SlideShare a Scribd company logo
ภารกิจที่ 1
อธิบายความหมายและจาแนกประเภทของ
สิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้
หมายถึง การบูรณาการเทคโนโลยีสารสนเทศในการจัดการเรียนรู้ที่นาทฤษฎี
การเรียนรู้มาเป็นพื้นฐานการออกแบบร่วมกับสื่อหรือเทคโนโลยีสารสนเทศ ซึ่ง
หลอมรวมทั้งสองสิ่งเข้าไว้ด้วยกัน ที่ประกอบด้วยสถานการณ์ปัญหาที่กระตุ้นให้
ผู้เรียนเรียนรู้แหล่งการเรียนรู้ชนิดต่างๆ ที่จัดเตรียมไว้สาหรับให้ผู้เรียนค้นหา
คาตอบ มีฐานการช่วยเหลือไว้คอยสนับสนุนผู้เรียน ในกรณีที่ไม่สามารถแก้ปัญหา
ได้ ตลอดจนการเรียนรู้แบบร่วมมือกันแก้ปัญหา ที่สนับสนุนให้ผู้เรียนขยาย
มุมมองและแนวคิดต่างๆ
สิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้
การจาแนกประเภทของสิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้
สิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้บนเครือข่าย
มัลติมีเดียที่พัฒนาตามแนวคอนสตรัคติวิสต์
ชุดการสร้างความรู้ตามแนวคอนสตรัคติวิสต์
แบ่งเป็น
3 ประเภท
1. สิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้บนเครือข่าย
เป็นออกแบบโดยใช้ทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์เป็นพื้นฐานที่ประสานรวมกับ
คุณลักษณะของสื่อบนเครือขายที่สนองต่อการสร้างความรู้ของผู้เรียนได้แก่
ลักษณะเป็นโนด (Node) ของความรู้ที่เชื่อมโยงกันเป็นเครือข่ายทั่วโลก
2. มัลติมีเดีย
เป็นการนาทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์มาเป็นพื้นฐานในการออกแบบ โดยประสาน
รวมกับคุณลักษณะของมัลติมีเดียที่นาเสนอทั้งข้อความ ภาพนิ่งภาพเคลื่อนไหว
และเสียง รวมทั้งการเชื่อมโยงหลายมิติ (Hyperlink)
3. ชุดสร้างความรู้
เป็นการนาทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์มาเป็นพื้นฐานในการออกแบบ โดย
ประสานรวมกับการนาสื่อประเภทต่างๆรวมทั้งกิจกรรมต่างๆ มาใช้
รวมกันโดยคุณลักษณะของสื่อต่างๆจะส่งเสริมซึ่งกันและกัน เพื่อชวยให้
ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้อย่างมีประสิทธิภาพ
ภารกิจที่ 2
วิเคราะห์เลือกใช้นวัตกรรมการเรียนรู้ ให้สอดคล้อง
กับบริบทของโรงเรียนทั้ง 3 แห่งนี้
โรงเรียนเปรมสวัสดิ์
มัลติมีเดีย
มัลติมีเดียที่สมบูรณ์ควรจะต้องประกอบด้วยสื่อมากกว่า
2 สื่อ ตามองค์ประกอบ ดังนี้ ตัวอักษร ภาพนิ่ง เสียง ภาพเคลื่อนไหว
การเชื่อมโยงแบบปฏิสัมพันธ์ และวีดีทัศน์ เป็น การใช้มัลติมีเดียก็
เพื่อเพิ่มทางเลือกในการเรียนและสนองต่อรูปแบบของการเรียนของ
นักเรียนที่แตกต่างกัน การจาลองสภาพการณ์ของวิชาต่างๆ เป็น
วิธีการเรียนรู้ที่นาให้นักเรียนได้รับประสบการณ์ตรงก่อนการลงมือ
ปฏิบัติจริงโดยสามารถที่จะทบทวนขั้นตอนและกระบวนการได้เป็น
อย่างดี นักเรียนอาจเรียนหรือฝึกซ้าได้
โรงเรียนมหาชัย
E-Learning
E-Learning เป็นการใช้เทคโนโลยี
ที่มีอยู่ในอินเทอร์เน็ตเพื่อสร้างการศึกษาที่มี
ปฏิสัมพันธ์ และการศึกษาที่มีคุณภาพสูง ที่
ผู้คนทั่วโลกมีความสะดวกและสามารถ
เข้าถึงได้ไม่จาเป็นต้องจัดการศึกษาที่ต้อง
กาหนดเวลาและสถานที่ เปิดประตูของการ
เรียนรู้ตลอดชีวิตให้กับประชากร
โรงเรียนเทศบาลวัดธาตุ
สิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้ตามแนวคอนสตรัคติวิสต์
ทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์ (Constructivism) ที่เน้นการสร้างความรู้ด้วย
ตนเอง โดยการลงมือกระทาหรือปฏิบัติที่ผ่านกระบวนการคิด และอาศัย
ประสบการณ์เดิมหรือความรู้เดิมที่มีอยู่แล้วเชื่อมโยงกับประสบการณ์ใหม่หรือ
ความรู้ใหม่ เพื่อขยายโครงสร้างทางปัญญา (Schema)
หลักการที่สาคัญในการออกแบบสิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้ตามแนวคอนสตรัคติวิสต์
สถานการณ์ปัญหา (Problem based learning)
แหล่งเรียนรู้ (Resource)
ฐานความช่วยเหลือ (Scaffolding)
การโค้ช (Coaching)
การร่วมมือกันแก้ปัญหา(Collaboration)
ภารกิจที่ 3
จากประเภทของนวัตกรรมการเรียนรู้ในบทที่ 7 ให้นักศึกษา
เสนอนวัตกรรมการเรียนรู้ที่สอดคล้องกับลักษณะวิชาเอกที่
นักศึกษาจะปฏิบัติหน้าที่สอน พร้อมทั้งอธิบายเหตุผล
การเรียนรู้บนเครือข่าย
เพื่อสนับสนุนและส่งเสริมให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้อย่างมี
ความหมายเชื่อมโยงเป็นเครือข่ายได้ทั่วโลกที่สามารถเรียนได้ทุกที่ทุกเวลา
โดยที่ผู้สอนและผู้เรียนมีปฏิสัมพันธ์กันผ่านระบบเครือขายคอมพิวเตอร์ที่
เชื่อมโยงซึ่งกันและกัน
Multimedia
เพื่อเน้นให้ผู้เรียนได้มองเห็นความชัดเจนและทาความเข้าใจได้มากขึ้นกับด้าน
เนื้อหาบทเรียน เช่น สูตรต่างๆ รูปร่างเรขา เป็นต้น ช่วยให้บทเรียนน่าสนใจ มี
ภาพ เสียง นาเสนอเพื่อดึงดูดความสนใจแก่ผู้เรียนได้ดี ไม่รู้สึกน่าเบื่อ
ชุดสร้างความรู้
การนาทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์มาเป็นพื้นฐานในการ
ออกแบบ โดยประสานรวมกับการนาสื่อประเภทต่างๆ เช่น
กิจกรรมต่างๆ มาใช้รวมกันโดย คุณลักษณะของสื่อต่างๆจะ
ส่งเสริมซึ่งกันและกัน เพื่อช่วยให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้อย่างมี
ประสิทธิภาพ
Chapter7
Chapter7

More Related Content

What's hot

Chapter6 เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
Chapter6 เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้Chapter6 เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
Chapter6 เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้Prakaidao Suebwong
 
งานบทที่เจ็ด
งานบทที่เจ็ดงานบทที่เจ็ด
งานบทที่เจ็ดVi Mengdie
 
Introduction to teachnologies and educational medie
Introduction to teachnologies and educational medieIntroduction to teachnologies and educational medie
Introduction to teachnologies and educational medie
Thamonwan Kottapan
 
บทที่6 เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา
บทที่6 เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษาบทที่6 เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา
บทที่6 เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษาjanepi49
 
Introduction to Technologies in Education - problem-based learning
Introduction to Technologies in Education - problem-based learningIntroduction to Technologies in Education - problem-based learning
Introduction to Technologies in Education - problem-based learning
Suthakorn Chatsena
 
บทที่ 4 สื่อการเรียนรู้
บทที่ 4 สื่อการเรียนรู้บทที่ 4 สื่อการเรียนรู้
บทที่ 4 สื่อการเรียนรู้Dee Arna'
 

What's hot (7)

Chapter 7
Chapter 7Chapter 7
Chapter 7
 
Chapter6 เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
Chapter6 เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้Chapter6 เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
Chapter6 เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
 
งานบทที่เจ็ด
งานบทที่เจ็ดงานบทที่เจ็ด
งานบทที่เจ็ด
 
Introduction to teachnologies and educational medie
Introduction to teachnologies and educational medieIntroduction to teachnologies and educational medie
Introduction to teachnologies and educational medie
 
บทที่6 เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา
บทที่6 เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษาบทที่6 เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา
บทที่6 เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา
 
Introduction to Technologies in Education - problem-based learning
Introduction to Technologies in Education - problem-based learningIntroduction to Technologies in Education - problem-based learning
Introduction to Technologies in Education - problem-based learning
 
บทที่ 4 สื่อการเรียนรู้
บทที่ 4 สื่อการเรียนรู้บทที่ 4 สื่อการเรียนรู้
บทที่ 4 สื่อการเรียนรู้
 

Similar to Chapter7

สถานการณ ป ญหาบทท__ 4
สถานการณ ป ญหาบทท__ 4สถานการณ ป ญหาบทท__ 4
สถานการณ ป ญหาบทท__ 4Tiger Saraprung
 
การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่
การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่
การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่
Ailada_oa
 
รายงานพัฒนาการเรียนการสอนโดยใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
รายงานพัฒนาการเรียนการสอนโดยใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนรายงานพัฒนาการเรียนการสอนโดยใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
รายงานพัฒนาการเรียนการสอนโดยใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
Natmol Thedsanabun
 
รายงานผลการพัฒนาการเรียนการสอนด้วยสื่อรคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
รายงานผลการพัฒนาการเรียนการสอนด้วยสื่อรคอมพิวเตอร์ช่วยสอนรายงานผลการพัฒนาการเรียนการสอนด้วยสื่อรคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
รายงานผลการพัฒนาการเรียนการสอนด้วยสื่อรคอมพิวเตอร์ช่วยสอนNatmol Thedsanabun
 
Chapter 04
Chapter 04Chapter 04
Chapter 04
Palmchuta
 
Chapter 04
Chapter 04Chapter 04
Chapter 04Bunsasi
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่noiiso_M2
 
การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่ 1
การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่ 1การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่ 1
การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่ 1
Ailada_oa
 
มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา201700 chapter3
มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา201700 chapter3มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา201700 chapter3
มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา201700 chapter3
Ptato Ok
 
บทที่ 11
บทที่ 11บทที่ 11
บทที่ 11
wanneemayss
 
11 170819173826
11 17081917382611 170819173826
11 170819173826
wanitchaya001
 
บทที่ 11
บทที่ 11บทที่ 11
บทที่ 11
benty2443
 
11 170819173826
11 17081917382611 170819173826
11 170819173826
gam030
 
บทที่ 11
บทที่ 11บทที่ 11
บทที่ 11
Theerayut Ponman
 

Similar to Chapter7 (20)

สถานการณ ป ญหาบทท__ 4
สถานการณ ป ญหาบทท__ 4สถานการณ ป ญหาบทท__ 4
สถานการณ ป ญหาบทท__ 4
 
การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่
การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่
การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่
 
รายงานพัฒนาการเรียนการสอนโดยใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
รายงานพัฒนาการเรียนการสอนโดยใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนรายงานพัฒนาการเรียนการสอนโดยใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
รายงานพัฒนาการเรียนการสอนโดยใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
 
รายงานผลการพัฒนาการเรียนการสอนด้วยสื่อรคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
รายงานผลการพัฒนาการเรียนการสอนด้วยสื่อรคอมพิวเตอร์ช่วยสอนรายงานผลการพัฒนาการเรียนการสอนด้วยสื่อรคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
รายงานผลการพัฒนาการเรียนการสอนด้วยสื่อรคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
 
ภารกิจครูมือใหม่
ภารกิจครูมือใหม่ภารกิจครูมือใหม่
ภารกิจครูมือใหม่
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
 
Chapter 04
Chapter 04Chapter 04
Chapter 04
 
Chapter 04
Chapter 04Chapter 04
Chapter 04
 
Chapter 04
Chapter 04Chapter 04
Chapter 04
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่
 
การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่ 1
การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่ 1การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่ 1
การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่ 1
 
Ch 2
Ch 2Ch 2
Ch 2
 
Chapter 04
Chapter 04Chapter 04
Chapter 04
 
Chapter 04
Chapter 04Chapter 04
Chapter 04
 
มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา201700 chapter3
มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา201700 chapter3มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา201700 chapter3
มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา201700 chapter3
 
บทที่ 11
บทที่ 11บทที่ 11
บทที่ 11
 
11 170819173826
11 17081917382611 170819173826
11 170819173826
 
บทที่ 11
บทที่ 11บทที่ 11
บทที่ 11
 
11 170819173826
11 17081917382611 170819173826
11 170819173826
 
บทที่ 11
บทที่ 11บทที่ 11
บทที่ 11
 

More from Bee Bie

Chapter7
Chapter7Chapter7
Chapter7Bee Bie
 
Chapter8
Chapter8Chapter8
Chapter8Bee Bie
 
Chapter5
Chapter5Chapter5
Chapter5Bee Bie
 
Chapter6
Chapter6Chapter6
Chapter6Bee Bie
 
Chapter5
Chapter5Chapter5
Chapter5Bee Bie
 
Chapter4
Chapter4Chapter4
Chapter4Bee Bie
 
Chapter3
Chapter3Chapter3
Chapter3Bee Bie
 
Chapter2
Chapter2Chapter2
Chapter2Bee Bie
 

More from Bee Bie (8)

Chapter7
Chapter7Chapter7
Chapter7
 
Chapter8
Chapter8Chapter8
Chapter8
 
Chapter5
Chapter5Chapter5
Chapter5
 
Chapter6
Chapter6Chapter6
Chapter6
 
Chapter5
Chapter5Chapter5
Chapter5
 
Chapter4
Chapter4Chapter4
Chapter4
 
Chapter3
Chapter3Chapter3
Chapter3
 
Chapter2
Chapter2Chapter2
Chapter2
 

Chapter7