SlideShare a Scribd company logo
1 of 5
Download to read offline
ลองทำดู
1.ข้อใดผิดเกี่ยวกับการให้คาปรึกษาแบบคู่สาหรับการตรวจเลือดเอชไอวี
ก. สามารถให้คาปรึกษากับทั้งสองคนพร้อมกันก่อนการตรวจเลือดได้
ข. หากทั้งสองฝ่ายไม่ยินยอมตรวจเลือด ผู้ให้บริการต้องเคารพการตัดสินใจ
ค. หากฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งไม่ยินยอมตรวจเลือด ควรให้คาปรึกษาอีกครั้งหรือจนกว่าจะยินยอมตรวจเลือด
ง. วิธีการตรวจเอชไอวีที่ดีที่สุดควรจะต้องได้ผลในวันเดียวกัน (Same day result)
จ. เป้ าหมายของการให้คาปรึกษาคือการค้นหาผู้ติดเชื้อเพื่อให้มารับการรักษาอย่างเหมาะสม
2.ในกรณีหญิงตั้งครรภ์เจ็บครรภ์คลอด แต่ไม่เคยฝากครรภ์และไม่ทราบผลการตรวจเอชไอวีมาก่อนข้อใดผิด
ก. ให้คาปรึกษาและแนะนาให้ตรวจหาเชื้อเอชไอวีในระหว่างเจ็บครรภ์ หากไม่ยินดีจะต้องให้คาปรึกษาและแนะนาอีกครั้งช่วงหลัง
คลอด หากไม่ยินดีอีก ควรให้คาปรึกษาแนะนาจนกระทั่งยอมให้ตรวจการติดเชื้อในทารก
ข. ควรใช้วิธีการตรวจที่มีความไวสูงและให้ผลรวดเร็วเพื่อเริ่มยาต้านไวรัสให้เร็วที่สุด
ค. หากมารดาติดเชื้อ ทารกควรได้รับยาต้านไวรัสเร็วที่สุด หรือภายใน 48 ชั่วโมง
ง. หากผลการตรวจครั้งแรกเป็นบวก แต่ตรวจยืนยันแล้วเป็นลบยังคงแนะนาให้งดนมมารดา
3. หญิงตั้งครรภ์ทราบผลเลือดติดว่าเชื้อเอชไอวีขณะมาฝากครรภ์ ข้อใดถูก
ก. เริ่มยาต้านไวรัสทันที
ข. เริ่มยาต้านไวรัสเมื่ออายุครรภ์ 14 สัปดาห์
ค. หาก CD4 >500/mL ไม่จาเป็นต้องให้ยาต้านไวรัส
ง. ควรให้ยาต้ายไวรัสที่มี AZT เสมอ เนื่องจากผ่านรกได้ดีที่สุด
4. สูตรยาแรกที่แนะนาในหญิงตั้งครรภ์ที่ตรวจพบการติดเชื้อเอชไอวีขณะมาฝากครรภ์
ก. AZT + 3TC + LPV/r
ข. TDF + 3TC + EFV
ค. TDF + 3TC + LPV/r
ง. AZT + 3TC + NVP
5. ข้อใดผิด สาหรับหญิงตั้งครรภ์ที่ติดเชื้อเอชไอวีและได้รับ HAART มาตลอด
ก. หากได้รับ EFV ควรเปลี่ยนเป็น NVP ในไตรมาสแรกเพื่อลดโอกาสเกิด meningomyelocele
ข. หาก VL ยังสูงกว่า 50 copies/mL สามารถปรับเปลี่ยนยาได้ในระหว่างการตั้งครรภ์
ค. ในช่วง intrapartum สามารถงด AZT loading ได้หาก VL< 50 copies/mL มาตลอด
ง. หากเคยมีประวัติการใช้ NVP มาก่อนควรหลีกเลี่ยงการใช้ยาตัวนี้
6. ในช่วงหลังคลอดหญิงตั้งครรภ์ติดเชื้อเอชไอวีควรได้รับการดูแลต่อไปนี้ยกเว้น
ก. สามารถเลือกที่จะรับยาต้านไวรัสต่อเนื่องได้ตลอดชีวิต
ข. สามารถเลือกที่จะไม่รับยาต้านไวรัสต่อเนื่องได้
ค. หากต้องการหยุดยาต้านไวรัสหลังคลอด ควรรับประทานยาต่อเนื่องอย่างน้อย 4 สัปดาห์
ง. หากได้รับยากลุ่ม NNRTIs ในขณะหยุดยาจะต้องให้ยากลุ่ม NRTIs ต่อไปอีก 7-10 วัน
7. หากมารดาได้รับยาต้านไวรัส 3 ชนิด เป็นเวลาอย่างน้อย 4 สัปดาห์อย่างสม่าเสมอ ทารกควรได้รับยาต้าน ไวรัสดังนี้
ก. Syr AZT 4 mg/Kg ทุก 12 ชม. 4 สัปดาห์
ข. Syr AZT 4 mg/Kg ทุก 12 ชม. + Syr 3TC 2 mg/Kg ทุก 12 ชม. + Syr NVP 4 mg/Kg ทุก 24 ชม. นาน 6 สัปดาห์
8. ในประเทศไทยทารกสามารถรับประทานน้านมมารดาได้ในกรณีใด
ก. VL < 50 copies/ mL มาตลอด
ข. CD 4 > 500/mL มาตลอด
ค. เพิ่งตรวจพบการติดเชื้อเอชไอวีไม่เกิน 1 เดือน
ง. ไม่มี
9. กรณีไม่เคยมาฝากครรภ์และได้รับผลการตรวจที่ห้องคลอดพบการติดเชื้อเอชไอวี ควรมีการดูแลต่อไปนื้ยกเว้น
ก. อายุครรภ์ก่อน 34 สัปดาห์ ควรประเมินระยะเวลาการคลอดโดยเปรียบเทียบข้อดีข้อเสียของภาวะคลอดก่อนกาหนดและการติด
เชื้อเอชไอวีจากมารดาสู่ทารก
ข. อายุครรภ์ 34-37 สัปดาห์ หากมีน้าเดินแล้วและน่าจะคลอดในระยะเวลาเกินกว่า 4 ชม. หากน้าเดินนานกว่านั้นควรพิจารณาการ
ผ่าตัดคลอดบุตร
ค. อายุครรภ์ 37 สัปดาห์ขึ้นไป คาดว่าจะคลอดบุตรภายใน 2 ชม. ควรรีบให้ AZT 600 mg และ NVP 200 mg รับประทานทันที
10.ข้อใดจับคู่ยาและผลข้างเคียงของยาผิด (ตอบได้มากกว่า 1 ข้อ)
ก. AZT - ซีด
ข. TDF - ไต
ค. LPV/r - คลื่นไส้ ถ่ายเหลว
ง. EFV - เวียนศีรษะ
จ. NVP - ตับอักเสบ
11. ข้อใดผิด
ก. หากหญิงตั้งครรภ์เคยมีประวัติดื้อต่อ AZT ในระหว่างการคลอดไม่จาเป็นต้องให้ AZT
ข. หากหญิงตั้งครรภ์เคยได้ NVP ระหว่างการคลอด ควรหลีกเลี่ยงสูตรยาที่มี NVP ในการรักษาระยะยาว
ค. หากพบว่าหญิงตั้งครรภ์เพิ่งมี Acute HIV infection ควรเริ่ม HAART ทันทีไม่ว่าอยู่ในสถานการณ์ใด
ง. หากสามีมีผลเลือดเอชไอวีเป็นบวก แต่ไม่มีเพศสัมพันธ์กันใน 1 เดือนที่ผ่านมาและผลเลือดฝ่ายหญิงเป็นลบ สามารถให้ลูก
รับประทานนมมารดาได้
12. ข้อใดผิด เกี่ยวกับการตรวจทางห้องปฏิบัติการสาหรับหญิงตั้งครรภ์ที่ได้รับยา HAART
ก. หากได้รับ LPV/r ควรตรวจคัดกรองเบาหวานเช่นเดียวกับหญิงตั้งครรภ์ที่มี potential DM
ข. ควรตรวจ CD 4 และ VL ทันทีเมื่อทราบว่ามีการติดเชื้อเอชไอวี
ค. ควรตรวจ CBC, Cr, ALT และ Urine sugar ก่อนเริ่มยาทุกราย
13. จับคู่ยาและข้อบ่งห้ามการใช้ยา ข้อใดผิด
ก. AZT - Hb ≤8 g/dL
ข. TDF - creatinine clearance < 50 mL/min
ค. NVP - ALT 2.5 เท่าของ upper normal limit
ง. LPV/r - urine sugar เป็นบวก
จ. ถูกทุกข้อ
14. ข้อใดผิดเกี่ยวกับวิธีการคลอด
ก. ควรหลีกเลี่ยงการเจาะถุงน้าคร่า
ข. ควรหลีกเลี่ยงหัตถการที่อาจทาให้ทารกได้รับบาดเจ็บ
ค. การผ่าตัดคลอดแบบฉุกเฉิน (มีอาการเจ็บครรภ์และน้าเดินแล้ว) ยังลดโอกาสการถ่ายทอดเชื้อจากมารดาสู่ทารกมากกว่าการ
คลอดทางช่องคลอด
ง. ข้อบ่งชี้สาหรับ Elective C/S ได้แก่ VL ที่ 36 สัปดาห์ > 1000 copies /mL หรือมาฝากครรภ์ช้า/ รับประทานยาต้านไวรัสน้อย
กว่า 4 สัปดาห์/ รับประทานยาไม่สม่าเสมอ หรือไม่เคยฝากครรภ์ หรือมีข้อบ่งชี้ทางสูติกรรม
15. หากหญิงตั้งครรภ์ได้รับยาตัวใดต่อไปนี้ห้ามใช้ Methergin ในช่วงหลังคลอดบุตร
ก. LPV/r
ข. EFV
ค. ทั้ง ก. และ ข.
ง. ไม่มีข้อถูก
16.ข้อใดไม่ใช่ครรภ์เสี่ยงสูง สาหรับการถ่ายทอดเชื้อจากมารดาสู่ทารก
ก. No ANC
ข. กินยาต้านไวรัส <4 สัปดาห์
ค. กินยาไม่สม่าเสมอ
ง. VL > 50 copies/mL
จ. ทารกคลอดก่อนกาหนดมาก ๆ
17. กรมอนามัยสนับสนุนนมผงสาหรับทารกที่เกิดจากมารดาที่ติดเชื้อเอชไอวีฟรีนานกี่เดือน
ก. 6 เดือน
ข. 12 เดือน
ค. 18 เดือน
ง. 24 เดือน
18. การเตรียมผู้ป่วยก่อน Elective C/S เป็นดังต่อไปนี้ยกเว้น
ก. งดน้างดอาหาร ให้น้าเกลือและจองเลือดตามปกติ
ข. ควรให้ AZT 600 mg และ NVP 200 mg รับประทานครั้งเดี่ยวก่อนผ่าตัด 4 ชม.
ค. จะต้องให้ Prophylactic antibiotics ทุกราย
ง. หากปากมดลูกเปิดแล้วควรพยายามให้คลอดทางช่องคลอดหากไม่มีข้อบ่งห้าม
19. เด็กที่เกิดจากมารดาที่ติดเชื้อเอชไอวีทุกคน ควรได้รับการตรวจ Anti-HIV ครั้งสุดท้ายที่อายุครรภ์
ก. 12 เดือน
ข. 18 เดือน
ค. 24 เดือน
20. ข้อใดผิดเกี่ยวกับการวินิจฉัยการติดเชื้อเอชไอวี
ก. Window period คือ 3 เดือนหลังมีพฤติกรรมเสี่ยง
ข. จะต้องใช้วิธีการตรวจที่แตกต่างกันหรือใช้แอนติเจนที่แตกต่างกัน 3 วิธี จึงจะสามารถให้การวินิจฉัยได้
ค. Rapid test ถือเป็นวิธีการตรวจวินิจฉัยวิธีแรก
ง. หากผลเป็น “inconclusive” จากการตรวจวิธีใดวิธีหนึ่งให้วินิจฉัยว่าไม่ติดเชื้อ
21. ข้อใดผิดเกี่ยวกับการคุมกาเนิดในหญิงที่ได้รับยาต้านไวรัส
ก. หากกาลังได้รับยา NVP หรือ LPV/r ไม่ควรใช้ยาเม็ดคุมกาเนิด
ข. ไม่ต้องปรับยาใดหากกาลังใช้ DMPA
ค. หากใช้ EFV ไม่ควรใช้ Implant หรือ progestin only method
ง. VL <50 copies/ mL และเป็น monogamous ไม่ต้องใช้ condom ก็ได้
จ. ถูกทุกข้อ
22. Vaccine ใด ให้ได้ในคนไข้เอชไอวี (ตอบได้มากกว่า 1 ข้อ)
1. Measles 2. Rubella
3. Pneumococcal 4. Hepatitis A
5. HPV Vaccine 6.Yellow fever
7. varicella 8. Zoster
9. Mumps 10. Tetanus
11. Influenza 12. Acellular pertussis
23. อะไรไม่ใช่สิ่งคัดหลั่งที่มีความเสี่ยงต่อการถ่ายทอดเชื้อเอชไอวี (ตอบได้มากกว่า 1 ข้อ)
1. น้าอสุจิ 2. น้าในช่องคลอด
3. ปัสสาวะ 4. อาเจียน
5. น้าในข้อ 6. น้ามูก/น้าลาย
7. น้าในไขสันหลัง 8. เหงื่อ
9. น้าในช่องปอด 10. น้าคร่า
11. หนองจากแผล 12. น้าตา
24.ข้อใดผิดเมื่อสัมผัสสารคัดหลั่งที่อาจเสี่ยงต่อการติดเชื้อเอชไอวี
ก. เมื่อมีบาดแผลต้องล้างด้วยน้าสบู่และเช็ดด้วย 70 % Alcohol หรือ betadine solution หรือ 5 % chlorhexidine gluconate
ข. ถ้าเข้าตาล้างด้วย 0.9 % NSS หรือน้าเปล่ามาก ๆ
ค. ถ้าเข้าปากไม่ต้องทาอะไรเพราะเชื้อไวรัสถูกย่อยทาลายโดยน้าลาย
ง. ต้องเจาะเลือดผู้ป่วยเพื่อตรวจ Anti-HIV ทันที
25. เมื่อสัมผัสสิ่งคัดหลั่งของผู้ป่วย การตรวจพื้นฐานของผู้ป่วยเพื่อประเมินความเสี่ยงในการติดเชื้อเอชไอวี
ได้แก่ (ตอบได้มากกว่า 1 ข้อ)
1. Anti-HIV (rapid test)
2. HIV-PCR or Viral load
3. CBC, Cr, SGPT
4. HBsAg
5. Anti-HBs
6. Anti-HCV
26. เมื่อสัมผัสสิ่งคัดหลั่งของผู้ป่วย การตรวจพื้นฐานสาหรับบุคลการทางการแพทย์
1. Anti-HIV (rapid test)
2. HIV-PCR or Viral load
3. CBC, Cr, SGPT
4. HBsAg
5. Anti-HBs
6. Anti

More Related Content

What's hot

Osce examination si116
Osce examination si116Osce examination si116
Osce examination si116vora kun
 
แนวทางการดำเนินงานเฝ้าระวัง โรคติดเชื้อไวรัสซิกา
แนวทางการดำเนินงานเฝ้าระวัง โรคติดเชื้อไวรัสซิกาแนวทางการดำเนินงานเฝ้าระวัง โรคติดเชื้อไวรัสซิกา
แนวทางการดำเนินงานเฝ้าระวัง โรคติดเชื้อไวรัสซิกาUtai Sukviwatsirikul
 
Compre Rama 2010
Compre Rama 2010Compre Rama 2010
Compre Rama 2010vora kun
 

What's hot (6)

Key word osce
Key word osceKey word osce
Key word osce
 
Nle step 2_2553
Nle step 2_2553Nle step 2_2553
Nle step 2_2553
 
Osce examination si116
Osce examination si116Osce examination si116
Osce examination si116
 
แนวทางการดำเนินงานเฝ้าระวัง โรคติดเชื้อไวรัสซิกา
แนวทางการดำเนินงานเฝ้าระวัง โรคติดเชื้อไวรัสซิกาแนวทางการดำเนินงานเฝ้าระวัง โรคติดเชื้อไวรัสซิกา
แนวทางการดำเนินงานเฝ้าระวัง โรคติดเชื้อไวรัสซิกา
 
National license 2010 by med tu 16
National license 2010 by med tu 16National license 2010 by med tu 16
National license 2010 by med tu 16
 
Compre Rama 2010
Compre Rama 2010Compre Rama 2010
Compre Rama 2010
 

Similar to Hiv guideline 2557

Vis meningo-poly
Vis meningo-polyVis meningo-poly
Vis meningo-polyAimmary
 
การฝากตัวอ่อน
การฝากตัวอ่อนการฝากตัวอ่อน
การฝากตัวอ่อนbiwty_keng
 
Vis varicella-zoster
Vis varicella-zosterVis varicella-zoster
Vis varicella-zosterAimmary
 
24.hbv and hcv guideline 2012 (update)
24.hbv and hcv guideline 2012 (update)24.hbv and hcv guideline 2012 (update)
24.hbv and hcv guideline 2012 (update)Aimmary
 
รังสีวินิจฉัยและเวชศาสตร์นิวเคลียร์
รังสีวินิจฉัยและเวชศาสตร์นิวเคลียร์รังสีวินิจฉัยและเวชศาสตร์นิวเคลียร์
รังสีวินิจฉัยและเวชศาสตร์นิวเคลียร์techno UCH
 
การดูแลผ่าตัดรักษาเด็กแบบผู้ป่วยนอก (Ambulatory pediatric surgery)
การดูแลผ่าตัดรักษาเด็กแบบผู้ป่วยนอก (Ambulatory pediatric surgery)การดูแลผ่าตัดรักษาเด็กแบบผู้ป่วยนอก (Ambulatory pediatric surgery)
การดูแลผ่าตัดรักษาเด็กแบบผู้ป่วยนอก (Ambulatory pediatric surgery)ไทเก็ก นครสวรรค์
 
การดูแลผ่าตัดรักษาเด็กแบบผู้ป่วยนอก (Ambulatory pediatric surgery)
การดูแลผ่าตัดรักษาเด็กแบบผู้ป่วยนอก (Ambulatory pediatric surgery)การดูแลผ่าตัดรักษาเด็กแบบผู้ป่วยนอก (Ambulatory pediatric surgery)
การดูแลผ่าตัดรักษาเด็กแบบผู้ป่วยนอก (Ambulatory pediatric surgery)ไทเก็ก นครสวรรค์
 
การดูแลผ่าตัดรักษาเด็กแบบผู้ป่วยนอก (Ambulatory pediatric surgery)
การดูแลผ่าตัดรักษาเด็กแบบผู้ป่วยนอก (Ambulatory pediatric surgery)การดูแลผ่าตัดรักษาเด็กแบบผู้ป่วยนอก (Ambulatory pediatric surgery)
การดูแลผ่าตัดรักษาเด็กแบบผู้ป่วยนอก (Ambulatory pediatric surgery)ไทเก็ก นครสวรรค์
 
Ppt.มะเร็งเต้านม
Ppt.มะเร็งเต้านมPpt.มะเร็งเต้านม
Ppt.มะเร็งเต้านมPrachaya Sriswang
 
มะเร็งการรักษาและการป้องกัน4
มะเร็งการรักษาและการป้องกัน4มะเร็งการรักษาและการป้องกัน4
มะเร็งการรักษาและการป้องกัน44LIFEYES
 
Culture negative peritonitis 2018 - วิภาภัทร ชูจร
Culture negative peritonitis 2018 - วิภาภัทร ชูจรCulture negative peritonitis 2018 - วิภาภัทร ชูจร
Culture negative peritonitis 2018 - วิภาภัทร ชูจรKamol Khositrangsikun
 
มะเร็งหลังโพรงจมูก
มะเร็งหลังโพรงจมูกมะเร็งหลังโพรงจมูก
มะเร็งหลังโพรงจมูกWan Ngamwongwan
 

Similar to Hiv guideline 2557 (20)

Vis meningo-poly
Vis meningo-polyVis meningo-poly
Vis meningo-poly
 
Vis meningo-poly
Vis meningo-polyVis meningo-poly
Vis meningo-poly
 
การฝากตัวอ่อน
การฝากตัวอ่อนการฝากตัวอ่อน
การฝากตัวอ่อน
 
Vis hpv
Vis hpvVis hpv
Vis hpv
 
Vis varicella-zoster
Vis varicella-zosterVis varicella-zoster
Vis varicella-zoster
 
Vis varicella-zoster
Vis varicella-zosterVis varicella-zoster
Vis varicella-zoster
 
24.hbv and hcv guideline 2012 (update)
24.hbv and hcv guideline 2012 (update)24.hbv and hcv guideline 2012 (update)
24.hbv and hcv guideline 2012 (update)
 
รังสีวินิจฉัยและเวชศาสตร์นิวเคลียร์
รังสีวินิจฉัยและเวชศาสตร์นิวเคลียร์รังสีวินิจฉัยและเวชศาสตร์นิวเคลียร์
รังสีวินิจฉัยและเวชศาสตร์นิวเคลียร์
 
การดูแลผ่าตัดรักษาเด็กแบบผู้ป่วยนอก (Ambulatory pediatric surgery)
การดูแลผ่าตัดรักษาเด็กแบบผู้ป่วยนอก (Ambulatory pediatric surgery)การดูแลผ่าตัดรักษาเด็กแบบผู้ป่วยนอก (Ambulatory pediatric surgery)
การดูแลผ่าตัดรักษาเด็กแบบผู้ป่วยนอก (Ambulatory pediatric surgery)
 
การดูแลผ่าตัดรักษาเด็กแบบผู้ป่วยนอก (Ambulatory pediatric surgery)
การดูแลผ่าตัดรักษาเด็กแบบผู้ป่วยนอก (Ambulatory pediatric surgery)การดูแลผ่าตัดรักษาเด็กแบบผู้ป่วยนอก (Ambulatory pediatric surgery)
การดูแลผ่าตัดรักษาเด็กแบบผู้ป่วยนอก (Ambulatory pediatric surgery)
 
การดูแลผ่าตัดรักษาเด็กแบบผู้ป่วยนอก (Ambulatory pediatric surgery)
การดูแลผ่าตัดรักษาเด็กแบบผู้ป่วยนอก (Ambulatory pediatric surgery)การดูแลผ่าตัดรักษาเด็กแบบผู้ป่วยนอก (Ambulatory pediatric surgery)
การดูแลผ่าตัดรักษาเด็กแบบผู้ป่วยนอก (Ambulatory pediatric surgery)
 
Ppt.มะเร็งเต้านม
Ppt.มะเร็งเต้านมPpt.มะเร็งเต้านม
Ppt.มะเร็งเต้านม
 
Integrated pharmaceutical care
Integrated pharmaceutical careIntegrated pharmaceutical care
Integrated pharmaceutical care
 
Hiv รพช2015 2.ppt
Hiv รพช2015  2.pptHiv รพช2015  2.ppt
Hiv รพช2015 2.ppt
 
มะเร็งการรักษาและการป้องกัน4
มะเร็งการรักษาและการป้องกัน4มะเร็งการรักษาและการป้องกัน4
มะเร็งการรักษาและการป้องกัน4
 
Vis ipv
Vis ipvVis ipv
Vis ipv
 
วัคซีนที่ควรให้ในกลุ่มบุคลากรทางการแพทย์
วัคซีนที่ควรให้ในกลุ่มบุคลากรทางการแพทย์วัคซีนที่ควรให้ในกลุ่มบุคลากรทางการแพทย์
วัคซีนที่ควรให้ในกลุ่มบุคลากรทางการแพทย์
 
Culture negative peritonitis 2018 - วิภาภัทร ชูจร
Culture negative peritonitis 2018 - วิภาภัทร ชูจรCulture negative peritonitis 2018 - วิภาภัทร ชูจร
Culture negative peritonitis 2018 - วิภาภัทร ชูจร
 
มะเร็งหลังโพรงจมูก
มะเร็งหลังโพรงจมูกมะเร็งหลังโพรงจมูก
มะเร็งหลังโพรงจมูก
 
Pharmcare in TB/HIV patient
Pharmcare in TB/HIV patientPharmcare in TB/HIV patient
Pharmcare in TB/HIV patient
 

More from elearning obste

โรคติดเชื้อทางเพศสัมพันธ์
โรคติดเชื้อทางเพศสัมพันธ์โรคติดเชื้อทางเพศสัมพันธ์
โรคติดเชื้อทางเพศสัมพันธ์elearning obste
 
คู๋มือการทำเครื่องมือ Mva
คู๋มือการทำเครื่องมือ Mvaคู๋มือการทำเครื่องมือ Mva
คู๋มือการทำเครื่องมือ Mvaelearning obste
 
2012 update asccp management abnormal screenig (1)
2012 update asccp  management abnormal screenig (1)2012 update asccp  management abnormal screenig (1)
2012 update asccp management abnormal screenig (1)elearning obste
 
Updated 2012 asccp algorithms
Updated 2012 asccp algorithmsUpdated 2012 asccp algorithms
Updated 2012 asccp algorithmselearning obste
 
Asccp guidelines 2012 cx cancer prevention
Asccp guidelines 2012 cx cancer preventionAsccp guidelines 2012 cx cancer prevention
Asccp guidelines 2012 cx cancer preventionelearning obste
 
โรคติดเชื้อทางเพศสัมพันธ์
โรคติดเชื้อทางเพศสัมพันธ์โรคติดเชื้อทางเพศสัมพันธ์
โรคติดเชื้อทางเพศสัมพันธ์elearning obste
 
Sti guideline nov.2013 version2
Sti guideline nov.2013 version2Sti guideline nov.2013 version2
Sti guideline nov.2013 version2elearning obste
 
แนวทางการดูแลสตรีตั้งครรภ์ที่ติดเชื้อเอชไอวี
แนวทางการดูแลสตรีตั้งครรภ์ที่ติดเชื้อเอชไอวีแนวทางการดูแลสตรีตั้งครรภ์ที่ติดเชื้อเอชไอวี
แนวทางการดูแลสตรีตั้งครรภ์ที่ติดเชื้อเอชไอวีelearning obste
 
How to enter to OR OB GYN
How to enter to OR OB GYNHow to enter to OR OB GYN
How to enter to OR OB GYNelearning obste
 

More from elearning obste (15)

โรคติดเชื้อทางเพศสัมพันธ์
โรคติดเชื้อทางเพศสัมพันธ์โรคติดเชื้อทางเพศสัมพันธ์
โรคติดเชื้อทางเพศสัมพันธ์
 
Hiv and obgyn resident
Hiv and obgyn residentHiv and obgyn resident
Hiv and obgyn resident
 
คู๋มือการทำเครื่องมือ Mva
คู๋มือการทำเครื่องมือ Mvaคู๋มือการทำเครื่องมือ Mva
คู๋มือการทำเครื่องมือ Mva
 
Asccp 2013 somsak
Asccp 2013 somsakAsccp 2013 somsak
Asccp 2013 somsak
 
2012 update asccp management abnormal screenig (1)
2012 update asccp  management abnormal screenig (1)2012 update asccp  management abnormal screenig (1)
2012 update asccp management abnormal screenig (1)
 
Updated 2012 asccp algorithms
Updated 2012 asccp algorithmsUpdated 2012 asccp algorithms
Updated 2012 asccp algorithms
 
Summer 2006 faq
Summer 2006 faqSummer 2006 faq
Summer 2006 faq
 
Canadian cx cancer 2012
Canadian cx cancer 2012Canadian cx cancer 2012
Canadian cx cancer 2012
 
Asccp 2013 somsak
Asccp 2013 somsakAsccp 2013 somsak
Asccp 2013 somsak
 
Asccp guidelines 2012 cx cancer prevention
Asccp guidelines 2012 cx cancer preventionAsccp guidelines 2012 cx cancer prevention
Asccp guidelines 2012 cx cancer prevention
 
Hiv and obgyn resident
Hiv and obgyn residentHiv and obgyn resident
Hiv and obgyn resident
 
โรคติดเชื้อทางเพศสัมพันธ์
โรคติดเชื้อทางเพศสัมพันธ์โรคติดเชื้อทางเพศสัมพันธ์
โรคติดเชื้อทางเพศสัมพันธ์
 
Sti guideline nov.2013 version2
Sti guideline nov.2013 version2Sti guideline nov.2013 version2
Sti guideline nov.2013 version2
 
แนวทางการดูแลสตรีตั้งครรภ์ที่ติดเชื้อเอชไอวี
แนวทางการดูแลสตรีตั้งครรภ์ที่ติดเชื้อเอชไอวีแนวทางการดูแลสตรีตั้งครรภ์ที่ติดเชื้อเอชไอวี
แนวทางการดูแลสตรีตั้งครรภ์ที่ติดเชื้อเอชไอวี
 
How to enter to OR OB GYN
How to enter to OR OB GYNHow to enter to OR OB GYN
How to enter to OR OB GYN
 

Hiv guideline 2557

  • 1. ลองทำดู 1.ข้อใดผิดเกี่ยวกับการให้คาปรึกษาแบบคู่สาหรับการตรวจเลือดเอชไอวี ก. สามารถให้คาปรึกษากับทั้งสองคนพร้อมกันก่อนการตรวจเลือดได้ ข. หากทั้งสองฝ่ายไม่ยินยอมตรวจเลือด ผู้ให้บริการต้องเคารพการตัดสินใจ ค. หากฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งไม่ยินยอมตรวจเลือด ควรให้คาปรึกษาอีกครั้งหรือจนกว่าจะยินยอมตรวจเลือด ง. วิธีการตรวจเอชไอวีที่ดีที่สุดควรจะต้องได้ผลในวันเดียวกัน (Same day result) จ. เป้ าหมายของการให้คาปรึกษาคือการค้นหาผู้ติดเชื้อเพื่อให้มารับการรักษาอย่างเหมาะสม 2.ในกรณีหญิงตั้งครรภ์เจ็บครรภ์คลอด แต่ไม่เคยฝากครรภ์และไม่ทราบผลการตรวจเอชไอวีมาก่อนข้อใดผิด ก. ให้คาปรึกษาและแนะนาให้ตรวจหาเชื้อเอชไอวีในระหว่างเจ็บครรภ์ หากไม่ยินดีจะต้องให้คาปรึกษาและแนะนาอีกครั้งช่วงหลัง คลอด หากไม่ยินดีอีก ควรให้คาปรึกษาแนะนาจนกระทั่งยอมให้ตรวจการติดเชื้อในทารก ข. ควรใช้วิธีการตรวจที่มีความไวสูงและให้ผลรวดเร็วเพื่อเริ่มยาต้านไวรัสให้เร็วที่สุด ค. หากมารดาติดเชื้อ ทารกควรได้รับยาต้านไวรัสเร็วที่สุด หรือภายใน 48 ชั่วโมง ง. หากผลการตรวจครั้งแรกเป็นบวก แต่ตรวจยืนยันแล้วเป็นลบยังคงแนะนาให้งดนมมารดา 3. หญิงตั้งครรภ์ทราบผลเลือดติดว่าเชื้อเอชไอวีขณะมาฝากครรภ์ ข้อใดถูก ก. เริ่มยาต้านไวรัสทันที ข. เริ่มยาต้านไวรัสเมื่ออายุครรภ์ 14 สัปดาห์ ค. หาก CD4 >500/mL ไม่จาเป็นต้องให้ยาต้านไวรัส ง. ควรให้ยาต้ายไวรัสที่มี AZT เสมอ เนื่องจากผ่านรกได้ดีที่สุด 4. สูตรยาแรกที่แนะนาในหญิงตั้งครรภ์ที่ตรวจพบการติดเชื้อเอชไอวีขณะมาฝากครรภ์ ก. AZT + 3TC + LPV/r ข. TDF + 3TC + EFV ค. TDF + 3TC + LPV/r ง. AZT + 3TC + NVP 5. ข้อใดผิด สาหรับหญิงตั้งครรภ์ที่ติดเชื้อเอชไอวีและได้รับ HAART มาตลอด ก. หากได้รับ EFV ควรเปลี่ยนเป็น NVP ในไตรมาสแรกเพื่อลดโอกาสเกิด meningomyelocele ข. หาก VL ยังสูงกว่า 50 copies/mL สามารถปรับเปลี่ยนยาได้ในระหว่างการตั้งครรภ์ ค. ในช่วง intrapartum สามารถงด AZT loading ได้หาก VL< 50 copies/mL มาตลอด ง. หากเคยมีประวัติการใช้ NVP มาก่อนควรหลีกเลี่ยงการใช้ยาตัวนี้ 6. ในช่วงหลังคลอดหญิงตั้งครรภ์ติดเชื้อเอชไอวีควรได้รับการดูแลต่อไปนี้ยกเว้น ก. สามารถเลือกที่จะรับยาต้านไวรัสต่อเนื่องได้ตลอดชีวิต ข. สามารถเลือกที่จะไม่รับยาต้านไวรัสต่อเนื่องได้ ค. หากต้องการหยุดยาต้านไวรัสหลังคลอด ควรรับประทานยาต่อเนื่องอย่างน้อย 4 สัปดาห์ ง. หากได้รับยากลุ่ม NNRTIs ในขณะหยุดยาจะต้องให้ยากลุ่ม NRTIs ต่อไปอีก 7-10 วัน
  • 2. 7. หากมารดาได้รับยาต้านไวรัส 3 ชนิด เป็นเวลาอย่างน้อย 4 สัปดาห์อย่างสม่าเสมอ ทารกควรได้รับยาต้าน ไวรัสดังนี้ ก. Syr AZT 4 mg/Kg ทุก 12 ชม. 4 สัปดาห์ ข. Syr AZT 4 mg/Kg ทุก 12 ชม. + Syr 3TC 2 mg/Kg ทุก 12 ชม. + Syr NVP 4 mg/Kg ทุก 24 ชม. นาน 6 สัปดาห์ 8. ในประเทศไทยทารกสามารถรับประทานน้านมมารดาได้ในกรณีใด ก. VL < 50 copies/ mL มาตลอด ข. CD 4 > 500/mL มาตลอด ค. เพิ่งตรวจพบการติดเชื้อเอชไอวีไม่เกิน 1 เดือน ง. ไม่มี 9. กรณีไม่เคยมาฝากครรภ์และได้รับผลการตรวจที่ห้องคลอดพบการติดเชื้อเอชไอวี ควรมีการดูแลต่อไปนื้ยกเว้น ก. อายุครรภ์ก่อน 34 สัปดาห์ ควรประเมินระยะเวลาการคลอดโดยเปรียบเทียบข้อดีข้อเสียของภาวะคลอดก่อนกาหนดและการติด เชื้อเอชไอวีจากมารดาสู่ทารก ข. อายุครรภ์ 34-37 สัปดาห์ หากมีน้าเดินแล้วและน่าจะคลอดในระยะเวลาเกินกว่า 4 ชม. หากน้าเดินนานกว่านั้นควรพิจารณาการ ผ่าตัดคลอดบุตร ค. อายุครรภ์ 37 สัปดาห์ขึ้นไป คาดว่าจะคลอดบุตรภายใน 2 ชม. ควรรีบให้ AZT 600 mg และ NVP 200 mg รับประทานทันที 10.ข้อใดจับคู่ยาและผลข้างเคียงของยาผิด (ตอบได้มากกว่า 1 ข้อ) ก. AZT - ซีด ข. TDF - ไต ค. LPV/r - คลื่นไส้ ถ่ายเหลว ง. EFV - เวียนศีรษะ จ. NVP - ตับอักเสบ 11. ข้อใดผิด ก. หากหญิงตั้งครรภ์เคยมีประวัติดื้อต่อ AZT ในระหว่างการคลอดไม่จาเป็นต้องให้ AZT ข. หากหญิงตั้งครรภ์เคยได้ NVP ระหว่างการคลอด ควรหลีกเลี่ยงสูตรยาที่มี NVP ในการรักษาระยะยาว ค. หากพบว่าหญิงตั้งครรภ์เพิ่งมี Acute HIV infection ควรเริ่ม HAART ทันทีไม่ว่าอยู่ในสถานการณ์ใด ง. หากสามีมีผลเลือดเอชไอวีเป็นบวก แต่ไม่มีเพศสัมพันธ์กันใน 1 เดือนที่ผ่านมาและผลเลือดฝ่ายหญิงเป็นลบ สามารถให้ลูก รับประทานนมมารดาได้ 12. ข้อใดผิด เกี่ยวกับการตรวจทางห้องปฏิบัติการสาหรับหญิงตั้งครรภ์ที่ได้รับยา HAART ก. หากได้รับ LPV/r ควรตรวจคัดกรองเบาหวานเช่นเดียวกับหญิงตั้งครรภ์ที่มี potential DM ข. ควรตรวจ CD 4 และ VL ทันทีเมื่อทราบว่ามีการติดเชื้อเอชไอวี ค. ควรตรวจ CBC, Cr, ALT และ Urine sugar ก่อนเริ่มยาทุกราย
  • 3. 13. จับคู่ยาและข้อบ่งห้ามการใช้ยา ข้อใดผิด ก. AZT - Hb ≤8 g/dL ข. TDF - creatinine clearance < 50 mL/min ค. NVP - ALT 2.5 เท่าของ upper normal limit ง. LPV/r - urine sugar เป็นบวก จ. ถูกทุกข้อ 14. ข้อใดผิดเกี่ยวกับวิธีการคลอด ก. ควรหลีกเลี่ยงการเจาะถุงน้าคร่า ข. ควรหลีกเลี่ยงหัตถการที่อาจทาให้ทารกได้รับบาดเจ็บ ค. การผ่าตัดคลอดแบบฉุกเฉิน (มีอาการเจ็บครรภ์และน้าเดินแล้ว) ยังลดโอกาสการถ่ายทอดเชื้อจากมารดาสู่ทารกมากกว่าการ คลอดทางช่องคลอด ง. ข้อบ่งชี้สาหรับ Elective C/S ได้แก่ VL ที่ 36 สัปดาห์ > 1000 copies /mL หรือมาฝากครรภ์ช้า/ รับประทานยาต้านไวรัสน้อย กว่า 4 สัปดาห์/ รับประทานยาไม่สม่าเสมอ หรือไม่เคยฝากครรภ์ หรือมีข้อบ่งชี้ทางสูติกรรม 15. หากหญิงตั้งครรภ์ได้รับยาตัวใดต่อไปนี้ห้ามใช้ Methergin ในช่วงหลังคลอดบุตร ก. LPV/r ข. EFV ค. ทั้ง ก. และ ข. ง. ไม่มีข้อถูก 16.ข้อใดไม่ใช่ครรภ์เสี่ยงสูง สาหรับการถ่ายทอดเชื้อจากมารดาสู่ทารก ก. No ANC ข. กินยาต้านไวรัส <4 สัปดาห์ ค. กินยาไม่สม่าเสมอ ง. VL > 50 copies/mL จ. ทารกคลอดก่อนกาหนดมาก ๆ 17. กรมอนามัยสนับสนุนนมผงสาหรับทารกที่เกิดจากมารดาที่ติดเชื้อเอชไอวีฟรีนานกี่เดือน ก. 6 เดือน ข. 12 เดือน ค. 18 เดือน ง. 24 เดือน 18. การเตรียมผู้ป่วยก่อน Elective C/S เป็นดังต่อไปนี้ยกเว้น ก. งดน้างดอาหาร ให้น้าเกลือและจองเลือดตามปกติ ข. ควรให้ AZT 600 mg และ NVP 200 mg รับประทานครั้งเดี่ยวก่อนผ่าตัด 4 ชม. ค. จะต้องให้ Prophylactic antibiotics ทุกราย ง. หากปากมดลูกเปิดแล้วควรพยายามให้คลอดทางช่องคลอดหากไม่มีข้อบ่งห้าม
  • 4. 19. เด็กที่เกิดจากมารดาที่ติดเชื้อเอชไอวีทุกคน ควรได้รับการตรวจ Anti-HIV ครั้งสุดท้ายที่อายุครรภ์ ก. 12 เดือน ข. 18 เดือน ค. 24 เดือน 20. ข้อใดผิดเกี่ยวกับการวินิจฉัยการติดเชื้อเอชไอวี ก. Window period คือ 3 เดือนหลังมีพฤติกรรมเสี่ยง ข. จะต้องใช้วิธีการตรวจที่แตกต่างกันหรือใช้แอนติเจนที่แตกต่างกัน 3 วิธี จึงจะสามารถให้การวินิจฉัยได้ ค. Rapid test ถือเป็นวิธีการตรวจวินิจฉัยวิธีแรก ง. หากผลเป็น “inconclusive” จากการตรวจวิธีใดวิธีหนึ่งให้วินิจฉัยว่าไม่ติดเชื้อ 21. ข้อใดผิดเกี่ยวกับการคุมกาเนิดในหญิงที่ได้รับยาต้านไวรัส ก. หากกาลังได้รับยา NVP หรือ LPV/r ไม่ควรใช้ยาเม็ดคุมกาเนิด ข. ไม่ต้องปรับยาใดหากกาลังใช้ DMPA ค. หากใช้ EFV ไม่ควรใช้ Implant หรือ progestin only method ง. VL <50 copies/ mL และเป็น monogamous ไม่ต้องใช้ condom ก็ได้ จ. ถูกทุกข้อ 22. Vaccine ใด ให้ได้ในคนไข้เอชไอวี (ตอบได้มากกว่า 1 ข้อ) 1. Measles 2. Rubella 3. Pneumococcal 4. Hepatitis A 5. HPV Vaccine 6.Yellow fever 7. varicella 8. Zoster 9. Mumps 10. Tetanus 11. Influenza 12. Acellular pertussis 23. อะไรไม่ใช่สิ่งคัดหลั่งที่มีความเสี่ยงต่อการถ่ายทอดเชื้อเอชไอวี (ตอบได้มากกว่า 1 ข้อ) 1. น้าอสุจิ 2. น้าในช่องคลอด 3. ปัสสาวะ 4. อาเจียน 5. น้าในข้อ 6. น้ามูก/น้าลาย 7. น้าในไขสันหลัง 8. เหงื่อ 9. น้าในช่องปอด 10. น้าคร่า 11. หนองจากแผล 12. น้าตา 24.ข้อใดผิดเมื่อสัมผัสสารคัดหลั่งที่อาจเสี่ยงต่อการติดเชื้อเอชไอวี ก. เมื่อมีบาดแผลต้องล้างด้วยน้าสบู่และเช็ดด้วย 70 % Alcohol หรือ betadine solution หรือ 5 % chlorhexidine gluconate ข. ถ้าเข้าตาล้างด้วย 0.9 % NSS หรือน้าเปล่ามาก ๆ ค. ถ้าเข้าปากไม่ต้องทาอะไรเพราะเชื้อไวรัสถูกย่อยทาลายโดยน้าลาย ง. ต้องเจาะเลือดผู้ป่วยเพื่อตรวจ Anti-HIV ทันที
  • 5. 25. เมื่อสัมผัสสิ่งคัดหลั่งของผู้ป่วย การตรวจพื้นฐานของผู้ป่วยเพื่อประเมินความเสี่ยงในการติดเชื้อเอชไอวี ได้แก่ (ตอบได้มากกว่า 1 ข้อ) 1. Anti-HIV (rapid test) 2. HIV-PCR or Viral load 3. CBC, Cr, SGPT 4. HBsAg 5. Anti-HBs 6. Anti-HCV 26. เมื่อสัมผัสสิ่งคัดหลั่งของผู้ป่วย การตรวจพื้นฐานสาหรับบุคลการทางการแพทย์ 1. Anti-HIV (rapid test) 2. HIV-PCR or Viral load 3. CBC, Cr, SGPT 4. HBsAg 5. Anti-HBs 6. Anti