SlideShare a Scribd company logo
ภาษาซี 
วิวัฒนาการของภาษาซี 
- ค.ศ. 1970 มีการพัฒนาภาษา B โดย Ken Thompson ซึ่งทางาน บนเครื่อง DEC PDP-7 ซึ่ง ทางานบนเครื่องไมโครคอมพิวเตอร์ ไม่ได้ และยังมีข้อจากัดในการใช้งานอยู่ (ภาษา B สืบทอดมาจาก ภาษา BCPL ซึ่งเขียนโดย Marth Richards) 
- ค.ศ. 1972 Dennis M. Ritchie และ Ken Thompson ได้สร้าง ภาษา C เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพ ภาษา B ให้ดียิ่งขึ้น ในระยะแรก ภาษา C ไม่เป็นที่นิยมแก่นักโปรแกรมเมอร์โดยทั่วไปนัก 
- ค.ศ. 1978 Brian W. Kernighan และ Dennis M. Ritchie ได้ เขียนหนังสือเล่มหนึ่งชื่อว่า The C Programming Language และ หนังสือเล่มนี้ทาให้บุคคลทั่วไปรู้จักและนิยมใช้ภาษา C ในการ เขียน โปรแกรมมากขึ้น 
- แต่เดิมภาษา C ใช้ Run บนเครื่องคอมพิวเตอร์ 8 bit ภายใต้ ระบบปฏิบัติการ CP/M ของ IBM PC ซึ่งในช่วงปี ค. ศ. 1981 เป็นช่วงของการพัฒนาเครื่องไมโครคอมพิวเตอร์ ภาษา C จึงมี บทบาทสาคัญในการนามาใช้บนเครื่อง PC ตั้งแต่นั้นเป็นต้นมา และมีการพัฒนาต่อมาอีกหลาย ๆ ค่าย ดังนั้นเพื่อกาหนดทิศ ทางการใช้ภาษา C ให้เป็นไปแนวทางเดียวกัน ANSI (American National Standard Institute) ได้กาหนดข้อตกลงที่เรียกว่า 3J11 เพื่อสร้างภาษา C มาตรฐานขึ้นมา เรียนว่า ANSI C 
- ค.ศ. 1983 Bjarne Stroustrup แห่งห้องปฏิบัติการเบล (Bell Laboratories) ได้พัฒนาภาษา C++ ขึ้นรายละเอียดและ ความสามารถของ C++ มีส่วนขยายเพิ่มจาก C ที่สาคัญ ๆ ได้แก่ แนวความคิดของการเขียนโปรแกรมแบบกาหนดวัตถุเป้าหมาย หรือแบบ OOP (Object Oriented Programming) ซึ่งเป็นแนวการ เขียนโปรแกรมที่เหมาะกับการพัฒนาโปรแกรมขนาดใหญ่ที่มี ความสลับซับซ้อนมาก มีข้อมูลที่ใช้ในโปรแกรมจานวนมาก จึง นิยมใช้เทคนิคของการเขียนโปรแกรมแบบ OOP ในการพัฒนา โปรแกรมขนาดใหญ่ในปัจจุบันนี้ 
ชนิดของข้อมูล ประกอบไปด้วย 
1. character (char) ใช้ 1 byte บน Dos มีค่า -128 ถึง127 นิยมใช้ เก็บตัวอักษร 1 ตัวอักษร 
2. integer (int) ใช้ 2 byte มีค่า -32768 ถึง 32767 และยังมี long ซึ่งคล้าย integer แต่เก็บด้วย ช่วงตัวเลขที่ยาวกว่าจึงกินเนื้อที่ ถึง 4 byte 
3. float ใช้ 2 byte ใช้เก็บตัวเลขทศนิยม และยังมี double ซึ่ง คล้าย float แต่เก็บด้วยช่วงตัวเลขที่ยาวกว่าจึงกินเนื้อที่ถึง 4 byte 
4. ในภาษา C จะไม่มีชนิดข้อมูลเป็น string แต่จะใช้สายของ อักษร หรือ Array ของ Char แทนความจริงแล้ว ชนิดของข้อมูล ยังสามารถจาแนกไปได้อีกมาก แต่ในที่นี้ขอแนะนาเพียงเท่านี้ ก่อน ก็เพียงพอ 
ภาษาซี มีลักษณะเด่น(ข้อดี) ดังนี้ 
- เป็นภาษาคอมพิวเตอร์ที่มีการพัฒนาขึ้นใช้งานเพื่อเป็นภาษา มาตรฐานที่ไม่ขึ้นกับโปรแกรมจัดระบบงานและไม่ขึ้นกับ ฮาร์ดแวร์ 
- เป็นภาษาคอมพิวเตอร์ที่อาศัยหลักการที่เรียกว่า "โปรแกรม โครงสร้าง" จึงเป็นภาษาที่เหมาะกับการพัฒนาโปรแกรมระบบ 
- เป็นคอมไพเลอร์ที่มีประสิทธิภาพสูง ให้รหัสออบเจ็กต์สั้น ทางานได้รวดเร็ว เหมาะกับงานที่ต้องการ ความรวดเร็วเป็น สาคัญ 
- มีความคล่องตัวคล้ายภาษาแอสแซมบลี ภาษาซีสามารถเขียน แทนภาษาแอสแซมบลีได้ดี ค้นหาที่ผิดหรือ แก้โปรแกรมได้ง่าย ภาษาซีจึงเป็นภาษาระดับสูงที่ทางานเหมือนภาษาระดับต่า 
- มีความคล่องตัวที่จะประยุกต์เข้ากับงานต่างๆ ได้เป็นอย่างดี การพัฒนาโปรแกรม เช่น เวิร์ดโพรเซสซิ่ง สเปรดชีต ดาตาเบส ฯลฯ มักใช้ภาษาซีเป็นภาษาสาหรับการพัฒนา 
- เป็นภาษาที่มีอยู่บนเกือบทุกโปรแกรมจัดระบบงาน มีใน เครื่องไมโครคอมพิวเตอร์ตั้งแต่ 8 บิต ไปจนถึง 32 บิต เครื่อง มินิคอมพิวเตอร์ และเมนเฟรม 
- เป็นภาษาที่รวมข้อดีเด่นในเรื่องการพัฒนา จนทาให้ป็นภาษา ที่มีผู้สนใจมากมายที่จะเรียนรู้หลักการของภาษา และวิธีการ เขียนโปรแกรม ตลอดจนการพัฒนางานบนภาษานี้ 
ข้อเสีย 
- เป็นภาษาที่เรียนรู้ยาก 
- การตรวจสอบโปรแกรมทาได้ยาก 
- ไม่เหมาะกับการเขียนโปรแกรมที่เกี่ยวข้องกับการออกรายงาน ที่มีรูปแบบซับซ้อนมากๆ

More Related Content

What's hot

ประวัติภาษา C
ประวัติภาษา Cประวัติภาษา C
ประวัติภาษา C
Chatman's Silver Rose
 
การเขียนคำสั่งควบคุม
การเขียนคำสั่งควบคุมการเขียนคำสั่งควบคุม
การเขียนคำสั่งควบคุม
ศุภวิชย์ เยี่ยมดี
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1หน่วยการเรียนรู้ที่ 1
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1SubLt Masu
 
content 2
content 2content 2
content 2
Monberry NooNan
 
change_number_engtothai
change_number_engtothaichange_number_engtothai
ประวัติภาษา C
ประวัติภาษา Cประวัติภาษา C
ประวัติภาษา CFair Kung Nattaput
 
ความเป็นมาของภาษาซี
ความเป็นมาของภาษาซีความเป็นมาของภาษาซี
ความเป็นมาของภาษาซี
นู๋ผึ้ง สุภัสสรา นวลสม
 
ประวัติภาษาซี
ประวัติภาษาซีประวัติภาษาซี
ประวัติภาษาซีrussana
 
สอบกลางภาคคอม ม.5
สอบกลางภาคคอม ม.5สอบกลางภาคคอม ม.5
สอบกลางภาคคอม ม.5
iamohm204
 

What's hot (9)

ประวัติภาษา C
ประวัติภาษา Cประวัติภาษา C
ประวัติภาษา C
 
การเขียนคำสั่งควบคุม
การเขียนคำสั่งควบคุมการเขียนคำสั่งควบคุม
การเขียนคำสั่งควบคุม
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1หน่วยการเรียนรู้ที่ 1
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1
 
content 2
content 2content 2
content 2
 
change_number_engtothai
change_number_engtothaichange_number_engtothai
change_number_engtothai
 
ประวัติภาษา C
ประวัติภาษา Cประวัติภาษา C
ประวัติภาษา C
 
ความเป็นมาของภาษาซี
ความเป็นมาของภาษาซีความเป็นมาของภาษาซี
ความเป็นมาของภาษาซี
 
ประวัติภาษาซี
ประวัติภาษาซีประวัติภาษาซี
ประวัติภาษาซี
 
สอบกลางภาคคอม ม.5
สอบกลางภาคคอม ม.5สอบกลางภาคคอม ม.5
สอบกลางภาคคอม ม.5
 

Similar to ภาษาC

น.ส. มณีรัตน์ อาจแก้ว
น.ส. มณีรัตน์  อาจแก้วน.ส. มณีรัตน์  อาจแก้ว
น.ส. มณีรัตน์ อาจแก้วManeerat Artgeaw
 
Lesson1
Lesson1Lesson1
Lesson1
koyjanpang
 
ภาษา C
ภาษา Cภาษา C
ภาษา C
nattawt
 
ภาษา (1)
ภาษา (1)ภาษา (1)
ภาษา (1)nattawt
 
ภาษาคอมพิวเตอร์
ภาษาคอมพิวเตอร์ภาษาคอมพิวเตอร์
ภาษาคอมพิวเตอร์
Tanadon Boonjumnong
 
ใบความรู้ที่1
ใบความรู้ที่1ใบความรู้ที่1
ใบความรู้ที่1
Bipor Srila
 
บทที่ 2
บทที่  2  บทที่  2
บทที่ 2
1118192239
 
การเขียนคำสั่งควบคุม
การเขียนคำสั่งควบคุมการเขียนคำสั่งควบคุม
การเขียนคำสั่งควบคุมKashima Seto
 
นันทวัน สิงหาคุณ
นันทวัน สิงหาคุณนันทวัน สิงหาคุณ
นันทวัน สิงหาคุณNarongrit Hotrucha
 
การเขียนคำสั่งควบคุม
การเขียนคำสั่งควบคุมการเขียนคำสั่งควบคุม
การเขียนคำสั่งควบคุม
Baramee Chomphoo
 
CCC
CCCCCC
พัชราภรณ์ แสงขาว เลขที่ 18
พัชราภรณ์ แสงขาว เลขที่ 18พัชราภรณ์ แสงขาว เลขที่ 18
พัชราภรณ์ แสงขาว เลขที่ 18noo Carzy
 
หน่วยที่ 4
หน่วยที่ 4หน่วยที่ 4
หน่วยที่ 4
จูน นะค่ะ
 
โครงงานคอม 5
โครงงานคอม 5โครงงานคอม 5
โครงงานคอม 5wipawanmmiiww
 

Similar to ภาษาC (20)

น.ส. มณีรัตน์ อาจแก้ว
น.ส. มณีรัตน์  อาจแก้วน.ส. มณีรัตน์  อาจแก้ว
น.ส. มณีรัตน์ อาจแก้ว
 
P bl1
P bl1P bl1
P bl1
 
Pbl1
Pbl1Pbl1
Pbl1
 
Lesson1
Lesson1Lesson1
Lesson1
 
Lesson1
Lesson1Lesson1
Lesson1
 
Lesson1
Lesson1Lesson1
Lesson1
 
ภาษา C
ภาษา Cภาษา C
ภาษา C
 
ภาษา (1)
ภาษา (1)ภาษา (1)
ภาษา (1)
 
ภาษาคอมพิวเตอร์
ภาษาคอมพิวเตอร์ภาษาคอมพิวเตอร์
ภาษาคอมพิวเตอร์
 
ใบความรู้ที่1
ใบความรู้ที่1ใบความรู้ที่1
ใบความรู้ที่1
 
บทที่ 2
บทที่  2  บทที่  2
บทที่ 2
 
การเขียนคำสั่งควบคุม
การเขียนคำสั่งควบคุมการเขียนคำสั่งควบคุม
การเขียนคำสั่งควบคุม
 
นันทวัน สิงหาคุณ
นันทวัน สิงหาคุณนันทวัน สิงหาคุณ
นันทวัน สิงหาคุณ
 
การเขียนคำสั่งควบคุม
การเขียนคำสั่งควบคุมการเขียนคำสั่งควบคุม
การเขียนคำสั่งควบคุม
 
CCC
CCCCCC
CCC
 
บทที่ 1 บทนำ
บทที่ 1 บทนำบทที่ 1 บทนำ
บทที่ 1 บทนำ
 
พัชราภรณ์ แสงขาว เลขที่ 18
พัชราภรณ์ แสงขาว เลขที่ 18พัชราภรณ์ แสงขาว เลขที่ 18
พัชราภรณ์ แสงขาว เลขที่ 18
 
หน่วยที่ 4
หน่วยที่ 4หน่วยที่ 4
หน่วยที่ 4
 
โครงงานคอม 5
โครงงานคอม 5โครงงานคอม 5
โครงงานคอม 5
 
C
CC
C
 

Recently uploaded

4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdfแนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdfงานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
Prachyanun Nilsook
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการฝึกสมาธิในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการฝึกสมาธิในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการฝึกสมาธิในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการฝึกสมาธิในพระพุทธศาสนา
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 

Recently uploaded (10)

4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
 
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdfแนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdfงานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
 
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการฝึกสมาธิในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการฝึกสมาธิในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการฝึกสมาธิในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการฝึกสมาธิในพระพุทธศาสนา
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
 

ภาษาC

  • 1. ภาษาซี วิวัฒนาการของภาษาซี - ค.ศ. 1970 มีการพัฒนาภาษา B โดย Ken Thompson ซึ่งทางาน บนเครื่อง DEC PDP-7 ซึ่ง ทางานบนเครื่องไมโครคอมพิวเตอร์ ไม่ได้ และยังมีข้อจากัดในการใช้งานอยู่ (ภาษา B สืบทอดมาจาก ภาษา BCPL ซึ่งเขียนโดย Marth Richards) - ค.ศ. 1972 Dennis M. Ritchie และ Ken Thompson ได้สร้าง ภาษา C เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพ ภาษา B ให้ดียิ่งขึ้น ในระยะแรก ภาษา C ไม่เป็นที่นิยมแก่นักโปรแกรมเมอร์โดยทั่วไปนัก - ค.ศ. 1978 Brian W. Kernighan และ Dennis M. Ritchie ได้ เขียนหนังสือเล่มหนึ่งชื่อว่า The C Programming Language และ หนังสือเล่มนี้ทาให้บุคคลทั่วไปรู้จักและนิยมใช้ภาษา C ในการ เขียน โปรแกรมมากขึ้น - แต่เดิมภาษา C ใช้ Run บนเครื่องคอมพิวเตอร์ 8 bit ภายใต้ ระบบปฏิบัติการ CP/M ของ IBM PC ซึ่งในช่วงปี ค. ศ. 1981 เป็นช่วงของการพัฒนาเครื่องไมโครคอมพิวเตอร์ ภาษา C จึงมี บทบาทสาคัญในการนามาใช้บนเครื่อง PC ตั้งแต่นั้นเป็นต้นมา และมีการพัฒนาต่อมาอีกหลาย ๆ ค่าย ดังนั้นเพื่อกาหนดทิศ ทางการใช้ภาษา C ให้เป็นไปแนวทางเดียวกัน ANSI (American National Standard Institute) ได้กาหนดข้อตกลงที่เรียกว่า 3J11 เพื่อสร้างภาษา C มาตรฐานขึ้นมา เรียนว่า ANSI C - ค.ศ. 1983 Bjarne Stroustrup แห่งห้องปฏิบัติการเบล (Bell Laboratories) ได้พัฒนาภาษา C++ ขึ้นรายละเอียดและ ความสามารถของ C++ มีส่วนขยายเพิ่มจาก C ที่สาคัญ ๆ ได้แก่ แนวความคิดของการเขียนโปรแกรมแบบกาหนดวัตถุเป้าหมาย หรือแบบ OOP (Object Oriented Programming) ซึ่งเป็นแนวการ เขียนโปรแกรมที่เหมาะกับการพัฒนาโปรแกรมขนาดใหญ่ที่มี ความสลับซับซ้อนมาก มีข้อมูลที่ใช้ในโปรแกรมจานวนมาก จึง นิยมใช้เทคนิคของการเขียนโปรแกรมแบบ OOP ในการพัฒนา โปรแกรมขนาดใหญ่ในปัจจุบันนี้ ชนิดของข้อมูล ประกอบไปด้วย 1. character (char) ใช้ 1 byte บน Dos มีค่า -128 ถึง127 นิยมใช้ เก็บตัวอักษร 1 ตัวอักษร 2. integer (int) ใช้ 2 byte มีค่า -32768 ถึง 32767 และยังมี long ซึ่งคล้าย integer แต่เก็บด้วย ช่วงตัวเลขที่ยาวกว่าจึงกินเนื้อที่ ถึง 4 byte 3. float ใช้ 2 byte ใช้เก็บตัวเลขทศนิยม และยังมี double ซึ่ง คล้าย float แต่เก็บด้วยช่วงตัวเลขที่ยาวกว่าจึงกินเนื้อที่ถึง 4 byte 4. ในภาษา C จะไม่มีชนิดข้อมูลเป็น string แต่จะใช้สายของ อักษร หรือ Array ของ Char แทนความจริงแล้ว ชนิดของข้อมูล ยังสามารถจาแนกไปได้อีกมาก แต่ในที่นี้ขอแนะนาเพียงเท่านี้ ก่อน ก็เพียงพอ ภาษาซี มีลักษณะเด่น(ข้อดี) ดังนี้ - เป็นภาษาคอมพิวเตอร์ที่มีการพัฒนาขึ้นใช้งานเพื่อเป็นภาษา มาตรฐานที่ไม่ขึ้นกับโปรแกรมจัดระบบงานและไม่ขึ้นกับ ฮาร์ดแวร์ - เป็นภาษาคอมพิวเตอร์ที่อาศัยหลักการที่เรียกว่า "โปรแกรม โครงสร้าง" จึงเป็นภาษาที่เหมาะกับการพัฒนาโปรแกรมระบบ - เป็นคอมไพเลอร์ที่มีประสิทธิภาพสูง ให้รหัสออบเจ็กต์สั้น ทางานได้รวดเร็ว เหมาะกับงานที่ต้องการ ความรวดเร็วเป็น สาคัญ - มีความคล่องตัวคล้ายภาษาแอสแซมบลี ภาษาซีสามารถเขียน แทนภาษาแอสแซมบลีได้ดี ค้นหาที่ผิดหรือ แก้โปรแกรมได้ง่าย ภาษาซีจึงเป็นภาษาระดับสูงที่ทางานเหมือนภาษาระดับต่า - มีความคล่องตัวที่จะประยุกต์เข้ากับงานต่างๆ ได้เป็นอย่างดี การพัฒนาโปรแกรม เช่น เวิร์ดโพรเซสซิ่ง สเปรดชีต ดาตาเบส ฯลฯ มักใช้ภาษาซีเป็นภาษาสาหรับการพัฒนา - เป็นภาษาที่มีอยู่บนเกือบทุกโปรแกรมจัดระบบงาน มีใน เครื่องไมโครคอมพิวเตอร์ตั้งแต่ 8 บิต ไปจนถึง 32 บิต เครื่อง มินิคอมพิวเตอร์ และเมนเฟรม - เป็นภาษาที่รวมข้อดีเด่นในเรื่องการพัฒนา จนทาให้ป็นภาษา ที่มีผู้สนใจมากมายที่จะเรียนรู้หลักการของภาษา และวิธีการ เขียนโปรแกรม ตลอดจนการพัฒนางานบนภาษานี้ ข้อเสีย - เป็นภาษาที่เรียนรู้ยาก - การตรวจสอบโปรแกรมทาได้ยาก - ไม่เหมาะกับการเขียนโปรแกรมที่เกี่ยวข้องกับการออกรายงาน ที่มีรูปแบบซับซ้อนมากๆ