุมทางเศรษฐกิจ
แกปญหาความเหลื่อมล้ํา
ของสังคม
บริหารจัดการ
สังคมผูสูงอายุ
แกปญหา
คอรัปชั่น
พัฒนาศักยภาพคนในประเทศ
5 นโยบายตางประเทศ
๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖ ๗
ความทาทาย วิสัยทัศน เปาหมาย ยุทธศาสตร การขับเคลื่อนภูมิทัศน
บริบทความทาทายจากพลวัตรของเทคโนโลยีดิจิทัล
• ความเปลี่ยนแปลงทางเทคโนโลยี
• การหลอมรวมระหวางออนไลนและออฟไลน
• ผูบริโภคกลายเปนผูผลิต
• การแขงขันบนฐานของนวัตกรรม
• ยุคของระบบอัจฉริยะ
• การแขงขันดวยขอมูล
• การแพรระบาดของภัยไซเบอร
• การเปลี่ยนแปลงโครงสรางกําลังคน
นโยบายตางประเทศ
๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖ ๗
ความทาทาย วิสัยทัศน ภูมิทัศน เปาหมาย กิจกรรมขับเคลื่อนยุทธศาสตร
6
บริบทไทย
7
3D printing
holographic
television
cicret bracelet
wall-format display glass
digital forensic
8
นโยบายตางประเทศ
๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖ ๗
ความทาทาย วิสัยทัศน ภูมิทัศน เปาหมาย กิจกรรมขับเคลื่อนยุทธศาสตรบริบทไทย
สถานภาพการพัฒนาดิจิทัลของไทย (โครงสรางพื้นฐาน)
โครงสรางพื้นฐาน
• มี fixed broadband penetration เพียงรอยละ ๙ แมวา
mobile penetration จะสูงถึง รอยละ ๕๒.๕
• ในระดับหมูบาน มีประมาณ รอยละ ๕๓ จากจํานวน
๗๔,๙๖๕ ที่สามารถเขาถึงบริการอินเทอรเน็ตความเร็วสูงได
ที่เหลือเปนหมูบานหางไกล รวมถึง โรงเรียน โรงพยาบาล
องคการบริหารสวนตําบลที่ยังไมสามารถเขาถึงโครงขายบ
รอดแบนดได
• ราคาคาบริการบรอดแบนดคิดเปนรอยละ ๕.๘ ของ GNP สูง
กวามาเลเซียและสิงคโปรมาก
• ปจจุบันประเทศไทยมีเคเบิลใตน้ํา
เพียง ๑๑ เสน (ใชงานอยูจริง ๕
เสน) และมี landing stations ๔
แหงยังนอยกวาสิงคโปร และ
มาเลเซียมาก
9
นโยบายตางประเทศ
๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖ ๗
ความทาทาย วิสัยทัศน ภูมิทัศน เปาหมาย กิจกรรมขับเคลื่อนยุทธศาสตรบริบทไทย
สถานภาพการพัฒนาดิจิทัลของไทย (เศรษฐกิจ)
• การใชเทคโนโลยีในภาคธุรกิจยังต่ํา โดยเฉพาะ SMEs ในป
๒๕๕๗ มีการใชคอมพิวเตอรรอยละ ๒๒.๖ และอินเทอรเน็ต
รอยละ ๑๘.๓ และมีการขายสินคาออนไลนเพียง ๑.๔
• ธุรกิจ SMES ไทยแทบไมมีการลงทุนในเทคโนโลยีเพื่อเพิ่ม
ผลิตภาพทางธุรกิจ ไมมีความสามารถในการแขงขันเชิง
นวัตกรรม
ดิจิทัลกับภาคเศรษฐกิจ
• อุตสากรรมดิจิทัลเผชิญกับภาวะความผันผวนทางเศรษฐกิจ และคาแรงที่สูงกวาประเทศเพื่อนบาน
ในขณะที่ digital technology startups มีศักยภาพแตสวนใหญยังเปนขนาดเล็กมากและไมสามารถ
ดึงดูดนักลงทุนจากทั้งในและตางประเทศได
10
นโยบายตางประเทศ
๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖ ๗
ความทาทาย วิสัยทัศน ภูมิทัศน เปาหมาย กิจกรรมขับเคลื่อนยุทธศาสตรบริบทไทย
สถานภาพการพัฒนาดิจิทัลของไทย (สังคม)
• โดยรวมการมีการใชเทคโนโลยีดิจิทัลของไทยยังต่ํา ในป
๒๕๕๗ มีผูใชคอมพิวเตอรเพียง รอยละ ๓๘.๒ และ
อินเทอรเน็ต รอยละ ๓๕.๒ โดยกลุมผูใชในเมืองและกลุมที่
อายุต่ํากวา ๓๕ ปมีการเขาถึงและใชที่ดีกวากลุมอื่นๆ
• ปจจุบันประเทศไทยมีศูนยการเรียนรูไอซีทีชุมชนจํานวน
๑,๙๘๐ แหง ยังไมครอบคลุมทั่วประเทศและยังตองมีการ
ปรับปรุงประสิทธิภาพ
• ไทยยังมีความรูและเนื้อหาในรูปแบบดิจิทัลไมเพียงพอ ถือ
เปน content divide
ดิจิทัลในภาคสังคม
• ประชาชนยังคงเนนใชเทคโยโลยีเพื่อ
ความบันเทิง และยังขาดทักษะการ
คิด วิเคราะห แยกแยะสื่อและขอมูล
ขาวสารที่จําเปนในการเขาสูสังคม
ดิจิทัล
11
นโยบายตางประเทศ
๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖ ๗
ความทาทาย วิสัยทัศน ภูมิทัศน เปาหมาย กิจกรรมขับเคลื่อนยุทธศาสตรบริบทไทย
สถานภาพการพัฒนาดิจิทัลของไทย (ภาครัฐ)
• UN e-Government Readiness Ranking จัดใหประเทศ
ไทยอยูในอันดับที่ ๑๐๒ จาก ๑๙๓ ประเทศทั่วโลก ในป
๒๕๕๗ (จากอันดับที่ ๙๒ ในป ๒๕๕๕)
• Networked Readiness Index จัดใหอันดับดาน
Government Usage ของไทยอยูที่ ๘๐ จาก ๑๔๓ ประเทศ
• จาก Global Open Data Index ไทยอยูในอันดับที่ ๔๒ จาก
๑๒๒ ประเทศ โดยมีการเปดเผยขอมูลภาครัฐรอยละ ๓๖
อยางไรก็ตาม ประเทศไทยมีการเปดเผยขอมูลจัดซื้อจัดจาง
ภาครัฐถึงรอยละ ๑๐๐
บริการภาครัฐ
• ประเทศไทยยังคงมีปญหาการใหความ
สะดวกในการบริการประชาชนซึ่งเกิดจาก
กฎหมาย และระเบียบที่เปนอุปสรรค และ
การไมสามารถเชื่อมโยงระบบงานและ
ขอมูลได
12
นโยบายตางประเทศ
๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖ ๗
ความทาทาย วิสัยทัศน ภูมิทัศน เปาหมาย กิจกรรมขับเคลื่อนยุทธศาสตรบริบทไทย
สถานภาพการพัฒนาดิจิทัลของไทย (ทรัพยากรมนุษย)
• ในป ๒๕๕๗ ประเทศไทยมีผูทํางานดานไอซีที จํานวน
๕๗๐,๗๐๕ คนทั่วประเทศ คิดเปนรอยละ ๑.๔๙ ของ
กําลังคนทั่วประเทศ (ต่ํากวามาเลเซียมาก) และสวนใหญ
เปนชางเทคนิคระดับปฏิบัติการ
• ประเทศไทยขาดกําลังดานไอซีทีจํานวนมาก โดยเฉพาะ ชาง
เทคนิคปฏิบัตการไอซีที โปรแกรมเมอร และชางเทคนิคดาน
เครือขายและระบบคอมพิวเตอร และในอนาคตจะตองการ
กําลังคนทักษะเฉพาะ เชน Cloud Computing, Big Data,
Mobile Application and Business Solution
ทรัพยากรมนุษย
• สําหรับคนที่ใชไอซีทีในการทํางาน พบวา
สัดสวนของกลุมผูปฏิบัติงานในสถาน
ประกอบการไมสูงนัก เนื่องจาก
ผูประกอบการยังไมเห็นความจําเปนในการ
นําเทคโนโลยีมาใชสําหรับธุรกิจ
13
นโยบายตางประเทศ
๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖ ๗
ความทาทาย วิสัยทัศน ภูมิทัศน เปาหมาย กิจกรรมขับเคลื่อนยุทธศาสตรบริบทไทย
สถานภาพการพัฒนาดิจิทัลของไทย (ความเชื่อมั่น)
• ปริมาณพาณิชยอิเล็กทรอนิกสของไทยเพิ่มสูงขึ้นทุกป
โดนในป ๒๕๕๗ มีมูลคา ๒,๑๗๗,๖๙๑ ลานบาท อยางไร
ก็ตามประชาชนจํานวนมากยังขาดความเชื่อมั่นในการ
ทําธุรกรรมออนไลน
• ภัยคุกคามไซเบอรเพิ่มสูงขึ้น โดย Malicious Code ถือ
เปนภัยคุกคามอันดับ ๑ คิดเปนรอยละ ๔๓.๓
กฎหมาย กติกา
• ประเทศไทยยังขาดกฎหมาย กฏระเบียบ ที่เกี่ยวของกับการพัฒนาดิจิทัล (ทั้งไมมีกฎหมาย
กฎระเบียบ หรือมีแตไมทันตอเทคโนโลยี) โดยเฉพาะอยางยิ่งในเรื่อง ความมั่นคงปลอดภัย
ไซเบอร การคุมครองขอมูลสวนบุคคล การทําธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส ฯลฯ
ประเทศไทยใหความสําคัญกับการพัฒนาและ
การนําไอซีที มาใชเปนเครื่องมือสนับสนุน
(enabling technology) ในการพัฒนาประเทศ
มาโดยตลอด แตในปจจุบัน รัฐบาลไดตระหนัก
ถึงอิทธิพลของเทคโนโลยีดิจิทัลที่มีตอการ
พัฒนาเศรษฐกิจและสังคม ซึ่งเปนทั้งโอกาส
และความทาทายของประเทศไทย ที่จะปรับปรุง
ทิศทางการดําเนินงานของประเทศดวยการใช
ประโยชนสูงสุดจากเทคโนโลยีดิจิทัล
นํามาสูการจัดทํา
แผนพัฒนาดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม
14
ดิจิทัลไทยแลนด (Digital Thailand)
หมายถึง ประเทศไทยสามารถสรางสรรค และใชประโยชนจากเทคโนโลยีดิจิทัลอยางเต็ม
ศักยภาพในการพัฒนา โครงสรางพื้นฐาน นวัตกรรม ขอมูล ทุนมนุษย และทรัพยากรอื่นใด เพื่อ
ขับเคลื่อนการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของประเทศ ไปสูความมั่นคง มั่งคั่ง และยั่งยืน
วิสัยทัศน
นโยบายตางประเทศ
๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖ ๗
ความทาทาย วิสัยทัศน ภูมิทัศน เปาหมาย กิจกรรมขับเคลื่อนยุทธศาสตร
15
บริบทไทย
ปฎิรูปประเทศไทยสู่
ดิจิทัลไทยแลนด์
16
๑. เพิ่มขีดความสามารถในการ
แขงขัน กาวทันเวทีโลก
ขีดความสามารถในการแขงขันของ
ประเทศใน World Competitiveness
Scoreboard อยูในกลุมประเทศที่มีการ
พัฒนาสูงสุด ๑๕ อันดับแรก
อุตสาหกรรมดิจิทัลมีสวนสําคัญในการขับเคลื่อนประเทศไทยสูการ
เปนประเทศที่มีรายไดสูง โดยสัดสวนมูลคาอุตสาหกรรมดิจิทัลตอ
GDP เพิ่มขึ้น เปนรอยละ ๒๕
๒. สรางโอกาสและความเทา
เทียมทางสังคม
ประชาชนทุกคนตองสามารถเขาถึง
อินเทอรเน็ตความเร็วสูงอันถือเปน
สาธารณูปโภคพื้นฐานประเภทหนึ่ง
ประชาชนทุกคน มีความรู ความ
เขาใจ ความตระหนัก และทักษะ
ในการใชเทคโนโลยีดิจิทัลใหเกิด
ประโยชนและสรางสรรค
(Digital Literacy)
๓. พัฒนาทุนมนุษย
สูยุคดิจิทัล
๔.ปฏิรูปภาครัฐ
อันดับการพัฒนาดานรัฐบาลดิจิทัล ในการ
จัดลําดับของ UN e-Government
rankings อยูในกลุมประเทศที่มีการพัฒนา
สูงสุด ๕๐ อันดับแรก ดิจิทัลไทยแลนด
อันดับการพัฒนาดานเทคโนโลยีสารสนเทศและการ
สื่อสารของประเทศในดัชนี ICT Development
Index (IDI) อยูในกลุมประเทศที่มีการพัฒนา
สูงสุด ๔๐ อันดับแรก
เปาหมาย ๑๐ ป
17 นโยบายตางประเทศ
๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖ ๗
ความทาทาย วิสัยทัศน เปาหมาย ยุทธศาสตร การขับเคลื่อนภูมิทัศน
ยุทธศาสตร
๑.พัฒนาโครงสราง
พื้นฐานดิจิทัล
ประสิทธิภาพสูง ให
ครอบคลุมทั่วประเทศ
เขาถึง พรอมใช จายได
๒. ขับเคลื่อนเศรษฐกิจ
ดวยเทคโนโลยีดิจิทัล
ขับเคลื่อน New S-Curve
เพิ่มศักยภาพ
สรางธุรกิจ
เพิ่มมูลคา
๓. สรางสังคมคุณภาพ
ดวยเทคโนโลยีดิจิทัล
สรางการมีสวนรวม
การใชประโยชนอยางทั่วถึง และ
เทาเทียม
๕. พัฒนา
กําลังคนใหพรอม
เขาสูยุคเศรษฐกิจ
และสังคมดิจิทัล
สรางคน สรางงาน
สรางความเขมแข็งจากภายใน
๔. ปรับเปลี่ยน
ภาครัฐสูการเปนรัฐบาล
ดิจิทัล
โปรงใส อํานวยความสะดวก
รวดเร็ว เชื่อมโยงเปนหนึ่งเดียว
๖. สรางความเชื่อมั่นในการใช
เทคโนโลยีดิจิทัล
กฎระเบียบทันสมัย
เชื่อมั่นในการลงทุน
มีความมั่นคงปลอดภัย
18 นโยบาย
๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖ ๗
ความทาทาย วิสัยทัศน เปาหมาย ยุทธศาสตร การขับเคลื่อนภูมิทัศน
ยุทธศาสตรที่ ๑.
พัฒนาโครงสรางพื้นฐานดิจิทัลประสิทธิภาพสูงใหครอบคลุมทั่วประเทศ
เขาถึง (accessible) พรอมใช (available) จายได (affordable)
• อินเทอรเน็ตความเร็วสูงของไทยมีคุณภาพและครอบคลุมทั่วประเทศ ทุกหมูบาน ทุกเทศบาลเมืองและพื้นที่
เศรษฐกิจ ทุกโรงเรียน โรงพยาบาลสงเสริมสุขภาพตําบล และศูนยดิจิทัลชุมชน
• คาบริการอินเทอรเน็ตความเร็วสูงไมเกิน ๒% ของรายไดประชาชาติตอหัว
• บริการโทรศัพทเคลื่อนที่เขาถึงทุกหมูบาน ทุกชุมชน และสถานที่ทองเที่ยว
• ประเทศไทยเปนหนึ่งในศูนยกลางการเชื่อมตอและแลกเปลี่ยนขอมูลระหวางประเทศ
• โครงขายแพรสัญญาณภาพโทรทัศนและกระจายเสียงวิทยุระบบดิจิทัลครอบคลุมทั่วประเทศ
แผนงาน
เปาหมาย
๑.๑ พัฒนาอินเทอรเน็ตความเร็วสูงทั่วประเทศ
๑.๒ สรางศูนยกลางเชื่อมตอขอมูลอาเซียน
๑.๓ จัดทํานโยบายการบริหารโครงสรางพื้นฐาน
๑.๔ ปฎิรูปรัฐวิสาหกิจโทรคมนาคม
19 นโยบาย
๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖ ๗
ความทาทาย วิสัยทัศน เปาหมาย ยุทธศาสตร การขับเคลื่อนภูมิทัศน
ยุทธศาสตรที่ ๒.
ขับเคลื่อนเศรษฐกิจดวยเทคโนโลยีดิจิทัล
ขับเคลื่อน New S-Curve เพิ่มศักยภาพ สรางธุรกิจ เพิ่มมูลคา
• นํานวัตกรรมและความเชี่ยวชาญในการใชเทคโนโลยี มาใชในภาคผลิต ภาคบริการในทุกอุตสาหกรรม
• สนับสนุนให SMEs ไทยทั้งในภาคเกษตร ภาคอุตสาหกรรม และภาคบริการ เขาถึงเทคโนโลยีดิจิทัล
สามารถแขงขันไดทั้งในเวทีภูมิภาคและเวทีโลก
• ประเทศไทยเปนหนึ่งในผูนําอุตสาหกรรมดิจิทัลของภูมิภาค
แผนงาน
เปาหมาย
๒.๑ เพิ่มขีดความสามารถของภาคธุรกิจ
๒.๒ เรงสราง บมเพาะ ผูประกอบการธุรกิจดิจิทัล
๒.๓ พัฒนาอุตสาหกรรมดิจิทัลและอุตสาหกรรมที่เกี่ยวเนื่อง
๒.๔ เพิ่มโอกาสและชองทางในการประกอบอาชีพของเกษตรกร และ
วิสาหกิจชุมชน
20
นโยบายตางประเทศ
๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖ ๗
ความทาทาย วิสัยทัศน เปาหมาย ยุทธศาสตร การขับเคลื่อนภูมิทัศน
• ประชาชนทุกกลุมโดยเฉพาะกลุมผูอยูอาศัยในพื้นที่หางไกล ผูสูงอายุ และคนพิการ สามารถ
เขาถึงและใชประโยชนจากเทคโนโลยีดิจิทัล
• ประชาชนทุกคนมีทักษะการใชเทคโนโลยีดิจิทัลอยางสรางสรรค
• ประชาชนสามารถเขาถึง การศึกษา สาธารณสุข และบริการสาธารณะ ผานระบบดิจิทัล
๓.๑ สรางโอกาสและความเทาเทียมทางดิจิทัล
๓.๒ พัฒนาการใชเทคโนโลยีดิจิทัลอยางสรางสรรคและรับผิดชอบ
๓.๓ สรางสื่อ คลังสื่อและแหลงเรียนรูดิจิทัล
๓.๔ เพิ่มโอกาสทางการศึกษาดวยเทคโนโลยีดิจิทัล
๓.๕ เพิ่มโอกาสการเขาถึงบริการสุขภาพดวยดิจิทัล
ยุทธศาสตรที่ ๓.
สรางสังคมคุณภาพดวยเทคโนโลยีดิจิทัล
สรางการมีสวนรวม การใชประโยชนอยางทั่วถึงและเทาเทียม
แผนงาน
เปาหมาย
21 นโยบายตางประเทศ
๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖ ๗
ความทาทาย วิสัยทัศน เปาหมาย ยุทธศาสตร การขับเคลื่อนภูมิทัศน
• บริการของภาครัฐตอบสนองการบริการประชาชน ผูประกอบการทุกภาคสวน ไดอยางสะดวก รวดเร็ว
และแมนยํา
• มีโครงสรางพื้นฐานดิจิทัลภาครัฐ การจัดเก็บและบริหารฐานขอมูลที่บูรณาการไมซ้ําซอน สามารถ
รองรับการเชื่อมโยงการทํางานระหวางหนวยงาน และการใหบริการประชาชนไดอยางมีประสิทธิภาพ
• ใหประชาชนเขาถึงขอมูลภาครัฐไดสะดวก และเหมาะสม เพื่อสงเสริมความโปรงใส และการมีสวนรวม
ของประชาชน
๔.๑ พัฒนาบริการอัจฉริยะสําหรับประชาชน
๔.๓ เพิ่มประสิทธิภาพและธรรมาภิบาล ดวยเทคโนโลยีดิจิทัล
๔.๔ เปดเผยขอมูลภาครัฐและสรางการมีสวนรวมของประชาชน
๔.๒ พัฒนาระบบดิจิทัลเพื่อรองรับการบริการภาครัฐ
ยุทธศาสตรที่ ๔.
ปรับเปลี่ยนภาครัฐสูการเปนรัฐบาลดิจิทัล
โปรงใส อํานวยความสะดวก รวดเร็ว เชื่อมโยงเปนหนึ่งเดียว
แผนงาน
เปาหมาย
22
นโยบายตางประเทศ
๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖ ๗
ความทาทาย วิสัยทัศน เปาหมาย ยุทธศาสตร การขับเคลื่อนภูมิทัศน
ยุทธศาสตรที่ ๕.
พัฒนากําลังคนใหพรอมเขาสูยุคเศรษฐกิจและสังคมดิจิทัล
สรางคน สรางงาน สรางความเขมแข็งจากภายใน
แผนงาน
เปาหมาย
• บุคลากรวัยทํางานทุกสาขามีความรูและทักษะดิจิทัล
• บุคลากรในวิชาชีพดานดิจิทัลมีคุณภาพและปริมาณเพียงพอ โดยเฉพาะอยางยิ่งในสาขาที่ขาดแคลน หรือ
มีความสําคัญตอการสรางนวัตกรรมดิจิทัล
• เกิดการจางงานแบบใหม อาชีพใหม ธุรกิจใหม จากการพัฒนาเทคโนโลยีดิจิทัล
๕.๑ พัฒนาทักษะดิจิทัลสําหรับทุกสาขาอาชีพ
๕.๑ พัฒนาความเชี่ยวชาญดิจิทัลเฉพาะดาน
๕.๓ พัฒนาผูบริหารเทคโนโลยีสารสนเทศ
23 นโยบายตางประเทศ
๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖ ๗
ความทาทาย วิสัยทัศน เปาหมาย ยุทธศาสตร การขับเคลื่อนภูมิทัศน
ยุทธศาสตรที่ ๖.
สรางความเชื่อมั่นในการใชเทคโนโลยีดิจิทัล
กฎระเบียบทันสมัย เชื่อมั่นในการลงทุน มีความมั่นคงปลอดภัย
แผนงาน
เปาหมาย
• มีชุดกฎหมาย กฎระเบียบที่ทันสมัย เพื่อรองรับการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมดิจิทัล
• มีมาตรฐานขอมูลที่เปนสากล เพื่อรองรับการเชื่อมโยงและใชประโยชนในการทําธุรกรรม
• ประชาชนมีความเชื่อมั่น ในการทําธุรกรรมออนไลนอยางเต็มรูปแบบ
๖.๑ พัฒนาระบบอํานวยความสะดวกเพื่อธุรกิจ
๖.๒ ผลักดันชุดกฎหมายดิจิทัล
๖.๓ สรางความเชื่อมั่นในการทําธุรกรรมออนไลน
24 นโยบายตางประเทศ
๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖ ๗
ความทาทาย วิสัยทัศน เปาหมาย ยุทธศาสตร การขับเคลื่อนภูมิทัศน
ภูมิทัศนดิจิทัลของไทยในระยะเวลา ๒๐ ป
ระยะที่ ๑
Digital Foundation
ประเทศไทยลงทุน และสรางฐานรากในการพัฒนา
เศรษฐกิจและสังคมดิจิทัล
ระยะที่ ๒
Digital Thailand I: Inclusion
ทุกภาคสวนของประเทศไทยมีสวนรวมใน
เศรษฐกิจและสังคมดิจิทัลตามแนวทาง
ประชารัฐ
ระยะที่ ๓
Digital Thailand II:
Full Transformation
ประเทศไทยกาวสูการดิจิทัลไทยแลนด
ที่ขับเคลื่อนและใชประโยชนจากนวัตกรรมดิจิทัล
ไดอยางเต็มศักยภาพ
ระยะที่ ๔
Global Digital Leadership
ประเทศไทยอยูในกลุมประเทศที่พัฒนาแลว
สามารถใชเทคโนโลยีดิจิทัล
สรางมูลคาทางเศรษฐกิจ
และคุณคาทางสังคมอยางยั่งยืน
๑ ป ๖ เดือน
๕ ป
๑๐ ป
๑๐ - ๒๐ ป
25 นโยบายตางประเทศ
๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖ ๗
ความทาทาย วิสัยทัศน เปาหมาย ยุทธศาสตร การขับเคลื่อนภูมิทัศน
ระยะที่ ๑ (๑ ป ๖ เดือน)
Digital Foundation
ประเทศไทยลงทุน และสรางฐานรากในการพัฒนา
เศรษฐกิจและสังคมดิจิทัล
โครงสรางพื้นฐาน
บรอดแบนดถึงทุกหมูบานทั่ว
ประเทศ เปนฐานของกิจกรรมทาง
เศรษฐกิจและสังคมอื่นๆ
เศรษฐกิจ
การทําธุรกิจผานระบบดิจิทัล
คลองตัว และเกิดSMEs วิสาหกิจ
ชุมชน เกษตรกร ออนไลน
สังคม
ประขาขนทุกกลุมเขาถึง
อินเทอรเน็ตความเร็วสูงและ
บริการพื้นฐานของรัฐอยางทั่วถึง
และเทาเทียม
รัฐบาล
หนวยงานรัฐมีการทํางานที่
เชื่อมโยงและบูรณาการขอมูลขาม
หนวยงาน
ทุนมนุษย
กําลังคน (ทุกสาขา) มีทักษะดิจิทัล
เปนที่ยอมรับในตลาดแรงงานทั้ง
ในและตางประเทศ
สภาพแวดลอม
รัฐบาลออกชุดกฎหมายดิจิทัลที่
ครอบคลุม และปฏิรูปองคกรที่
เกี่ยวของในการขับเคลื่อนงาน
26 นโยบายตางประเทศ
๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖ ๗
ความทาทาย วิสัยทัศน เปาหมาย ยุทธศาสตร การขับเคลื่อนภูมิทัศน
โครงสรางพื้นฐาน
บรอดแบนดระบบสายถึงทุก
หมูบานและเชื่อมกับประเทศใน
ภูมิภาคอื่น
ระยะที่ ๒ ( ๕ ป)
Digital Thailand I: Inclusion
ทุกภาคสวนของประเทศมีสวนรวม
ในเศรษฐกิจและสังคมดิจิทัลตามแนวทางประชารัฐ
เศรษฐกิจ
ภาคเกษตร การผลิต และบริการ
เปลี่ยนมาทําธุรกิจดวยดิจิทัลและ
ขอมูล และเกิด Startups ใน
Digital cluster
สังคม
ประชาขนเขื่อมั่นในการใชดิจิทัล
และเขาถึงบริการเรียนรู สุขภาพ
ขอมูล ผานระบบดิจิทัล
รัฐบาล
การทํางานระหวางภาครัฐจะ
เชื่อมโยงและบูรณาการเหมือนเปน
องคกรเดียว
ทุนมนุษย
กําลังคนสามารถทํางานผานระบบดิจิทัล
แบบไรพรมแดนเปนศูนยรวม
ผูเชี่ยวชาญดานดิจิทัล
สภาพแวดลอม
ไทยมีสภาพแวดลอมเอื้อตอการทํา
ธุรกรรม มีระบบอํานวยความสะดวก
และมีมาตรฐาน
27 นโยบายตางประเทศ
๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖ ๗
ความทาทาย วิสัยทัศน เปาหมาย ยุทธศาสตร การขับเคลื่อนภูมิทัศน
ระยะที่ ๓ (๑๐ ป)
Digital Thailand II: Full Transformation
ประเทศไทยกาวสูการเปน Digital Thailand ที่ขับเคลื่อน
และใชประโยชนจากนวัตกรรมดิจิทัลไดอยางเต็มศักยภาพ
โครงสรางพื้นฐาน
อินเทอรเน็ตความเร็วสูงถึงทุกบาน
และรองรับการหลอมรวม
และการเชื่อมตอทุกอุปกรณ
เศรษฐกิจ
ภาคเกษตร การผลิต และบริการ
แขงขันไดดวยนวัตกรรมดิจิทัล
และเชื่อมโยงไทยสูโลก
สังคม
ประชาชนใชประโยชนจาก
เทคโนโลยี/ ขอมูล ทุกกิจกรรม
ในชีวิตประจําวัน
รัฐบาล
บริการรัฐเปนดิจิทัลที่ประชาชน
เปนศูนยกลาง เปดเผยขอมูล
และใหประชาชนมีสวนรวม
ทุนมนุษย
ประเทศไทยเกิดงานเคุณคาสูง
และมีกําลังคนที่มีความเชี่ยวชาญ
ดิจิทัลเฉพาะดานเพียงพอ
สภาพแวดลอม
ประเทศไทยไมมีกฎหมาย/
ระเบียบที่เปนอุปสรรคตอการคา
การทําธุรกรรมดิจิทัล
28 นโยบายตางประเทศ
๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖ ๗
ความทาทาย วิสัยทัศน เปาหมาย ยุทธศาสตร การขับเคลื่อนภูมิทัศน
ระยะที่ ๔ ( ๑๐ - ๒๐ ป)
Global Digital Leadership
ประเทศไทยอยูในกลุมประเทศที่พัฒนาแลว สามารถใช
เทคโนโลยีดิจิทัล สรางมูลคาทางเศรษฐกิจและคุณคาทาง
สังคมอยางยั่งยืน
โครงสรางพื้นฐาน
เปนประเทศผูนําในภูมิภาค
ดานการเชื่อมตออินเทอรเน็ต
ทั้งภายในและออกนอกประเทศ
เศรษฐกิจ
เปนหนึ่งในประเทศผูนําทางการคา
การลงทุน โดยมีสินคาและบริการ
เดนดวยดิจิทัล
สังคม
เปนประเทศที่ไมมีความเหลื่อมล้ําดาน
ดิจิทัล และชุมชนใชดิจิทัลเพื่อพัฒนา
ทองถิ่นตนเอง
รัฐบาล
เปนหนึ่งในประเทศผูนํา
ดานรัฐบาลดิจิทัลทั้งการบริหาร
จัดการรัฐและบริการประชาชน
ทุนมนุษย
เปนหนึ่งในศูนยกลางดานกําลังคน
ดิจิทัลทั้งในรายสาขาและผูเชี่ยวชาญ
ดิจิทัล
สภาพแวดลอม
เปนประเทศตนแบบที่มีการพัฒนา
ทบทวน กฎระเบียบ กติกาดานดิจิทัล
ตอเนื่องจริงจัง
29 นโยบายตางประเทศ
๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖ ๗
ความทาทาย วิสัยทัศน เปาหมาย ยุทธศาสตร การขับเคลื่อนภูมิทัศน
กลไกการขับเคลื่อนแผนพัฒนาดิจิทัลฯ
30
นโยบายตางประเทศ
๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖ ๗
ความทาทาย วิสัยทัศน ภูมิทัศน เปาหมาย กิจกรรมขับเคลื่อนยุทธศาสตรบริบทไทย
๑. การขับเคลื่อนทิจกรรมและ
โครงการที่เปนรูปธรรมในระยะ
เรงดวน
๒. การปรับปรุงโครงสรางเชิง
สถาบันองคกร
๓. การบูรณาการงาน ขอมูล
งบประมาณ และทรัพยากร
๔. การติดตามความกาวหนา
ของนโยบาย และแผนงาน
กิจกรรมขับเคลื่อนระยะเรงดวน ๑ ป ๖ เดือน
เศรษฐกิจ สังคม บริการภาครัฐโครงสรางพื้นฐาน
31 นโยบายตางประเทศ
๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖ ๗
ความทาทาย วิสัยทัศน เปาหมาย ยุทธศาสตร การขับเคลื่อนภูมิทัศน
32
ดานโครงสรางพื้นฐานดิจิทัล
• การขยายโครงขายอินเทอรเน็ตความเร็วสูงใหครอบคลุมหมูบานทั่วประเทศ ที่ประชาชนสามารถใชบริการและ
สื่อสารผานบริการอินเทอรเน็ตความเร็วสูงไดอยางทั่วถึงและเทาเทียมกัน ซึ่งการมีโครงขายอินเทอรเน็ตความเร็วสูงจะ
ชวยยกระดับคุณภาพชีวิตของคนไทยใหดีขึ้น สามารถเขาถึงบริการดานการศึกษาสาธารณสุขและการบริการอื่นๆของ
ภาครัฐผานโครงขายอินเทอรเน็ตความเร็วสูงรวมทั้งชวยเพิ่มความสามารถในการแขงขันใหกับภาคเอกชนซึ่งจะสงผลตอ
การพัฒนาประเทศไทยอยางยั่งยืนในอนาคต
ผูดําเนินการหลัก: กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
• ยกระดับโครงสรางพื้นฐานของประเทศไทย ใหมีโครงขายเชื่อมตอโดยตรงกับศูนยกลางการแลกเปลี่ยนขอมูล
อินเทอรเน็ตของโลก ใหมีเสถียรภาพ และมีความจุเพียงพอรองรับความตองการของประเทศ ลดตนทุนการเชื่อมตอ
อินเทอรเน็ตตางประเทศของผูใหบริการอินเทอรเน็ตในประเทศไทยใหสามารถแขงขันไดกับประเทศเพื่อนบาน ทําให
คาบริการอินเทอรเน็ตสําหรับประชาชนถูกลง รวมทั้งยกระดับประเทศไทยใหเปนศูนยกลางการแลกเปลี่ยนขอมูล
อินเทอรเน็ตหรือศูนยกลางดิจิทัลของภูมิภาคอาเซียนในอนาคต
ผูดําเนินการหลัก: กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
กิจกรรมขับเคลื่อนระยะเรงดวน ๑ ป ๖ เดือน
อินเทอรเน็ตสาธารณะฟรีครอบคลุม กศน. ตําบล (นักเรียน
๒,๐๐๐,๐๐๐ คน )และโรงเรียน ตชด. ศูนยดิจิทัลชุมชน รวม
๑๐,๐๐๐ จุด ทั่วประเทศ
ชองทางของอินเทอรเน็ตสื่อสารระหวางประเทศ เพิ่มขึ้น ๒
เทา รองรับการสื่อสารและการขยายตัวทางเศรษฐกิจ
อินเทอรเน็ตความเร็วสูงมีใชทุกหมูบาน
จัดตั้งกองทุนโครงสรางพื้นฐานดิจิทัล ไทยแลนด
(Digital Thailand Infrastructure Fund)
โครงสรางพื้นฐาน
33 นโยบายตางประเทศ
๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖ ๗
ความทาทาย วิสัยทัศน เปาหมาย ยุทธศาสตร การขับเคลื่อนภูมิทัศน
38
ดานเศรษฐกิจดิจิทัล
• สรางความเขมแข็งใหกับเศรษฐกิจฐานราก โดยเพิ่มโอกาสการสรางรายไดใหกับชุมชน ยกระดับการประกอบอาชีพ
พัฒนาธุรกิจชุมชนจากการคาขายสินคาชุมชนไปสูการพัฒนาสินคาและบริการที่มีคุณภาพ
ผูดําเนินการหลัก: กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
กระทรวงมหาดไทย และองคการบริหารสวนจังหวัด/อําเภอ/ตําบล
• เพิ่มขีดความสามารถในการแขงขันใหกับภาคธุรกิจไทย โดยเฉพาะธุรกิจ SMEs ใหมีการประยุกตใชเทคโนโลยีดิจิทัล
ผูดําเนินการหลัก: กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
กระทรวงวัฒนธรรม
• ผลักดันการพัฒนาคลัสเตอรดิจิทัลตามนโยบายสงเสริมเขตเศรษฐกิจพิเศษและ supercluster เพื่อเพิ่มโอกาสทางการคา
และการลงทุนใหกับอุตสาหกรรมเทคโนโลยีดิจิทัลที่เปนอุตสาหกรรมแหงอนาคต
ผูดําเนินการหลัก: กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
กระทรวงวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
• พัฒนากําลังคนทางดานดิจิทัลในธุรกิจเทคโนโลยีดิจิทัล (Tech Startup) เพื่อใหมีทักษะ และความเชี่ยวชาญในการตอ
ยอดนวัตกรรมและสรางสินคาและบริการรูปแบบใหมรองรับการขยายตัวของเศรษฐกิจและสังคมดิจิทัล รวมถึงการเพิ่มการจางงาน
ในอุตสาหกรรมเทคโนโลยีดิจิทัล
ผูดําเนินการหลัก: กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เศรษฐกิจ
การสงเสริม
ผูประกอบการ
SMEs OTOP
และวิสาหกิจชุมชน
เมืองอัจฉริยะ
National
e-Payment
สนับสนุนการพัฒนามาตรฐานขอมูลสําหรับรองรับระบบ National e-Payment ที่ครอบคลุมวิถีชีวิตประชาชน
ทุกแงมุม ชวยประหยัดตนทุนและคาใชจาย ปละ ๗.๕ หมื่น ลบ.
• SMEs ในอุตสาหกรรมทองเที่ยวเขาถึง แพลตฟอรมออนไลนทองเที่ยวกลาง(Tourism Thailand
Open Platform (B2B))ที่สรางขึ้นใหม สามารถเชื่อมโยงกับออนไลนแพลตฟอรมการทองเที่ยว
ระดับโลกไดอยางสะดวก มีตนทุนต่ํา
• สรางเมืองอัจฉริยะ(Smart City) ๕ แหงภายใน ๓ ป นํารอง ภูเก็ต เชียงใหม
• Smart City ภูเก็ต ไดแก
Smart Economy
 Digital Industry Hub+Innovation Park
 พัฒนากําลังคนดานดิจิทัล ๕,๐๐๐ คน (Certified Digital Worker/Investor)
Smart Living
เพิ่มความปลอดภัยในเมืองดวยระบบ CCTV ที่แจงเตือนโดยทันทีเมื่อเกิดอาชญากรรม
สรางศูนยสั่งการอัจฉริยะ เพื่อบริหารจัดการสภาพแวดลอม ภัยพิบัติ
• บมเพาะผูประกอบการ Tech Startup กลุม SME และ Micro SMEs ๑,๕๐๐ ราย ตอป และพัฒนาสินคา
ตนแบบพรอมผลิต ๓๐๐ รายการ
• สรางรานคาออนไลนชุมชนอยางนอย ๑๐,๐๐๐ ราย ผานเครือขายศูนยดิจิทัลชุมชน
• นํารองพัฒนา Smart Farming ตรวจสอบยอนกลับสินคาเกษตรอินทรีย เชน ขาว ผัก ผลไม
• ตอยอดโครงการคนกลาคืนถิ่นเพื่อบมเพาะใหเปนเกษตรกรดิจิทัล (Digital Farmer) ๑,๖๐๐ คน
• บมเพาะและเปนที่ปรึกษาแกผูประกอบการ SMEs คาขายออนไลนอยางครบวงจร ๑๕,๐๐๐ ราย พรอมสรางคูมือสําหรับ SME go
online ทั้ง B2B B2C และสรางมาตรฐานสินคาออนไลน ๑๐๐,๐๐๐ รายการ
กิจกรรมขับเคลื่อนระยะเรงดวน ๑ ป ๖ เดือน
39 นโยบายตางประเทศ
๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖ ๗
ความทาทาย วิสัยทัศน เปาหมาย ยุทธศาสตร การขับเคลื่อนภูมิทัศน
43
ดานสังคมดิจิทัล
• พัฒนาเครือขายศูนยดิจิทัลชุมชน ดวยการปรับศูนยการเรียนรู ICT ชุมชนเดิม เปนศูนยรูปแบบใหมที่ใหบริการดานดิจิทัล
และขอมูลขาวสารเชิงเศรษฐกิจและสังคมแกชุมชน วิสาหกิจชุมชน ควบคูกับการจัดสภาพแวดลอมการเรียนรูตลอดชีวิตที่เอื้อตอ
การเรียนรูทุกที่ทุกเวลาบนทุกอุปกรณ เพื่อใหประชาชนมีความรูเทาทันดิจิทัล และใชประโยชนจากเทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อการ
ประกอบอาชีพและการดํารงชีวิต เปนรากฐานของการพัฒนาที่ยั่งยืน
ผูดําเนินการหลัก: กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
กระทรวงศึกษาธิการ
กระทรวงมหาดไทย และองคการบริหารสวนจังหวัด/อําเภอ/ตําบล
• สงเสริมการใหประชาชนทุกกลุมมีมีชองทางในการเรียนรูตลอดชีวิตรูปแบบใหม โดยผานระบบการเรียนรูในระบบเปดที่
เรียกวา MOOCs (Massive Open Online Courses) นอกจากนี้ประชาชนที่อาศัยอยูในพื้นที่ชายขอบของประเทศซึ่งเปนพื้นที่
หางไกลที่ยังไมมีไฟฟาสัญญาณอินเทอรเน็ตและสัญญาณโทรศัพทมือถือจะไดรับโอกาสในการเขาถึงขอมูลความรูมากยิ่งขึ้น
ผูดําเนินการหลัก: กระทรวงศึกษาธิการ
กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
กระทรวงวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
กระทรวงมหาดไทย และองคการบริหารสวนจังหวัด/อําเภอ/ ตําบล
44
ดานสังคมดิจิทัล
สงเสริมการใชดิจิทัลอยางสรางสรรคและรับผิดชอบตอสังคม รณรงคและเสริมสรางทักษะดิจิทัลใหแก
ประชาชน ทั้งเด็กเยาวชนในและนอกระบบการศึกษาครูผูปกครองรวมถึงทั้งคนพิการผูดอยโอกาสและผูสูงอายุ ให
สามารถเขาถึงเรียนรูและไดประโยชนจากการใชเทคโนโลยีดิจิทัลอยางปลอดภัยสรางสรรคมีจริยธรรมและตระหนัก
ถึงผลกระทบตอสังคม เพื่อเตรียมความพรอมของประชาชนไทยสูการเปนพลเมืองดิจิทัลในอนาคตตอไป
ผูดําเนินการหลัก: กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
กระทรวงศึกษาธิการ
• การสรางเมืองนาอยูและปลอดภัย ดวยการบูรณาการเชื่อมโยง CCTV ที่มีอยูแลวในจังหวัดภูเก็ตและการ
ประมวลผลภาพเพื่อปองกันอาชญากรรมเชิงรุก การพัฒนาระบบรายงานสภาพจราจรแบบ real time และระบบ
บอกเวลารถเขาปาย การใชดิจิทัลเทคโนโลยีเพื่อการกวดขันวินัยจราจรภายในจังหวัด และการพัฒนาศูนยสั่งการ
อัจฉริยะ
ผูดําเนินการหลัก: จังหวัดภูเก็ต
กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
การศึกษาและ
การเรียนรู
ตลอดชีวิต
สาธารณสุข
เพิ่มทักษะ
การใชเทคโนโลยี
ดิจิทัล
สรางและเชื่อมตอระบบทะะเบียนสุขภาพอิเล็กทรอนิกสสวนบุคล (Personal Health Record: PHR) เชื่อมโยง
รพ.สต. ทั่วประเทศ เพื่อใหผูปวยหรือประชาชนไมนอยกวา ๑,๐๐๐,๐๐๐ คน ไดรับประโยชน โดยปแรกมีผูเขาใช
ระบบไมนอยกวา ๑๕๐,๐๐๐ ราย
กิจกรรมขับเคลื่อนระยะเรงดวน ๑ ป ๖ เดือน
สังคม
• ผูพิการ/ผูสูงอายุ/ผูดอยโอกาส มีทักษะในการใชประโยชนจากดิจิทัล สรางรายได
สรางอาชีพไดอยางสรางสรรคไมนอยกวา ๘,๐๐๐ ราย
• นักเรียน นักศึกษา และบุคลากร สังกัดสํานักงานคณะกรรมการอาชีวศึกษา
๗๐๐,๐๐๐ คน และประชาชนทั่วไปเขาถึงสื่อดิจิทัลดานอาชีพและวิชาชีพได
ตลอดเวลา ไมนอยกวา ๔๐๐,๐๐๐ คน
• สรางทักษะ ความรู ความเขาใจ ความตระหนัก ในการใชดิจิทัลเทคโนโลยี ใหเกิด
ประโยชนและสรางสรรค(Digital Literacy) ไมนอยกวา ๖๐๐,๐๐๐ คน
• บูรณาการแพลตฟอรมการศึกษาออนไลนหลักสําหรับประชาชนผานระบบการจัดการการเรียน
การสอนออนไลนแบบเปด(MOOC)ทั้งในและนอกระบบการศึกษา
• สรางระบบ e-Learning ที่มี Mobile App. สําหรับประชาชนทุกกลุม ไดแก ประชาชนทั่วไป
ขาราชการ ผูประกอบการ ลูกจาง เพื่อเพิ่มทักษะการสื่อสารภาษาอังกฤษและภาษาอื่นที่จําเปน
เพื่อเขาสู AEC
• โรงเรียนชายขอบ ๒๐ โรงเรียน เขาถึงอินเทอรเน็ตความเร็วสูงและสื่อการเรียนรูไดทัดเทียมกับ
โรงเรียนในเมือง
45 นโยบายตางประเทศ
๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖ ๗
ความทาทาย วิสัยทัศน เปาหมาย ยุทธศาสตร การขับเคลื่อนภูมิทัศน
การบริการภาครัฐ
ยกระดับคุณภาพงานบริการภาครัฐ เชน ปรับกระบวนการดําเนินการภาครัฐ โดยนําเทคโนโลยีดิจิทัลมาใชในการพัฒนา
ระบบสนับสนุนงานบริการประชาชน ตาม พ.ร.บ. อํานวยความสะดวก ๒๕๕๘ บูรณาการขอมูลและระบบงานภาครัฐเพื่อสนับสนุน
มาตรการและนโยบายของรัฐบาลผานอุปกรณสื่อสารแบบเคลื่อนที่ และอํานวยความสะดวกแกประชาชนในการใชบริการของรัฐ
ไดแก การอํานวยความสะดวกแกผูประกอบการในการเริ่มตนธุรกิจ และการอํานวยความสะดวกแกประชาชนในการลดสําเนาเมื่อ
ติดตอหรือใชบริการของรัฐการผลักดันชุดกฎหมายที่เกี่ยวกับการสงเสริมและพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมดิจิทัล
ผูดําเนินการหลัก: กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ (ก.พ.ร.)
• ลดขั้นตอนและกระบวนการในการอนุญาต รับแจง อนุมัติ ของหนวยงานราชการ เพื่อลดอุปสรรค เพิ่มประสิทธิภาพในการ
ใหบริการ โดยลดกระบวนการและการใชเอกสารที่ซับซอนเพิ่มเพิ่มความรวดเร็ว และโปรงใสในทุกขั้นตอน
ผูดําเนินการหลัก: หนวยงานภาครัฐที่ทําหนาที่เกี่ยวกับการใหบริการสาธารณะในรูปแบบตางๆสํานักงานคณะกรรมการ
พัฒนาระบบราชการ (ก.พ.ร.) และการบูรณาการงานบริการภาครัฐที่เกี่ยวของกับการดําเนินการ ๖๓ บริการหลัก (ตาม พ.ร.บ.
อํานวยความสะดวกฯ)
• ผลักดันกลุมกฎหมายที่เกี่ยวของเพื่อเปนการวางรากฐานในปรับเปลี่ยนโครงสรางเชิงสถาบัน ทั้งการจัดตั้งหนวยงาน การมี
กฎเกณฑกติกา เพื่อสรางความเชื่อมั่นในการใชเทคโนโลยีดิจิทัลในการทําธุรกรรม
ผูดําเนินการหลัก: กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา
สํานักงานคณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน และกิจการโทรคมนาคมแหงชาติ
เขาถึงและสราง
การมีสวนรวม
โครงสรางพื้นฐาน
กลางภาครัฐ
อํานวยความ
สะดวก
• มีกฎหมาย e-Gov ที่มีหลักการครอบคลุมถึง นโยบายและแผนยุทธศาสตรรัฐบาลดิจิดัล กําหนดและรับรองมาตรฐาน
บริการดิจิทัลของรัฐ การปกปองการขอมูล ดูแลความมั่นคงปลอดภัยขอมูลหนวยงานรัฐ ติดตามการปฎิบัติตามแผนและ
มาตรฐานตางๆ
• มีบริการโครงสรางพื้นฐานกลางภาครัฐ (Government Shared Infrastructure/Data Center) ผานบริการเครือขาย
ภาครัฐ (GIN) บริการ G-Cloud และ ระบบจดหมายอิเล็กทรอนิกสกลางเพื่อสื่อสารในภาครัฐ (MailGoThai)
กิจกรรมขับเคลื่อนระยะเรงดวน ๑ ป ๖ เดือน
• ลดการใชสําเนาเอกสารในบริการของภาครัฐ (Smart Service) ไมนอยกวา ๗๙ บริการ
• มีระบบอํานวยความสะดวกผูประกอบการในการเริ่มตนธุรกิจ (Doing Business Platform) โดยมีการ
จัดทําระบบสนับสนุนการดําเนินธุรกิจในชวงเริ่มตน
• มีการพัฒนาระบบติดตอสื่อสารแบบออนไลนสําหรับหนวยงานภาครัฐผานอุปกรณสื่อสารแบบเคลื่อนที่
(G Chat) รองรับผูใชงานไมต่ํากวา ๑๕,๐๐๐ คน
มีศูนยกลางบริการภาครัฐสําหรับประชาชน (GovChannel) ๓ ชองทาง
๑. ผานเว็บไซต (govchannel.co.th, egov.go.th, data.go.th, info.go.th)
๒. ผานอุปกรณสื่อสารเคลื่อนที่ เชน สมารทโฟน แท็บเล็ต มีระบบสําคัญอาทิเชน G-News, ภาษีไปไหน
๓. ขยายการติดตั้งตูใหบริการอเนกประสงคภาครัฐ (Smart Government Kiosk) ครอบคลุมพื้นที่ทุกจังหวัด และมี e-
Service ระบบแสดงสิทธิและรับรองสิทธิ์การรักษาระบบตรวจสอบการนัดหมายระบบแสดงขอมูลผูใชไฟฟา
บริการภาครัฐ
52 นโยบายตางประเทศ
๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖ ๗
บริบท วิสัยทัศน เปาหมาย ยุทธศาสตร กิจกรรมขับเคลื่อนภูมิทัศน
กลไกการขับเคลื่อนแผนพัฒนาดิจิทัลฯ
57
นโยบายตางประเทศ
๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖ ๗
ความทาทาย วิสัยทัศน ภูมิทัศน เปาหมาย กิจกรรมขับเคลื่อนยุทธศาสตรบริบทไทย
๑. การขับเคลื่อนทิจกรรมและ
โครงการที่เปนรูปธรรมในระยะ
เรงดวน
๒. การปรับปรุงโครงสรางเชิง
สถาบันองคกร
๓. การบูรณาการงาน ขอมูล
งบประมาณ และทรัพยากร
๔. การติดตามความกาวหนา
ของนโยบาย และแผนงาน
Image source
• https://pbs.twimg.com/media/CbR9rJFW0AARACv.png
• http://www.codium.com.au/wp-content/uploads/2013/04/Internet-of-Things.jpg
• http://www.i-runway.com/blog/wp-content/uploads/2015/05/3D-heart.jpg
• http://image.slidesharecdn.com/glasstechnologyvisitadayoffuturerecovered-
130917235125-phpapp01/95/future-of-glass-20-638.jpg?cb=1380373917
• http://cdn.psfk.com/wp-content/uploads/2014/11/couple-playing-a-videogame.jpg
• http://www.shsu.edu/programs/master-of-science-in-digital-forensics/images/digital-
forensics.jpg
• www.freepik.com
58
ขอบคุณ
www.digitalthailand.in.th/
59
Australia
ออสเตรเลียมีเป้าหมายจะเป็นประเทศชั้นนํา
ระดับโลกด ้านดิจิทัล โดยเน้นการพัฒนา
โครงข่ายบรอดแบนด์ไปทั่วไปประเทศรวมถึง
พื้นที่ห่างไกล เพิ่มการใช ้ประโยชน์ในภาค
ธุรกิจและประชาชาสังคม พัฒนารัฐบาล
อิเล็กทรอนิกส์ และสนใจเป็นพิเศษในเรื่อง
การใช ้เทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อบริหารจัด
การพลังงาน สุขภาพ การศึกษา รวมไปถึงการ
ทํางานแบบทางไกล
Canada
แคนาดามีเป้าหมายจะเป็น Digital Canada
ที่เจริญรุ่งเรื่อง โดยมุ่งไปที่การพัฒนา
โครงสร ้างพื้นฐานเพื่อเชื่อมต่อทุกคน
คุ้มครองความปลอดภัยและความเป็นส่วนตัว
ของประชาชน สร ้างโอกาสทางเศรษฐกิจด ้วย
การส่งเสริมการใช ้ในภาคธุรกิจและการพัฒนา
ธุรกิจเกิดใหม่ พัฒนารัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์
และเน้นเรื่องการพัฒนาเนื้อหาดิจิทัลของ
แคนาดาเอง
Ireland
ไอร์แลนด์พยายามที่ใช ้เทคโนโลยีดิจิทัลให ้
มากขึ้น โดยเน้นให ้ธุรกิจ SMEs มาอยู่บนโลก
ออนไลน์ และการสร ้างธุรกิจเกิดใหม่ เพิ่มการ
ใช ้ดิจิทัลของประชาชน โดยเฉพาะผู้สูงอายุ
และผู้ด ้อยโอกาส เน้นการสร ้างระบบ e-
Learning และพัฒนาการศึกษา และยังมี
มาตรการข ้ามหน่วยงานรัฐเช่น การพัฒนา
โครงสร ้างพื้นฐานบรอดแบนด์ และการพัฒนา
รัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์
Malaysia
มาเลเซียจะใข ้เทคโนโลยีดิจิทัลเป็นกลไก
ไปสู่นโยบายจะเป็นประเทศที่พัฒนาแล ้วของ
รัฐบาล โดยมีขอบเขตของ Digital Malaysia
ที่ครอบคลุมกว ้างมากตั้งแต่การพัฒนาการ
เข ้าถึงและการใช ้ประโยชน์จากเทคโนโลยี
พัฒนาอุตสาหกรรมดิจิทัลที่รวมถึง ICT
Services, eCommerce, ICT
Manufacturing, ICT Trade, Content &
Media และเน้นไปที่กลุ่มเป้าหมาย 4 กลุ่มคือ
ธุรกิจเกิดใหม่ด ้านดิจิทัล กลุ่มคน 40% ล่าง
ของประเทศ กลุ่มแรงงานดิจิทัล และกลุ่ม
SMEs
Singapore
สิงคโปร์กําลังมุ่งไปสู่การเป็น Smart Nation
แห่งแรกของโลก โดยเน้นในเรื่องการใช ้
ประโยชน์จากข ้อมูลและเทคโนโลยีใหม่ๆ การ
พัฒนากําลังคนดิจิทัลตั้งแต่เด็กไปจนถึงการ
สร ้างธุรกิจ การใช ้เทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อ
พัฒนาบริการสุขภาพ การศึกษา การเดินทาง
และการช่วยเหลือสังคม รวมไปถึงการลด
ความเหลื่อมลํ้าดิจิทัลในกลุ่มผู้สูงอายุและ
ผู้ด ้อยโอกาส และยังเน้นเป็นพิเศษในด ้าน
พัฒนาเทคโนโลยีใหม่ๆจากการวิจัยไปสู่
อุตสาหกรรม สิงค์โปร์ไม่เน้นเรื่องบรอดแบนด์
แต่กําลังจะสร ้างโครงข่ายเซ็นเซอร์ทั่ว
ประเทศ
United Kingdom
อังกฤษมีเป้าหมายไปสู่ระบบเศรษฐกิจแห่ง
ข ้อมูลที่เพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขัน
ของประเทศ โดยเน้นการพัฒนาอุตสาหกรรม
ดิจิทัลเพื่อส่งออกสินค ้าและบริการไปสู่โลก
รวมถึงการพัฒนามาตรฐานเทคโนโลยี และ
เร่งกระตุ้นให ้ภาคธุรกิจใช ้ประโยชน์จาก
เทคโนโลยีดิจิทัลและข ้อมูลโดยเฉพาะ SMEs
และสําหรับประโยชน์ประชาชนเน้นการเข ้าถึง
บริการอิเล็กทรอนิกส์ของรัฐ การส่งเสริม
พัฒนาทักษะการใช ้ดิจิทัล และการสร ้าง
Smart Cities ที่ให ้บริการสุขภาพ พลังงาน
คมนาคม ฯลฯ ส่วนด ้านปัจจัยพื้นฐานแห่ง
ความสําเร็จ จะเน้นพัฒนากําลังคนดิจิทัล
ขยายโครงสร ้างพื้นฐานบรอดแบนด์ และเพิ่ม
ความปลอดภัยไซเบอร์และความเป็นส่วนตัว
SLIDE 3 -Backup
สรุปจุดเด่นของประเทศตัวอย่าง
เปรียบเทียบแนวทางการพัฒนาดิจิทัลตางประเทศ
พัฒนาโครงสรางพื้นฐาน
พัฒนาอุตสาหกรรมดิจิทัล
พัฒนาและสงเสริมนวัตกรร
พัฒนาและใชประโยชนจากขอมูล
สรางธุรกิจเกิดใหม
พัฒนากําลังคนดิจิทัล
สงเสริมการใชในภาคธุรกิจ
สงเสริมการคาออนไลน/ SMEs
สงเสริมอุตสาหกรรมเนื้อหาดิจิทัล
ลดความเหลื่อมล้ําทางการเขาถึง
เพิ่มความปลอดภัยและ
ความเปนสวนตัว
สรางกฎ กติกา มาตรฐาน
พัฒนาการศึกษา
พัฒนาระบบบริการสุขภาพ
บริหารจัดการพลังงาน
พัฒนาระบบคมนาคม
เปรียบเทียบแนวทางการพัฒนาดิจิทัลตางประเทศ
สงเสริมการใชของประชาชน
พัฒนารัฐบาลอิเล็กทรอนิกส
สรางการทํางานแบบ telework

More Related Content

What's hot

ICT2020 Presentation For NITC
ICT2020 Presentation For  NITCICT2020 Presentation For  NITC
ICT2020 Presentation For NITCICT2020
 
การบูรณาการสมรรถนะเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อพัฒน...
การบูรณาการสมรรถนะเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อพัฒน...การบูรณาการสมรรถนะเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อพัฒน...
การบูรณาการสมรรถนะเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อพัฒน...Panita Wannapiroon Kmutnb
 
20100701 I C T2020 Lifelong Presentation V3
20100701  I C T2020 Lifelong Presentation V320100701  I C T2020 Lifelong Presentation V3
20100701 I C T2020 Lifelong Presentation V3ICT2020
 
Introduction to Apply Social Networking for Goverment Agencies in Thailand
Introduction to Apply Social Networking for Goverment Agencies in ThailandIntroduction to Apply Social Networking for Goverment Agencies in Thailand
Introduction to Apply Social Networking for Goverment Agencies in Thailandsiriporn pongvinyoo
 
Factors influencing purchase decisions in thailand for clothing from vendors ...
Factors influencing purchase decisions in thailand for clothing from vendors ...Factors influencing purchase decisions in thailand for clothing from vendors ...
Factors influencing purchase decisions in thailand for clothing from vendors ...PridaKaewchai
 
แผนพัฒนารัฐบาลดิจิทัลของประเทศไทย ระยะ 3 ปี (พ.ศ.2559 2561)
แผนพัฒนารัฐบาลดิจิทัลของประเทศไทย ระยะ 3 ปี (พ.ศ.2559 2561)แผนพัฒนารัฐบาลดิจิทัลของประเทศไทย ระยะ 3 ปี (พ.ศ.2559 2561)
แผนพัฒนารัฐบาลดิจิทัลของประเทศไทย ระยะ 3 ปี (พ.ศ.2559 2561)Totsaporn Inthanin
 
พระราชบัญญัติ การพัฒนาดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม พ.ศ. ๒๕๖๐
พระราชบัญญัติ การพัฒนาดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม พ.ศ. ๒๕๖๐พระราชบัญญัติ การพัฒนาดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม พ.ศ. ๒๕๖๐
พระราชบัญญัติ การพัฒนาดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม พ.ศ. ๒๕๖๐National Science and Technology Development Agency (NSTDA) - Thailand
 
Draft1_ICT2020_for_PublicHearing_Aug2010
Draft1_ICT2020_for_PublicHearing_Aug2010Draft1_ICT2020_for_PublicHearing_Aug2010
Draft1_ICT2020_for_PublicHearing_Aug2010ICT2020
 
การจัดการนวัตกรรมและสารสนเทศ
การจัดการนวัตกรรมและสารสนเทศการจัดการนวัตกรรมและสารสนเทศ
การจัดการนวัตกรรมและสารสนเทศPrachyanun Nilsook
 
Smart Online 3 "Trust on Mobile Internet"
Smart Online 3 "Trust on Mobile Internet"Smart Online 3 "Trust on Mobile Internet"
Smart Online 3 "Trust on Mobile Internet"คุณโจ kompat
 
AI เทคโนโลยีปัญญาประดิษฐ์
AI เทคโนโลยีปัญญาประดิษฐ์AI เทคโนโลยีปัญญาประดิษฐ์
AI เทคโนโลยีปัญญาประดิษฐ์wisit2009
 
รายงานผลการสำรวจพฤติกรรมผู้ใช้อินเทอร์เน็ตในประเทศไทย 2557
รายงานผลการสำรวจพฤติกรรมผู้ใช้อินเทอร์เน็ตในประเทศไทย 2557รายงานผลการสำรวจพฤติกรรมผู้ใช้อินเทอร์เน็ตในประเทศไทย 2557
รายงานผลการสำรวจพฤติกรรมผู้ใช้อินเทอร์เน็ตในประเทศไทย 2557Yakuzaazero
 
วัยใส วัยเก๋า ฉลาดรู้เน็ต 2
วัยใส วัยเก๋า ฉลาดรู้เน็ต 2วัยใส วัยเก๋า ฉลาดรู้เน็ต 2
วัยใส วัยเก๋า ฉลาดรู้เน็ต 2ETDAofficialRegist
 

What's hot (19)

Roiet
RoietRoiet
Roiet
 
ICT 2020
ICT 2020ICT 2020
ICT 2020
 
ICT2020 Presentation For NITC
ICT2020 Presentation For  NITCICT2020 Presentation For  NITC
ICT2020 Presentation For NITC
 
หลากหลายวิธีการใช้ Ict เพื่อการเรียนการสอน
หลากหลายวิธีการใช้ Ict เพื่อการเรียนการสอนหลากหลายวิธีการใช้ Ict เพื่อการเรียนการสอน
หลากหลายวิธีการใช้ Ict เพื่อการเรียนการสอน
 
2555 Thailand e-Government Report
2555 Thailand e-Government Report2555 Thailand e-Government Report
2555 Thailand e-Government Report
 
การบูรณาการสมรรถนะเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อพัฒน...
การบูรณาการสมรรถนะเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อพัฒน...การบูรณาการสมรรถนะเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อพัฒน...
การบูรณาการสมรรถนะเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อพัฒน...
 
20100701 I C T2020 Lifelong Presentation V3
20100701  I C T2020 Lifelong Presentation V320100701  I C T2020 Lifelong Presentation V3
20100701 I C T2020 Lifelong Presentation V3
 
Introduction to Apply Social Networking for Goverment Agencies in Thailand
Introduction to Apply Social Networking for Goverment Agencies in ThailandIntroduction to Apply Social Networking for Goverment Agencies in Thailand
Introduction to Apply Social Networking for Goverment Agencies in Thailand
 
Factors influencing purchase decisions in thailand for clothing from vendors ...
Factors influencing purchase decisions in thailand for clothing from vendors ...Factors influencing purchase decisions in thailand for clothing from vendors ...
Factors influencing purchase decisions in thailand for clothing from vendors ...
 
แผนพัฒนารัฐบาลดิจิทัลของประเทศไทย ระยะ 3 ปี (พ.ศ.2559 2561)
แผนพัฒนารัฐบาลดิจิทัลของประเทศไทย ระยะ 3 ปี (พ.ศ.2559 2561)แผนพัฒนารัฐบาลดิจิทัลของประเทศไทย ระยะ 3 ปี (พ.ศ.2559 2561)
แผนพัฒนารัฐบาลดิจิทัลของประเทศไทย ระยะ 3 ปี (พ.ศ.2559 2561)
 
พระราชบัญญัติ การพัฒนาดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม พ.ศ. ๒๕๖๐
พระราชบัญญัติ การพัฒนาดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม พ.ศ. ๒๕๖๐พระราชบัญญัติ การพัฒนาดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม พ.ศ. ๒๕๖๐
พระราชบัญญัติ การพัฒนาดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม พ.ศ. ๒๕๖๐
 
Draft1_ICT2020_for_PublicHearing_Aug2010
Draft1_ICT2020_for_PublicHearing_Aug2010Draft1_ICT2020_for_PublicHearing_Aug2010
Draft1_ICT2020_for_PublicHearing_Aug2010
 
ETDA ANNUAL REPORT 2013
ETDA ANNUAL REPORT 2013ETDA ANNUAL REPORT 2013
ETDA ANNUAL REPORT 2013
 
ETDA annual report 2014
ETDA annual report 2014ETDA annual report 2014
ETDA annual report 2014
 
การจัดการนวัตกรรมและสารสนเทศ
การจัดการนวัตกรรมและสารสนเทศการจัดการนวัตกรรมและสารสนเทศ
การจัดการนวัตกรรมและสารสนเทศ
 
Smart Online 3 "Trust on Mobile Internet"
Smart Online 3 "Trust on Mobile Internet"Smart Online 3 "Trust on Mobile Internet"
Smart Online 3 "Trust on Mobile Internet"
 
AI เทคโนโลยีปัญญาประดิษฐ์
AI เทคโนโลยีปัญญาประดิษฐ์AI เทคโนโลยีปัญญาประดิษฐ์
AI เทคโนโลยีปัญญาประดิษฐ์
 
รายงานผลการสำรวจพฤติกรรมผู้ใช้อินเทอร์เน็ตในประเทศไทย 2557
รายงานผลการสำรวจพฤติกรรมผู้ใช้อินเทอร์เน็ตในประเทศไทย 2557รายงานผลการสำรวจพฤติกรรมผู้ใช้อินเทอร์เน็ตในประเทศไทย 2557
รายงานผลการสำรวจพฤติกรรมผู้ใช้อินเทอร์เน็ตในประเทศไทย 2557
 
วัยใส วัยเก๋า ฉลาดรู้เน็ต 2
วัยใส วัยเก๋า ฉลาดรู้เน็ต 2วัยใส วัยเก๋า ฉลาดรู้เน็ต 2
วัยใส วัยเก๋า ฉลาดรู้เน็ต 2
 

Similar to Digital Economy Plan of Thailand : Slide

การบริหารจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศยุคใหม่ และผลกระทบกับองค์กร
การบริหารจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศยุคใหม่ และผลกระทบกับองค์กรการบริหารจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศยุคใหม่ และผลกระทบกับองค์กร
การบริหารจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศยุคใหม่ และผลกระทบกับองค์กรSoftware Park Thailand
 
20100616 better health-slides-part1
20100616 better health-slides-part120100616 better health-slides-part1
20100616 better health-slides-part1ICT2020
 
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารTuaLek Kitkoot
 
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารjintara022
 
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารYui Yui
 
Smart Industry Vol.15/2010 "Logistics เพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันของเอสเอ็...
Smart Industry Vol.15/2010 "Logistics เพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันของเอสเอ็...Smart Industry Vol.15/2010 "Logistics เพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันของเอสเอ็...
Smart Industry Vol.15/2010 "Logistics เพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันของเอสเอ็...Software Park Thailand
 
สร้างสังคมดีด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ
สร้างสังคมดีด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศสร้างสังคมดีด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ
สร้างสังคมดีด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศSatapon Yosakonkun
 
Slide งานแถลงข่าวของ IMC Institute และ Optimus (Thailand) เรื่อง IT Trends 2018
Slide  งานแถลงข่าวของ IMC Institute และ Optimus (Thailand) เรื่อง IT Trends 2018Slide  งานแถลงข่าวของ IMC Institute และ Optimus (Thailand) เรื่อง IT Trends 2018
Slide งานแถลงข่าวของ IMC Institute และ Optimus (Thailand) เรื่อง IT Trends 2018IMC Institute
 
Ega แนวทางการพัฒนารัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์ประเทศไทย 20140917_k.airada
Ega แนวทางการพัฒนารัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์ประเทศไทย 20140917_k.airadaEga แนวทางการพัฒนารัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์ประเทศไทย 20140917_k.airada
Ega แนวทางการพัฒนารัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์ประเทศไทย 20140917_k.airadaElectronic Government Agency (Public Organization)
 

Similar to Digital Economy Plan of Thailand : Slide (20)

กรอบนโยบายเทคโนโลยสารสนเทศและการสอสาร ระยะ พ.ศ. ๒๕๕๔-๒๕๖๓ ของประเทศไทย
กรอบนโยบายเทคโนโลยสารสนเทศและการสอสาร ระยะ พ.ศ. ๒๕๕๔-๒๕๖๓ ของประเทศไทยกรอบนโยบายเทคโนโลยสารสนเทศและการสอสาร ระยะ พ.ศ. ๒๕๕๔-๒๕๖๓ ของประเทศไทย
กรอบนโยบายเทคโนโลยสารสนเทศและการสอสาร ระยะ พ.ศ. ๒๕๕๔-๒๕๖๓ ของประเทศไทย
 
คุณเมธินี
คุณเมธินีคุณเมธินี
คุณเมธินี
 
Bangkok1
Bangkok1Bangkok1
Bangkok1
 
ผลงาน Free wifi นำเสนอ
ผลงาน Free wifi นำเสนอผลงาน Free wifi นำเสนอ
ผลงาน Free wifi นำเสนอ
 
Group1
Group1Group1
Group1
 
การบริหารจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศยุคใหม่ และผลกระทบกับองค์กร
การบริหารจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศยุคใหม่ และผลกระทบกับองค์กรการบริหารจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศยุคใหม่ และผลกระทบกับองค์กร
การบริหารจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศยุคใหม่ และผลกระทบกับองค์กร
 
200809026 Thai E Commerce Government
200809026 Thai E Commerce Government200809026 Thai E Commerce Government
200809026 Thai E Commerce Government
 
20100616 better health-slides-part1
20100616 better health-slides-part120100616 better health-slides-part1
20100616 better health-slides-part1
 
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
 
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
 
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
 
Ubiquitous - ICT
Ubiquitous - ICTUbiquitous - ICT
Ubiquitous - ICT
 
Smart Industry Vol.15/2010 "Logistics เพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันของเอสเอ็...
Smart Industry Vol.15/2010 "Logistics เพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันของเอสเอ็...Smart Industry Vol.15/2010 "Logistics เพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันของเอสเอ็...
Smart Industry Vol.15/2010 "Logistics เพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันของเอสเอ็...
 
Group5
Group5Group5
Group5
 
สร้างสังคมดีด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ
สร้างสังคมดีด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศสร้างสังคมดีด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ
สร้างสังคมดีด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
Slide งานแถลงข่าวของ IMC Institute และ Optimus (Thailand) เรื่อง IT Trends 2018
Slide  งานแถลงข่าวของ IMC Institute และ Optimus (Thailand) เรื่อง IT Trends 2018Slide  งานแถลงข่าวของ IMC Institute และ Optimus (Thailand) เรื่อง IT Trends 2018
Slide งานแถลงข่าวของ IMC Institute และ Optimus (Thailand) เรื่อง IT Trends 2018
 
Ega แนวทางการพัฒนารัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์ประเทศไทย 20140917_k.airada
Ega แนวทางการพัฒนารัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์ประเทศไทย 20140917_k.airadaEga แนวทางการพัฒนารัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์ประเทศไทย 20140917_k.airada
Ega แนวทางการพัฒนารัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์ประเทศไทย 20140917_k.airada
 
20190220 digital-archives
20190220 digital-archives20190220 digital-archives
20190220 digital-archives
 
Pea Workshop 2009 20 5 09
Pea Workshop 2009 20 5 09Pea Workshop 2009 20 5 09
Pea Workshop 2009 20 5 09
 
oss-freeware-knowledge-collection
oss-freeware-knowledge-collectionoss-freeware-knowledge-collection
oss-freeware-knowledge-collection
 

More from Boonlert Aroonpiboon

More from Boonlert Aroonpiboon (20)

Excel quiz
Excel quizExcel quiz
Excel quiz
 
Scival for Research Performance
Scival for Research PerformanceScival for Research Performance
Scival for Research Performance
 
20190726 icde-session-chularat-nstda-4
20190726 icde-session-chularat-nstda-420190726 icde-session-chularat-nstda-4
20190726 icde-session-chularat-nstda-4
 
20190409 social-media-backup
20190409 social-media-backup20190409 social-media-backup
20190409 social-media-backup
 
20190220 open-library
20190220 open-library20190220 open-library
20190220 open-library
 
OER KKU Library
OER KKU LibraryOER KKU Library
OER KKU Library
 
Museum digital-code
Museum digital-codeMuseum digital-code
Museum digital-code
 
OER MOOC - Success Story
OER MOOC - Success StoryOER MOOC - Success Story
OER MOOC - Success Story
 
LAM Code of conduct
LAM Code of conductLAM Code of conduct
LAM Code of conduct
 
RLPD - OER MOOC
RLPD - OER MOOCRLPD - OER MOOC
RLPD - OER MOOC
 
New Technology for Information Services
New Technology for Information ServicesNew Technology for Information Services
New Technology for Information Services
 
New Technology for Information Services
New Technology for Information ServicesNew Technology for Information Services
New Technology for Information Services
 
digital law for GLAM
digital law for GLAMdigital law for GLAM
digital law for GLAM
 
20180919 digital-collections
20180919 digital-collections20180919 digital-collections
20180919 digital-collections
 
Field-Weighted Citation Impact (FWCI)
Field-Weighted Citation Impact (FWCI)Field-Weighted Citation Impact (FWCI)
Field-Weighted Citation Impact (FWCI)
 
20180828 digital-archives
20180828 digital-archives20180828 digital-archives
20180828 digital-archives
 
Local Wisdom Information : How to
Local Wisdom Information : How toLocal Wisdom Information : How to
Local Wisdom Information : How to
 
201403 etda-library-settup
201403 etda-library-settup201403 etda-library-settup
201403 etda-library-settup
 
201403 etda-library
201403 etda-library201403 etda-library
201403 etda-library
 
MOOC - OER ... Royal Project in Thailand
MOOC - OER ... Royal Project in ThailandMOOC - OER ... Royal Project in Thailand
MOOC - OER ... Royal Project in Thailand
 

Digital Economy Plan of Thailand : Slide

  • 2. หัวขอ การนําเสนอ ๓. วิสัยทัศน ๖. ภูมิทัศนดิจิทัลในกรอบ ระยะเวลา ๒๐ ป ๔. เปาหมาย๕. ยุทธศาสตร ๗. กิจกรรมขับเคลื่อนระยะ เรงดวน ๑ ป ๖ เดือน ๒. บริบทความทาทายของไทย 2 ๑. นโยบายดิจิทัลในตางประเทศ
  • 3. นโยบายดิจิทัลในตางประเทศ (Country Plan Year Aspiration) Ireland National Digital Strategy 2013-2015 Do more with digital United Kingdom Information Economy Strategy 2013-2018 For a thriving UK information economy, enhancing national competitiveness Canada Digital Canada 150 2014-2017 Towards a Thriving Digital Canada Europe Digital Agenda 2011-2020 Develop a digital single market to generate smart, sustainable and inclusive growth in Europe Korea K-ICT Strategy 2015-2020 Transform into a creative economy Malaysia Digital Malaysia 2012-2020 Assist towards Malaysia’s Vision 2020, becoming a high-income nation Singapore Infocomm Media 2025 2015-2025 Towards the world’s first smart nation Australia #au20 National Digital Economy Strategy 2011-2020 Stand among the world’s leading digital economies by 2020 นโยบายตางประเทศ ๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖ ๗ บริบท วิสัยทัศน เปาหมาย ยุทธศาสตร กิจกรรมขับเคลื่อนภูมิทัศน
  • 4. เปรียบเทียบแนวทางการพัฒนาดิจิทัลตางประเทศ นโยบายตางประเทศ ๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖ ๗ บริบท วิสัยทัศน เปาหมาย ยุทธศาสตร กิจกรรมขับเคลื่อนภูมิทัศน พัฒนาโครงสรางพื้นฐาน พัฒนาอุตสาหกรรมดิจิทัล พัฒนาและสงเสริมนวัตกรร พัฒนาและใชประโยชนจากขอมูล สรางธุรกิจเกิดใหม พัฒนากําลังคนดิจิทัล สงเสริมการใชในภาคธุรกิจ สงเสริมการคาออนไลน/ SMEs ลดความเหลื่อมล้ําทางการเขาถึง สงเสริมการใชของประชาชน พัฒนารัฐบาลอิเล็กทรอนิกส เพิ่มความปลอดภัยและ ความเปนสวนตัว สรางกฎ กติกา มาตรฐาน พัฒนาการศึกษา พัฒนาระบบบริการสุขภาพ พัฒนาระบบคมนาคม สรางการทํางานแบบ telework บริหารจัดการพลังงาน สงเสริมอุตสาหกรรมเนื้อหาดิจิทัล
  • 5. บริบทความทาทายของไทย กาวขามกับดักรายไดปานกลาง พัฒนาขีดความสามารถของเกษตร อุตสาหกรรม และบริการ ปรับตัวและฉกฉวย โอกาสจากการ รวมกลุมทางเศรษฐกิจ แกปญหาความเหลื่อมล้ํา ของสังคม บริหารจัดการ สังคมผูสูงอายุ แกปญหา คอรัปชั่น พัฒนาศักยภาพคนในประเทศ 5 นโยบายตางประเทศ ๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖ ๗ ความทาทาย วิสัยทัศน เปาหมาย ยุทธศาสตร การขับเคลื่อนภูมิทัศน
  • 6. บริบทความทาทายจากพลวัตรของเทคโนโลยีดิจิทัล • ความเปลี่ยนแปลงทางเทคโนโลยี • การหลอมรวมระหวางออนไลนและออฟไลน • ผูบริโภคกลายเปนผูผลิต • การแขงขันบนฐานของนวัตกรรม • ยุคของระบบอัจฉริยะ • การแขงขันดวยขอมูล • การแพรระบาดของภัยไซเบอร • การเปลี่ยนแปลงโครงสรางกําลังคน นโยบายตางประเทศ ๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖ ๗ ความทาทาย วิสัยทัศน ภูมิทัศน เปาหมาย กิจกรรมขับเคลื่อนยุทธศาสตร 6 บริบทไทย
  • 8. 8 นโยบายตางประเทศ ๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖ ๗ ความทาทาย วิสัยทัศน ภูมิทัศน เปาหมาย กิจกรรมขับเคลื่อนยุทธศาสตรบริบทไทย สถานภาพการพัฒนาดิจิทัลของไทย (โครงสรางพื้นฐาน) โครงสรางพื้นฐาน • มี fixed broadband penetration เพียงรอยละ ๙ แมวา mobile penetration จะสูงถึง รอยละ ๕๒.๕ • ในระดับหมูบาน มีประมาณ รอยละ ๕๓ จากจํานวน ๗๔,๙๖๕ ที่สามารถเขาถึงบริการอินเทอรเน็ตความเร็วสูงได ที่เหลือเปนหมูบานหางไกล รวมถึง โรงเรียน โรงพยาบาล องคการบริหารสวนตําบลที่ยังไมสามารถเขาถึงโครงขายบ รอดแบนดได • ราคาคาบริการบรอดแบนดคิดเปนรอยละ ๕.๘ ของ GNP สูง กวามาเลเซียและสิงคโปรมาก • ปจจุบันประเทศไทยมีเคเบิลใตน้ํา เพียง ๑๑ เสน (ใชงานอยูจริง ๕ เสน) และมี landing stations ๔ แหงยังนอยกวาสิงคโปร และ มาเลเซียมาก
  • 9. 9 นโยบายตางประเทศ ๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖ ๗ ความทาทาย วิสัยทัศน ภูมิทัศน เปาหมาย กิจกรรมขับเคลื่อนยุทธศาสตรบริบทไทย สถานภาพการพัฒนาดิจิทัลของไทย (เศรษฐกิจ) • การใชเทคโนโลยีในภาคธุรกิจยังต่ํา โดยเฉพาะ SMEs ในป ๒๕๕๗ มีการใชคอมพิวเตอรรอยละ ๒๒.๖ และอินเทอรเน็ต รอยละ ๑๘.๓ และมีการขายสินคาออนไลนเพียง ๑.๔ • ธุรกิจ SMES ไทยแทบไมมีการลงทุนในเทคโนโลยีเพื่อเพิ่ม ผลิตภาพทางธุรกิจ ไมมีความสามารถในการแขงขันเชิง นวัตกรรม ดิจิทัลกับภาคเศรษฐกิจ • อุตสากรรมดิจิทัลเผชิญกับภาวะความผันผวนทางเศรษฐกิจ และคาแรงที่สูงกวาประเทศเพื่อนบาน ในขณะที่ digital technology startups มีศักยภาพแตสวนใหญยังเปนขนาดเล็กมากและไมสามารถ ดึงดูดนักลงทุนจากทั้งในและตางประเทศได
  • 10. 10 นโยบายตางประเทศ ๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖ ๗ ความทาทาย วิสัยทัศน ภูมิทัศน เปาหมาย กิจกรรมขับเคลื่อนยุทธศาสตรบริบทไทย สถานภาพการพัฒนาดิจิทัลของไทย (สังคม) • โดยรวมการมีการใชเทคโนโลยีดิจิทัลของไทยยังต่ํา ในป ๒๕๕๗ มีผูใชคอมพิวเตอรเพียง รอยละ ๓๘.๒ และ อินเทอรเน็ต รอยละ ๓๕.๒ โดยกลุมผูใชในเมืองและกลุมที่ อายุต่ํากวา ๓๕ ปมีการเขาถึงและใชที่ดีกวากลุมอื่นๆ • ปจจุบันประเทศไทยมีศูนยการเรียนรูไอซีทีชุมชนจํานวน ๑,๙๘๐ แหง ยังไมครอบคลุมทั่วประเทศและยังตองมีการ ปรับปรุงประสิทธิภาพ • ไทยยังมีความรูและเนื้อหาในรูปแบบดิจิทัลไมเพียงพอ ถือ เปน content divide ดิจิทัลในภาคสังคม • ประชาชนยังคงเนนใชเทคโยโลยีเพื่อ ความบันเทิง และยังขาดทักษะการ คิด วิเคราะห แยกแยะสื่อและขอมูล ขาวสารที่จําเปนในการเขาสูสังคม ดิจิทัล
  • 11. 11 นโยบายตางประเทศ ๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖ ๗ ความทาทาย วิสัยทัศน ภูมิทัศน เปาหมาย กิจกรรมขับเคลื่อนยุทธศาสตรบริบทไทย สถานภาพการพัฒนาดิจิทัลของไทย (ภาครัฐ) • UN e-Government Readiness Ranking จัดใหประเทศ ไทยอยูในอันดับที่ ๑๐๒ จาก ๑๙๓ ประเทศทั่วโลก ในป ๒๕๕๗ (จากอันดับที่ ๙๒ ในป ๒๕๕๕) • Networked Readiness Index จัดใหอันดับดาน Government Usage ของไทยอยูที่ ๘๐ จาก ๑๔๓ ประเทศ • จาก Global Open Data Index ไทยอยูในอันดับที่ ๔๒ จาก ๑๒๒ ประเทศ โดยมีการเปดเผยขอมูลภาครัฐรอยละ ๓๖ อยางไรก็ตาม ประเทศไทยมีการเปดเผยขอมูลจัดซื้อจัดจาง ภาครัฐถึงรอยละ ๑๐๐ บริการภาครัฐ • ประเทศไทยยังคงมีปญหาการใหความ สะดวกในการบริการประชาชนซึ่งเกิดจาก กฎหมาย และระเบียบที่เปนอุปสรรค และ การไมสามารถเชื่อมโยงระบบงานและ ขอมูลได
  • 12. 12 นโยบายตางประเทศ ๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖ ๗ ความทาทาย วิสัยทัศน ภูมิทัศน เปาหมาย กิจกรรมขับเคลื่อนยุทธศาสตรบริบทไทย สถานภาพการพัฒนาดิจิทัลของไทย (ทรัพยากรมนุษย) • ในป ๒๕๕๗ ประเทศไทยมีผูทํางานดานไอซีที จํานวน ๕๗๐,๗๐๕ คนทั่วประเทศ คิดเปนรอยละ ๑.๔๙ ของ กําลังคนทั่วประเทศ (ต่ํากวามาเลเซียมาก) และสวนใหญ เปนชางเทคนิคระดับปฏิบัติการ • ประเทศไทยขาดกําลังดานไอซีทีจํานวนมาก โดยเฉพาะ ชาง เทคนิคปฏิบัตการไอซีที โปรแกรมเมอร และชางเทคนิคดาน เครือขายและระบบคอมพิวเตอร และในอนาคตจะตองการ กําลังคนทักษะเฉพาะ เชน Cloud Computing, Big Data, Mobile Application and Business Solution ทรัพยากรมนุษย • สําหรับคนที่ใชไอซีทีในการทํางาน พบวา สัดสวนของกลุมผูปฏิบัติงานในสถาน ประกอบการไมสูงนัก เนื่องจาก ผูประกอบการยังไมเห็นความจําเปนในการ นําเทคโนโลยีมาใชสําหรับธุรกิจ
  • 13. 13 นโยบายตางประเทศ ๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖ ๗ ความทาทาย วิสัยทัศน ภูมิทัศน เปาหมาย กิจกรรมขับเคลื่อนยุทธศาสตรบริบทไทย สถานภาพการพัฒนาดิจิทัลของไทย (ความเชื่อมั่น) • ปริมาณพาณิชยอิเล็กทรอนิกสของไทยเพิ่มสูงขึ้นทุกป โดนในป ๒๕๕๗ มีมูลคา ๒,๑๗๗,๖๙๑ ลานบาท อยางไร ก็ตามประชาชนจํานวนมากยังขาดความเชื่อมั่นในการ ทําธุรกรรมออนไลน • ภัยคุกคามไซเบอรเพิ่มสูงขึ้น โดย Malicious Code ถือ เปนภัยคุกคามอันดับ ๑ คิดเปนรอยละ ๔๓.๓ กฎหมาย กติกา • ประเทศไทยยังขาดกฎหมาย กฏระเบียบ ที่เกี่ยวของกับการพัฒนาดิจิทัล (ทั้งไมมีกฎหมาย กฎระเบียบ หรือมีแตไมทันตอเทคโนโลยี) โดยเฉพาะอยางยิ่งในเรื่อง ความมั่นคงปลอดภัย ไซเบอร การคุมครองขอมูลสวนบุคคล การทําธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส ฯลฯ
  • 14. ประเทศไทยใหความสําคัญกับการพัฒนาและ การนําไอซีที มาใชเปนเครื่องมือสนับสนุน (enabling technology) ในการพัฒนาประเทศ มาโดยตลอด แตในปจจุบัน รัฐบาลไดตระหนัก ถึงอิทธิพลของเทคโนโลยีดิจิทัลที่มีตอการ พัฒนาเศรษฐกิจและสังคม ซึ่งเปนทั้งโอกาส และความทาทายของประเทศไทย ที่จะปรับปรุง ทิศทางการดําเนินงานของประเทศดวยการใช ประโยชนสูงสุดจากเทคโนโลยีดิจิทัล นํามาสูการจัดทํา แผนพัฒนาดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม 14
  • 15. ดิจิทัลไทยแลนด (Digital Thailand) หมายถึง ประเทศไทยสามารถสรางสรรค และใชประโยชนจากเทคโนโลยีดิจิทัลอยางเต็ม ศักยภาพในการพัฒนา โครงสรางพื้นฐาน นวัตกรรม ขอมูล ทุนมนุษย และทรัพยากรอื่นใด เพื่อ ขับเคลื่อนการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของประเทศ ไปสูความมั่นคง มั่งคั่ง และยั่งยืน วิสัยทัศน นโยบายตางประเทศ ๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖ ๗ ความทาทาย วิสัยทัศน ภูมิทัศน เปาหมาย กิจกรรมขับเคลื่อนยุทธศาสตร 15 บริบทไทย ปฎิรูปประเทศไทยสู่ ดิจิทัลไทยแลนด์
  • 16. 16
  • 17. ๑. เพิ่มขีดความสามารถในการ แขงขัน กาวทันเวทีโลก ขีดความสามารถในการแขงขันของ ประเทศใน World Competitiveness Scoreboard อยูในกลุมประเทศที่มีการ พัฒนาสูงสุด ๑๕ อันดับแรก อุตสาหกรรมดิจิทัลมีสวนสําคัญในการขับเคลื่อนประเทศไทยสูการ เปนประเทศที่มีรายไดสูง โดยสัดสวนมูลคาอุตสาหกรรมดิจิทัลตอ GDP เพิ่มขึ้น เปนรอยละ ๒๕ ๒. สรางโอกาสและความเทา เทียมทางสังคม ประชาชนทุกคนตองสามารถเขาถึง อินเทอรเน็ตความเร็วสูงอันถือเปน สาธารณูปโภคพื้นฐานประเภทหนึ่ง ประชาชนทุกคน มีความรู ความ เขาใจ ความตระหนัก และทักษะ ในการใชเทคโนโลยีดิจิทัลใหเกิด ประโยชนและสรางสรรค (Digital Literacy) ๓. พัฒนาทุนมนุษย สูยุคดิจิทัล ๔.ปฏิรูปภาครัฐ อันดับการพัฒนาดานรัฐบาลดิจิทัล ในการ จัดลําดับของ UN e-Government rankings อยูในกลุมประเทศที่มีการพัฒนา สูงสุด ๕๐ อันดับแรก ดิจิทัลไทยแลนด อันดับการพัฒนาดานเทคโนโลยีสารสนเทศและการ สื่อสารของประเทศในดัชนี ICT Development Index (IDI) อยูในกลุมประเทศที่มีการพัฒนา สูงสุด ๔๐ อันดับแรก เปาหมาย ๑๐ ป 17 นโยบายตางประเทศ ๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖ ๗ ความทาทาย วิสัยทัศน เปาหมาย ยุทธศาสตร การขับเคลื่อนภูมิทัศน
  • 18. ยุทธศาสตร ๑.พัฒนาโครงสราง พื้นฐานดิจิทัล ประสิทธิภาพสูง ให ครอบคลุมทั่วประเทศ เขาถึง พรอมใช จายได ๒. ขับเคลื่อนเศรษฐกิจ ดวยเทคโนโลยีดิจิทัล ขับเคลื่อน New S-Curve เพิ่มศักยภาพ สรางธุรกิจ เพิ่มมูลคา ๓. สรางสังคมคุณภาพ ดวยเทคโนโลยีดิจิทัล สรางการมีสวนรวม การใชประโยชนอยางทั่วถึง และ เทาเทียม ๕. พัฒนา กําลังคนใหพรอม เขาสูยุคเศรษฐกิจ และสังคมดิจิทัล สรางคน สรางงาน สรางความเขมแข็งจากภายใน ๔. ปรับเปลี่ยน ภาครัฐสูการเปนรัฐบาล ดิจิทัล โปรงใส อํานวยความสะดวก รวดเร็ว เชื่อมโยงเปนหนึ่งเดียว ๖. สรางความเชื่อมั่นในการใช เทคโนโลยีดิจิทัล กฎระเบียบทันสมัย เชื่อมั่นในการลงทุน มีความมั่นคงปลอดภัย 18 นโยบาย ๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖ ๗ ความทาทาย วิสัยทัศน เปาหมาย ยุทธศาสตร การขับเคลื่อนภูมิทัศน
  • 19. ยุทธศาสตรที่ ๑. พัฒนาโครงสรางพื้นฐานดิจิทัลประสิทธิภาพสูงใหครอบคลุมทั่วประเทศ เขาถึง (accessible) พรอมใช (available) จายได (affordable) • อินเทอรเน็ตความเร็วสูงของไทยมีคุณภาพและครอบคลุมทั่วประเทศ ทุกหมูบาน ทุกเทศบาลเมืองและพื้นที่ เศรษฐกิจ ทุกโรงเรียน โรงพยาบาลสงเสริมสุขภาพตําบล และศูนยดิจิทัลชุมชน • คาบริการอินเทอรเน็ตความเร็วสูงไมเกิน ๒% ของรายไดประชาชาติตอหัว • บริการโทรศัพทเคลื่อนที่เขาถึงทุกหมูบาน ทุกชุมชน และสถานที่ทองเที่ยว • ประเทศไทยเปนหนึ่งในศูนยกลางการเชื่อมตอและแลกเปลี่ยนขอมูลระหวางประเทศ • โครงขายแพรสัญญาณภาพโทรทัศนและกระจายเสียงวิทยุระบบดิจิทัลครอบคลุมทั่วประเทศ แผนงาน เปาหมาย ๑.๑ พัฒนาอินเทอรเน็ตความเร็วสูงทั่วประเทศ ๑.๒ สรางศูนยกลางเชื่อมตอขอมูลอาเซียน ๑.๓ จัดทํานโยบายการบริหารโครงสรางพื้นฐาน ๑.๔ ปฎิรูปรัฐวิสาหกิจโทรคมนาคม 19 นโยบาย ๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖ ๗ ความทาทาย วิสัยทัศน เปาหมาย ยุทธศาสตร การขับเคลื่อนภูมิทัศน
  • 20. ยุทธศาสตรที่ ๒. ขับเคลื่อนเศรษฐกิจดวยเทคโนโลยีดิจิทัล ขับเคลื่อน New S-Curve เพิ่มศักยภาพ สรางธุรกิจ เพิ่มมูลคา • นํานวัตกรรมและความเชี่ยวชาญในการใชเทคโนโลยี มาใชในภาคผลิต ภาคบริการในทุกอุตสาหกรรม • สนับสนุนให SMEs ไทยทั้งในภาคเกษตร ภาคอุตสาหกรรม และภาคบริการ เขาถึงเทคโนโลยีดิจิทัล สามารถแขงขันไดทั้งในเวทีภูมิภาคและเวทีโลก • ประเทศไทยเปนหนึ่งในผูนําอุตสาหกรรมดิจิทัลของภูมิภาค แผนงาน เปาหมาย ๒.๑ เพิ่มขีดความสามารถของภาคธุรกิจ ๒.๒ เรงสราง บมเพาะ ผูประกอบการธุรกิจดิจิทัล ๒.๓ พัฒนาอุตสาหกรรมดิจิทัลและอุตสาหกรรมที่เกี่ยวเนื่อง ๒.๔ เพิ่มโอกาสและชองทางในการประกอบอาชีพของเกษตรกร และ วิสาหกิจชุมชน 20 นโยบายตางประเทศ ๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖ ๗ ความทาทาย วิสัยทัศน เปาหมาย ยุทธศาสตร การขับเคลื่อนภูมิทัศน
  • 21. • ประชาชนทุกกลุมโดยเฉพาะกลุมผูอยูอาศัยในพื้นที่หางไกล ผูสูงอายุ และคนพิการ สามารถ เขาถึงและใชประโยชนจากเทคโนโลยีดิจิทัล • ประชาชนทุกคนมีทักษะการใชเทคโนโลยีดิจิทัลอยางสรางสรรค • ประชาชนสามารถเขาถึง การศึกษา สาธารณสุข และบริการสาธารณะ ผานระบบดิจิทัล ๓.๑ สรางโอกาสและความเทาเทียมทางดิจิทัล ๓.๒ พัฒนาการใชเทคโนโลยีดิจิทัลอยางสรางสรรคและรับผิดชอบ ๓.๓ สรางสื่อ คลังสื่อและแหลงเรียนรูดิจิทัล ๓.๔ เพิ่มโอกาสทางการศึกษาดวยเทคโนโลยีดิจิทัล ๓.๕ เพิ่มโอกาสการเขาถึงบริการสุขภาพดวยดิจิทัล ยุทธศาสตรที่ ๓. สรางสังคมคุณภาพดวยเทคโนโลยีดิจิทัล สรางการมีสวนรวม การใชประโยชนอยางทั่วถึงและเทาเทียม แผนงาน เปาหมาย 21 นโยบายตางประเทศ ๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖ ๗ ความทาทาย วิสัยทัศน เปาหมาย ยุทธศาสตร การขับเคลื่อนภูมิทัศน
  • 22. • บริการของภาครัฐตอบสนองการบริการประชาชน ผูประกอบการทุกภาคสวน ไดอยางสะดวก รวดเร็ว และแมนยํา • มีโครงสรางพื้นฐานดิจิทัลภาครัฐ การจัดเก็บและบริหารฐานขอมูลที่บูรณาการไมซ้ําซอน สามารถ รองรับการเชื่อมโยงการทํางานระหวางหนวยงาน และการใหบริการประชาชนไดอยางมีประสิทธิภาพ • ใหประชาชนเขาถึงขอมูลภาครัฐไดสะดวก และเหมาะสม เพื่อสงเสริมความโปรงใส และการมีสวนรวม ของประชาชน ๔.๑ พัฒนาบริการอัจฉริยะสําหรับประชาชน ๔.๓ เพิ่มประสิทธิภาพและธรรมาภิบาล ดวยเทคโนโลยีดิจิทัล ๔.๔ เปดเผยขอมูลภาครัฐและสรางการมีสวนรวมของประชาชน ๔.๒ พัฒนาระบบดิจิทัลเพื่อรองรับการบริการภาครัฐ ยุทธศาสตรที่ ๔. ปรับเปลี่ยนภาครัฐสูการเปนรัฐบาลดิจิทัล โปรงใส อํานวยความสะดวก รวดเร็ว เชื่อมโยงเปนหนึ่งเดียว แผนงาน เปาหมาย 22 นโยบายตางประเทศ ๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖ ๗ ความทาทาย วิสัยทัศน เปาหมาย ยุทธศาสตร การขับเคลื่อนภูมิทัศน
  • 23. ยุทธศาสตรที่ ๕. พัฒนากําลังคนใหพรอมเขาสูยุคเศรษฐกิจและสังคมดิจิทัล สรางคน สรางงาน สรางความเขมแข็งจากภายใน แผนงาน เปาหมาย • บุคลากรวัยทํางานทุกสาขามีความรูและทักษะดิจิทัล • บุคลากรในวิชาชีพดานดิจิทัลมีคุณภาพและปริมาณเพียงพอ โดยเฉพาะอยางยิ่งในสาขาที่ขาดแคลน หรือ มีความสําคัญตอการสรางนวัตกรรมดิจิทัล • เกิดการจางงานแบบใหม อาชีพใหม ธุรกิจใหม จากการพัฒนาเทคโนโลยีดิจิทัล ๕.๑ พัฒนาทักษะดิจิทัลสําหรับทุกสาขาอาชีพ ๕.๑ พัฒนาความเชี่ยวชาญดิจิทัลเฉพาะดาน ๕.๓ พัฒนาผูบริหารเทคโนโลยีสารสนเทศ 23 นโยบายตางประเทศ ๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖ ๗ ความทาทาย วิสัยทัศน เปาหมาย ยุทธศาสตร การขับเคลื่อนภูมิทัศน
  • 24. ยุทธศาสตรที่ ๖. สรางความเชื่อมั่นในการใชเทคโนโลยีดิจิทัล กฎระเบียบทันสมัย เชื่อมั่นในการลงทุน มีความมั่นคงปลอดภัย แผนงาน เปาหมาย • มีชุดกฎหมาย กฎระเบียบที่ทันสมัย เพื่อรองรับการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมดิจิทัล • มีมาตรฐานขอมูลที่เปนสากล เพื่อรองรับการเชื่อมโยงและใชประโยชนในการทําธุรกรรม • ประชาชนมีความเชื่อมั่น ในการทําธุรกรรมออนไลนอยางเต็มรูปแบบ ๖.๑ พัฒนาระบบอํานวยความสะดวกเพื่อธุรกิจ ๖.๒ ผลักดันชุดกฎหมายดิจิทัล ๖.๓ สรางความเชื่อมั่นในการทําธุรกรรมออนไลน 24 นโยบายตางประเทศ ๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖ ๗ ความทาทาย วิสัยทัศน เปาหมาย ยุทธศาสตร การขับเคลื่อนภูมิทัศน
  • 25. ภูมิทัศนดิจิทัลของไทยในระยะเวลา ๒๐ ป ระยะที่ ๑ Digital Foundation ประเทศไทยลงทุน และสรางฐานรากในการพัฒนา เศรษฐกิจและสังคมดิจิทัล ระยะที่ ๒ Digital Thailand I: Inclusion ทุกภาคสวนของประเทศไทยมีสวนรวมใน เศรษฐกิจและสังคมดิจิทัลตามแนวทาง ประชารัฐ ระยะที่ ๓ Digital Thailand II: Full Transformation ประเทศไทยกาวสูการดิจิทัลไทยแลนด ที่ขับเคลื่อนและใชประโยชนจากนวัตกรรมดิจิทัล ไดอยางเต็มศักยภาพ ระยะที่ ๔ Global Digital Leadership ประเทศไทยอยูในกลุมประเทศที่พัฒนาแลว สามารถใชเทคโนโลยีดิจิทัล สรางมูลคาทางเศรษฐกิจ และคุณคาทางสังคมอยางยั่งยืน ๑ ป ๖ เดือน ๕ ป ๑๐ ป ๑๐ - ๒๐ ป 25 นโยบายตางประเทศ ๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖ ๗ ความทาทาย วิสัยทัศน เปาหมาย ยุทธศาสตร การขับเคลื่อนภูมิทัศน
  • 26. ระยะที่ ๑ (๑ ป ๖ เดือน) Digital Foundation ประเทศไทยลงทุน และสรางฐานรากในการพัฒนา เศรษฐกิจและสังคมดิจิทัล โครงสรางพื้นฐาน บรอดแบนดถึงทุกหมูบานทั่ว ประเทศ เปนฐานของกิจกรรมทาง เศรษฐกิจและสังคมอื่นๆ เศรษฐกิจ การทําธุรกิจผานระบบดิจิทัล คลองตัว และเกิดSMEs วิสาหกิจ ชุมชน เกษตรกร ออนไลน สังคม ประขาขนทุกกลุมเขาถึง อินเทอรเน็ตความเร็วสูงและ บริการพื้นฐานของรัฐอยางทั่วถึง และเทาเทียม รัฐบาล หนวยงานรัฐมีการทํางานที่ เชื่อมโยงและบูรณาการขอมูลขาม หนวยงาน ทุนมนุษย กําลังคน (ทุกสาขา) มีทักษะดิจิทัล เปนที่ยอมรับในตลาดแรงงานทั้ง ในและตางประเทศ สภาพแวดลอม รัฐบาลออกชุดกฎหมายดิจิทัลที่ ครอบคลุม และปฏิรูปองคกรที่ เกี่ยวของในการขับเคลื่อนงาน 26 นโยบายตางประเทศ ๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖ ๗ ความทาทาย วิสัยทัศน เปาหมาย ยุทธศาสตร การขับเคลื่อนภูมิทัศน
  • 27. โครงสรางพื้นฐาน บรอดแบนดระบบสายถึงทุก หมูบานและเชื่อมกับประเทศใน ภูมิภาคอื่น ระยะที่ ๒ ( ๕ ป) Digital Thailand I: Inclusion ทุกภาคสวนของประเทศมีสวนรวม ในเศรษฐกิจและสังคมดิจิทัลตามแนวทางประชารัฐ เศรษฐกิจ ภาคเกษตร การผลิต และบริการ เปลี่ยนมาทําธุรกิจดวยดิจิทัลและ ขอมูล และเกิด Startups ใน Digital cluster สังคม ประชาขนเขื่อมั่นในการใชดิจิทัล และเขาถึงบริการเรียนรู สุขภาพ ขอมูล ผานระบบดิจิทัล รัฐบาล การทํางานระหวางภาครัฐจะ เชื่อมโยงและบูรณาการเหมือนเปน องคกรเดียว ทุนมนุษย กําลังคนสามารถทํางานผานระบบดิจิทัล แบบไรพรมแดนเปนศูนยรวม ผูเชี่ยวชาญดานดิจิทัล สภาพแวดลอม ไทยมีสภาพแวดลอมเอื้อตอการทํา ธุรกรรม มีระบบอํานวยความสะดวก และมีมาตรฐาน 27 นโยบายตางประเทศ ๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖ ๗ ความทาทาย วิสัยทัศน เปาหมาย ยุทธศาสตร การขับเคลื่อนภูมิทัศน
  • 28. ระยะที่ ๓ (๑๐ ป) Digital Thailand II: Full Transformation ประเทศไทยกาวสูการเปน Digital Thailand ที่ขับเคลื่อน และใชประโยชนจากนวัตกรรมดิจิทัลไดอยางเต็มศักยภาพ โครงสรางพื้นฐาน อินเทอรเน็ตความเร็วสูงถึงทุกบาน และรองรับการหลอมรวม และการเชื่อมตอทุกอุปกรณ เศรษฐกิจ ภาคเกษตร การผลิต และบริการ แขงขันไดดวยนวัตกรรมดิจิทัล และเชื่อมโยงไทยสูโลก สังคม ประชาชนใชประโยชนจาก เทคโนโลยี/ ขอมูล ทุกกิจกรรม ในชีวิตประจําวัน รัฐบาล บริการรัฐเปนดิจิทัลที่ประชาชน เปนศูนยกลาง เปดเผยขอมูล และใหประชาชนมีสวนรวม ทุนมนุษย ประเทศไทยเกิดงานเคุณคาสูง และมีกําลังคนที่มีความเชี่ยวชาญ ดิจิทัลเฉพาะดานเพียงพอ สภาพแวดลอม ประเทศไทยไมมีกฎหมาย/ ระเบียบที่เปนอุปสรรคตอการคา การทําธุรกรรมดิจิทัล 28 นโยบายตางประเทศ ๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖ ๗ ความทาทาย วิสัยทัศน เปาหมาย ยุทธศาสตร การขับเคลื่อนภูมิทัศน
  • 29. ระยะที่ ๔ ( ๑๐ - ๒๐ ป) Global Digital Leadership ประเทศไทยอยูในกลุมประเทศที่พัฒนาแลว สามารถใช เทคโนโลยีดิจิทัล สรางมูลคาทางเศรษฐกิจและคุณคาทาง สังคมอยางยั่งยืน โครงสรางพื้นฐาน เปนประเทศผูนําในภูมิภาค ดานการเชื่อมตออินเทอรเน็ต ทั้งภายในและออกนอกประเทศ เศรษฐกิจ เปนหนึ่งในประเทศผูนําทางการคา การลงทุน โดยมีสินคาและบริการ เดนดวยดิจิทัล สังคม เปนประเทศที่ไมมีความเหลื่อมล้ําดาน ดิจิทัล และชุมชนใชดิจิทัลเพื่อพัฒนา ทองถิ่นตนเอง รัฐบาล เปนหนึ่งในประเทศผูนํา ดานรัฐบาลดิจิทัลทั้งการบริหาร จัดการรัฐและบริการประชาชน ทุนมนุษย เปนหนึ่งในศูนยกลางดานกําลังคน ดิจิทัลทั้งในรายสาขาและผูเชี่ยวชาญ ดิจิทัล สภาพแวดลอม เปนประเทศตนแบบที่มีการพัฒนา ทบทวน กฎระเบียบ กติกาดานดิจิทัล ตอเนื่องจริงจัง 29 นโยบายตางประเทศ ๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖ ๗ ความทาทาย วิสัยทัศน เปาหมาย ยุทธศาสตร การขับเคลื่อนภูมิทัศน
  • 30. กลไกการขับเคลื่อนแผนพัฒนาดิจิทัลฯ 30 นโยบายตางประเทศ ๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖ ๗ ความทาทาย วิสัยทัศน ภูมิทัศน เปาหมาย กิจกรรมขับเคลื่อนยุทธศาสตรบริบทไทย ๑. การขับเคลื่อนทิจกรรมและ โครงการที่เปนรูปธรรมในระยะ เรงดวน ๒. การปรับปรุงโครงสรางเชิง สถาบันองคกร ๓. การบูรณาการงาน ขอมูล งบประมาณ และทรัพยากร ๔. การติดตามความกาวหนา ของนโยบาย และแผนงาน
  • 31. กิจกรรมขับเคลื่อนระยะเรงดวน ๑ ป ๖ เดือน เศรษฐกิจ สังคม บริการภาครัฐโครงสรางพื้นฐาน 31 นโยบายตางประเทศ ๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖ ๗ ความทาทาย วิสัยทัศน เปาหมาย ยุทธศาสตร การขับเคลื่อนภูมิทัศน
  • 32. 32 ดานโครงสรางพื้นฐานดิจิทัล • การขยายโครงขายอินเทอรเน็ตความเร็วสูงใหครอบคลุมหมูบานทั่วประเทศ ที่ประชาชนสามารถใชบริการและ สื่อสารผานบริการอินเทอรเน็ตความเร็วสูงไดอยางทั่วถึงและเทาเทียมกัน ซึ่งการมีโครงขายอินเทอรเน็ตความเร็วสูงจะ ชวยยกระดับคุณภาพชีวิตของคนไทยใหดีขึ้น สามารถเขาถึงบริการดานการศึกษาสาธารณสุขและการบริการอื่นๆของ ภาครัฐผานโครงขายอินเทอรเน็ตความเร็วสูงรวมทั้งชวยเพิ่มความสามารถในการแขงขันใหกับภาคเอกชนซึ่งจะสงผลตอ การพัฒนาประเทศไทยอยางยั่งยืนในอนาคต ผูดําเนินการหลัก: กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร • ยกระดับโครงสรางพื้นฐานของประเทศไทย ใหมีโครงขายเชื่อมตอโดยตรงกับศูนยกลางการแลกเปลี่ยนขอมูล อินเทอรเน็ตของโลก ใหมีเสถียรภาพ และมีความจุเพียงพอรองรับความตองการของประเทศ ลดตนทุนการเชื่อมตอ อินเทอรเน็ตตางประเทศของผูใหบริการอินเทอรเน็ตในประเทศไทยใหสามารถแขงขันไดกับประเทศเพื่อนบาน ทําให คาบริการอินเทอรเน็ตสําหรับประชาชนถูกลง รวมทั้งยกระดับประเทศไทยใหเปนศูนยกลางการแลกเปลี่ยนขอมูล อินเทอรเน็ตหรือศูนยกลางดิจิทัลของภูมิภาคอาเซียนในอนาคต ผูดําเนินการหลัก: กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
  • 33. กิจกรรมขับเคลื่อนระยะเรงดวน ๑ ป ๖ เดือน อินเทอรเน็ตสาธารณะฟรีครอบคลุม กศน. ตําบล (นักเรียน ๒,๐๐๐,๐๐๐ คน )และโรงเรียน ตชด. ศูนยดิจิทัลชุมชน รวม ๑๐,๐๐๐ จุด ทั่วประเทศ ชองทางของอินเทอรเน็ตสื่อสารระหวางประเทศ เพิ่มขึ้น ๒ เทา รองรับการสื่อสารและการขยายตัวทางเศรษฐกิจ อินเทอรเน็ตความเร็วสูงมีใชทุกหมูบาน จัดตั้งกองทุนโครงสรางพื้นฐานดิจิทัล ไทยแลนด (Digital Thailand Infrastructure Fund) โครงสรางพื้นฐาน 33 นโยบายตางประเทศ ๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖ ๗ ความทาทาย วิสัยทัศน เปาหมาย ยุทธศาสตร การขับเคลื่อนภูมิทัศน
  • 34. 38 ดานเศรษฐกิจดิจิทัล • สรางความเขมแข็งใหกับเศรษฐกิจฐานราก โดยเพิ่มโอกาสการสรางรายไดใหกับชุมชน ยกระดับการประกอบอาชีพ พัฒนาธุรกิจชุมชนจากการคาขายสินคาชุมชนไปสูการพัฒนาสินคาและบริการที่มีคุณภาพ ผูดําเนินการหลัก: กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร กระทรวงมหาดไทย และองคการบริหารสวนจังหวัด/อําเภอ/ตําบล • เพิ่มขีดความสามารถในการแขงขันใหกับภาคธุรกิจไทย โดยเฉพาะธุรกิจ SMEs ใหมีการประยุกตใชเทคโนโลยีดิจิทัล ผูดําเนินการหลัก: กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร กระทรวงวัฒนธรรม • ผลักดันการพัฒนาคลัสเตอรดิจิทัลตามนโยบายสงเสริมเขตเศรษฐกิจพิเศษและ supercluster เพื่อเพิ่มโอกาสทางการคา และการลงทุนใหกับอุตสาหกรรมเทคโนโลยีดิจิทัลที่เปนอุตสาหกรรมแหงอนาคต ผูดําเนินการหลัก: กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร กระทรวงวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี • พัฒนากําลังคนทางดานดิจิทัลในธุรกิจเทคโนโลยีดิจิทัล (Tech Startup) เพื่อใหมีทักษะ และความเชี่ยวชาญในการตอ ยอดนวัตกรรมและสรางสินคาและบริการรูปแบบใหมรองรับการขยายตัวของเศรษฐกิจและสังคมดิจิทัล รวมถึงการเพิ่มการจางงาน ในอุตสาหกรรมเทคโนโลยีดิจิทัล ผูดําเนินการหลัก: กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
  • 35. เศรษฐกิจ การสงเสริม ผูประกอบการ SMEs OTOP และวิสาหกิจชุมชน เมืองอัจฉริยะ National e-Payment สนับสนุนการพัฒนามาตรฐานขอมูลสําหรับรองรับระบบ National e-Payment ที่ครอบคลุมวิถีชีวิตประชาชน ทุกแงมุม ชวยประหยัดตนทุนและคาใชจาย ปละ ๗.๕ หมื่น ลบ. • SMEs ในอุตสาหกรรมทองเที่ยวเขาถึง แพลตฟอรมออนไลนทองเที่ยวกลาง(Tourism Thailand Open Platform (B2B))ที่สรางขึ้นใหม สามารถเชื่อมโยงกับออนไลนแพลตฟอรมการทองเที่ยว ระดับโลกไดอยางสะดวก มีตนทุนต่ํา • สรางเมืองอัจฉริยะ(Smart City) ๕ แหงภายใน ๓ ป นํารอง ภูเก็ต เชียงใหม • Smart City ภูเก็ต ไดแก Smart Economy  Digital Industry Hub+Innovation Park  พัฒนากําลังคนดานดิจิทัล ๕,๐๐๐ คน (Certified Digital Worker/Investor) Smart Living เพิ่มความปลอดภัยในเมืองดวยระบบ CCTV ที่แจงเตือนโดยทันทีเมื่อเกิดอาชญากรรม สรางศูนยสั่งการอัจฉริยะ เพื่อบริหารจัดการสภาพแวดลอม ภัยพิบัติ • บมเพาะผูประกอบการ Tech Startup กลุม SME และ Micro SMEs ๑,๕๐๐ ราย ตอป และพัฒนาสินคา ตนแบบพรอมผลิต ๓๐๐ รายการ • สรางรานคาออนไลนชุมชนอยางนอย ๑๐,๐๐๐ ราย ผานเครือขายศูนยดิจิทัลชุมชน • นํารองพัฒนา Smart Farming ตรวจสอบยอนกลับสินคาเกษตรอินทรีย เชน ขาว ผัก ผลไม • ตอยอดโครงการคนกลาคืนถิ่นเพื่อบมเพาะใหเปนเกษตรกรดิจิทัล (Digital Farmer) ๑,๖๐๐ คน • บมเพาะและเปนที่ปรึกษาแกผูประกอบการ SMEs คาขายออนไลนอยางครบวงจร ๑๕,๐๐๐ ราย พรอมสรางคูมือสําหรับ SME go online ทั้ง B2B B2C และสรางมาตรฐานสินคาออนไลน ๑๐๐,๐๐๐ รายการ กิจกรรมขับเคลื่อนระยะเรงดวน ๑ ป ๖ เดือน 39 นโยบายตางประเทศ ๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖ ๗ ความทาทาย วิสัยทัศน เปาหมาย ยุทธศาสตร การขับเคลื่อนภูมิทัศน
  • 36. 43 ดานสังคมดิจิทัล • พัฒนาเครือขายศูนยดิจิทัลชุมชน ดวยการปรับศูนยการเรียนรู ICT ชุมชนเดิม เปนศูนยรูปแบบใหมที่ใหบริการดานดิจิทัล และขอมูลขาวสารเชิงเศรษฐกิจและสังคมแกชุมชน วิสาหกิจชุมชน ควบคูกับการจัดสภาพแวดลอมการเรียนรูตลอดชีวิตที่เอื้อตอ การเรียนรูทุกที่ทุกเวลาบนทุกอุปกรณ เพื่อใหประชาชนมีความรูเทาทันดิจิทัล และใชประโยชนจากเทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อการ ประกอบอาชีพและการดํารงชีวิต เปนรากฐานของการพัฒนาที่ยั่งยืน ผูดําเนินการหลัก: กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร กระทรวงศึกษาธิการ กระทรวงมหาดไทย และองคการบริหารสวนจังหวัด/อําเภอ/ตําบล • สงเสริมการใหประชาชนทุกกลุมมีมีชองทางในการเรียนรูตลอดชีวิตรูปแบบใหม โดยผานระบบการเรียนรูในระบบเปดที่ เรียกวา MOOCs (Massive Open Online Courses) นอกจากนี้ประชาชนที่อาศัยอยูในพื้นที่ชายขอบของประเทศซึ่งเปนพื้นที่ หางไกลที่ยังไมมีไฟฟาสัญญาณอินเทอรเน็ตและสัญญาณโทรศัพทมือถือจะไดรับโอกาสในการเขาถึงขอมูลความรูมากยิ่งขึ้น ผูดําเนินการหลัก: กระทรวงศึกษาธิการ กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร กระทรวงวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี กระทรวงมหาดไทย และองคการบริหารสวนจังหวัด/อําเภอ/ ตําบล
  • 37. 44 ดานสังคมดิจิทัล สงเสริมการใชดิจิทัลอยางสรางสรรคและรับผิดชอบตอสังคม รณรงคและเสริมสรางทักษะดิจิทัลใหแก ประชาชน ทั้งเด็กเยาวชนในและนอกระบบการศึกษาครูผูปกครองรวมถึงทั้งคนพิการผูดอยโอกาสและผูสูงอายุ ให สามารถเขาถึงเรียนรูและไดประโยชนจากการใชเทคโนโลยีดิจิทัลอยางปลอดภัยสรางสรรคมีจริยธรรมและตระหนัก ถึงผลกระทบตอสังคม เพื่อเตรียมความพรอมของประชาชนไทยสูการเปนพลเมืองดิจิทัลในอนาคตตอไป ผูดําเนินการหลัก: กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร กระทรวงศึกษาธิการ • การสรางเมืองนาอยูและปลอดภัย ดวยการบูรณาการเชื่อมโยง CCTV ที่มีอยูแลวในจังหวัดภูเก็ตและการ ประมวลผลภาพเพื่อปองกันอาชญากรรมเชิงรุก การพัฒนาระบบรายงานสภาพจราจรแบบ real time และระบบ บอกเวลารถเขาปาย การใชดิจิทัลเทคโนโลยีเพื่อการกวดขันวินัยจราจรภายในจังหวัด และการพัฒนาศูนยสั่งการ อัจฉริยะ ผูดําเนินการหลัก: จังหวัดภูเก็ต กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
  • 38. การศึกษาและ การเรียนรู ตลอดชีวิต สาธารณสุข เพิ่มทักษะ การใชเทคโนโลยี ดิจิทัล สรางและเชื่อมตอระบบทะะเบียนสุขภาพอิเล็กทรอนิกสสวนบุคล (Personal Health Record: PHR) เชื่อมโยง รพ.สต. ทั่วประเทศ เพื่อใหผูปวยหรือประชาชนไมนอยกวา ๑,๐๐๐,๐๐๐ คน ไดรับประโยชน โดยปแรกมีผูเขาใช ระบบไมนอยกวา ๑๕๐,๐๐๐ ราย กิจกรรมขับเคลื่อนระยะเรงดวน ๑ ป ๖ เดือน สังคม • ผูพิการ/ผูสูงอายุ/ผูดอยโอกาส มีทักษะในการใชประโยชนจากดิจิทัล สรางรายได สรางอาชีพไดอยางสรางสรรคไมนอยกวา ๘,๐๐๐ ราย • นักเรียน นักศึกษา และบุคลากร สังกัดสํานักงานคณะกรรมการอาชีวศึกษา ๗๐๐,๐๐๐ คน และประชาชนทั่วไปเขาถึงสื่อดิจิทัลดานอาชีพและวิชาชีพได ตลอดเวลา ไมนอยกวา ๔๐๐,๐๐๐ คน • สรางทักษะ ความรู ความเขาใจ ความตระหนัก ในการใชดิจิทัลเทคโนโลยี ใหเกิด ประโยชนและสรางสรรค(Digital Literacy) ไมนอยกวา ๖๐๐,๐๐๐ คน • บูรณาการแพลตฟอรมการศึกษาออนไลนหลักสําหรับประชาชนผานระบบการจัดการการเรียน การสอนออนไลนแบบเปด(MOOC)ทั้งในและนอกระบบการศึกษา • สรางระบบ e-Learning ที่มี Mobile App. สําหรับประชาชนทุกกลุม ไดแก ประชาชนทั่วไป ขาราชการ ผูประกอบการ ลูกจาง เพื่อเพิ่มทักษะการสื่อสารภาษาอังกฤษและภาษาอื่นที่จําเปน เพื่อเขาสู AEC • โรงเรียนชายขอบ ๒๐ โรงเรียน เขาถึงอินเทอรเน็ตความเร็วสูงและสื่อการเรียนรูไดทัดเทียมกับ โรงเรียนในเมือง 45 นโยบายตางประเทศ ๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖ ๗ ความทาทาย วิสัยทัศน เปาหมาย ยุทธศาสตร การขับเคลื่อนภูมิทัศน
  • 39. การบริการภาครัฐ ยกระดับคุณภาพงานบริการภาครัฐ เชน ปรับกระบวนการดําเนินการภาครัฐ โดยนําเทคโนโลยีดิจิทัลมาใชในการพัฒนา ระบบสนับสนุนงานบริการประชาชน ตาม พ.ร.บ. อํานวยความสะดวก ๒๕๕๘ บูรณาการขอมูลและระบบงานภาครัฐเพื่อสนับสนุน มาตรการและนโยบายของรัฐบาลผานอุปกรณสื่อสารแบบเคลื่อนที่ และอํานวยความสะดวกแกประชาชนในการใชบริการของรัฐ ไดแก การอํานวยความสะดวกแกผูประกอบการในการเริ่มตนธุรกิจ และการอํานวยความสะดวกแกประชาชนในการลดสําเนาเมื่อ ติดตอหรือใชบริการของรัฐการผลักดันชุดกฎหมายที่เกี่ยวกับการสงเสริมและพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมดิจิทัล ผูดําเนินการหลัก: กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ (ก.พ.ร.) • ลดขั้นตอนและกระบวนการในการอนุญาต รับแจง อนุมัติ ของหนวยงานราชการ เพื่อลดอุปสรรค เพิ่มประสิทธิภาพในการ ใหบริการ โดยลดกระบวนการและการใชเอกสารที่ซับซอนเพิ่มเพิ่มความรวดเร็ว และโปรงใสในทุกขั้นตอน ผูดําเนินการหลัก: หนวยงานภาครัฐที่ทําหนาที่เกี่ยวกับการใหบริการสาธารณะในรูปแบบตางๆสํานักงานคณะกรรมการ พัฒนาระบบราชการ (ก.พ.ร.) และการบูรณาการงานบริการภาครัฐที่เกี่ยวของกับการดําเนินการ ๖๓ บริการหลัก (ตาม พ.ร.บ. อํานวยความสะดวกฯ) • ผลักดันกลุมกฎหมายที่เกี่ยวของเพื่อเปนการวางรากฐานในปรับเปลี่ยนโครงสรางเชิงสถาบัน ทั้งการจัดตั้งหนวยงาน การมี กฎเกณฑกติกา เพื่อสรางความเชื่อมั่นในการใชเทคโนโลยีดิจิทัลในการทําธุรกรรม ผูดําเนินการหลัก: กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน และกิจการโทรคมนาคมแหงชาติ
  • 40. เขาถึงและสราง การมีสวนรวม โครงสรางพื้นฐาน กลางภาครัฐ อํานวยความ สะดวก • มีกฎหมาย e-Gov ที่มีหลักการครอบคลุมถึง นโยบายและแผนยุทธศาสตรรัฐบาลดิจิดัล กําหนดและรับรองมาตรฐาน บริการดิจิทัลของรัฐ การปกปองการขอมูล ดูแลความมั่นคงปลอดภัยขอมูลหนวยงานรัฐ ติดตามการปฎิบัติตามแผนและ มาตรฐานตางๆ • มีบริการโครงสรางพื้นฐานกลางภาครัฐ (Government Shared Infrastructure/Data Center) ผานบริการเครือขาย ภาครัฐ (GIN) บริการ G-Cloud และ ระบบจดหมายอิเล็กทรอนิกสกลางเพื่อสื่อสารในภาครัฐ (MailGoThai) กิจกรรมขับเคลื่อนระยะเรงดวน ๑ ป ๖ เดือน • ลดการใชสําเนาเอกสารในบริการของภาครัฐ (Smart Service) ไมนอยกวา ๗๙ บริการ • มีระบบอํานวยความสะดวกผูประกอบการในการเริ่มตนธุรกิจ (Doing Business Platform) โดยมีการ จัดทําระบบสนับสนุนการดําเนินธุรกิจในชวงเริ่มตน • มีการพัฒนาระบบติดตอสื่อสารแบบออนไลนสําหรับหนวยงานภาครัฐผานอุปกรณสื่อสารแบบเคลื่อนที่ (G Chat) รองรับผูใชงานไมต่ํากวา ๑๕,๐๐๐ คน มีศูนยกลางบริการภาครัฐสําหรับประชาชน (GovChannel) ๓ ชองทาง ๑. ผานเว็บไซต (govchannel.co.th, egov.go.th, data.go.th, info.go.th) ๒. ผานอุปกรณสื่อสารเคลื่อนที่ เชน สมารทโฟน แท็บเล็ต มีระบบสําคัญอาทิเชน G-News, ภาษีไปไหน ๓. ขยายการติดตั้งตูใหบริการอเนกประสงคภาครัฐ (Smart Government Kiosk) ครอบคลุมพื้นที่ทุกจังหวัด และมี e- Service ระบบแสดงสิทธิและรับรองสิทธิ์การรักษาระบบตรวจสอบการนัดหมายระบบแสดงขอมูลผูใชไฟฟา บริการภาครัฐ 52 นโยบายตางประเทศ ๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖ ๗ บริบท วิสัยทัศน เปาหมาย ยุทธศาสตร กิจกรรมขับเคลื่อนภูมิทัศน
  • 41. กลไกการขับเคลื่อนแผนพัฒนาดิจิทัลฯ 57 นโยบายตางประเทศ ๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖ ๗ ความทาทาย วิสัยทัศน ภูมิทัศน เปาหมาย กิจกรรมขับเคลื่อนยุทธศาสตรบริบทไทย ๑. การขับเคลื่อนทิจกรรมและ โครงการที่เปนรูปธรรมในระยะ เรงดวน ๒. การปรับปรุงโครงสรางเชิง สถาบันองคกร ๓. การบูรณาการงาน ขอมูล งบประมาณ และทรัพยากร ๔. การติดตามความกาวหนา ของนโยบาย และแผนงาน
  • 42. Image source • https://pbs.twimg.com/media/CbR9rJFW0AARACv.png • http://www.codium.com.au/wp-content/uploads/2013/04/Internet-of-Things.jpg • http://www.i-runway.com/blog/wp-content/uploads/2015/05/3D-heart.jpg • http://image.slidesharecdn.com/glasstechnologyvisitadayoffuturerecovered- 130917235125-phpapp01/95/future-of-glass-20-638.jpg?cb=1380373917 • http://cdn.psfk.com/wp-content/uploads/2014/11/couple-playing-a-videogame.jpg • http://www.shsu.edu/programs/master-of-science-in-digital-forensics/images/digital- forensics.jpg • www.freepik.com 58
  • 44. Australia ออสเตรเลียมีเป้าหมายจะเป็นประเทศชั้นนํา ระดับโลกด ้านดิจิทัล โดยเน้นการพัฒนา โครงข่ายบรอดแบนด์ไปทั่วไปประเทศรวมถึง พื้นที่ห่างไกล เพิ่มการใช ้ประโยชน์ในภาค ธุรกิจและประชาชาสังคม พัฒนารัฐบาล อิเล็กทรอนิกส์ และสนใจเป็นพิเศษในเรื่อง การใช ้เทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อบริหารจัด การพลังงาน สุขภาพ การศึกษา รวมไปถึงการ ทํางานแบบทางไกล Canada แคนาดามีเป้าหมายจะเป็น Digital Canada ที่เจริญรุ่งเรื่อง โดยมุ่งไปที่การพัฒนา โครงสร ้างพื้นฐานเพื่อเชื่อมต่อทุกคน คุ้มครองความปลอดภัยและความเป็นส่วนตัว ของประชาชน สร ้างโอกาสทางเศรษฐกิจด ้วย การส่งเสริมการใช ้ในภาคธุรกิจและการพัฒนา ธุรกิจเกิดใหม่ พัฒนารัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์ และเน้นเรื่องการพัฒนาเนื้อหาดิจิทัลของ แคนาดาเอง Ireland ไอร์แลนด์พยายามที่ใช ้เทคโนโลยีดิจิทัลให ้ มากขึ้น โดยเน้นให ้ธุรกิจ SMEs มาอยู่บนโลก ออนไลน์ และการสร ้างธุรกิจเกิดใหม่ เพิ่มการ ใช ้ดิจิทัลของประชาชน โดยเฉพาะผู้สูงอายุ และผู้ด ้อยโอกาส เน้นการสร ้างระบบ e- Learning และพัฒนาการศึกษา และยังมี มาตรการข ้ามหน่วยงานรัฐเช่น การพัฒนา โครงสร ้างพื้นฐานบรอดแบนด์ และการพัฒนา รัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์ Malaysia มาเลเซียจะใข ้เทคโนโลยีดิจิทัลเป็นกลไก ไปสู่นโยบายจะเป็นประเทศที่พัฒนาแล ้วของ รัฐบาล โดยมีขอบเขตของ Digital Malaysia ที่ครอบคลุมกว ้างมากตั้งแต่การพัฒนาการ เข ้าถึงและการใช ้ประโยชน์จากเทคโนโลยี พัฒนาอุตสาหกรรมดิจิทัลที่รวมถึง ICT Services, eCommerce, ICT Manufacturing, ICT Trade, Content & Media และเน้นไปที่กลุ่มเป้าหมาย 4 กลุ่มคือ ธุรกิจเกิดใหม่ด ้านดิจิทัล กลุ่มคน 40% ล่าง ของประเทศ กลุ่มแรงงานดิจิทัล และกลุ่ม SMEs Singapore สิงคโปร์กําลังมุ่งไปสู่การเป็น Smart Nation แห่งแรกของโลก โดยเน้นในเรื่องการใช ้ ประโยชน์จากข ้อมูลและเทคโนโลยีใหม่ๆ การ พัฒนากําลังคนดิจิทัลตั้งแต่เด็กไปจนถึงการ สร ้างธุรกิจ การใช ้เทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อ พัฒนาบริการสุขภาพ การศึกษา การเดินทาง และการช่วยเหลือสังคม รวมไปถึงการลด ความเหลื่อมลํ้าดิจิทัลในกลุ่มผู้สูงอายุและ ผู้ด ้อยโอกาส และยังเน้นเป็นพิเศษในด ้าน พัฒนาเทคโนโลยีใหม่ๆจากการวิจัยไปสู่ อุตสาหกรรม สิงค์โปร์ไม่เน้นเรื่องบรอดแบนด์ แต่กําลังจะสร ้างโครงข่ายเซ็นเซอร์ทั่ว ประเทศ United Kingdom อังกฤษมีเป้าหมายไปสู่ระบบเศรษฐกิจแห่ง ข ้อมูลที่เพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขัน ของประเทศ โดยเน้นการพัฒนาอุตสาหกรรม ดิจิทัลเพื่อส่งออกสินค ้าและบริการไปสู่โลก รวมถึงการพัฒนามาตรฐานเทคโนโลยี และ เร่งกระตุ้นให ้ภาคธุรกิจใช ้ประโยชน์จาก เทคโนโลยีดิจิทัลและข ้อมูลโดยเฉพาะ SMEs และสําหรับประโยชน์ประชาชนเน้นการเข ้าถึง บริการอิเล็กทรอนิกส์ของรัฐ การส่งเสริม พัฒนาทักษะการใช ้ดิจิทัล และการสร ้าง Smart Cities ที่ให ้บริการสุขภาพ พลังงาน คมนาคม ฯลฯ ส่วนด ้านปัจจัยพื้นฐานแห่ง ความสําเร็จ จะเน้นพัฒนากําลังคนดิจิทัล ขยายโครงสร ้างพื้นฐานบรอดแบนด์ และเพิ่ม ความปลอดภัยไซเบอร์และความเป็นส่วนตัว SLIDE 3 -Backup สรุปจุดเด่นของประเทศตัวอย่าง
  • 45. เปรียบเทียบแนวทางการพัฒนาดิจิทัลตางประเทศ พัฒนาโครงสรางพื้นฐาน พัฒนาอุตสาหกรรมดิจิทัล พัฒนาและสงเสริมนวัตกรร พัฒนาและใชประโยชนจากขอมูล สรางธุรกิจเกิดใหม พัฒนากําลังคนดิจิทัล สงเสริมการใชในภาคธุรกิจ สงเสริมการคาออนไลน/ SMEs สงเสริมอุตสาหกรรมเนื้อหาดิจิทัล ลดความเหลื่อมล้ําทางการเขาถึง