SlideShare a Scribd company logo
ใบความรู้ที่ 1
เรื่อง ประวัติและขั้นตอนการทาโปรแกรมด้วยภาษาซี
ประวัติความเป็นมาภาษาซี
ภาษาซีเกิดขึ้นในปี ค.ศ. 1972 ผู้คิดค้นคือ Dennis Rittchie โดยพัฒนามาจากภาษาB และ
ภาษา BCPL แต่ยังไม่มีการใช้งานอย่างกว้างขวางนัก ในปี ค.ศ. 1978 Brain Kernighan ได้ร่วมกับ Dennis
Ritchie มาพัฒนามาตรฐานของภาษาซี เรียกว่า K&R ทาให้มีผู้สนใจเกี่ยวกับภาษาซีมากขึ้น
จึงเกิดภาษาซีอีกหลายรูปแบบเพราะยังไม่มีการกาหนดรูปแบบภาษาซีที่เป็นมาตรฐาน และในปี 1988
Ritchie จึงได้กาหนดมาตรฐานของภาษาซีเรียกว่าANSI
C เพื่อใช้เป็นตัวกาหนดมาตรฐานในการสร้างภาษาซีรุ่นต่อไปภาษาซี
เป็นภาษาระดับกลางเหมาะสมสาหรับการเขียนโปรแกรมแบบโครงสร้าง
เป็นภาษาที่มีความยืดหยุ่นมากคือใช้งานได้กับเครื่องต่างๆ
ได้และปัจจุบันภาษาซีเป็นภาษาพื้นฐานของภาษาโปรแกรมรุ่นใหม่ๆ เช่น C++
ขั้นตอนการทาโปรแกรมด้วยภาษาซี
ขั้นตอนที่1 เขียนโปรแกรม (source code)
ใช้editor เขียนโปรแกรมภาษาซีและทาการบันทึกไฟล์ให้มีนามสกุลเป็น .c เช่น work.c เป็นต้น
editor คือ โปรแกรมที่ใช้สาหรับการเขียนโปรแกรม โดยตัวอย่างของ editor ที่นิยมนามาใช้ในการเขียนโ
ปรแกรมได้แก่ Notepad,Edit ของ Dos ,TextPad และ EditPlus เป็นต้น
ผู้เขียนโปรแกรมสามารถเลือกใช้โปรแกรมใดในการเรียนโปรแกรมก็ได้ แล้วแต่ความถนัดของแต่ละบุคคล
ขั้นตอนที่ 2 คอมไพล์โปรแกรม (compile)
นา source
code จากขั้นตอนที่ 1 มาทาการคอมไพล์ เพื่อแปลจากภาษาซีที่มนุษย์เข้าใจไปเป็นภาษาเครื่องที่คอมพิวเตอ
ร์เข้าใจได้ ในขั้นตอนนี้คอมไพเลอร์จะทาการตรวจสอบ source code ว่าเกิดข้อผิดพลาดหรือไม่
· หากเกิดข้อผิดพลาด
จะแจ้งให้ผู้เขียนโปรแกรมทราบ ผู้เขียนโปรแกรมจะต้องกลับไปแก้ไขโปรแกรม และทาการคอมไพล์โปร
แกรมใหม่อีกครั้ง
· หากไม่พบข้อผิดพลาด คอมไพเลอร์จะแปลไฟล์ source
code จากภาษาซีไปเป็นภาษาเครื่อง(ไฟล์นามสกุล .obj) เช่นถ้าไฟล์ source
code ชื่อ work.c ก็จะถูกแปลไปเป็นไฟล์ work.obj ซึ่งเก็บภาษาเครื่องไว้เป็นต้น
compile เป็นตัวแปลภาษารูปแบบหนึ่ง มีหน้าที่หลักคือการแปลภาษาโปรแกรมที่มนุษย์เขียนขึ้นไ
ปเป็นภาษาเครื่อง โดยคอมไพเลอร์ของภาษาซี คือ C
Compiler ซึ่งหลักการที่คอมไพเลอร์ใช้ เรียกว่า คอมไพล์(compile) โดยจะทาการอ่านโปรแกรมภาษาซีทั้ง
หมดตั้งแต่ต้นจนจบ แล้วทาการแปลผลทีเดียว
นอกจากคอมไพเลอร์แล้ว ยังมีตัวแปลภาษาอีกรูปแบบหนึ่งที่เรียกว่า อินเตอร์พรีเตอร์ การอ่านและ
แปลโปรแกรมทีละบรรทัด เมื่อแปลผลบรรทัดหนึ่งเสร็จก็จะทางานตามคาสั่งในบรรทัดนั้น แล้วจึงทาการ
แปลผลตามคาสั่งในบรรทัดถัดไป หลักการที่อินเตอร์พรีเตอร์ใช้เรียกว่า อินเตอร์เพรต (interpret)
ข้อดีและข้อเสียของตัวแปลภาษาทั้งสองแบบมีดังนี้
ข้อดี ข้อเสีย
คอมไพเ
ลอร์
· ทางานได้เร็ว เนื่องจากทาการแปลผลทีเดียว
แล้วจึงทางานตามคาสั่งของโปรแกรมในภายหลัง
· เมื่อทาการแปลผลแล้ว ในครั้งต่อไปไม่จาเป็น
ต้องทาการแปลผลใหม่อีก
เนื่องจากภาษาเครื่องที่แปลได้จะถูกเก็บไว้ที่หน่วยค
วามจา สามารถเรียกใช้งานได้ทันที
· เมื่อเกิดข้อผิดพลาดขึ้นกับโปรแกรม
จะตรวจสอบหาข้อผิดพลาดได้ยาก
เพราะทาการแปลผลทีเดียวทั้งโปรแกรม
อินเตอร์
พรีเตอร์
· หาข้อผิดพลาดของโปรแกรมได้ง่าย
เนื่องจากทาการแปลผลทีละบรรทัด
· เนื่องจากทางานทีละบรรทัดดังนั้นจึงสั่งให้โปร
แกรมทางานตามคาสั่งเฉพาะจุดที่ต้องการได้
· ไม่เสียเวลารอการแปลโปรแกรมเป็นเวลานาน
· ช้าเนื่องจากที่ทางานทีละบรรทัด
ขั้นตอนที่ 3 เชื่อมโยงโปรแกรม (link)
การเขียนโปรแกรมภาษาซีนั้นผู้เขียนโปรแกรมไม่จาเป็นต้องเขียนคาสั่งต่าง ๆ
ขึ้นใช้งานเอง เนื่องจากภาษาซีมีฟังก์ชั้นมาตรฐานให้ผู้เขียนโปรแกรมสามารถเรียกใช้งานได้
เช่น การเขียนโปรแกรมแสดงข้อความ “Lumpangkanyanee” ออกทางหน้าจอ ผู้เขียนโปรแกรมสามารถเรีย
กใช้ฟังก์ชั่น printf() ซึ่งเป็นฟังก์ชั่น มาตรฐานของภาษาซีมาใช้งานได้ โดยส่วนการประกาศ (declarat
ion) ของฟังก์ชั่นมาตรฐานต่าง ๆ จะถูกจัดเก็บอยู่ในเฮดเดอร์ไฟล์แต่ละตัว
แตกต่างกันไปตามลักษณะการใช้งาน
ด้วยเหตุนี้ภาษาเครื่องที่ได้จากขั้นตอนที่ 2 จึงยังไม่สามารถนาไปใช้งานได้
แต่ต้องนามาเชื่อมโยงเข้ากับ library ก่อน ซึ่งผลจากการเชื่อมโยงจะทาให้ได้ executable program
(ไฟล์นามสกุล.exe เช่น work.exe) ที่สามารถนาไปใช้งานได้
ขั้นตอนที่ 4ประมวลผล (run)
เมื่อนา executable
program จากขั้นตอนที่ 3 มาประมวลผลก็จะได้ผลลัพธ์ (output) ของโปรแกรมออกมา (ถ้ามี)
รูปที่ 1 ขั้นตอนการทาโปรแกรมด้วยภาษาซี

More Related Content

Similar to ใบความรู้ที่1

ใบความรู้ที่ 2 กำเนิดภาษาซี
ใบความรู้ที่ 2 กำเนิดภาษาซีใบความรู้ที่ 2 กำเนิดภาษาซี
ใบความรู้ที่ 2 กำเนิดภาษาซีdechathon
 
น.ส. มณีรัตน์ อาจแก้ว
น.ส. มณีรัตน์  อาจแก้วน.ส. มณีรัตน์  อาจแก้ว
น.ส. มณีรัตน์ อาจแก้วManeerat Artgeaw
 
ภาษาC
ภาษาCภาษาC
ภาษาC
Tharathep Chumchuen
 
ประวัติ ภาษาซี 2
ประวัติ ภาษาซี 2ประวัติ ภาษาซี 2
ประวัติ ภาษาซี 2
del1997
 
ประวัติ ภาษาซี
ประวัติ ภาษาซีประวัติ ภาษาซี
ประวัติ ภาษาซี
del1997
 
ประวัติภาษา C
ประวัติภาษา Cประวัติภาษา C
ประวัติภาษา C
Chatman's Silver Rose
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1HamHam' Kc
 
พัชราภรณ์ แสงขาว เลขที่ 18
พัชราภรณ์ แสงขาว เลขที่ 18พัชราภรณ์ แสงขาว เลขที่ 18
พัชราภรณ์ แสงขาว เลขที่ 18noo Carzy
 
ภาษา C
ภาษา Cภาษา C
ภาษา C
nutty_npk
 
นันทวัน สิงหาคุณ
นันทวัน สิงหาคุณนันทวัน สิงหาคุณ
นันทวัน สิงหาคุณNarongrit Hotrucha
 
ความเป็นมาของภาษาซี
ความเป็นมาของภาษาซีความเป็นมาของภาษาซี
ความเป็นมาของภาษาซี
นู๋ผึ้ง สุภัสสรา นวลสม
 
Pawina5 4 20
Pawina5 4 20Pawina5 4 20
Pawina5 4 20
KANLAYAONJU
 
ภาษาคอมพิวเตอร์
ภาษาคอมพิวเตอร์ภาษาคอมพิวเตอร์
ภาษาคอมพิวเตอร์
Tanadon Boonjumnong
 
ประวัติภาษาซี
ประวัติภาษาซีประวัติภาษาซี
ประวัติภาษาซี
Chatman's Silver Rose
 

Similar to ใบความรู้ที่1 (18)

ใบความรู้ที่ 2 กำเนิดภาษาซี
ใบความรู้ที่ 2 กำเนิดภาษาซีใบความรู้ที่ 2 กำเนิดภาษาซี
ใบความรู้ที่ 2 กำเนิดภาษาซี
 
น.ส. มณีรัตน์ อาจแก้ว
น.ส. มณีรัตน์  อาจแก้วน.ส. มณีรัตน์  อาจแก้ว
น.ส. มณีรัตน์ อาจแก้ว
 
ภาษาC
ภาษาCภาษาC
ภาษาC
 
ประวัติ ภาษาซี 2
ประวัติ ภาษาซี 2ประวัติ ภาษาซี 2
ประวัติ ภาษาซี 2
 
ประวัติ ภาษาซี
ประวัติ ภาษาซีประวัติ ภาษาซี
ประวัติ ภาษาซี
 
ประวัติภาษา C
ประวัติภาษา Cประวัติภาษา C
ประวัติภาษา C
 
C
CC
C
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
พัชราภรณ์ แสงขาว เลขที่ 18
พัชราภรณ์ แสงขาว เลขที่ 18พัชราภรณ์ แสงขาว เลขที่ 18
พัชราภรณ์ แสงขาว เลขที่ 18
 
ภาษา C
ภาษา Cภาษา C
ภาษา C
 
นันทวัน สิงหาคุณ
นันทวัน สิงหาคุณนันทวัน สิงหาคุณ
นันทวัน สิงหาคุณ
 
ความเป็นมาของภาษาซี
ความเป็นมาของภาษาซีความเป็นมาของภาษาซี
ความเป็นมาของภาษาซี
 
Microsoft word document
Microsoft word documentMicrosoft word document
Microsoft word document
 
Pawina5 4 20
Pawina5 4 20Pawina5 4 20
Pawina5 4 20
 
ภาษาคอมพิวเตอร์
ภาษาคอมพิวเตอร์ภาษาคอมพิวเตอร์
ภาษาคอมพิวเตอร์
 
ประวัติภาษาซี
ประวัติภาษาซีประวัติภาษาซี
ประวัติภาษาซี
 
Pbl1
Pbl1Pbl1
Pbl1
 
P bl1
P bl1P bl1
P bl1
 

More from Bipor Srila

ใบงานที่ 3
ใบงานที่ 3ใบงานที่ 3
ใบงานที่ 3
Bipor Srila
 
โครงสร้างโปรแกรมภาษาซี
โครงสร้างโปรแกรมภาษาซีโครงสร้างโปรแกรมภาษาซี
โครงสร้างโปรแกรมภาษาซี
Bipor Srila
 
โครงสร้างโปรแกรมภาษาซี
โครงสร้างโปรแกรมภาษาซีโครงสร้างโปรแกรมภาษาซี
โครงสร้างโปรแกรมภาษาซี
Bipor Srila
 
ใบงานที่ 1
ใบงานที่ 1ใบงานที่ 1
ใบงานที่ 1
Bipor Srila
 
การนำเสนอผลงาน
การนำเสนอผลงานการนำเสนอผลงาน
การนำเสนอผลงาน
Bipor Srila
 
การนำเสนอผลงาน
การนำเสนอผลงานการนำเสนอผลงาน
การนำเสนอผลงาน
Bipor Srila
 

More from Bipor Srila (6)

ใบงานที่ 3
ใบงานที่ 3ใบงานที่ 3
ใบงานที่ 3
 
โครงสร้างโปรแกรมภาษาซี
โครงสร้างโปรแกรมภาษาซีโครงสร้างโปรแกรมภาษาซี
โครงสร้างโปรแกรมภาษาซี
 
โครงสร้างโปรแกรมภาษาซี
โครงสร้างโปรแกรมภาษาซีโครงสร้างโปรแกรมภาษาซี
โครงสร้างโปรแกรมภาษาซี
 
ใบงานที่ 1
ใบงานที่ 1ใบงานที่ 1
ใบงานที่ 1
 
การนำเสนอผลงาน
การนำเสนอผลงานการนำเสนอผลงาน
การนำเสนอผลงาน
 
การนำเสนอผลงาน
การนำเสนอผลงานการนำเสนอผลงาน
การนำเสนอผลงาน
 

Recently uploaded

แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdfแนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdfรายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
NitayataNuansri
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
Prachyanun Nilsook
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 

Recently uploaded (9)

แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdfแนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
 
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdfรายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
 
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
 

ใบความรู้ที่1

  • 1. ใบความรู้ที่ 1 เรื่อง ประวัติและขั้นตอนการทาโปรแกรมด้วยภาษาซี ประวัติความเป็นมาภาษาซี ภาษาซีเกิดขึ้นในปี ค.ศ. 1972 ผู้คิดค้นคือ Dennis Rittchie โดยพัฒนามาจากภาษาB และ ภาษา BCPL แต่ยังไม่มีการใช้งานอย่างกว้างขวางนัก ในปี ค.ศ. 1978 Brain Kernighan ได้ร่วมกับ Dennis Ritchie มาพัฒนามาตรฐานของภาษาซี เรียกว่า K&R ทาให้มีผู้สนใจเกี่ยวกับภาษาซีมากขึ้น จึงเกิดภาษาซีอีกหลายรูปแบบเพราะยังไม่มีการกาหนดรูปแบบภาษาซีที่เป็นมาตรฐาน และในปี 1988 Ritchie จึงได้กาหนดมาตรฐานของภาษาซีเรียกว่าANSI C เพื่อใช้เป็นตัวกาหนดมาตรฐานในการสร้างภาษาซีรุ่นต่อไปภาษาซี เป็นภาษาระดับกลางเหมาะสมสาหรับการเขียนโปรแกรมแบบโครงสร้าง เป็นภาษาที่มีความยืดหยุ่นมากคือใช้งานได้กับเครื่องต่างๆ ได้และปัจจุบันภาษาซีเป็นภาษาพื้นฐานของภาษาโปรแกรมรุ่นใหม่ๆ เช่น C++ ขั้นตอนการทาโปรแกรมด้วยภาษาซี ขั้นตอนที่1 เขียนโปรแกรม (source code) ใช้editor เขียนโปรแกรมภาษาซีและทาการบันทึกไฟล์ให้มีนามสกุลเป็น .c เช่น work.c เป็นต้น editor คือ โปรแกรมที่ใช้สาหรับการเขียนโปรแกรม โดยตัวอย่างของ editor ที่นิยมนามาใช้ในการเขียนโ ปรแกรมได้แก่ Notepad,Edit ของ Dos ,TextPad และ EditPlus เป็นต้น ผู้เขียนโปรแกรมสามารถเลือกใช้โปรแกรมใดในการเรียนโปรแกรมก็ได้ แล้วแต่ความถนัดของแต่ละบุคคล ขั้นตอนที่ 2 คอมไพล์โปรแกรม (compile) นา source code จากขั้นตอนที่ 1 มาทาการคอมไพล์ เพื่อแปลจากภาษาซีที่มนุษย์เข้าใจไปเป็นภาษาเครื่องที่คอมพิวเตอ ร์เข้าใจได้ ในขั้นตอนนี้คอมไพเลอร์จะทาการตรวจสอบ source code ว่าเกิดข้อผิดพลาดหรือไม่ · หากเกิดข้อผิดพลาด จะแจ้งให้ผู้เขียนโปรแกรมทราบ ผู้เขียนโปรแกรมจะต้องกลับไปแก้ไขโปรแกรม และทาการคอมไพล์โปร แกรมใหม่อีกครั้ง
  • 2. · หากไม่พบข้อผิดพลาด คอมไพเลอร์จะแปลไฟล์ source code จากภาษาซีไปเป็นภาษาเครื่อง(ไฟล์นามสกุล .obj) เช่นถ้าไฟล์ source code ชื่อ work.c ก็จะถูกแปลไปเป็นไฟล์ work.obj ซึ่งเก็บภาษาเครื่องไว้เป็นต้น compile เป็นตัวแปลภาษารูปแบบหนึ่ง มีหน้าที่หลักคือการแปลภาษาโปรแกรมที่มนุษย์เขียนขึ้นไ ปเป็นภาษาเครื่อง โดยคอมไพเลอร์ของภาษาซี คือ C Compiler ซึ่งหลักการที่คอมไพเลอร์ใช้ เรียกว่า คอมไพล์(compile) โดยจะทาการอ่านโปรแกรมภาษาซีทั้ง หมดตั้งแต่ต้นจนจบ แล้วทาการแปลผลทีเดียว นอกจากคอมไพเลอร์แล้ว ยังมีตัวแปลภาษาอีกรูปแบบหนึ่งที่เรียกว่า อินเตอร์พรีเตอร์ การอ่านและ แปลโปรแกรมทีละบรรทัด เมื่อแปลผลบรรทัดหนึ่งเสร็จก็จะทางานตามคาสั่งในบรรทัดนั้น แล้วจึงทาการ แปลผลตามคาสั่งในบรรทัดถัดไป หลักการที่อินเตอร์พรีเตอร์ใช้เรียกว่า อินเตอร์เพรต (interpret) ข้อดีและข้อเสียของตัวแปลภาษาทั้งสองแบบมีดังนี้ ข้อดี ข้อเสีย คอมไพเ ลอร์ · ทางานได้เร็ว เนื่องจากทาการแปลผลทีเดียว แล้วจึงทางานตามคาสั่งของโปรแกรมในภายหลัง · เมื่อทาการแปลผลแล้ว ในครั้งต่อไปไม่จาเป็น ต้องทาการแปลผลใหม่อีก เนื่องจากภาษาเครื่องที่แปลได้จะถูกเก็บไว้ที่หน่วยค วามจา สามารถเรียกใช้งานได้ทันที · เมื่อเกิดข้อผิดพลาดขึ้นกับโปรแกรม จะตรวจสอบหาข้อผิดพลาดได้ยาก เพราะทาการแปลผลทีเดียวทั้งโปรแกรม อินเตอร์ พรีเตอร์ · หาข้อผิดพลาดของโปรแกรมได้ง่าย เนื่องจากทาการแปลผลทีละบรรทัด · เนื่องจากทางานทีละบรรทัดดังนั้นจึงสั่งให้โปร แกรมทางานตามคาสั่งเฉพาะจุดที่ต้องการได้ · ไม่เสียเวลารอการแปลโปรแกรมเป็นเวลานาน · ช้าเนื่องจากที่ทางานทีละบรรทัด ขั้นตอนที่ 3 เชื่อมโยงโปรแกรม (link)
  • 3. การเขียนโปรแกรมภาษาซีนั้นผู้เขียนโปรแกรมไม่จาเป็นต้องเขียนคาสั่งต่าง ๆ ขึ้นใช้งานเอง เนื่องจากภาษาซีมีฟังก์ชั้นมาตรฐานให้ผู้เขียนโปรแกรมสามารถเรียกใช้งานได้ เช่น การเขียนโปรแกรมแสดงข้อความ “Lumpangkanyanee” ออกทางหน้าจอ ผู้เขียนโปรแกรมสามารถเรีย กใช้ฟังก์ชั่น printf() ซึ่งเป็นฟังก์ชั่น มาตรฐานของภาษาซีมาใช้งานได้ โดยส่วนการประกาศ (declarat ion) ของฟังก์ชั่นมาตรฐานต่าง ๆ จะถูกจัดเก็บอยู่ในเฮดเดอร์ไฟล์แต่ละตัว แตกต่างกันไปตามลักษณะการใช้งาน ด้วยเหตุนี้ภาษาเครื่องที่ได้จากขั้นตอนที่ 2 จึงยังไม่สามารถนาไปใช้งานได้ แต่ต้องนามาเชื่อมโยงเข้ากับ library ก่อน ซึ่งผลจากการเชื่อมโยงจะทาให้ได้ executable program (ไฟล์นามสกุล.exe เช่น work.exe) ที่สามารถนาไปใช้งานได้ ขั้นตอนที่ 4ประมวลผล (run) เมื่อนา executable program จากขั้นตอนที่ 3 มาประมวลผลก็จะได้ผลลัพธ์ (output) ของโปรแกรมออกมา (ถ้ามี) รูปที่ 1 ขั้นตอนการทาโปรแกรมด้วยภาษาซี