SlideShare a Scribd company logo
โครงสร้างของภาษา C
ภาษา C เป็นภาษาคอมพิวเตอร์ที่ถูกค้นคิดขึ้นโดย
Denis Ritchie ในปี ค.ศ. 1970
โดยใช้ระบบปฏิบัติการของยูนิกซ์ (UNIX) นับจากนั้นมาก็ได้รับ
ความนิยมเพิ่มขั้นจนถึงปัจจุบัน ภาษา C สามารถติดต่อในระดับ
ฮาร์ดแวร์ได้ดีกว่าภาษาระดับสูงอื่น ๆ ไม่ว่าจะเป็นภาษาเบสิกฟ
อร์แทน ขณะเดียวกันก็มีคุณสมบัติของภาษาระดับสูงอยู่ด้วย
ด้วยเหตุผลดังกล่าวจึงจัดได้ว่าภาษา C เป็นภาษาระดับกลาง
(Middle –lever language)
ภาษา C เป็นภาษาคอมพิวเตอร์ชนิดคอมไพล์
(compiled Language) ซึ่งมีคอมไพลเลอร์ (Compiler) ทำา
หน้าที่ในการคอมไพล์ (Compile) หรือแปลงคำาสั่งทั้งหมดใน
โปรแกรมให้เป็นภาษาเครื่อง (Machine Language) เพื่อให้
เครื่องคอมพิวเตอร์นำาคำาสั่งเหล่านั้นไปทำางานต่อไป
โครงสร้างของภาษา C
ทุกโปรแกรมของภาษา C มีโครงสร้างเป็นลักษณะดังรูป
Int main (void)
{
เฮดเดอร์ไฟล์ (Header Files)
เป็นส่วนที่เก็บไลบรารี่มาตรฐานของภาษา C ซึ่งจะถูกดึง
เข้ามารวมกับโปรแกรมในขณะที่กำาลังทำาการคอมไพล์ โดยใช้
คำาสั่ง
#include<ชื่อเฮดเดอร์ไฟล์>
หรือ
#include “ชื่อเฮดเดอร์
ไฟล์”
ตัวอย่าง
#include<stdio.h>
เฮดเดอร์ไฟล์นี้จะมีส่วนขยายเป็น .h เสมอ และเฮดเดอร์
ไฟล์เป็นส่วนที่จำาเป็นต้องมีอย่างน้อย 1 เฮดเดอร์ไฟล์ ก็คือ
เฮดเดอร์ไฟล์ stdio.h ซึ่งจะเป็นที่เก็บไลบรารี่มาตรฐานที่
จัดการเกี่ยวกับอินพุตและเอาท์พุต
ส่วนตัวแปรแบบ Global (Global Variables)
เป็นส่วนที่ใช้ประกาศตัวแปรหรือค่าต่าง ๆ ที่ให้ใช้ได้ทั้ง
โปรแกรม ซึ่งใช้ได้ทั้งโปรแกรม ซึ่งในส่วนไม่จำาเป็นต้องมีก็ได้
ฟังก์ชัน (Functions)
เป็นส่วนที่เก็บคำาสั่งต่าง ๆ ไว้ ซึ่งในภาษา C จะบังคับให้มี
ฟังก์ชันอย่างน้อย 1 ฟังก์ชั่นนั่นคือ ฟังก์ชั่น Main() และใน
โปรแกรม 1 โปรแกรมสามารถมีฟังก์ชันได้มากกว่า 1 ฟังก์ชั่น
ส่วนตัวแปรแบบ Local (Local Variables)
เป็นส่วนที่ใช้สำาหรับประกาศตัวแปรที่จะใช้ในเฉพาะ
ฟังก์ชันของตนเอง ฟังก์ชั่นอื่นไม่สามารถเข้าถึงหรือใช้ได้ ซึ่ง
จะต้องทำาการประกาศตัวแปรก่อนการใช้งานเสมอ และจะต้อง
ประกาศไว้ในส่วนนี้เท่านั้น
ตัวแปรโปรแกรม (Statements)
เป็นส่วนที่อยู่ถัดลงมาจากส่วนตัวแปรภายใน ซึ่งประกอบ
ไปด้วยคำาสั่งต่าง ๆ ของภาษา C และคำาสั่งต่าง ๆ จะใช้
เครื่องหมาย ; เพื่อเป็นการบอกให้รู้ว่าจบคำาสั่งหนึ่ง ๆ แล้ว ส่วน
ใหญ่ คำาสั่งต่าง ๆ ของภาษา C เขียนด้วยตัวพิมพ์เล็ก เนื่องจาก
ภาษา C จะแยกความแตกต่างชองตัวพิมพ์เล็กและพิมพ์ใหญ่
หรือ Case Sensitive นั่นเอง ยกตัวอย่างใช้ Test, test หรือ
จะถือว่าเป็นตัวแปรคนละตัวกัน นอกจากนี้ภาษา C ยังไม่สนใจ
กับการขึ้นบรรทัดใหม่ เพราะฉะนั้นผู้ใช้สามารถพิมพ์คำาสั่ง
หลายคำาสั่งในบรรทัดเดียวกันได้ โดยไม่เครื่องหมาย ; เป็นตัว
จบคำาสั่ง
ค่าส่งกลับ (Return Value)
เป็นส่วนที่บอกให้รู้ว่า ฟังก์ชันนี้จะส่งค่าอะไรกลับไปให้
กับฟังก์ชั่นที่เรียกฟังก์ชั่น ซึ่งเรื่องนี้ผู้เขียนจะยกไปกล่าวใน
เรื่องฟังก์ชั่นอย่างละเอียดอีกทีหนึ่ง
หมายเหตุ (Comment)
เป็นส่วนที่ใช้สำาหรับแสดงข้อความเพื่ออธิบายสิ่งที่
ต้องการในโปรแกรม ซึ่งจะใช้เครื่องหมาย /*และ */ ปิดหัว
และปิดท้ายของข้อความที่ต้องการ
รูปที่ 2-2 แสดงการเขียนหมายเหตุหรือ Comment ใน
ลักษณะต่าง ๆ
โปรแกรมที่ 2 – 1 โปรแกรมแรกสำาหรับคุณ
การตั้งชื่อ
การตั้งชื่อ (Identifier) ให้กับตัวแปร ฟังก์ชันหรืออื่น ๆ มี
กฎเกณฑ์ในการตั้งชื่อ ดังนี้
1. ตัวแรกของชื่อจะต้องขึ้นต้องด้วยตัวอักษรหรือ
เครื่องหมาย _ เท่านั้น
2. ตัวอักษรตั้งแต่ตัวที่ 2 สามารถเป็นตัวเลข หรือ
เครื่องหมาย_ก็ได้
3. จะต้องไม่มีการเว้นวรรคภายในชื่อ แต่สามารถใช้
เครื่อง_คั่นได้
4. สามารถตั้งชื่อได้ยาไม่จำากัด แต่จะใช้ตัวอักษรแค่ 31
ตัวแรกในการอ้างอิง
5. ชื่อที่ตั้งด้วยตัวอักษรพิมพ์ใหญ่และพิมพ์เล็ก จะถือว่า
เป็นคนละตัวกัน
6. ห้ามตั้งชื่อซำ้ากับคำาสงวนของภาษา C
ตัวอย่างการตั้งที่ถูกและผิด
แบบที่ถูก
แบบที่ผิด
A $sum
Student_name Student Name
_SystemName 2names
A1 int
ตัวแปร
ตัวแปร คือ ชื่อที่ใช้อ้างถึงตำาแหน่งต่าง ๆ ในหน่วยความจำา
ซึ่งใช้เก็บข้อมูลต่าง ๆ ด้วยขนาดตามชนิดข้อมูล
การประกาศตัวแปร
การประกาศตัวแปรในภาษา C นั้นสามรถทำาได้ 2
ลักษณะ คือ การประกาศตัวแปรแบบเอกภาพ หรือการประกาศ
ตัวแปรแบบ Global คือ ตัวแปรที่จะสามารถเรียกใช้ได้ทั้ง
โปรแกรม และแบบที่สองการประกาศตัวแปรแบบภายใน หรือ
การประกาศตัวแปรแบบ Local ซึ่งตัวแปรแระเภทนี้จะใช้ได้ใน
เฉพาะฟังก์ชั่นของตัวเองเท่านั้น
#include<stdio.h>
int total; /*การประกาศตัวแปรแบบ Global */
main()
{
int price,money; /*การประกาศตัวแปรแบบ
Local*/
…
}
รูปที่ 2-3 แสดงการประกาศตัวแปรแบบต่าง ๆ
การกำาหนดค่าให้กับตัวแปร
การกำาหนดค่าให้กับตัวแปรนั้น จะสามารถกำาหนดได้
ตั้งแต่ตอนที่ประกาศตัวแปรเลยหรือจะกำาหนดให้ภายใน
โปรแกรมก็ได้ ซึ่งการกำาหนดค่าจะใช้เครื่องหมาย = กั้นตรง
กลาง
int total = 0;
ถ้ามีตัวแปรข้อมูลชนิดเดียวกัน ก็สามารถทำาแบบนี้ได้
int total =0,sum
หรือ
int total =0,sum=0;
ถ้าเป็นการกำาหนดภายในโปรแกรม ซึ่งตัวแปรนั้นได้ประกาศไว้
แล้วสามารถทำาแบบนี้
total = 50;
หรือ
total = total+sum
หรือกำาหนดค่าจาการพิมพ์ข้อมูลเข้าทางคีย์บอร์ด
scanf(“%d”,&total);
การกำาหนดชนิดข้อมูลแบบชั่วคราว
เมื่อผู้ใช้ได้กำาหนดชนิดข้อมูลให้กับตัวแปรใด ๆ ไปแล้ว
ตัวแปรตัวนั้นจะมีชนิดข้อมูลเป็นแบบที่กำำหนดให้ตลอดไป บำง
ครั้งกำรเขียนโปรแกรมอำจจะต้องมีควำมจำำเป็นต้องเปลี่ยน
ชนิดข้อมูลของตัวแปรตัวนั้น ซึ่งภำษำซี ก็มีควำมสำมำรถที่จะ
ทำำเช่นนั้นได้
รูปแบบ
([ชนิดข้อมูล])[ตัวแปร]
ตัวอย่ำง
(float)a
(int)a
ชนิดข้อมูลแบบค่ำคงที่ (Constants)
ชนิดข้อมูลประเภทนี้ ชื่อก็บอกอยู่ว่ำเป็นชนิดข้อมูลแบบ
ค่ำคงที่ ซึ่งก็คือข้อมูลตัวแปรประเภทที่เป็น Constants ผู้ใช้จะ
ไม่สำมำรถเปลี่ยนแปลงค่ำของตัวแปรตัวนั้น ในขณะที่
โปรแกรมทำำงำนอยู่
รูปแบบ
Const[ชนิดข้อมูล][ตัวแปร]=[ค่ำ
หรือ นิพจน์]
ตัวอย่ำง
const folat a = 5.23;
const int b = a%2;
Statements
statements ในภำษำ c คือ คำำสั่งต่ำง ไ ที่ประกอบขึ้น
จนเป็นตัวโปรแกรม ซึ่งในภำษำ c นั้นได้แบ่งออกเป็น 6 แบบ
คือ Expression Statement และ Compound Statement
ณ.ที่นี้จะมีด้วยกัน 2 แบบ
Expression Statement หรือเรียกอีกอย่ำงหนึ่งว่ำ
Single Statement ซึ่ง Statement แบบนั้นจะต้องมี
เครื่องหมำย; หลังจำก statement เมื่อภำษำ C พบ
เครื่องหมำย ; จะทำำให้มันรู้ว่ำจบชุดคำำสั่งแล้ว แล้วจึงข้ำมไปทำำ
Statement ชุดต่อไป
a = 2;
หรือ
printf(“x contains %d, y contains %dn”,x,y);
Compound Statement คือ ชุดคำำสั่งที่มีคำำสั่งต่ำง ๆ รวม
อยู่ด้ำนใน Block ซึ่งจะใช้เครื่องหมำย {เป็นกำรเปิดชุดคำำสั่ง
และใช้} เป็นตัวปิดชุดคำำสั่ง ตัวอย่ำงที่เห็นได้ชัดเจนสำำหรับ
Statement แบบนี้ คือ ตัวฟังก์ชั่น Main โดยทั่ว ๆ ไปใน
ภำษำ C Compound Statement จะเป็นตัวฟังชั่น

More Related Content

What's hot

ภาษาซีเบื้องต้น
ภาษาซีเบื้องต้นภาษาซีเบื้องต้น
ภาษาซีเบื้องต้น
สมใจ สีดาจันทร์
 
การเข้าใช้โปรแกรมซี Dev C++
การเข้าใช้โปรแกรมซี Dev C++การเข้าใช้โปรแกรมซี Dev C++
การเข้าใช้โปรแกรมซี Dev C++dechathon
 
การเขียนโปรแกรมภาษาซี
การเขียนโปรแกรมภาษาซีการเขียนโปรแกรมภาษาซี
การเขียนโปรแกรมภาษาซี
choco336
 
การเขียนคำสั่งควบคุม
การเขียนคำสั่งควบคุมการเขียนคำสั่งควบคุม
การเขียนคำสั่งควบคุม
ศุภวิชย์ เยี่ยมดี
 
บทที่ 2
บทที่  2  บทที่  2
บทที่ 2
1118192239
 
การเขียนคำสั่งขั้นพื้นฐาน(ภาษาC)
การเขียนคำสั่งขั้นพื้นฐาน(ภาษาC)การเขียนคำสั่งขั้นพื้นฐาน(ภาษาC)
การเขียนคำสั่งขั้นพื้นฐาน(ภาษาC)
Visaitus Palasak
 
โครงสร้างของภาษา C
โครงสร้างของภาษา Cโครงสร้างของภาษา C
โครงสร้างของภาษา C
ขจรศักดิ์ วิเศษสุนทร
 
การเขียนคำสั่งข้อมูลขั้นพื้นฐาน
การเขียนคำสั่งข้อมูลขั้นพื้นฐานการเขียนคำสั่งข้อมูลขั้นพื้นฐาน
การเขียนคำสั่งข้อมูลขั้นพื้นฐาน
Ratchanok Nutyimyong
 
บทที่4 เมธอด (METHOD)
บทที่4 เมธอด (METHOD)บทที่4 เมธอด (METHOD)
บทที่4 เมธอด (METHOD)
N'Name Phuthiphong
 
ภาษา C
ภาษา Cภาษา C
ภาษา C
0872671746
 
ภาษาC
ภาษาCภาษาC
ภาษาC
Tharathep Chumchuen
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1Thank Chiro
 
ภาษา C เบื้องต้น
ภาษา C เบื้องต้นภาษา C เบื้องต้น
ภาษา C เบื้องต้น
Apinyaphorn
 
Introduction to Open Source
Introduction to Open SourceIntroduction to Open Source
Introduction to Open Source
Isriya Paireepairit
 
การตั้งชื่อตัวแปร
การตั้งชื่อตัวแปรการตั้งชื่อตัวแปร
การตั้งชื่อตัวแปรmycomc55
 
Python programmingggg
Python programminggggPython programmingggg
Python programmingggg
Ratchanok Nutyimyong
 
โครงสร้างการเขียนโปรแกรมภาษาไพธอน
โครงสร้างการเขียนโปรแกรมภาษาไพธอนโครงสร้างการเขียนโปรแกรมภาษาไพธอน
โครงสร้างการเขียนโปรแกรมภาษาไพธอน
srinagarindra the princess mother school kanchanaburi
 

What's hot (18)

ภาษาซีเบื้องต้น
ภาษาซีเบื้องต้นภาษาซีเบื้องต้น
ภาษาซีเบื้องต้น
 
การเข้าใช้โปรแกรมซี Dev C++
การเข้าใช้โปรแกรมซี Dev C++การเข้าใช้โปรแกรมซี Dev C++
การเข้าใช้โปรแกรมซี Dev C++
 
การเขียนโปรแกรมภาษาซี
การเขียนโปรแกรมภาษาซีการเขียนโปรแกรมภาษาซี
การเขียนโปรแกรมภาษาซี
 
การเขียนคำสั่งควบคุม
การเขียนคำสั่งควบคุมการเขียนคำสั่งควบคุม
การเขียนคำสั่งควบคุม
 
บทที่ 2
บทที่  2  บทที่  2
บทที่ 2
 
การเขียนคำสั่งขั้นพื้นฐาน(ภาษาC)
การเขียนคำสั่งขั้นพื้นฐาน(ภาษาC)การเขียนคำสั่งขั้นพื้นฐาน(ภาษาC)
การเขียนคำสั่งขั้นพื้นฐาน(ภาษาC)
 
โครงสร้างของภาษา C
โครงสร้างของภาษา Cโครงสร้างของภาษา C
โครงสร้างของภาษา C
 
การเขียนคำสั่งข้อมูลขั้นพื้นฐาน
การเขียนคำสั่งข้อมูลขั้นพื้นฐานการเขียนคำสั่งข้อมูลขั้นพื้นฐาน
การเขียนคำสั่งข้อมูลขั้นพื้นฐาน
 
บทที่4 เมธอด (METHOD)
บทที่4 เมธอด (METHOD)บทที่4 เมธอด (METHOD)
บทที่4 เมธอด (METHOD)
 
ภาษา C
ภาษา Cภาษา C
ภาษา C
 
ภาษาC
ภาษาCภาษาC
ภาษาC
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
ภาษา C เบื้องต้น
ภาษา C เบื้องต้นภาษา C เบื้องต้น
ภาษา C เบื้องต้น
 
Introduction to Open Source
Introduction to Open SourceIntroduction to Open Source
Introduction to Open Source
 
การตั้งชื่อตัวแปร
การตั้งชื่อตัวแปรการตั้งชื่อตัวแปร
การตั้งชื่อตัวแปร
 
Python programmingggg
Python programminggggPython programmingggg
Python programmingggg
 
โครงสร้างการเขียนโปรแกรมภาษาไพธอน
โครงสร้างการเขียนโปรแกรมภาษาไพธอนโครงสร้างการเขียนโปรแกรมภาษาไพธอน
โครงสร้างการเขียนโปรแกรมภาษาไพธอน
 

Similar to โครงสร้างของภาษา C

การเขียนคำสั่งควบคุม
การเขียนคำสั่งควบคุมการเขียนคำสั่งควบคุม
การเขียนคำสั่งควบคุม
Baramee Chomphoo
 
น.ส. มณีรัตน์ อาจแก้ว
น.ส. มณีรัตน์  อาจแก้วน.ส. มณีรัตน์  อาจแก้ว
น.ส. มณีรัตน์ อาจแก้วManeerat Artgeaw
 
โครงสร้างของโปรแกรมภาษาซี
โครงสร้างของโปรแกรมภาษาซีโครงสร้างของโปรแกรมภาษาซี
โครงสร้างของโปรแกรมภาษาซี
ณัฐพล บัวพันธ์
 
การเขียนโปรแกรมภาษาซี
การเขียนโปรแกรมภาษาซีการเขียนโปรแกรมภาษาซี
การเขียนโปรแกรมภาษาซีchoco336
 
การเขียนโปรแกรมภาษาซี
การเขียนโปรแกรมภาษาซีการเขียนโปรแกรมภาษาซี
การเขียนโปรแกรมภาษาซีchoco336
 
การเขียนโปรแกรมภาษาซี
การเขียนโปรแกรมภาษาซีการเขียนโปรแกรมภาษาซี
การเขียนโปรแกรมภาษาซีchoco336
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1หน่วยการเรียนรู้ที่ 1
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1SubLt Masu
 
น.ส.ศิรพร โมกศิริ เลขที่ 9 ม.4.5
น.ส.ศิรพร   โมกศิริ  เลขที่ 9 ม.4.5น.ส.ศิรพร   โมกศิริ  เลขที่ 9 ม.4.5
น.ส.ศิรพร โมกศิริ เลขที่ 9 ม.4.5Siriporn Narak
 
น.ส.ศิรพร โมกศิริ เลขที่ 9 ม.4.5
น.ส.ศิรพร   โมกศิริ  เลขที่ 9 ม.4.5น.ส.ศิรพร   โมกศิริ  เลขที่ 9 ม.4.5
น.ส.ศิรพร โมกศิริ เลขที่ 9 ม.4.5Siriporn Narak
 
น.ส.ศิรพร โมกศิริ เลขที่ 9 ม.4.5
น.ส.ศิรพร   โมกศิริ  เลขที่ 9 ม.4.5น.ส.ศิรพร   โมกศิริ  เลขที่ 9 ม.4.5
น.ส.ศิรพร โมกศิริ เลขที่ 9 ม.4.5Siriporn Narak
 
น.ส.ศิรพร โมกศิริ เลขที่ 9 ม.4.5
น.ส.ศิรพร   โมกศิริ  เลขที่ 9 ม.4.5น.ส.ศิรพร   โมกศิริ  เลขที่ 9 ม.4.5
น.ส.ศิรพร โมกศิริ เลขที่ 9 ม.4.5Siriporn Narak
 
น.ส.ศิรพร โมกศิริ เลขที่ 9 ม.4.5
น.ส.ศิรพร   โมกศิริ  เลขที่ 9 ม.4.5น.ส.ศิรพร   โมกศิริ  เลขที่ 9 ม.4.5
น.ส.ศิรพร โมกศิริ เลขที่ 9 ม.4.5Siriporn Narak
 
น.ส.ศิรพร โมกศิริ เลขที่ 9 ม.4.5
น.ส.ศิรพร   โมกศิริ  เลขที่ 9 ม.4.5น.ส.ศิรพร   โมกศิริ  เลขที่ 9 ม.4.5
น.ส.ศิรพร โมกศิริ เลขที่ 9 ม.4.5Siriporn Narak
 
น.ส.ศิรพร โมกศิริ เลขที่ 9 ม.4.5
น.ส.ศิรพร   โมกศิริ  เลขที่ 9 ม.4.5น.ส.ศิรพร   โมกศิริ  เลขที่ 9 ม.4.5
น.ส.ศิรพร โมกศิริ เลขที่ 9 ม.4.5Siriporn Narak
 
lesson1
lesson1lesson1
ภาษาซี
ภาษาซีภาษาซี
ภาษาซี
Nattawut Pornonsung
 
การเขียนโปรแกรมภาษา
การเขียนโปรแกรมภาษาการเขียนโปรแกรมภาษา
การเขียนโปรแกรมภาษา
tyt13
 
การออกแบบและพัฒนาโปรแกรม Week5
การออกแบบและพัฒนาโปรแกรม Week5การออกแบบและพัฒนาโปรแกรม Week5
การออกแบบและพัฒนาโปรแกรม Week5
ครูอาร์ม ฉึก ฉึก
 

Similar to โครงสร้างของภาษา C (20)

การเขียนคำสั่งควบคุม
การเขียนคำสั่งควบคุมการเขียนคำสั่งควบคุม
การเขียนคำสั่งควบคุม
 
งานน
งานนงานน
งานน
 
น.ส. มณีรัตน์ อาจแก้ว
น.ส. มณีรัตน์  อาจแก้วน.ส. มณีรัตน์  อาจแก้ว
น.ส. มณีรัตน์ อาจแก้ว
 
โครงสร้างของโปรแกรมภาษาซี
โครงสร้างของโปรแกรมภาษาซีโครงสร้างของโปรแกรมภาษาซี
โครงสร้างของโปรแกรมภาษาซี
 
การเขียนโปรแกรมภาษาซี
การเขียนโปรแกรมภาษาซีการเขียนโปรแกรมภาษาซี
การเขียนโปรแกรมภาษาซี
 
การเขียนโปรแกรมภาษาซี
การเขียนโปรแกรมภาษาซีการเขียนโปรแกรมภาษาซี
การเขียนโปรแกรมภาษาซี
 
การเขียนโปรแกรมภาษาซี
การเขียนโปรแกรมภาษาซีการเขียนโปรแกรมภาษาซี
การเขียนโปรแกรมภาษาซี
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1หน่วยการเรียนรู้ที่ 1
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1
 
น.ส.ศิรพร โมกศิริ เลขที่ 9 ม.4.5
น.ส.ศิรพร   โมกศิริ  เลขที่ 9 ม.4.5น.ส.ศิรพร   โมกศิริ  เลขที่ 9 ม.4.5
น.ส.ศิรพร โมกศิริ เลขที่ 9 ม.4.5
 
น.ส.ศิรพร โมกศิริ เลขที่ 9 ม.4.5
น.ส.ศิรพร   โมกศิริ  เลขที่ 9 ม.4.5น.ส.ศิรพร   โมกศิริ  เลขที่ 9 ม.4.5
น.ส.ศิรพร โมกศิริ เลขที่ 9 ม.4.5
 
น.ส.ศิรพร โมกศิริ เลขที่ 9 ม.4.5
น.ส.ศิรพร   โมกศิริ  เลขที่ 9 ม.4.5น.ส.ศิรพร   โมกศิริ  เลขที่ 9 ม.4.5
น.ส.ศิรพร โมกศิริ เลขที่ 9 ม.4.5
 
น.ส.ศิรพร โมกศิริ เลขที่ 9 ม.4.5
น.ส.ศิรพร   โมกศิริ  เลขที่ 9 ม.4.5น.ส.ศิรพร   โมกศิริ  เลขที่ 9 ม.4.5
น.ส.ศิรพร โมกศิริ เลขที่ 9 ม.4.5
 
น.ส.ศิรพร โมกศิริ เลขที่ 9 ม.4.5
น.ส.ศิรพร   โมกศิริ  เลขที่ 9 ม.4.5น.ส.ศิรพร   โมกศิริ  เลขที่ 9 ม.4.5
น.ส.ศิรพร โมกศิริ เลขที่ 9 ม.4.5
 
น.ส.ศิรพร โมกศิริ เลขที่ 9 ม.4.5
น.ส.ศิรพร   โมกศิริ  เลขที่ 9 ม.4.5น.ส.ศิรพร   โมกศิริ  เลขที่ 9 ม.4.5
น.ส.ศิรพร โมกศิริ เลขที่ 9 ม.4.5
 
น.ส.ศิรพร โมกศิริ เลขที่ 9 ม.4.5
น.ส.ศิรพร   โมกศิริ  เลขที่ 9 ม.4.5น.ส.ศิรพร   โมกศิริ  เลขที่ 9 ม.4.5
น.ส.ศิรพร โมกศิริ เลขที่ 9 ม.4.5
 
งานนำเสนอ
งานนำเสนองานนำเสนอ
งานนำเสนอ
 
lesson1
lesson1lesson1
lesson1
 
ภาษาซี
ภาษาซีภาษาซี
ภาษาซี
 
การเขียนโปรแกรมภาษา
การเขียนโปรแกรมภาษาการเขียนโปรแกรมภาษา
การเขียนโปรแกรมภาษา
 
การออกแบบและพัฒนาโปรแกรม Week5
การออกแบบและพัฒนาโปรแกรม Week5การออกแบบและพัฒนาโปรแกรม Week5
การออกแบบและพัฒนาโปรแกรม Week5
 

โครงสร้างของภาษา C

  • 1. โครงสร้างของภาษา C ภาษา C เป็นภาษาคอมพิวเตอร์ที่ถูกค้นคิดขึ้นโดย Denis Ritchie ในปี ค.ศ. 1970 โดยใช้ระบบปฏิบัติการของยูนิกซ์ (UNIX) นับจากนั้นมาก็ได้รับ ความนิยมเพิ่มขั้นจนถึงปัจจุบัน ภาษา C สามารถติดต่อในระดับ ฮาร์ดแวร์ได้ดีกว่าภาษาระดับสูงอื่น ๆ ไม่ว่าจะเป็นภาษาเบสิกฟ อร์แทน ขณะเดียวกันก็มีคุณสมบัติของภาษาระดับสูงอยู่ด้วย ด้วยเหตุผลดังกล่าวจึงจัดได้ว่าภาษา C เป็นภาษาระดับกลาง (Middle –lever language) ภาษา C เป็นภาษาคอมพิวเตอร์ชนิดคอมไพล์ (compiled Language) ซึ่งมีคอมไพลเลอร์ (Compiler) ทำา หน้าที่ในการคอมไพล์ (Compile) หรือแปลงคำาสั่งทั้งหมดใน โปรแกรมให้เป็นภาษาเครื่อง (Machine Language) เพื่อให้ เครื่องคอมพิวเตอร์นำาคำาสั่งเหล่านั้นไปทำางานต่อไป โครงสร้างของภาษา C ทุกโปรแกรมของภาษา C มีโครงสร้างเป็นลักษณะดังรูป Int main (void) {
  • 2. เฮดเดอร์ไฟล์ (Header Files) เป็นส่วนที่เก็บไลบรารี่มาตรฐานของภาษา C ซึ่งจะถูกดึง เข้ามารวมกับโปรแกรมในขณะที่กำาลังทำาการคอมไพล์ โดยใช้ คำาสั่ง #include<ชื่อเฮดเดอร์ไฟล์> หรือ #include “ชื่อเฮดเดอร์ ไฟล์” ตัวอย่าง #include<stdio.h> เฮดเดอร์ไฟล์นี้จะมีส่วนขยายเป็น .h เสมอ และเฮดเดอร์ ไฟล์เป็นส่วนที่จำาเป็นต้องมีอย่างน้อย 1 เฮดเดอร์ไฟล์ ก็คือ เฮดเดอร์ไฟล์ stdio.h ซึ่งจะเป็นที่เก็บไลบรารี่มาตรฐานที่ จัดการเกี่ยวกับอินพุตและเอาท์พุต ส่วนตัวแปรแบบ Global (Global Variables) เป็นส่วนที่ใช้ประกาศตัวแปรหรือค่าต่าง ๆ ที่ให้ใช้ได้ทั้ง โปรแกรม ซึ่งใช้ได้ทั้งโปรแกรม ซึ่งในส่วนไม่จำาเป็นต้องมีก็ได้ ฟังก์ชัน (Functions) เป็นส่วนที่เก็บคำาสั่งต่าง ๆ ไว้ ซึ่งในภาษา C จะบังคับให้มี ฟังก์ชันอย่างน้อย 1 ฟังก์ชั่นนั่นคือ ฟังก์ชั่น Main() และใน โปรแกรม 1 โปรแกรมสามารถมีฟังก์ชันได้มากกว่า 1 ฟังก์ชั่น ส่วนตัวแปรแบบ Local (Local Variables) เป็นส่วนที่ใช้สำาหรับประกาศตัวแปรที่จะใช้ในเฉพาะ ฟังก์ชันของตนเอง ฟังก์ชั่นอื่นไม่สามารถเข้าถึงหรือใช้ได้ ซึ่ง จะต้องทำาการประกาศตัวแปรก่อนการใช้งานเสมอ และจะต้อง ประกาศไว้ในส่วนนี้เท่านั้น ตัวแปรโปรแกรม (Statements) เป็นส่วนที่อยู่ถัดลงมาจากส่วนตัวแปรภายใน ซึ่งประกอบ ไปด้วยคำาสั่งต่าง ๆ ของภาษา C และคำาสั่งต่าง ๆ จะใช้
  • 3. เครื่องหมาย ; เพื่อเป็นการบอกให้รู้ว่าจบคำาสั่งหนึ่ง ๆ แล้ว ส่วน ใหญ่ คำาสั่งต่าง ๆ ของภาษา C เขียนด้วยตัวพิมพ์เล็ก เนื่องจาก ภาษา C จะแยกความแตกต่างชองตัวพิมพ์เล็กและพิมพ์ใหญ่ หรือ Case Sensitive นั่นเอง ยกตัวอย่างใช้ Test, test หรือ จะถือว่าเป็นตัวแปรคนละตัวกัน นอกจากนี้ภาษา C ยังไม่สนใจ กับการขึ้นบรรทัดใหม่ เพราะฉะนั้นผู้ใช้สามารถพิมพ์คำาสั่ง หลายคำาสั่งในบรรทัดเดียวกันได้ โดยไม่เครื่องหมาย ; เป็นตัว จบคำาสั่ง ค่าส่งกลับ (Return Value) เป็นส่วนที่บอกให้รู้ว่า ฟังก์ชันนี้จะส่งค่าอะไรกลับไปให้ กับฟังก์ชั่นที่เรียกฟังก์ชั่น ซึ่งเรื่องนี้ผู้เขียนจะยกไปกล่าวใน เรื่องฟังก์ชั่นอย่างละเอียดอีกทีหนึ่ง หมายเหตุ (Comment) เป็นส่วนที่ใช้สำาหรับแสดงข้อความเพื่ออธิบายสิ่งที่ ต้องการในโปรแกรม ซึ่งจะใช้เครื่องหมาย /*และ */ ปิดหัว และปิดท้ายของข้อความที่ต้องการ รูปที่ 2-2 แสดงการเขียนหมายเหตุหรือ Comment ใน ลักษณะต่าง ๆ โปรแกรมที่ 2 – 1 โปรแกรมแรกสำาหรับคุณ
  • 4. การตั้งชื่อ การตั้งชื่อ (Identifier) ให้กับตัวแปร ฟังก์ชันหรืออื่น ๆ มี กฎเกณฑ์ในการตั้งชื่อ ดังนี้ 1. ตัวแรกของชื่อจะต้องขึ้นต้องด้วยตัวอักษรหรือ เครื่องหมาย _ เท่านั้น 2. ตัวอักษรตั้งแต่ตัวที่ 2 สามารถเป็นตัวเลข หรือ เครื่องหมาย_ก็ได้ 3. จะต้องไม่มีการเว้นวรรคภายในชื่อ แต่สามารถใช้ เครื่อง_คั่นได้ 4. สามารถตั้งชื่อได้ยาไม่จำากัด แต่จะใช้ตัวอักษรแค่ 31 ตัวแรกในการอ้างอิง 5. ชื่อที่ตั้งด้วยตัวอักษรพิมพ์ใหญ่และพิมพ์เล็ก จะถือว่า เป็นคนละตัวกัน 6. ห้ามตั้งชื่อซำ้ากับคำาสงวนของภาษา C ตัวอย่างการตั้งที่ถูกและผิด แบบที่ถูก แบบที่ผิด
  • 5. A $sum Student_name Student Name _SystemName 2names A1 int ตัวแปร ตัวแปร คือ ชื่อที่ใช้อ้างถึงตำาแหน่งต่าง ๆ ในหน่วยความจำา ซึ่งใช้เก็บข้อมูลต่าง ๆ ด้วยขนาดตามชนิดข้อมูล การประกาศตัวแปร การประกาศตัวแปรในภาษา C นั้นสามรถทำาได้ 2 ลักษณะ คือ การประกาศตัวแปรแบบเอกภาพ หรือการประกาศ ตัวแปรแบบ Global คือ ตัวแปรที่จะสามารถเรียกใช้ได้ทั้ง โปรแกรม และแบบที่สองการประกาศตัวแปรแบบภายใน หรือ การประกาศตัวแปรแบบ Local ซึ่งตัวแปรแระเภทนี้จะใช้ได้ใน เฉพาะฟังก์ชั่นของตัวเองเท่านั้น #include<stdio.h> int total; /*การประกาศตัวแปรแบบ Global */ main() { int price,money; /*การประกาศตัวแปรแบบ Local*/ … }
  • 6. รูปที่ 2-3 แสดงการประกาศตัวแปรแบบต่าง ๆ การกำาหนดค่าให้กับตัวแปร การกำาหนดค่าให้กับตัวแปรนั้น จะสามารถกำาหนดได้ ตั้งแต่ตอนที่ประกาศตัวแปรเลยหรือจะกำาหนดให้ภายใน โปรแกรมก็ได้ ซึ่งการกำาหนดค่าจะใช้เครื่องหมาย = กั้นตรง กลาง int total = 0; ถ้ามีตัวแปรข้อมูลชนิดเดียวกัน ก็สามารถทำาแบบนี้ได้ int total =0,sum หรือ int total =0,sum=0; ถ้าเป็นการกำาหนดภายในโปรแกรม ซึ่งตัวแปรนั้นได้ประกาศไว้ แล้วสามารถทำาแบบนี้ total = 50; หรือ total = total+sum หรือกำาหนดค่าจาการพิมพ์ข้อมูลเข้าทางคีย์บอร์ด scanf(“%d”,&total); การกำาหนดชนิดข้อมูลแบบชั่วคราว เมื่อผู้ใช้ได้กำาหนดชนิดข้อมูลให้กับตัวแปรใด ๆ ไปแล้ว
  • 7. ตัวแปรตัวนั้นจะมีชนิดข้อมูลเป็นแบบที่กำำหนดให้ตลอดไป บำง ครั้งกำรเขียนโปรแกรมอำจจะต้องมีควำมจำำเป็นต้องเปลี่ยน ชนิดข้อมูลของตัวแปรตัวนั้น ซึ่งภำษำซี ก็มีควำมสำมำรถที่จะ ทำำเช่นนั้นได้ รูปแบบ ([ชนิดข้อมูล])[ตัวแปร] ตัวอย่ำง (float)a (int)a ชนิดข้อมูลแบบค่ำคงที่ (Constants) ชนิดข้อมูลประเภทนี้ ชื่อก็บอกอยู่ว่ำเป็นชนิดข้อมูลแบบ ค่ำคงที่ ซึ่งก็คือข้อมูลตัวแปรประเภทที่เป็น Constants ผู้ใช้จะ ไม่สำมำรถเปลี่ยนแปลงค่ำของตัวแปรตัวนั้น ในขณะที่ โปรแกรมทำำงำนอยู่ รูปแบบ Const[ชนิดข้อมูล][ตัวแปร]=[ค่ำ หรือ นิพจน์] ตัวอย่ำง const folat a = 5.23; const int b = a%2; Statements statements ในภำษำ c คือ คำำสั่งต่ำง ไ ที่ประกอบขึ้น จนเป็นตัวโปรแกรม ซึ่งในภำษำ c นั้นได้แบ่งออกเป็น 6 แบบ คือ Expression Statement และ Compound Statement ณ.ที่นี้จะมีด้วยกัน 2 แบบ Expression Statement หรือเรียกอีกอย่ำงหนึ่งว่ำ Single Statement ซึ่ง Statement แบบนั้นจะต้องมี เครื่องหมำย; หลังจำก statement เมื่อภำษำ C พบ
  • 8. เครื่องหมำย ; จะทำำให้มันรู้ว่ำจบชุดคำำสั่งแล้ว แล้วจึงข้ำมไปทำำ Statement ชุดต่อไป a = 2; หรือ printf(“x contains %d, y contains %dn”,x,y); Compound Statement คือ ชุดคำำสั่งที่มีคำำสั่งต่ำง ๆ รวม อยู่ด้ำนใน Block ซึ่งจะใช้เครื่องหมำย {เป็นกำรเปิดชุดคำำสั่ง และใช้} เป็นตัวปิดชุดคำำสั่ง ตัวอย่ำงที่เห็นได้ชัดเจนสำำหรับ Statement แบบนี้ คือ ตัวฟังก์ชั่น Main โดยทั่ว ๆ ไปใน ภำษำ C Compound Statement จะเป็นตัวฟังชั่น