SlideShare a Scribd company logo
แนวทางใหการดูแลผูปวย โรคติดตอทางเพศสัมพันธ การคุมกําเนิด

อาจารยนายแพทย ธนดล โรจนศานติกุล
เวชศาสตรฉุกเฉิน โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ สภากาชาดไทย
คณะแพทยศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย

แนวทางใหการดูแลผูปวยนี้ ผูเขียนไดรับอนุญาติ ในการ review แตเผยแพรแนวทางการรักษา จาก EM
Practice Guideline Update ที่ทําการ review และตีพิมพแนวทางใหการรักษาผูปวย จากสมาคมทางการ แพทย
ตางๆ ในประเทศสหรัฐอเมริกา ในสวนที่เกี่ยวของกับการดูแลผูปวยฉุกเฉิน
Practice guideline impact แนวทางใหการรักษา
• ผูปวยที่ไดรับการรักษาโรคติดตอทางเพศสัมพันธ ควรไดรับการตรวจคัดกรองเชื้อ HIV
• ผูปวยที่มีอาการแสดงของการติดเชื้อ Chlamydia หรือ เชื้อ gonorrhea ควรใหการรักษาโดย
ไมตองรอผลตรวจยืนยันเชื้อ
• การคุมกําเนิดฉุกเฉิน ควรใหในผูปวยทุกรายที่ไมไดรับการคุมกําเนิดทุกราย โดยให single dose regimen
เพื่อลดผลขางเคียงของยาคุมกําเนิด
• ผูปวยไดรับการทํารายทางเพศ ควรไดรับการรักษาโรคติดตอทางเพศสัมพันธ การคุมกําเนิด และ
ใหยาปองกันเชื้อ HIV ( post-exposure prophylaxis )
ที่มาของแนวทางใหการดูแลรักษา โรคติดตอทางเพศสัมพันธ U.S. Centers for Disease Control and
Preventive (CDC) และ Professional in STDs ไดรวมกัน ทำการ ปรับปรุงและตีพิมพแนวทางใหการดูแลผูปวย
โรคติดตอทางเพศสัมพันธ ในป 2010 โดยมุงเนน การ systematic review of evidence-based literature
เพือใหไดผลการรักษาดังตอไปนี้
่
• ใหการรักษาเพื่อกําจัดเชื้อ
• ใหการรักษาเพื่อลดอาการและอาการแสดงจากเชื้อ
• ใหการรักษาเพื่อปองการผลกระทบที่เกิดขึ้นหลังจากการติดเชื้อ
• ใหการรักษาเพื่อปองกันการแพรกระจายของเชื้อ
อยางไรก็ตาม การทํา systematic review ครั้งนี้ ไมไดทําการวัดระดับ evidence-based และการ review
ในครั้งนีจะยกมาเฉพาะแนวทางใหการรักษาที่เกี่ยวของกับการรักษาผูปวยฉุกเฉินเทานั้น
้
ที่มาของแนวทางการใหการคุมกําเนิดฉุกเฉิน นํามาจาก American College of Obstetricians and
Gynecologists Practice Bulletin No.112: Emergency Contraception.
Partner Management แนวทางการใหการรักษาคูนอนผู
เมื่อผูปวยไดรับการวินิจฉัย การติดเชื่อ Chlamydia หรือ เชื้อ Gonorrhea ควรแนะนําใหการรักษา
คูนอนโดยคูนอนไมจําเปนตองมารับการตรวจวินิจฉัย Patient-delivered partner therapy (PDPT)
Reporting And Confidentiality แนวทางการรายงานผลการตรวจ
โรคติดตอทางเพศสัมพันธ และโรคติดเชื้อ HIV ควรรายงานผลการตรวจ ตามความตองการของผูปวย
เทานั้น
Special populations กลุมผูปวยหญิงกับหญิง
เพศสัมพันธระหวางผูหญิงกับผูหญิง จัดอยูในกลุมมีโอกาสติดเชื้อทางเพศสัมพันธเทากับการมีเพศสัมพันธ
ระหวางผูหญิงกับผูชาย
Detection of HIV infection: การตรวจคัดกรองเชื้อ HIV
ผูปวยทุกรายที่มาตรวจการติดเชื้อทางเพศสัมพันธควรไดรับการตรวจคัดกรองการติดเชื้อ HIV ทุกราย
การตรวจคัดกรองเชื้อ HIV จําเปนตองไดรับการยินยอมจากผูปวยโดยควรไดรับการยินยอมเปนรายลักษณอักษร
กอนการตรวจคัดกรอง และผูปวยจําเปนตองไดรับขอมูลความรูเรื่องเชื้อ HIV กอนการตรวจคัดกรอง
Genital Herpes Simplex Virus Infection การติดเชื้อเริมอวัยวะเพศ
ในผูปวยติดเชื้อ Herpes ที่อวัยวะเพศครั้งแรกควรใหการรักษาดวยยาตานไวรัสทุกราย
Recommended regimens
• Acyclovir 400 mg ชนิดเม็ด 3 ครั้งตอวัน 7-10 วัน
• Acyclovir 200 mg ชนิดเม็ด 5 ครั้งตอวัน 7-10 วัน
• Valacyclovir 1gm ชนิดเม็ด 2 ครั้งตอวัน 7-10 วัน
ในผูปวย Herpes Simplex Virus HSV ชนิดรุนแรง หรือมีภาวะแทรกซอน เชน ปอดอักเสบ ตับอักเสบ
ควรไดรับการรักษาโดย Acyclovir ชนิดยาฉีด
Recommend Regimen
• Acyclovir 5-10 mg/kg ทุก 8 ชั่วโมง 2-7 วัน หรือ ใหยาจนอาการดีขึ้นแลวเปลี่ยนเปนยาเม็ดจนครบ 10
วัน
Syphilis การติดเชื้อซิฟลิส
• ผูปวย Syphilis ระยะ primary และ secondary ควรใหการรักษาดวย Benzathine penicillin G 2.4

million unit ฉีดเขากลาม ครั้งเดียว
• การเจาะน้ําไขสันหลัง ไมมีความจําเปนในผูปวย primary และ secondary ที่ไมพบอาการหรือ อาการ
แสดงทางระบบปราสาท, ติดเชื้อทางตา หรือไมตอบสนองตอการรักษา
• ผูปวยติดเชื้อระยะ primary และ secondary ที่ไมตั้งครรภและแพยา penicillin ควรใหการรักษาโดยยา
Doxycycline 100 mg ชนิดเม็ด 2 ครั้งตอวัน เปนแวลา 14 วัน หรือ ยา tetracycline 500 mg ชนิดเม็ด 4
ครั้งตอวัน เปนเวลา 14 วัน
• ในผูปวยตั้งครรภที่แพยา Penicillin ควร desensitized แลวใหการรักษาดวยยา Penicillin
Urethritis ผูปวยทอปสสาวะอักเสบติดเชื้อ
ผูปวยควรไดรับการรักษาคุมเชื้อ Chlamydia และ Gonorrhea
การตรวจเพิ่มเติมเพื่อหาเชื้อสาเหตุของเชื้อมีความจําเปน เพราะวาทั้ง Chlamydia และ Gonorrhea
เปนเชื้อที่ตองรายงาน และการรักษาเฉพาะเจาะจงกับเชื้อมีประโยชนในการรักษาคูนอน
Urethritis สามารถใหการวินิจฉัยไดจากทั้งจากอาการแสดง และการตรวจทางหองปฎิบัติการ ดังนี้
• ตรวจพบเมือกหรือหนองจากทอปสสาวะ
• Urethral secretion ยอม Gram stain พบ เม็ดเลือดขาวมากกวา 5 /oil immersion field
• การตรวจปสสาวะ พบ leukocyte esterase test ใหผลบวก หรือ พบเม็ดเลือดขาวมากวา 10 /high-power
field
ถาหากตรวจไมพบอาการแสดง หรือไมพบผลตรวจทางหองปฎิบัติการดังกลาวแลว แนะนําใหการรักษา
เฉพาะในรายที่ มีโอกาสติดเชื้อสูงทีมโอกาสไมมาตรวจติดตามการรักษาสูงเทานั้น
่ ี
Recommend regimens
• Azithomycin 1 gm ชนิดเม็ด ครั้งเดียว
• Doxycycline 100 mg ชนิดเม็ด 2 ครั้งตอวัน 7 วัน
การมีเพศสัมพันธ ควรใหการแนะนํางดการมีเพศสัมพันธ 7 วันหลังจากไดรับยาชนิด single dose หรือ
ไดรับยาจนครบ 7 วัน ในการรักษาชนิด 7 วัน
Chlamydial infection ผูติดเชื้อ Chlamydia หรือหนองในเทียม
Recommended regimens
• Azithomycin ชนิดเม็ด 1gm ครั้งเดียว
• Doxycycline ชนิดเม็ด 100 mg 2 ครั้งตอวัน 7 วัน
หรือ
• Erythomycin base 500 mg ชนิดเม็ด 4 ครั้งตอวัน 7 วัน
• Erythomycin ethylsuccinate 800 mg ชนิดเม็ด 4 ครั้งตอวัน 7 วัน
• Levofloxacin 500 mg ชนิดเม็ด วันละครั้ง 7 วัน
• Ofloxacin 300 mg ชนิดเม็ด 2 ครั้งตอวัน 7 วัน
แนะนําใหผูปวยรับประทานยาครั้งแรกตอหนาผูใหบริการทางการแพทย เพื่อเปนการยืนยันการรับประทานยา
Gonococcal Infection ผูติดเชื้อ Gonorhea หรือหนองใน
ควรใหการรักษาครอบคุมเชื้อ C.Trachomatis ทุกรายที่ใหการรักษา Gonococcal Infection
แนวทางใหการรักษา Uncomplicated Gonoccocal Infection ที่ ปากมดลูก ทอปสสาวะ และ ทวารหนัก
Recommended regimens
• Ceftriaxone 250 mg ฉีดทางกลามเนื้อ ครั้งเดียว
• Cefixime 400 mg ชนิดเม็ด ครั้งเดียว
• Cephalosporin ฉีดทางกลามเนื้อครั้งเดียว รวมกับ Azithromycin 1 gm ชนิดเม็ดครั้งเดียว หรือ
Doxycycline 100 mg ชนิดเม็ด 2 ครั้งตอวัน 7 วัน
ขอหามในการใชยา Penicillin ในผูปวยแพยา Penicillin เฉพาะผูปวยที่มีอาการแพรุนแรงเทานั้น (
Anaphylaxis, Steven-Johnson syndrome, Toxic epidermal necrosis )
Epididymitis ผูปวยอัณฑะอักเสบติดเชื้อ
• แนะนําใหการรักษาครอบคุมเชื้อทันที ไมตองรอผลตรวจทางหองปฎิบัติการ
• แนะนําให bed rest, scrotal elevation และ ยาลดปวดอยางเหมาะสม
Recommended regimens
• Ceftriaxone 250 mg ฉีดทางกลามเนื้อ ครั้งเดียว รวมกับ Doxycycline ชนิดเม็ด 100 mg 2 ครั้งตอวัน 7
วัน
หรือ Epididymitis ที่นาจะมีสาเหตุจาก Enteric organism แนะนําให
• Levofloxacin 500 mg ชนิดเม็ด วันละครั้ง 10 วัน
• Ofloxacin 300 mg ชนิดเม็ด 2 ครั้งตอวัน 10 วัน
Editor comment
เมื่อผูปวยจําเปนตองไดรับการรักษา STD ดังนั้นคูนอนควรไดรับการรักษา ถาหากคูนอนไมสามารถ
มาตรวจรักษาดวยเหตุผลใดๆก็ตาม ควรการใหการรักษาคูแบบ PDPT หรือ ที่เรียกวาการรักษาคูนอนโดย

ไมตองมารับการตรวจโดยแพทย อยางไรก็ตาม PDPT นั้น ยังไมมีกฎหมายรองรับ หรือขอหามที่ชัดเจนใน
ประเทศไทย ดังนั้นควรพิจารณาใหการรักษาคูนอนแบบไมตองมารับการตรวจวินิจฉัยเปนรายๆไป และประเด็น
สําคัญของการใหการรักษาแบบนี้ จําเปนตองใหคําแนะนําเรื่องการแพยาชนิดตางๆ และ ผลตอทารกหากคูนอน
เปนผูหญิง และมีโอกาสตั้งครรภ
Emergency Contraception การใหการคุมกําเนิดฉุกเฉิน
American College of Obstetrician and Gynecologists ไดตีพิมพแนวทางการใหการคุมกําเนิดฉุกเฉิน
ไวเมื่อป 2010 โดยมีการวัดระดับของ evident base ดังนี้
• Level A จากขอมูล good consistent scientific evidence
• Level B จากขอมูล limited consistent scientific evidence
• Level C จากขอมูลของ expert opinion หรือ concensus
Level A recommendations
• Levonorgestrel-only regimen ไดผลดีและมีอาการคลื่นใสอาเจียนจากยานอยกวา ยากลุม estrogenprogestin regimen
• Levonorgestrel-only regimen 0.75 mg ชนิดเม็ด 2 เม็ดครั้งเดียว ใหประสิทธิภาพการคุมกําเนิด
เทียบเทากับ 0.75 mg 2 เม็ด หางกัน 12-24 ชั่วโมง
การใหยายาลดอาการคลื่นใสอาเจียน 1 ชั่วโมง กอนการใหยา estrogen-progestin regimen
ชวยลดอาการคลื่นใสอาเจียนได
Level B recommendations
• การใหการคุมกําเนิดควรใหเร็วที่สุดหลังการมีเพศสัมพันธเพื่อประสิทธิภาพที่ดีที่สุด
• การคุมกําเนิดชนิดฉุกเฉินควรใหหลังมีเพศสัมพันธจนถึง 5 วันหลังมีเพศสัมพันธ
• ไมมีความจําเปนตองทําการตรวจรางกายหรือตรวจยืนยันการตั้งครรภกอนใหการคุมกําเนิดฉุกเฉิน
Level C recommendations
• พิจารณาใหคําแนะนําการคุมกําเนิดฉุกเฉินในผูหญิงที่ไดรับการคุมกําเนิดหลังมีเพศสัมพันธและไมมีความ
ตองการตั้งครรภ
• พิจารณาใหการคุมกําเนิดฉุกเฉินในรายที่ใชยาคุมกําเนิดแบบรายเดือนแตไดรับยาไมถูกตอง
• พิจารณาใหการคุมกําเนิดฉุกเฉินโดยสามารถใหยาคุมกําเนิดฉุกเฉินffด ไดหลายครั้งในหนึ่งรอบเดือน
• พิจารณาใหคําแนะนําเรื่องการคุมกําเนิดระยะยาวในผูปวยมารับการคุมกําเนิดฉุกเฉิน
References
1. Centers for Disease Control and Prevention. Sexually transmitted diseases
treatment guidelines, 2010. MMWR. 2010;59(No.RR-12):1-114.
(Practice guideline)
2. Wiesenfeld HC, Sweet RL, Ness RB, et al. Comparison of acute and
subclinical pelvic inflammatory disease. Sexually Transmitted Diseases.
2005;32(7):400-405. (Cross-sectional study using cohorts from
multicenter randomized clinical treatment trial and observation
study; 603 participants)
3. Merchant RC. Update on emerging infections: news from the Centers
for Disease Control and Prevention. Ann Emerg Med. 2011;58(1):67-68.
(Commentary)
4. American College of Obstetricians and Gynecologists. Practice
bulletin number 112; emergency contraception. Obstet Gynecol.
2010;115(5):1100-1109. (Practice guideline)
5. Jina A, Jewkes R, Munhanha SP, et al. Report of the FIGO working
group on sexual violence/HIV: guidelines for the management of female
survivors of sexual assault. Int J Gynaecol Obstet. 2010;109:85-92.
(Practice guideline)
6. Campbell R, Sefl T, Barnes HE, et al. Community services for rape survivors:
enhancing psychological well-being or increasing trauma? J Consult
Clin Psychol. 1999;67(6):847-858. (Retrospective; 102 patients)

More Related Content

What's hot

Slide ยา had (1)
Slide ยา had (1)Slide ยา had (1)
Slide ยา had (1)
Lek Suthida
 
Acne medications
Acne medicationsAcne medications
Acne medications
Utai Sukviwatsirikul
 
Ppt. med error.2
Ppt. med error.2Ppt. med error.2
Ppt. med error.2
Prachaya Sriswang
 
Ppt.trigger tool
Ppt.trigger toolPpt.trigger tool
Ppt.trigger tool
Prachaya Sriswang
 
Adverse drug reaction 09
Adverse drug reaction 09Adverse drug reaction 09
Adverse drug reaction 09
Rachanont Hiranwong
 
Middle East Respiratory Syndrome Coronavirus : MERS-CoV Handbook
Middle East Respiratory Syndrome Coronavirus : MERS-CoV HandbookMiddle East Respiratory Syndrome Coronavirus : MERS-CoV Handbook
Middle East Respiratory Syndrome Coronavirus : MERS-CoV Handbook
Utai Sukviwatsirikul
 
การจัดการผู้ป่วยแจ้งประวัติแพ้ยา
การจัดการผู้ป่วยแจ้งประวัติแพ้ยาการจัดการผู้ป่วยแจ้งประวัติแพ้ยา
การจัดการผู้ป่วยแจ้งประวัติแพ้ยา
Rachanont Hiranwong
 
อาการไม่พึงประสงค์จากยา ร้านยา
อาการไม่พึงประสงค์จากยา ร้านยาอาการไม่พึงประสงค์จากยา ร้านยา
อาการไม่พึงประสงค์จากยา ร้านยา
Latthapol Winitmanokul
 
การตรวจสุขภาพสตรีมีครรภ์
การตรวจสุขภาพสตรีมีครรภ์การตรวจสุขภาพสตรีมีครรภ์
การตรวจสุขภาพสตรีมีครรภ์
Utai Sukviwatsirikul
 
การติดตามอาการไม่พึงประสงค์จากยาตามระบบต่างๆ
การติดตามอาการไม่พึงประสงค์จากยาตามระบบต่างๆการติดตามอาการไม่พึงประสงค์จากยาตามระบบต่างๆ
การติดตามอาการไม่พึงประสงค์จากยาตามระบบต่างๆ
Tuanthon Boonlue
 
10 r กับการให้ยาอย่างปลอดภัย
10 r กับการให้ยาอย่างปลอดภัย10 r กับการให้ยาอย่างปลอดภัย
10 r กับการให้ยาอย่างปลอดภัย
Suradet Sriangkoon
 
ผลลัพธ์ต่อการควบคุมโรคหืดหลังจากได้รับการบริบาลทางเภสัชกรรม
ผลลัพธ์ต่อการควบคุมโรคหืดหลังจากได้รับการบริบาลทางเภสัชกรรมผลลัพธ์ต่อการควบคุมโรคหืดหลังจากได้รับการบริบาลทางเภสัชกรรม
ผลลัพธ์ต่อการควบคุมโรคหืดหลังจากได้รับการบริบาลทางเภสัชกรรม
Rachanont Hiranwong
 
การให้บัตรแพ้ยา
การให้บัตรแพ้ยาการให้บัตรแพ้ยา
การให้บัตรแพ้ยา
Rachanont Hiranwong
 
Cross hypersensivity to NSIADs, Allergic and pseudoallergic reactions.
Cross hypersensivity to NSIADs, Allergic and pseudoallergic reactions.Cross hypersensivity to NSIADs, Allergic and pseudoallergic reactions.
Cross hypersensivity to NSIADs, Allergic and pseudoallergic reactions.
Utai Sukviwatsirikul
 
สอนการป้องกันความคลาดเคลื่อนสำหรับเจ้าหน้าที่ห้องยา
สอนการป้องกันความคลาดเคลื่อนสำหรับเจ้าหน้าที่ห้องยาสอนการป้องกันความคลาดเคลื่อนสำหรับเจ้าหน้าที่ห้องยา
สอนการป้องกันความคลาดเคลื่อนสำหรับเจ้าหน้าที่ห้องยา
duangkaew
 

What's hot (15)

Slide ยา had (1)
Slide ยา had (1)Slide ยา had (1)
Slide ยา had (1)
 
Acne medications
Acne medicationsAcne medications
Acne medications
 
Ppt. med error.2
Ppt. med error.2Ppt. med error.2
Ppt. med error.2
 
Ppt.trigger tool
Ppt.trigger toolPpt.trigger tool
Ppt.trigger tool
 
Adverse drug reaction 09
Adverse drug reaction 09Adverse drug reaction 09
Adverse drug reaction 09
 
Middle East Respiratory Syndrome Coronavirus : MERS-CoV Handbook
Middle East Respiratory Syndrome Coronavirus : MERS-CoV HandbookMiddle East Respiratory Syndrome Coronavirus : MERS-CoV Handbook
Middle East Respiratory Syndrome Coronavirus : MERS-CoV Handbook
 
การจัดการผู้ป่วยแจ้งประวัติแพ้ยา
การจัดการผู้ป่วยแจ้งประวัติแพ้ยาการจัดการผู้ป่วยแจ้งประวัติแพ้ยา
การจัดการผู้ป่วยแจ้งประวัติแพ้ยา
 
อาการไม่พึงประสงค์จากยา ร้านยา
อาการไม่พึงประสงค์จากยา ร้านยาอาการไม่พึงประสงค์จากยา ร้านยา
อาการไม่พึงประสงค์จากยา ร้านยา
 
การตรวจสุขภาพสตรีมีครรภ์
การตรวจสุขภาพสตรีมีครรภ์การตรวจสุขภาพสตรีมีครรภ์
การตรวจสุขภาพสตรีมีครรภ์
 
การติดตามอาการไม่พึงประสงค์จากยาตามระบบต่างๆ
การติดตามอาการไม่พึงประสงค์จากยาตามระบบต่างๆการติดตามอาการไม่พึงประสงค์จากยาตามระบบต่างๆ
การติดตามอาการไม่พึงประสงค์จากยาตามระบบต่างๆ
 
10 r กับการให้ยาอย่างปลอดภัย
10 r กับการให้ยาอย่างปลอดภัย10 r กับการให้ยาอย่างปลอดภัย
10 r กับการให้ยาอย่างปลอดภัย
 
ผลลัพธ์ต่อการควบคุมโรคหืดหลังจากได้รับการบริบาลทางเภสัชกรรม
ผลลัพธ์ต่อการควบคุมโรคหืดหลังจากได้รับการบริบาลทางเภสัชกรรมผลลัพธ์ต่อการควบคุมโรคหืดหลังจากได้รับการบริบาลทางเภสัชกรรม
ผลลัพธ์ต่อการควบคุมโรคหืดหลังจากได้รับการบริบาลทางเภสัชกรรม
 
การให้บัตรแพ้ยา
การให้บัตรแพ้ยาการให้บัตรแพ้ยา
การให้บัตรแพ้ยา
 
Cross hypersensivity to NSIADs, Allergic and pseudoallergic reactions.
Cross hypersensivity to NSIADs, Allergic and pseudoallergic reactions.Cross hypersensivity to NSIADs, Allergic and pseudoallergic reactions.
Cross hypersensivity to NSIADs, Allergic and pseudoallergic reactions.
 
สอนการป้องกันความคลาดเคลื่อนสำหรับเจ้าหน้าที่ห้องยา
สอนการป้องกันความคลาดเคลื่อนสำหรับเจ้าหน้าที่ห้องยาสอนการป้องกันความคลาดเคลื่อนสำหรับเจ้าหน้าที่ห้องยา
สอนการป้องกันความคลาดเคลื่อนสำหรับเจ้าหน้าที่ห้องยา
 

Viewers also liked

Headaches: diagnosis and management of headaches in young people and adults ,...
Headaches: diagnosis and management of headaches in young people and adults ,...Headaches: diagnosis and management of headaches in young people and adults ,...
Headaches: diagnosis and management of headaches in young people and adults ,...
Utai Sukviwatsirikul
 
มาตรฐานสถานประกอบการสปา
มาตรฐานสถานประกอบการสปามาตรฐานสถานประกอบการสปา
มาตรฐานสถานประกอบการสปา
Utai Sukviwatsirikul
 
บทสรุปของการเปลี่ยนแปลงกฎต่างๆที่จะมีผลต่อร้านขายยา โดยเภสัชกรประสิทธิ์ วงศ์...
บทสรุปของการเปลี่ยนแปลงกฎต่างๆที่จะมีผลต่อร้านขายยา  โดยเภสัชกรประสิทธิ์ วงศ์...บทสรุปของการเปลี่ยนแปลงกฎต่างๆที่จะมีผลต่อร้านขายยา  โดยเภสัชกรประสิทธิ์ วงศ์...
บทสรุปของการเปลี่ยนแปลงกฎต่างๆที่จะมีผลต่อร้านขายยา โดยเภสัชกรประสิทธิ์ วงศ์...
Utai Sukviwatsirikul
 
ร้่านยาคุณภาพในระบบหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ
ร้่านยาคุณภาพในระบบหลักประกันสุขภาพแห่งชาติร้่านยาคุณภาพในระบบหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ
ร้่านยาคุณภาพในระบบหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ
Utai Sukviwatsirikul
 
บทที่ 7 วัคซีน
บทที่ 7 วัคซีนบทที่ 7 วัคซีน
บทที่ 7 วัคซีน
Pa'rig Prig
 
บัญชียาหลักแห่งชาติ 30 กย 56
บัญชียาหลักแห่งชาติ 30 กย 56บัญชียาหลักแห่งชาติ 30 กย 56
บัญชียาหลักแห่งชาติ 30 กย 56
Supanan Inphlang
 

Viewers also liked (8)

Htn
HtnHtn
Htn
 
Headaches: diagnosis and management of headaches in young people and adults ,...
Headaches: diagnosis and management of headaches in young people and adults ,...Headaches: diagnosis and management of headaches in young people and adults ,...
Headaches: diagnosis and management of headaches in young people and adults ,...
 
มาตรฐานสถานประกอบการสปา
มาตรฐานสถานประกอบการสปามาตรฐานสถานประกอบการสปา
มาตรฐานสถานประกอบการสปา
 
Sport injury
Sport injurySport injury
Sport injury
 
บทสรุปของการเปลี่ยนแปลงกฎต่างๆที่จะมีผลต่อร้านขายยา โดยเภสัชกรประสิทธิ์ วงศ์...
บทสรุปของการเปลี่ยนแปลงกฎต่างๆที่จะมีผลต่อร้านขายยา  โดยเภสัชกรประสิทธิ์ วงศ์...บทสรุปของการเปลี่ยนแปลงกฎต่างๆที่จะมีผลต่อร้านขายยา  โดยเภสัชกรประสิทธิ์ วงศ์...
บทสรุปของการเปลี่ยนแปลงกฎต่างๆที่จะมีผลต่อร้านขายยา โดยเภสัชกรประสิทธิ์ วงศ์...
 
ร้่านยาคุณภาพในระบบหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ
ร้่านยาคุณภาพในระบบหลักประกันสุขภาพแห่งชาติร้่านยาคุณภาพในระบบหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ
ร้่านยาคุณภาพในระบบหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ
 
บทที่ 7 วัคซีน
บทที่ 7 วัคซีนบทที่ 7 วัคซีน
บทที่ 7 วัคซีน
 
บัญชียาหลักแห่งชาติ 30 กย 56
บัญชียาหลักแห่งชาติ 30 กย 56บัญชียาหลักแห่งชาติ 30 กย 56
บัญชียาหลักแห่งชาติ 30 กย 56
 

Similar to Cpg std aug 2011

การคัดกรองภาวะเสี่ยงแบบองค์รสม แบบประเมินมารดาทารก และการส่งต่อ
การคัดกรองภาวะเสี่ยงแบบองค์รสม แบบประเมินมารดาทารก และการส่งต่อการคัดกรองภาวะเสี่ยงแบบองค์รสม แบบประเมินมารดาทารก และการส่งต่อ
การคัดกรองภาวะเสี่ยงแบบองค์รสม แบบประเมินมารดาทารก และการส่งต่อ
0582A1
 
Vis meningo-poly
Vis meningo-polyVis meningo-poly
Vis meningo-polyAimmary
 
Ppt.มะเร็งเต้านม
Ppt.มะเร็งเต้านมPpt.มะเร็งเต้านม
Ppt.มะเร็งเต้านม
Prachaya Sriswang
 
โรคทางพันธุกรรม
โรคทางพันธุกรรมโรคทางพันธุกรรม
โรคทางพันธุกรรมRoongroeng
 
CPG มะเร็งเม็ดเลือดขาวและต่อมน้ำเหลืองในเด็ก
CPG มะเร็งเม็ดเลือดขาวและต่อมน้ำเหลืองในเด็กCPG มะเร็งเม็ดเลือดขาวและต่อมน้ำเหลืองในเด็ก
CPG มะเร็งเม็ดเลือดขาวและต่อมน้ำเหลืองในเด็ก
Thorsang Chayovan
 
มะเร็งการรักษาและการป้องกัน4
มะเร็งการรักษาและการป้องกัน4มะเร็งการรักษาและการป้องกัน4
มะเร็งการรักษาและการป้องกัน4
4LIFEYES
 
คู่มือการฝากครรภ์ สำหรับบุคลากรสาธารณสุข .pdf
คู่มือการฝากครรภ์ สำหรับบุคลากรสาธารณสุข .pdfคู่มือการฝากครรภ์ สำหรับบุคลากรสาธารณสุข .pdf
คู่มือการฝากครรภ์ สำหรับบุคลากรสาธารณสุข .pdf
SakarinHabusaya1
 
Physical Assessment for Phamacist
Physical Assessment for PhamacistPhysical Assessment for Phamacist
Physical Assessment for Phamacist
Sirichai Namtatsanee
 
Vis varicella-zoster
Vis varicella-zosterVis varicella-zoster
Vis varicella-zosterAimmary
 
แนวทางการรักษาโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
แนวทางการรักษาโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ แนวทางการรักษาโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
แนวทางการรักษาโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ Utai Sukviwatsirikul
 
วิธีการตรวจโรคเบื้องต้น การประชุม family pharmacist
วิธีการตรวจโรคเบื้องต้น การประชุม family pharmacist วิธีการตรวจโรคเบื้องต้น การประชุม family pharmacist
วิธีการตรวจโรคเบื้องต้น การประชุม family pharmacist
Utai Sukviwatsirikul
 
การฝากตัวอ่อน
การฝากตัวอ่อนการฝากตัวอ่อน
การฝากตัวอ่อนbiwty_keng
 
มะเร็งหลังโพรงจมูก
มะเร็งหลังโพรงจมูกมะเร็งหลังโพรงจมูก
มะเร็งหลังโพรงจมูกWan Ngamwongwan
 
Medication reconciliation slide
Medication reconciliation slideMedication reconciliation slide
Medication reconciliation slide
Rachanont Hiranwong
 

Similar to Cpg std aug 2011 (20)

Vis hpv
Vis hpvVis hpv
Vis hpv
 
การคัดกรองภาวะเสี่ยงแบบองค์รสม แบบประเมินมารดาทารก และการส่งต่อ
การคัดกรองภาวะเสี่ยงแบบองค์รสม แบบประเมินมารดาทารก และการส่งต่อการคัดกรองภาวะเสี่ยงแบบองค์รสม แบบประเมินมารดาทารก และการส่งต่อ
การคัดกรองภาวะเสี่ยงแบบองค์รสม แบบประเมินมารดาทารก และการส่งต่อ
 
Vis meningo-poly
Vis meningo-polyVis meningo-poly
Vis meningo-poly
 
Vis meningo-poly
Vis meningo-polyVis meningo-poly
Vis meningo-poly
 
Ppt.มะเร็งเต้านม
Ppt.มะเร็งเต้านมPpt.มะเร็งเต้านม
Ppt.มะเร็งเต้านม
 
Vis ipv
Vis ipvVis ipv
Vis ipv
 
โรคทางพันธุกรรม
โรคทางพันธุกรรมโรคทางพันธุกรรม
โรคทางพันธุกรรม
 
CPG มะเร็งเม็ดเลือดขาวและต่อมน้ำเหลืองในเด็ก
CPG มะเร็งเม็ดเลือดขาวและต่อมน้ำเหลืองในเด็กCPG มะเร็งเม็ดเลือดขาวและต่อมน้ำเหลืองในเด็ก
CPG มะเร็งเม็ดเลือดขาวและต่อมน้ำเหลืองในเด็ก
 
มะเร็งการรักษาและการป้องกัน4
มะเร็งการรักษาและการป้องกัน4มะเร็งการรักษาและการป้องกัน4
มะเร็งการรักษาและการป้องกัน4
 
คู่มือการฝากครรภ์ สำหรับบุคลากรสาธารณสุข .pdf
คู่มือการฝากครรภ์ สำหรับบุคลากรสาธารณสุข .pdfคู่มือการฝากครรภ์ สำหรับบุคลากรสาธารณสุข .pdf
คู่มือการฝากครรภ์ สำหรับบุคลากรสาธารณสุข .pdf
 
Paraqaut
ParaqautParaqaut
Paraqaut
 
Physical Assessment for Phamacist
Physical Assessment for PhamacistPhysical Assessment for Phamacist
Physical Assessment for Phamacist
 
Vis varicella-zoster
Vis varicella-zosterVis varicella-zoster
Vis varicella-zoster
 
Vis varicella-zoster
Vis varicella-zosterVis varicella-zoster
Vis varicella-zoster
 
Breast cancer
Breast cancerBreast cancer
Breast cancer
 
แนวทางการรักษาโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
แนวทางการรักษาโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ แนวทางการรักษาโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
แนวทางการรักษาโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
 
วิธีการตรวจโรคเบื้องต้น การประชุม family pharmacist
วิธีการตรวจโรคเบื้องต้น การประชุม family pharmacist วิธีการตรวจโรคเบื้องต้น การประชุม family pharmacist
วิธีการตรวจโรคเบื้องต้น การประชุม family pharmacist
 
การฝากตัวอ่อน
การฝากตัวอ่อนการฝากตัวอ่อน
การฝากตัวอ่อน
 
มะเร็งหลังโพรงจมูก
มะเร็งหลังโพรงจมูกมะเร็งหลังโพรงจมูก
มะเร็งหลังโพรงจมูก
 
Medication reconciliation slide
Medication reconciliation slideMedication reconciliation slide
Medication reconciliation slide
 

More from Utai Sukviwatsirikul

Nanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืน
Nanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืนNanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืน
Nanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืน
Utai Sukviwatsirikul
 
Clinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลัน
Clinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลันClinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลัน
Clinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลัน
Utai Sukviwatsirikul
 
แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...
แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...
แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...
Utai Sukviwatsirikul
 
Supply chain management
Supply chain managementSupply chain management
Supply chain management
Utai Sukviwatsirikul
 
Best practice in communication
Best practice in communicationBest practice in communication
Best practice in communication
Utai Sukviwatsirikul
 
Basic communication skills 2554
Basic communication skills 2554Basic communication skills 2554
Basic communication skills 2554
Utai Sukviwatsirikul
 
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoeaSaccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea
Utai Sukviwatsirikul
 
SME Handbook
SME HandbookSME Handbook
SME Handbook
Utai Sukviwatsirikul
 
การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)
การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)
การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)
Utai Sukviwatsirikul
 
Scientific evidence of BIOFLOR
Scientific evidence of BIOFLORScientific evidence of BIOFLOR
Scientific evidence of BIOFLOR
Utai Sukviwatsirikul
 
Drugs Used in Acute Diarrhea Wandee Varavithya
Drugs Used in Acute Diarrhea Wandee VaravithyaDrugs Used in Acute Diarrhea Wandee Varavithya
Drugs Used in Acute Diarrhea Wandee Varavithya
Utai Sukviwatsirikul
 
Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...
Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...
Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...
Utai Sukviwatsirikul
 
Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...
Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...
Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...
Utai Sukviwatsirikul
 
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...
Utai Sukviwatsirikul
 
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไตแนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
Utai Sukviwatsirikul
 
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงการประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง
Utai Sukviwatsirikul
 
ความรู้เรื่องโรคไต
ความรู้เรื่องโรคไตความรู้เรื่องโรคไต
ความรู้เรื่องโรคไต
Utai Sukviwatsirikul
 
แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)
แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)
แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)
Utai Sukviwatsirikul
 
พระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการ
พระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการพระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการ
พระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการ
Utai Sukviwatsirikul
 
ข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉิน
ข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉินข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉิน
ข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉิน
Utai Sukviwatsirikul
 

More from Utai Sukviwatsirikul (20)

Nanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืน
Nanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืนNanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืน
Nanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืน
 
Clinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลัน
Clinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลันClinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลัน
Clinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลัน
 
แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...
แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...
แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...
 
Supply chain management
Supply chain managementSupply chain management
Supply chain management
 
Best practice in communication
Best practice in communicationBest practice in communication
Best practice in communication
 
Basic communication skills 2554
Basic communication skills 2554Basic communication skills 2554
Basic communication skills 2554
 
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoeaSaccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea
 
SME Handbook
SME HandbookSME Handbook
SME Handbook
 
การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)
การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)
การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)
 
Scientific evidence of BIOFLOR
Scientific evidence of BIOFLORScientific evidence of BIOFLOR
Scientific evidence of BIOFLOR
 
Drugs Used in Acute Diarrhea Wandee Varavithya
Drugs Used in Acute Diarrhea Wandee VaravithyaDrugs Used in Acute Diarrhea Wandee Varavithya
Drugs Used in Acute Diarrhea Wandee Varavithya
 
Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...
Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...
Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...
 
Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...
Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...
Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...
 
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...
 
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไตแนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
 
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงการประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง
 
ความรู้เรื่องโรคไต
ความรู้เรื่องโรคไตความรู้เรื่องโรคไต
ความรู้เรื่องโรคไต
 
แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)
แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)
แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)
 
พระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการ
พระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการพระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการ
พระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการ
 
ข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉิน
ข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉินข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉิน
ข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉิน
 

Cpg std aug 2011

  • 1. แนวทางใหการดูแลผูปวย โรคติดตอทางเพศสัมพันธ การคุมกําเนิด อาจารยนายแพทย ธนดล โรจนศานติกุล เวชศาสตรฉุกเฉิน โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ สภากาชาดไทย คณะแพทยศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย แนวทางใหการดูแลผูปวยนี้ ผูเขียนไดรับอนุญาติ ในการ review แตเผยแพรแนวทางการรักษา จาก EM Practice Guideline Update ที่ทําการ review และตีพิมพแนวทางใหการรักษาผูปวย จากสมาคมทางการ แพทย ตางๆ ในประเทศสหรัฐอเมริกา ในสวนที่เกี่ยวของกับการดูแลผูปวยฉุกเฉิน Practice guideline impact แนวทางใหการรักษา • ผูปวยที่ไดรับการรักษาโรคติดตอทางเพศสัมพันธ ควรไดรับการตรวจคัดกรองเชื้อ HIV • ผูปวยที่มีอาการแสดงของการติดเชื้อ Chlamydia หรือ เชื้อ gonorrhea ควรใหการรักษาโดย ไมตองรอผลตรวจยืนยันเชื้อ • การคุมกําเนิดฉุกเฉิน ควรใหในผูปวยทุกรายที่ไมไดรับการคุมกําเนิดทุกราย โดยให single dose regimen เพื่อลดผลขางเคียงของยาคุมกําเนิด • ผูปวยไดรับการทํารายทางเพศ ควรไดรับการรักษาโรคติดตอทางเพศสัมพันธ การคุมกําเนิด และ ใหยาปองกันเชื้อ HIV ( post-exposure prophylaxis ) ที่มาของแนวทางใหการดูแลรักษา โรคติดตอทางเพศสัมพันธ U.S. Centers for Disease Control and Preventive (CDC) และ Professional in STDs ไดรวมกัน ทำการ ปรับปรุงและตีพิมพแนวทางใหการดูแลผูปวย โรคติดตอทางเพศสัมพันธ ในป 2010 โดยมุงเนน การ systematic review of evidence-based literature เพือใหไดผลการรักษาดังตอไปนี้ ่ • ใหการรักษาเพื่อกําจัดเชื้อ • ใหการรักษาเพื่อลดอาการและอาการแสดงจากเชื้อ • ใหการรักษาเพื่อปองการผลกระทบที่เกิดขึ้นหลังจากการติดเชื้อ • ใหการรักษาเพื่อปองกันการแพรกระจายของเชื้อ อยางไรก็ตาม การทํา systematic review ครั้งนี้ ไมไดทําการวัดระดับ evidence-based และการ review ในครั้งนีจะยกมาเฉพาะแนวทางใหการรักษาที่เกี่ยวของกับการรักษาผูปวยฉุกเฉินเทานั้น ้ ที่มาของแนวทางการใหการคุมกําเนิดฉุกเฉิน นํามาจาก American College of Obstetricians and Gynecologists Practice Bulletin No.112: Emergency Contraception. Partner Management แนวทางการใหการรักษาคูนอนผู เมื่อผูปวยไดรับการวินิจฉัย การติดเชื่อ Chlamydia หรือ เชื้อ Gonorrhea ควรแนะนําใหการรักษา คูนอนโดยคูนอนไมจําเปนตองมารับการตรวจวินิจฉัย Patient-delivered partner therapy (PDPT) Reporting And Confidentiality แนวทางการรายงานผลการตรวจ โรคติดตอทางเพศสัมพันธ และโรคติดเชื้อ HIV ควรรายงานผลการตรวจ ตามความตองการของผูปวย เทานั้น
  • 2. Special populations กลุมผูปวยหญิงกับหญิง เพศสัมพันธระหวางผูหญิงกับผูหญิง จัดอยูในกลุมมีโอกาสติดเชื้อทางเพศสัมพันธเทากับการมีเพศสัมพันธ ระหวางผูหญิงกับผูชาย Detection of HIV infection: การตรวจคัดกรองเชื้อ HIV ผูปวยทุกรายที่มาตรวจการติดเชื้อทางเพศสัมพันธควรไดรับการตรวจคัดกรองการติดเชื้อ HIV ทุกราย การตรวจคัดกรองเชื้อ HIV จําเปนตองไดรับการยินยอมจากผูปวยโดยควรไดรับการยินยอมเปนรายลักษณอักษร กอนการตรวจคัดกรอง และผูปวยจําเปนตองไดรับขอมูลความรูเรื่องเชื้อ HIV กอนการตรวจคัดกรอง Genital Herpes Simplex Virus Infection การติดเชื้อเริมอวัยวะเพศ ในผูปวยติดเชื้อ Herpes ที่อวัยวะเพศครั้งแรกควรใหการรักษาดวยยาตานไวรัสทุกราย Recommended regimens • Acyclovir 400 mg ชนิดเม็ด 3 ครั้งตอวัน 7-10 วัน • Acyclovir 200 mg ชนิดเม็ด 5 ครั้งตอวัน 7-10 วัน • Valacyclovir 1gm ชนิดเม็ด 2 ครั้งตอวัน 7-10 วัน ในผูปวย Herpes Simplex Virus HSV ชนิดรุนแรง หรือมีภาวะแทรกซอน เชน ปอดอักเสบ ตับอักเสบ ควรไดรับการรักษาโดย Acyclovir ชนิดยาฉีด Recommend Regimen • Acyclovir 5-10 mg/kg ทุก 8 ชั่วโมง 2-7 วัน หรือ ใหยาจนอาการดีขึ้นแลวเปลี่ยนเปนยาเม็ดจนครบ 10 วัน Syphilis การติดเชื้อซิฟลิส • ผูปวย Syphilis ระยะ primary และ secondary ควรใหการรักษาดวย Benzathine penicillin G 2.4  million unit ฉีดเขากลาม ครั้งเดียว • การเจาะน้ําไขสันหลัง ไมมีความจําเปนในผูปวย primary และ secondary ที่ไมพบอาการหรือ อาการ แสดงทางระบบปราสาท, ติดเชื้อทางตา หรือไมตอบสนองตอการรักษา • ผูปวยติดเชื้อระยะ primary และ secondary ที่ไมตั้งครรภและแพยา penicillin ควรใหการรักษาโดยยา Doxycycline 100 mg ชนิดเม็ด 2 ครั้งตอวัน เปนแวลา 14 วัน หรือ ยา tetracycline 500 mg ชนิดเม็ด 4 ครั้งตอวัน เปนเวลา 14 วัน • ในผูปวยตั้งครรภที่แพยา Penicillin ควร desensitized แลวใหการรักษาดวยยา Penicillin Urethritis ผูปวยทอปสสาวะอักเสบติดเชื้อ ผูปวยควรไดรับการรักษาคุมเชื้อ Chlamydia และ Gonorrhea การตรวจเพิ่มเติมเพื่อหาเชื้อสาเหตุของเชื้อมีความจําเปน เพราะวาทั้ง Chlamydia และ Gonorrhea เปนเชื้อที่ตองรายงาน และการรักษาเฉพาะเจาะจงกับเชื้อมีประโยชนในการรักษาคูนอน Urethritis สามารถใหการวินิจฉัยไดจากทั้งจากอาการแสดง และการตรวจทางหองปฎิบัติการ ดังนี้ • ตรวจพบเมือกหรือหนองจากทอปสสาวะ • Urethral secretion ยอม Gram stain พบ เม็ดเลือดขาวมากกวา 5 /oil immersion field
  • 3. • การตรวจปสสาวะ พบ leukocyte esterase test ใหผลบวก หรือ พบเม็ดเลือดขาวมากวา 10 /high-power field ถาหากตรวจไมพบอาการแสดง หรือไมพบผลตรวจทางหองปฎิบัติการดังกลาวแลว แนะนําใหการรักษา เฉพาะในรายที่ มีโอกาสติดเชื้อสูงทีมโอกาสไมมาตรวจติดตามการรักษาสูงเทานั้น ่ ี Recommend regimens • Azithomycin 1 gm ชนิดเม็ด ครั้งเดียว • Doxycycline 100 mg ชนิดเม็ด 2 ครั้งตอวัน 7 วัน การมีเพศสัมพันธ ควรใหการแนะนํางดการมีเพศสัมพันธ 7 วันหลังจากไดรับยาชนิด single dose หรือ ไดรับยาจนครบ 7 วัน ในการรักษาชนิด 7 วัน Chlamydial infection ผูติดเชื้อ Chlamydia หรือหนองในเทียม Recommended regimens • Azithomycin ชนิดเม็ด 1gm ครั้งเดียว • Doxycycline ชนิดเม็ด 100 mg 2 ครั้งตอวัน 7 วัน หรือ • Erythomycin base 500 mg ชนิดเม็ด 4 ครั้งตอวัน 7 วัน • Erythomycin ethylsuccinate 800 mg ชนิดเม็ด 4 ครั้งตอวัน 7 วัน • Levofloxacin 500 mg ชนิดเม็ด วันละครั้ง 7 วัน • Ofloxacin 300 mg ชนิดเม็ด 2 ครั้งตอวัน 7 วัน แนะนําใหผูปวยรับประทานยาครั้งแรกตอหนาผูใหบริการทางการแพทย เพื่อเปนการยืนยันการรับประทานยา Gonococcal Infection ผูติดเชื้อ Gonorhea หรือหนองใน ควรใหการรักษาครอบคุมเชื้อ C.Trachomatis ทุกรายที่ใหการรักษา Gonococcal Infection แนวทางใหการรักษา Uncomplicated Gonoccocal Infection ที่ ปากมดลูก ทอปสสาวะ และ ทวารหนัก Recommended regimens • Ceftriaxone 250 mg ฉีดทางกลามเนื้อ ครั้งเดียว • Cefixime 400 mg ชนิดเม็ด ครั้งเดียว • Cephalosporin ฉีดทางกลามเนื้อครั้งเดียว รวมกับ Azithromycin 1 gm ชนิดเม็ดครั้งเดียว หรือ Doxycycline 100 mg ชนิดเม็ด 2 ครั้งตอวัน 7 วัน ขอหามในการใชยา Penicillin ในผูปวยแพยา Penicillin เฉพาะผูปวยที่มีอาการแพรุนแรงเทานั้น ( Anaphylaxis, Steven-Johnson syndrome, Toxic epidermal necrosis ) Epididymitis ผูปวยอัณฑะอักเสบติดเชื้อ • แนะนําใหการรักษาครอบคุมเชื้อทันที ไมตองรอผลตรวจทางหองปฎิบัติการ • แนะนําให bed rest, scrotal elevation และ ยาลดปวดอยางเหมาะสม Recommended regimens • Ceftriaxone 250 mg ฉีดทางกลามเนื้อ ครั้งเดียว รวมกับ Doxycycline ชนิดเม็ด 100 mg 2 ครั้งตอวัน 7 วัน
  • 4. หรือ Epididymitis ที่นาจะมีสาเหตุจาก Enteric organism แนะนําให • Levofloxacin 500 mg ชนิดเม็ด วันละครั้ง 10 วัน • Ofloxacin 300 mg ชนิดเม็ด 2 ครั้งตอวัน 10 วัน Editor comment เมื่อผูปวยจําเปนตองไดรับการรักษา STD ดังนั้นคูนอนควรไดรับการรักษา ถาหากคูนอนไมสามารถ มาตรวจรักษาดวยเหตุผลใดๆก็ตาม ควรการใหการรักษาคูแบบ PDPT หรือ ที่เรียกวาการรักษาคูนอนโดย  ไมตองมารับการตรวจโดยแพทย อยางไรก็ตาม PDPT นั้น ยังไมมีกฎหมายรองรับ หรือขอหามที่ชัดเจนใน ประเทศไทย ดังนั้นควรพิจารณาใหการรักษาคูนอนแบบไมตองมารับการตรวจวินิจฉัยเปนรายๆไป และประเด็น สําคัญของการใหการรักษาแบบนี้ จําเปนตองใหคําแนะนําเรื่องการแพยาชนิดตางๆ และ ผลตอทารกหากคูนอน เปนผูหญิง และมีโอกาสตั้งครรภ Emergency Contraception การใหการคุมกําเนิดฉุกเฉิน American College of Obstetrician and Gynecologists ไดตีพิมพแนวทางการใหการคุมกําเนิดฉุกเฉิน ไวเมื่อป 2010 โดยมีการวัดระดับของ evident base ดังนี้ • Level A จากขอมูล good consistent scientific evidence • Level B จากขอมูล limited consistent scientific evidence • Level C จากขอมูลของ expert opinion หรือ concensus Level A recommendations • Levonorgestrel-only regimen ไดผลดีและมีอาการคลื่นใสอาเจียนจากยานอยกวา ยากลุม estrogenprogestin regimen • Levonorgestrel-only regimen 0.75 mg ชนิดเม็ด 2 เม็ดครั้งเดียว ใหประสิทธิภาพการคุมกําเนิด เทียบเทากับ 0.75 mg 2 เม็ด หางกัน 12-24 ชั่วโมง การใหยายาลดอาการคลื่นใสอาเจียน 1 ชั่วโมง กอนการใหยา estrogen-progestin regimen ชวยลดอาการคลื่นใสอาเจียนได Level B recommendations • การใหการคุมกําเนิดควรใหเร็วที่สุดหลังการมีเพศสัมพันธเพื่อประสิทธิภาพที่ดีที่สุด • การคุมกําเนิดชนิดฉุกเฉินควรใหหลังมีเพศสัมพันธจนถึง 5 วันหลังมีเพศสัมพันธ • ไมมีความจําเปนตองทําการตรวจรางกายหรือตรวจยืนยันการตั้งครรภกอนใหการคุมกําเนิดฉุกเฉิน Level C recommendations • พิจารณาใหคําแนะนําการคุมกําเนิดฉุกเฉินในผูหญิงที่ไดรับการคุมกําเนิดหลังมีเพศสัมพันธและไมมีความ ตองการตั้งครรภ • พิจารณาใหการคุมกําเนิดฉุกเฉินในรายที่ใชยาคุมกําเนิดแบบรายเดือนแตไดรับยาไมถูกตอง • พิจารณาใหการคุมกําเนิดฉุกเฉินโดยสามารถใหยาคุมกําเนิดฉุกเฉินffด ไดหลายครั้งในหนึ่งรอบเดือน • พิจารณาใหคําแนะนําเรื่องการคุมกําเนิดระยะยาวในผูปวยมารับการคุมกําเนิดฉุกเฉิน
  • 5. References 1. Centers for Disease Control and Prevention. Sexually transmitted diseases treatment guidelines, 2010. MMWR. 2010;59(No.RR-12):1-114. (Practice guideline) 2. Wiesenfeld HC, Sweet RL, Ness RB, et al. Comparison of acute and subclinical pelvic inflammatory disease. Sexually Transmitted Diseases. 2005;32(7):400-405. (Cross-sectional study using cohorts from multicenter randomized clinical treatment trial and observation study; 603 participants) 3. Merchant RC. Update on emerging infections: news from the Centers for Disease Control and Prevention. Ann Emerg Med. 2011;58(1):67-68. (Commentary) 4. American College of Obstetricians and Gynecologists. Practice bulletin number 112; emergency contraception. Obstet Gynecol. 2010;115(5):1100-1109. (Practice guideline) 5. Jina A, Jewkes R, Munhanha SP, et al. Report of the FIGO working group on sexual violence/HIV: guidelines for the management of female survivors of sexual assault. Int J Gynaecol Obstet. 2010;109:85-92. (Practice guideline) 6. Campbell R, Sefl T, Barnes HE, et al. Community services for rape survivors: enhancing psychological well-being or increasing trauma? J Consult Clin Psychol. 1999;67(6):847-858. (Retrospective; 102 patients)