SlideShare a Scribd company logo
Bacteria
Gram- positive Bacilli
Gram positive bacteria
Gram positive bacteria หรือแบคทีเรียแกรมบวก คือ
แบคทีเรีย (bacteria) ที่ย ้อมแกรม (gramstaining) ติด
สีม่วง ไม่ติดสีแดงของ safranin ส่วนแบคทีเรียแกรมลบ
(Gram negative bacteria) จะย ้อมติดสีแดงของ
safranin
ลักษณะทั่วไปของ แกรมบวก Bacilli
Bacillus คือ แบคทีเรีย (bacteria) รูปร่างเป็นท่อน (rod shape) ย ้อม
ติดสีแกรมบวก (Gram positive bacteria) อยู่ในวงศ์ Bacillaceae ซึ่งอยู่ในวงศ์
เดียวกับClostridium และDesulfotomaculum
Bacillus เคลื่อนที่ด ้วยแฟลกเจลล่า (flaggella) ต ้องการออกซิเจนใน
การเจริญเ ติบโต(aerobic bacteria) แต่บางชนิดเป็น facultative anaerobe
Bacilli เป็นแบคทีเรียที่ทนต่อความร ้อน (thermoduric bacteria) ที่
สร ้างเอนโดสปอร์ (spore forming bacteria) สปอร์แบคทีเรีย (bacterial spore)
ของ Bacillus จะทนต่อความร ้อน ทนต่อความแห ้งแล ้ง สารเคมี และสภาวะ
แวดล ้อมที่ไม่เหมาะสมต่างๆ ได ้ดี
Bacillus เป็น protiolytic bacteria มีเอนไซม์ที่สามารถย่อยโปรตีนใน
อาหารให ้เป็นกรดแอมิโน เป็นจุลินทรีย์สาเหตุสาคัญที่ทาให ้อาหารเสื่อมเสีย
(microbial spoilage) และทาให ้อาหารที่เน่าเสียเกิดกลิ่นเหม็น
ปัจจัยที่มีผลทำให้เกิดแกรมบวก Bacilli
แบคทีเรียในกลุ่ม Bacillus ส่วนใหญ่เจริญได ้ดีที่อุณภูมิปานกลาง
(mesophilic bacteria) อุณหภูมิที่เจริญได ้ดีอยู่ระหว่าง 30-45 องศา
เซลเซียส แต่บางสายพันธุ์เจริญได ้ดีที่อุณหภูมิสูง (thermophilic bacteria) ซึ่ง
เป็นสาเหตุการเสื่อมเสียของอาหารกระป๋ อง (canned food spoilage) และยังพบ
บางสายพันธุ์เจริญได ้ดีที่อุณหภูมิต่า (psychrophilic bacteria) เจริญได ้ในค่า
pH ช่วงกว ้าง ตั้งแต่ 2 ถึง 11 ขึ้นอยู่กับสายพันธุ์ จากผลการทดลองใน
ห ้องปฏิบัติการพบว่าในสภาวะที่เหมาะสมกับการเจริญ Bacillus หลายสายพันธุ์ มี
ระยะเวลาการแบ่งตัว (generation time) ประมาณ 25 นาที
Bacillus cereus
Bacillus cereus คือแบคที่เรีย (bacteria) ในกลุ่ม Bacillus ซึ่งเป็นชนิด
ที่ทาให ้เกิดโรค (pathogen) ย ้อมติดสีแกรมบวก (Gram positive bacteria)
รูปร่างเป็นท่อน (rod shape) สร ้างสปอร์ (spore forming bacteria) เจริญได ้ในที่
มีอากาศ (aerobic bacteria) สามารถสร ้างสารพิษ (toxin) ที่ทนต่อความร ้อนได ้
เจริญได ้ดีที่อุณหภูมิปานกลาง ในร่างกายมนุษย์และสัตว์เลือดอุ่น อุณหภูมิที่
เหมาะสมคือ 28-37 องศาเซียลเซียส ไม่เจริญที่อุณหภูมิต่ากว่า4 องศาเซียส
เซียส และสูงกว่า 55 องศาเซลเซียส
แหล่งที่พบ
พบทั่วไปในธรรมชาติในดิน น้าเชื้อสร ้างสปอร์ซึ่งทนความแห ้งแล ้งได ้ดี
สปอร์จึงพบได ้ทั่วไปในฝุ่ น ควัน และ ปะปนมากับอาหารแห ้ง เช่น น้าตาล วัตถุเจือ
ปนอาหาร เครื่องเทศ และพบบ่อยในอาหารกลุ่ม แป้ง เมล็ดธัญชาติ (cereal
grain) เช่น ข ้าวหุงสุก เส ้นก๋วยเตี๋ยว พาสต ้า อาหารกึ่งสาเร็จรูป เช่น ข ้าวกึ่ง
สาเร็จรูป
โรคและอำกำรของโรค
โรคอาหารเป็นพิษ (food poisoning) ทาให ้เกิดอาการ 2 ลักษณะ
1.อำกำรอำเจียน (Emetic syndrome) เกิดจากที่ร่างกายได ้รับสารพิษ
(intoxication) ที่แบคทีเรียสร ้างขึ้นในอาหารก่อนที่จะบริโภคเข ้าไป สารพิษนี้ทนต่อ
อุณหภูมิสูงและ ทนต่อความเป็นกรดในกระเพาะอาหารได ้ดี ผู้ป่ วยจะเกิดอาการ
คลื่นไส ้และอาเจียน ภายหลังจากการบริโภคอาหารที่มีสารพิษเข ้าไปประมาณ 5
ชั่วโมง โดยทั่วไปอาการเป็นอยู่ไม่เกิน 24 ชั่วโมง โรคอาหารเป็นพิษลักษณะนี้ มัก
เรียกว่า Chinese restaurant syndrome เนื่องจากมักพบในผู้ป่ วยรับประทานอาหาร
จีน ซึ่งมักเป็นข ้าวผัด ที่ทาจากข ้าวสุกที่หุงค ้างไว ้นาน ทาให ้แบคทีเรียเจริญเติบโต
และสารพิษทนต่อความร ้อน ก่อนนามาปรุงหรือทาให ้ร ้อนใหม่
2.อำกำรถ่ำยเหลว (Diarrhea syndrome) เกิดจากการบริโภคอาหารที่มีเซลล์ของ
แบคทีเรีย และเพิ่มจานวนในลาไส ้ของมนุษย์ ใช ้เวลาฟักตัวประมาณ 8-16 ชั่วโมง มี
สารพิษเอนเทอโรทอกซิน (enterotoxin) ที่ไม่ทนต่อความร ้อน ทาให ้เกิดอาการการ
ปวดท ้อง เป็นตะคริวที่ท ้อง และถ่ายอุจจาระเหลวโดยทั่วไปอาการเป็นอยู่ไม่เกิน 14
ชั่วโมง ปริมาณเชื้อที่ทาให ้เกิดโรค (infective dose) 100-100,000 เซลล์ต่อกรัม
Bacillus cereus
สภำพแวดล้อมที่มีผลกับกำรเจริญอำกำศ
เป็นแบคทีเรียที่ต ้องการอากาศ (aerobic bacteria) เจริญได ้ดีในสภาพที่มีออกซิเจน
และจะสร ้างสารพิษ (toxin) เมื่ออยู่ภายใต ้สภาพที่มีออกซิเจนน้อย
อุณหภูมิ
ช่วงอุณหภูมิในการเจริญอยู่ระหว่าง 30-37 องศาเซลเซียส อุณหภูมิสูงสุดที่พบการ
เจริญคือ 55 องศาเซลเซียส และอุณหภูมิต่าสุดที่เจริญได ้คือ 4 องศาเซลเซียส
ค่า pH ที่เหมาะสมต่อการเจริญของเชื้อชนิดนี้อยู่ระหว่าง 6-7 วอเตอร์แอคทิวิตี วอ
เตอร์แอคทิวิตีต่าสุด (ด ้วยเกลือแกง) ที่เชื้อนี้เจริญได ้คือ 0.92
อำหำรที่เกี่ยวข้อง
-อาหารประเภทธัญชาติ (cereal) หรืออาหารที่มีสตาร์ซ เป็นส่วนประกอบ ได ้แก่ ข ้าว
ข ้าวโพด แป้ง ก๋วยเตี๋ยว ขนมจีน บะหมี่ พาสต ้า มักโรนี ข ้าวผัด ขนมข ้าวกรอบ ขนม
ข ้าวกล ้อง
-เนยแข็ง (cheese)
-ผักสลัด
-อาหารที่มีเนื้อสัตว์ เป็นส่วนประกอบ ซอส ซุป
-อาหารแห ้ง เครื่องเทศ (spice)
-การบริการอาหาร (food service) ที่ต ้องเตรียมอาหารจานวนมาก ล่วงหน้าเป็น
เวลานาน เช่น โรงเรียน ร ้านอาหาร ภัตตาคาร
Bacillus cereus
การป้องกัน
- หุงต ้ม ผัด อาหาร ให ้ร ้อนจัด อุ่นให ้เดือด และเก็บอาหารที่ทาให ้สุกแล ้วที่
อุณหภูมิต่า หลีกเลี่ยงการเก็บอาหารช่วงอุณหภูมิที่เป็นอันตราย คือ 4-55 องศา
เซลเซียส
- ควบคุมให ้พนักงาน หรือบุคคล ที่สัมผัสกับอาหาร มีสุขอนามัยที่ดี (personal
hygiene)
- ป้องกันการเกิดปนเปื้อนข ้าม (cross contamination) โดยเฉพาะอาหารที่ปรุง
สุก อาหารพร ้อมรับประทาน กับอาหารดิบ
- ผลิตอาหารให ้ถูกสุขลักษณะ ตามหลัก GMP (Good Manufacturing
Practice)
Bacillus cereus
Clostridium
Clostridium เป็น แบคทีเรียแกรมบวก ซึ่ง
รวมถึง เชื้อโรคที่ สาคัญหลายอย่างของมนุษย์
รวมถึงสาเหตุที่ทาให ้เกิดอาการท ้องเสียและ
เป็นสาเหตุสาคัญของอาการท ้องร่วง
เป็นแบคทีเรียที่มีรูปร่างเป็นท่อน สร ้างสปอร์และเป็นแอนแอโรบ (Anaerobic
Sporeforming Rods) มีเมทาบอลิซึมแบบกระบวนการหมัก ซึ่งผลจากกระบวนการ
หมักได ้กรดอินทรีย์ พบได ้ในลาไส ้คนและสัตว์ ในดิน น้าเค็ม และน้าจืดที่ไม่มี
อากาศ มีเอนไซม์ย่อยโปรตีนและสร ้างกรดจากคาร์โบไฮเดรต ทาให ้เกิดอาหารเป็ น
พิษ เกิดการติดเชื้อที่บาดแผลเรียกแก๊สแกงกรีน (Gas Gangrene)
โรคที่เกิดจำกClostridium perfringens
โรคอาหารเป็นพิษ เกิดจากการบริโภคอาหารที่มีการปนเปื้อนของสารพิษที่เชื้อ
สร ้าง ทาให ้มี อาการคลื่นไส ้ปวดท ้อง ท ้องร่วง ไม่อาเจียน เกิดอาการใน 8 - 22
ชั่วโมง ระยะโรค 12 - 48 ชั่วโมง
1.Clostridium perfringens(คลอสตริเดียม เพอร์ฟริงเจนส์)
แหล่งที่มำของจุลินทรีย์ที่ปนเปื้อนในอำหำร
- อาหารเกิดการปนเปื้อนได ้ง่ายจากจุลินทรีย์ที่มีอยู่ในสิ่งแวดล ้อม ได ้แก่ ดิน
น้า อากาศ ฝุ่ นละออง เครื่องจักรและอุปกรณ์แปรรูปอาหาร จากตัววัตถุดิบ เช่น
พืช ผัก ผลไม ้สัตว์ บริเวณทางเดินอาหาร ขน หนังของสัตว์ และบุคคลที่สัมผัส
กับอาหาร
- การปนเปื้อนจากดิน ดินเป็นแหล่งผลิตวัตถุดิบ เช่น พืช ผัก ผลไม ้
สมุนไพร เครื่องเทศ ดินจะปนเปื้อนมากับวัตถุดิบได ้มากระหว่างการเก็บเกี่ยว
โดยเฉพาะพืชหัวซึ่งมีส่วนที่ใช ้ประโยชน์อยู่ใต ้ดิน เช่น กระชาย ขิง ดินยัง
ปนเปื้อนมากับสัตว์น้าที่โดยเฉพาะสัตว์น้าที่อาศัยตามโคลนเลน เช่น หอย
นอกจากนี้ดินยังปนเปื้อนมากับ สัตว์ที่เลี้ยงแบบปล่อยตามทุ่งหญ ้า เช่น วัว
ควาย และ แกะ
- ดินเป็นแหล่งของจุลินทรีย์หลายชนิด ปริมาณของจุลินทรีย์แตกต่างกัน
ขึ้นกับปัจจัยหลายอย่าง เช่น ความชื้นในดิน ความอุดมสมบูรณ์ของดิน ชนิดและ
ปริมาณของสารอาหาร ในดิน อุณหภูมิ
1.Clostridium perfringens(คลอสตริเดียม เพอร์ฟริงเจนส์)
เป็นแบคทีเรียชนิดแกรมบวก รูปร่างเป็นท่อน สร ้างสปอร์ซึ่งทนต่ออุณหภูมิ 100
องศาเซลเซียส ได ้นาน 5-10 ชั่วโมง เจริญเติบโตได ้ที่อุณหภูมิ 30-37 องศา
เซลเซียส ในสภาวะที่ไม่มีอากาศ พบทั่วไปในสิ่งแวดล ้อม เช่น ดิน น้า น้าทะเล
บ่อปลา อาหารสด เป็นแบคทีเรียที่มีบทบาทสาคัญในอุตสาหกรรมอาหารกระป๋ อง
อาหารกระป๋ องไม่ถูกสุขลักษณะนั้น ก็อาจได ้รับอันตรายได ้จากสภาพความเป็น
กรดที่ต่าในอาหารกระป๋ อง ซึ่งอาจก่อให ้เกิดโรคจาก botulinum ที่สามารถสร ้าง
สารพิษที่มีผลต่อระบบประสาท ระบบหายใจถึงขั้นเสียชีวิตได ้
โรคที่เกิดจำก Clostridium botulinum
โรคโบทูลิซึม (Botulism|Botulism) ทาให ้มองเห็นภาพซ ้อน คลื่นไส ้อาเจียน
หน้ามืด เป็นอัมพาต หายใจขัด และ เสียชีวิตเนื่องจากระบบหายใจล ้มเหลว ผู้
ได ้รับเชื้ออาการจะเกิดภายใน 12-36 ชั่วโมง หลังการบริโภคอาหาร และอาจ
เสียชีวิตภายใน 3-6 วันซึ่งโบทูลิสซึมเป็นโรคที่มีความรุนแรง แต่พบได ้ไม่บ่อย
เกิดจากทอกซินหรือสารพิษ ทอกซินนี้จะมีผลต่อระบบ ประสาท (neurotoxin)
ทาให ้เกิดโรคแบ่งออกเป็น 3 กลุ่ม ได ้แก่ โรคอาหารเป็นพิษโบทูลิสซึม
(foodborne botulism) โรคโบทูลิสซึมในลาไส ้(intestinal botulism) และโรค
โบทูลิสซึมที่บาดแผล (wound botulism)
2.Clostridium botulinum(คลอสตริเดียม โบตูลินัม)
กำรป้ องกันกำรสร้ำงพิษของเชื้อ
ทาได ้โดยการทาลายเซลล์และสปอร์ของเชื้อให ้หมด หรือยับยั้งสปอร์ไม่ให ้
งอกเป็นเซลล์ ทาให ้ไม่มีการเพิ่มจานวนของเซลล์ และไม่มีการสร ้างสารพิษ
ปนเปื้อนสู่อาหาร ซึ่งในขบวนการผลิตอาหารกระป๋ องสามารถป้องกันการสร ้าง
สารพิษ ได ้แก่ การให ้ความร ้อน การใช ้ความเป็นกรด การควบคุมค่าวอเตอร์แอ
คติวิตี้ การควบคุมโดยใช ้ความเย็น
เนื่องจากเชื้อแบคทีเรียชนิดนี้มักจะพบได ้ทั้งในน้าและในดิน ควรระวังในเรื่อง
ความสะอาด สาหรับอาหารที่มีการพบเชื้อแบคทีเรียชนิดนี้บ่อยครั้ง ก็คือ ใน
อาหารกระป๋ อง ดังนั้นในการรับประทานอาหารกระป๋ อง ควรนาอาหารกระป๋ อง
ออกจากกระป๋ อง ใส่ภาชนะอื่น ๆ และนามาปรุงเพื่อผ่านความร ้อนฆ่าเชื้อก่อน
รับประทาน ไม่ควรชิมอาการกระป๋ องหลังจากเปิดกระป๋ องทันที และควร
หลีกเลี่ยงการกินอาหารกระป๋ องที่เมื่อเปิดกระป๋ องแล ้วพบว่ามีฟองก๊าซ หรือมี
กลิ่นเหม็นแปลก ๆ
2.Clostridium botulinum(คลอสตริเดียม โบตูลินัม)
3.Clostridium difficile (คลอสตริเดียม ดิฟิซำยล์)
หรือเรียกกันว่า C. diff เป็นเชื้อแบคทีเรียที่ก่อให ้เกิดอาการท ้องเสียและ
ลาไส ้ใหญ่อักเสบที่ร ้ายแรงถึงขั้นชีวิต ด ้วยวิธีการปล่อยสารพิษ C. diff มักถูก
รวมเข ้าไปในกลุ่ม superbug เพราะดื้อต่อยาปฏิชีวนะหลายตัว ทาให ้ยากต่อ
การรักษา
กำรติดเชื้อ C. Diff
เชื้อ C. Diff จะพบในอุจจาระ และติดต่อได ้ง่ายผ่านอาหาร ผิวสัมผัส และ
สิ่งของที่ปนเปื้อน นอกจากนี้ แบคทีเรียชนิดนี้ยังผลิตสปอร์ที่ทนต่อความร ้อน
และกรด ทาให ้เชื้อสามารถคงอยู่ในสภาพแวดล ้อมได ้เป็นเวลานาน การ
บริโภคอาหารและเครื่องดื่มที่ปนเปื้อน หรือการนานิ้วมือที่ไม่ได ้ล ้างและเอา
เข ้าปากหลังไปสัมผัสพื้นผิวหรือสิ่งของที่ปนเปื้อน ซึ่งจะทาให ้C. diff ไม่ว่าจะ
เป็นตัวเชื้อหรือสปอร์เข ้าไปในร่างกาย ในบุคคลที่มีสุขภาพแข็งแรงนั้น เชื้อ C.
diff จะไม่ก่อให ้เกิดอาการใดๆ โดยตัวแบคทีเรียจะไปสร ้างโคโลนีอยู่ในลาไส ้
โดยไม่ทาให ้เกิดอาการ อย่างไรก็ตาม การใช ้ยาปฏิชีวนะในบางกรณี เช่น การ
รักษาโรคติดเชื้อเป็นเวลานาน จะสามารถทาลายเชื้อในภาวะปกติของลาไส ้
ทาให ้C. diff เจริญเติบโตมากเกินไป ก่อให ้เกิดการติดเชื้อตามมา
ยาปฏิชีวนะที่มีความเกี่ยวข ้องกับการเกิดการติดเชื้อ C. diff ได ้แก่
-Clindamycin
-Ampicillin
-Amoxicillin
-Cephalosporin
การติดเชื้ออาจทาให ้เกิดโรคแทรกซ ้อนที่รุนแรง ได ้แก่ โรคลาไส ้โป่ งพอง
(toxic megacolon ทาให ้ลาไส ้ใหญ่กว ้างขึ้น), โรคเยื่อบุช่องท ้องอักเสบ และ
ภาวะหายใจล ้มเหลวเฉียบพลัน
กำรรักษำ
การรักษาโรคติดเชื้อ C. diff จาเป็นต ้องเริ่มด ้วยการหยุดยาปฏิชีวนะทุกตัวที่ทา
ให ้เกิดการติดเชื้อ ในกรณีที่พบได ้ไม่มากนักสามารถปล่อยให ้จุลินทรีย์ในลาไส ้
รักษาตัวเอง และหยุดภาวะท ้องเสียที่ตามมา การรักษาอาจต ้องใช ้ยาปฏิชีวนะ
1 ใน 3 ตัวที่ยังคงใช ้กับแบคทีเรียชนิดนี้ได ้ได ้แก่ Metronidazole ที่สามารถ
ใช ้รักษาการติดเชื้อ C. diff ระดับต่าถึงปานกลาง ในขณะที่ vancomycin หรือ
fidaxomicin มักใช ้ในกรณีที่รุนแรงมากขึ้น การติดเชื้อซ้าของ C. diff จะเกิดใน
ประมาณ 20 เปอร์เซนต์ของผู้ที่รับการรักษาด ้วยยาปฏิชีวนะเหล่านี้
3.Clostridium difficile (คลอสตริเดียม ดิฟิซำยล์)
4. Clostridium tetani (คลอสตริเดียม เตตำนัส)
เป็นเชื้อแบคทีเรียรูปแท่งที่ปลายมีสปอร์ Spore (จุดที่พักตัวของแบคทีเรียเพื่อรอ
การเจริญเติบโตเมื่ออยู่ในสิ่งแวดล ้อมที่เหมาะสม) ทาให ้มีรูปร่างเหมือนไม ้เทนนิส
หรือไม ้ตีกลอง เชื้อโรคนี้พบได ้ทั่วทุกมุมโลก โดยเชื้ออาศัยอยู่ในดิน ปุ๋ ยคอก มูล
สัตว์ ฝุ่ น รวมทั้งผิวหนังและอุจจาระคน ตัวเชื้อบาดทะยักถูกทาลายได ้ง่ายด ้วยความ
ร ้อน แต่สปอร์ของเชื้อมีความทนทาน สามารถอยู่ในสิ่งแวดล ้อมที่เหมาะสมได ้นาน
หลายปี ทนต่อน้าเดือดได ้นานถึง 20 นาที และทนต่อสารเคมีและยาฆ่าเชื้อต่างๆ
กำรติดเชื้อ
-ผ่านทางแผลสด โดยส่วนใหญ่จะเป็นแผลขนาดเล็กๆแต่ลึก เช่น แผลจากตะปู หรือ
เศษไม ้ตา
แผลอื่นๆ เช่น แผลถูกสัตว์กัด แผลถลอก แผลฉีกขาด แผลถูกไฟไหม ้น้าร ้อนลวก
หรือแม ้แต่แผลผ่าตัดก็พบได ้ถ ้าระบบปลอดเชื้อของห ้องผ่าตัดไม่มาตรฐาน หรือการ
ดูแลแผลผ่าตัดที่ไม่สะอาด รวมทั้งแผลจากการถอนฟัน รักษารากฟัน ก็มีโอกาสติด
เชื้อนี้ได ้เช่นกัน
-ผ่านทางแผลเรื้อรัง เช่นแผลเบาหวาน และแผลเป็นฝี
-ผ่านทางการใช ้เข็มฉีดยาร่วมกัน พบในกลุ่มผู้ใช ้ยาเสพติด หรือการสักลาย
(Tattoo)
-ผ่านทางสายสะดือในเด็กแรกคลอด เกิดจากมารดาที่ไม่เคยฉีดวัคซีน
บาดทะยัก และการใช ้อุปกรณ์ที่ไม่สะอาดตัดสายสะดือเด็ก
-จากการเป็นโรคหูชั้นกลางอักเสบ
-มีบางกรณีที่ไม่พบสาเหตุว่า เชื้อเข ้าสู่ร่างกายผ่านทางไหน
กำรก่อโรคของเชื้อ
เมื่อเชื้อบาดทะยักเข ้าสู่ร่างกาย เชื้อจะอยู่บริเวณเนื้อเยื่อที่เชื้อโรคเข ้าไปก่อน
เมื่อมีสภาวะที่เหมาะสมคือไม่มีออกซิเจน สปอร์ของเชื้อโรคก็จะงอก และผลิต
สารพิษออกมา 2 ชนิด คือ ชนิดเตตาโนลัยซิน (Tetanolysin) ซึ่งยังไม่ทราบ
บทบาทที่ชัดเจนของสารพิษตัวนี้ และชนิดที่มีบทบาททาให ้เกิดโรคชื่อว่า เตตา
โนสะปาสมิน (Tetanospasmin) สารพิษชนิดนี้ถ ้าเทียบโดยน้าหนักแล ้ว ถือว่า
เป็นสารพิษที่มีพิษรุนแรงมาก เพราะปริมาณเพียงแค่ 2.5 นาโนกรัม (1 ล ้านนา
โนกรัมคือ 1 กรัม) ต่อน้าหนักคน 1 กิโลกรัม ก็สามารถทาให ้เกิดโรคได ้เมื่อเชื้อ
โรคผลิตสารพิษแล ้ว สารพิษก็จะเข ้าสู่กระแสเลือด กระจายเข ้าสู่เส ้นประสาท
ส่วนปลาย แล ้วเดินทางจากเส ้นประสาทส่วนปลายเข ้าสู่ไขสันหลัง และในที่สุดก็
เข ้าสู่สมอง ทาให ้เกิดอาการที่รุนแรงได ้
สารพิษ เตตาโนสะปาสมิน จะเข ้าขัดขวางการทางานของเซลล์ประสาทที่อยู่ใน
ไขสันหลังและสมอง ซึ่งทาหน้าที่ควบคุมการทางานของกล ้ามเนื้อ ทาให ้เซลล์
ประสาทสั่งการทางานมากเกินไป และสมองควบคุมไม่ได ้จึงทาให ้กล ้ามเนื้อมี
การแข็งเกร็งและหดตัวมากเกินไป
4. Clostridium tetani (คลอสตริเดียม เตตำนัส)
อำกำรของโรคบำดทะยัก
โรคบาดทะยักมีระยะฟักตัวคือ ตั้งแต่ได ้รับเชื้อโรคจนกระทั่งเกิดอาการ
ประมาณ 8 วัน(อยู่ในช่วง 3 - 21 วัน) ผู้ป่ วยที่ติดเชื้อบาดทะยัก จะมีอาการแบ่ง
ออกได ้เป็น 3 กลุ่ม คือ
-กลุ่มที่เกิดอาการทั่วร่างกาย
-กลุ่มที่เกิดอาการแบบเฉพาะที่
-กลุ่มที่เกิดอาการแบบเฉพาะที่ศีรษะ
กำรวินิจฉัยของแพทย์
-การตรวจหาสารพิษสตริกนีน (Strychnine) ผู้ป่ วยที่ได ้รับพิษ Strychnine ซึ่ง
อยู่ในยาฆ่าแมลง จะมีอาการหดตัวและแข็งเกร็งของกล ้ามเนื้อคล ้ายกับผู้ป่ วยที่
เป็นบาดทะยัก ถ ้าประวัติการได ้รับสารพิษของผู้ป่ วยไม่ชัดเจน ก็ต ้องเจาะตรวจหา
สารพิษชนิดนี้ด ้วย
-การตรวจเม็ดเลือดขาวจากเลือด (การตรวจซีบีซี) ส่วนใหญ่จะพบว่าอยู่ในเกณฑ์
ปกติ ไม่เหมือนโรคติดเชื้อแบคทีเรียอื่นๆที่มักมีปริมาณเม็ดเลือดขาวขึ้นสูง
-การตรวจน้าไขสันหลังจะพบว่าปกติ ซึ่งแตกต่างจากโรคติดเชื้ออื่นๆที่ทาให ้มีไข
สันหลังและสมองอักเสบ ที่ทาให ้มีอาการชักเกร็งคล ้ายคลึงกัน
อนึ่ง การเพาะเชื้อไม่ช่วยในการวินิจฉัย เพราะผิวหนังปกติของคนเราก็มีเชื้อ
บาดทะยักเจริญอยู่ได ้(ตราบใดที่เราไม่มีบาดแผล และได ้รับการฉีดวัคซีนครบ ก็
จะไม่เป็นบาดทะยัก
4. Clostridium tetani (คลอสตริเดียม เตตำนัส)
การรักษาโรคบาดทะยัก
1.การกาจัดเชื้อบาดทะยักที่ผลิตสารพิษ โดยการให ้ยาปฏิชีวนะเพื่อฆ่าเชื้อโรค
และสปอร์ของเชื้อที่กาลังงอก
2. การทาลายสารพิษที่เชื้อโรคผลิตแล ้ว ซึ่งจะช่วยลดอัตราการตายได ้มาก
โดยการให ้สารภูมิต ้านทานหรือแอนติบอดี (Antibody) ไปทาลายสารพิษ
3. การรักษาประคับประคองตามอาการ ได ้แก่ การให ้ยาเพื่อลดการหดตัวและ
แข็งเกร็งของกล ้ามเนื้อ
4. การให ้วัคซีน ผู้ป่ วยทุกรายที่หายจากโรคแล ้ว ต ้องให ้วัคซีนตามกาหนดทุก
ราย เนื่องจากการติดเชื้อบาดทะยักไม่สามารถกระตุ้นให ้ร่างกายสร ้างภูมิคุ้มกัน
ขึ้นมาได ้
ผลข ้างเคียงจากโรคบาดทะยัก
-ในช่วงที่กล ้ามเนื้อมีการหดตัวและแข็งเกร็งนั้น ผู้ป่ วยจะเจ็บปวดมาก ถ ้า
กล ้ามเนื้อหดตัวรุนแรงมาก อาจทาให ้กระดูกหักได ้ไม่ว่าจะเป็นกระดูกสันหลัง
หรือกระดูกแขนขา
-นอกจากกล ้ามเนื้อจะมีการหดตัวและแข็งเกร็งแล ้ว เส ้นเสียงหลอดลมก็อาจมี
การหดตัว ทาให ้ผู้ป่ วยหายใจไม่เข ้า ขาดอากาศเสียชีวิตได ้
-การเกิดระบบประสาทอัตโนมัติทางานผิดปกติขึ้นมา
-ภาวะแทรกซ ้อนอื่นๆ ได ้แก่ การเกิดลิ่มเลือดของหลอดเลือดในปอด และปอด
ติดเชื้อแทรกซ ้อน
4. Clostridium tetani (คลอสตริเดียม เตตำนัส)
Listeria monocytogenes
Listeria monocytogenes เป็นแบคทีเรียในสกุล Listeria มีรูปร่างลักษณะเป็น
ท่อน มีเส ้นผ่านศูนย์กลาง 0.5 ไมโครเมตร ยาว 0.5-2 ไมโครเมตร เป็นแบคทีเรีย
แกรมบวก (gram positive bacteria) ไม่สร ้างสปอร์ (non spore forming
bacteria) สร ้างแคปซูล เป็นแบคทีเรียที่สามารถเจริญเติบโตได ้ทั้งสภาวะที่มี
ออกซิเจนและไม่มีออกซิเจน (facultative anaerobe) เป็นจุลินทรีย์ก่อโรค
(pathogen) บทบาทสาคัญต่อความปลอดภัยทางอาหาร (food safety)
โรคที่เกิดจาก Listeria monocytogenes
เกิดโรคอาหารเป็นพิษ (food poisoning) ติดต่อผ่านทางอาหาร ทาให ้เกิดโรค
โรคลิสเทอริโอสิส โรค เยื่อหุ้มสมองอักเสบ (meningitis) การติดเชื้อในกระแส
เลือด (septicemia) และการแท ้ง (abortion) พบว่าอัตราป่ วยจนทาให ้เสียชีวิตสูง
ถึงร ้อยละ 20-30 พบวิธีระบาดของเชื้อนี้เกิดขึ้นได ้หลายทาง เช่น จากแม่สู่ลูก จาก
สัตว์สู่คน และจากโรงพยาบาล
แหล่งที่พบเชื้อ
สามารถพบได ้ในสิ่งแวดล ้อมทั่วไปได ้อย่างกว ้างขวาง เนื่องจาก Listeria สามารถ
ทนทานต่อสภาวะต่างๆ ในสิ่งแวดล ้อมได ้ดี เช่น ในสภาวะอาหารที่เป็นกรด (acid
food) ในอาหารที่มี water activity ต่าและในสภาวะอุณหภูมิที่ค่อนข ้างกว ้างตั้งแต่
ระดับอุณหภูมิในร่างกายจนกระทั่งอุณหภูมิในตู้เย็น (psychrotrophic)
ที่มา
• http://www.foodnetworksolution.com
• http://rldc.anamai.moph.go.th/index.php
• https://www.honestdocs.co/what-is-clostridium-difficile
• https://sites.google.com/site/foodmicrobyajpornpan/culinthriy-
thi-pen-prayochn-ni-xutsahkrrm-xahar/listeria-monocytogenes
• http://haamor.com/th/%E0%B9%81%E0%B8%9A%E0%B8%8
4%E0%B8%97%E0%B8%B5%E0%B9%80%E0%B8%A3%E0
%B8%B5%E0%B8%A2/
ผู้จัดทา
1.นายธีรชัย ห ้วยทราย เลขที่31
2.นางสาวนิชธาวัลย์ เอี่ยมระเบียบ เลขที่32
3.นางสาวนิตยา จันแดง เลขที่33
4. นายนิธิภาส พุทธจักร เลขที่34
5. นางสาวนุชจรี เกื้อมา เลขที่35
หลักสูตร ปวส.เวชระเบียน
เสนอ อ.ทนพ.อนนต์ ละอองนวล
รายวิชา จุลชีววิทยาและปรสิตวิทยา

More Related Content

What's hot

Cpg thalassemia 2014
Cpg thalassemia 2014Cpg thalassemia 2014
Cpg thalassemia 2014
Utai Sukviwatsirikul
 
แผ่นสไลด์ - ความหมายและความสำคัญของอาหารและโภชนาการ
แผ่นสไลด์ - ความหมายและความสำคัญของอาหารและโภชนาการแผ่นสไลด์ - ความหมายและความสำคัญของอาหารและโภชนาการ
แผ่นสไลด์ - ความหมายและความสำคัญของอาหารและโภชนาการ
Nattaka_Su
 
ไข้เลือดออก
ไข้เลือดออกไข้เลือดออก
ไข้เลือดออก
Prachaya Sriswang
 
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหา ของระบบทางเดินหายใจ
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหา ของระบบทางเดินหายใจการพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหา ของระบบทางเดินหายใจ
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหา ของระบบทางเดินหายใจtechno UCH
 
Bacterial Gram- positive Cocci
Bacterial Gram- positive CocciBacterial Gram- positive Cocci
Bacterial Gram- positive Cocci
Miw Wanwalee
 
Antibiotic_1
Antibiotic_1 Antibiotic_1
Antibiotic_1
Sirinoot Jantharangkul
 
การให้ Enteral nutrition
การให้ Enteral nutrition การให้ Enteral nutrition
การให้ Enteral nutrition techno UCH
 
แนวทางการป้องกันการแพร่กระจายเชื้อดื้อยา
 แนวทางการป้องกันการแพร่กระจายเชื้อดื้อยา แนวทางการป้องกันการแพร่กระจายเชื้อดื้อยา
แนวทางการป้องกันการแพร่กระจายเชื้อดื้อยา
Utai Sukviwatsirikul
 
โรคติดเชื้อทางเพศสัมพันธ์
โรคติดเชื้อทางเพศสัมพันธ์โรคติดเชื้อทางเพศสัมพันธ์
โรคติดเชื้อทางเพศสัมพันธ์
elearning obste
 
ความหลากหลายของปรสิต ก่อให้เกิดโรคในคน by Pitsanu Duangkartok
  ความหลากหลายของปรสิต ก่อให้เกิดโรคในคน by Pitsanu Duangkartok  ความหลากหลายของปรสิต ก่อให้เกิดโรคในคน by Pitsanu Duangkartok
ความหลากหลายของปรสิต ก่อให้เกิดโรคในคน by Pitsanu Duangkartok
pitsanu duangkartok
 
การพยาบาลDhf
การพยาบาลDhfการพยาบาลDhf
การพยาบาลDhfMaytinee Beudam
 
การอ่านค่า Ekg
การอ่านค่า Ekgการอ่านค่า Ekg
การอ่านค่า Ekgtechno UCH
 
Pathogenic Gram-Negative Cocci
Pathogenic Gram-Negative CocciPathogenic Gram-Negative Cocci
Pathogenic Gram-Negative Cocci
atirachonpanyayom
 
10 r กับการให้ยาอย่างปลอดภัย
10 r กับการให้ยาอย่างปลอดภัย10 r กับการให้ยาอย่างปลอดภัย
10 r กับการให้ยาอย่างปลอดภัย
Suradet Sriangkoon
 
Pharmacotherapy in patients with cirrhosis and complications
Pharmacotherapy in patients with cirrhosis and complicationsPharmacotherapy in patients with cirrhosis and complications
Pharmacotherapy in patients with cirrhosis and complications
Utai Sukviwatsirikul
 
เชื้อก่อโรคอื่นๆ
เชื้อก่อโรคอื่นๆเชื้อก่อโรคอื่นๆ
เชื้อก่อโรคอื่นๆ
Aidah Madeng
 
อาณาจักรมอเนอรา
อาณาจักรมอเนอราอาณาจักรมอเนอรา
อาณาจักรมอเนอรา
พัน พัน
 

What's hot (20)

4.2 การปฏิบัติงานของภาควิชาและฝ่ายต่างๆ ภาควิชาจุลชีววิทยา
4.2 การปฏิบัติงานของภาควิชาและฝ่ายต่างๆ ภาควิชาจุลชีววิทยา4.2 การปฏิบัติงานของภาควิชาและฝ่ายต่างๆ ภาควิชาจุลชีววิทยา
4.2 การปฏิบัติงานของภาควิชาและฝ่ายต่างๆ ภาควิชาจุลชีววิทยา
 
Cpg thalassemia 2014
Cpg thalassemia 2014Cpg thalassemia 2014
Cpg thalassemia 2014
 
แผ่นสไลด์ - ความหมายและความสำคัญของอาหารและโภชนาการ
แผ่นสไลด์ - ความหมายและความสำคัญของอาหารและโภชนาการแผ่นสไลด์ - ความหมายและความสำคัญของอาหารและโภชนาการ
แผ่นสไลด์ - ความหมายและความสำคัญของอาหารและโภชนาการ
 
ไข้เลือดออก
ไข้เลือดออกไข้เลือดออก
ไข้เลือดออก
 
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหา ของระบบทางเดินหายใจ
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหา ของระบบทางเดินหายใจการพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหา ของระบบทางเดินหายใจ
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหา ของระบบทางเดินหายใจ
 
Bacterial Gram- positive Cocci
Bacterial Gram- positive CocciBacterial Gram- positive Cocci
Bacterial Gram- positive Cocci
 
Antibiotic_1
Antibiotic_1 Antibiotic_1
Antibiotic_1
 
การให้ Enteral nutrition
การให้ Enteral nutrition การให้ Enteral nutrition
การให้ Enteral nutrition
 
ภาวะซีด
ภาวะซีดภาวะซีด
ภาวะซีด
 
แนวทางการป้องกันการแพร่กระจายเชื้อดื้อยา
 แนวทางการป้องกันการแพร่กระจายเชื้อดื้อยา แนวทางการป้องกันการแพร่กระจายเชื้อดื้อยา
แนวทางการป้องกันการแพร่กระจายเชื้อดื้อยา
 
โรคติดเชื้อทางเพศสัมพันธ์
โรคติดเชื้อทางเพศสัมพันธ์โรคติดเชื้อทางเพศสัมพันธ์
โรคติดเชื้อทางเพศสัมพันธ์
 
ความหลากหลายของปรสิต ก่อให้เกิดโรคในคน by Pitsanu Duangkartok
  ความหลากหลายของปรสิต ก่อให้เกิดโรคในคน by Pitsanu Duangkartok  ความหลากหลายของปรสิต ก่อให้เกิดโรคในคน by Pitsanu Duangkartok
ความหลากหลายของปรสิต ก่อให้เกิดโรคในคน by Pitsanu Duangkartok
 
Case study : dengue fever
Case study : dengue feverCase study : dengue fever
Case study : dengue fever
 
การพยาบาลDhf
การพยาบาลDhfการพยาบาลDhf
การพยาบาลDhf
 
การอ่านค่า Ekg
การอ่านค่า Ekgการอ่านค่า Ekg
การอ่านค่า Ekg
 
Pathogenic Gram-Negative Cocci
Pathogenic Gram-Negative CocciPathogenic Gram-Negative Cocci
Pathogenic Gram-Negative Cocci
 
10 r กับการให้ยาอย่างปลอดภัย
10 r กับการให้ยาอย่างปลอดภัย10 r กับการให้ยาอย่างปลอดภัย
10 r กับการให้ยาอย่างปลอดภัย
 
Pharmacotherapy in patients with cirrhosis and complications
Pharmacotherapy in patients with cirrhosis and complicationsPharmacotherapy in patients with cirrhosis and complications
Pharmacotherapy in patients with cirrhosis and complications
 
เชื้อก่อโรคอื่นๆ
เชื้อก่อโรคอื่นๆเชื้อก่อโรคอื่นๆ
เชื้อก่อโรคอื่นๆ
 
อาณาจักรมอเนอรา
อาณาจักรมอเนอราอาณาจักรมอเนอรา
อาณาจักรมอเนอรา
 

Similar to Bacteria gram positive bacilli

Gram positive bacterial
Gram   positive bacterialGram   positive bacterial
Gram positive bacterial
Ppm Ssw
 
Gram negative bacilli oxidase -
Gram negative bacilli  oxidase -Gram negative bacilli  oxidase -
Gram negative bacilli oxidase -
suchada pimchan
 
Paper การแยกแบคทีเรียแลคติกที่สามารถผลิตแบคทีริโอซินจากผัก ผลไม้ และธัญพืชหมัก
Paper การแยกแบคทีเรียแลคติกที่สามารถผลิตแบคทีริโอซินจากผัก ผลไม้ และธัญพืชหมักPaper การแยกแบคทีเรียแลคติกที่สามารถผลิตแบคทีริโอซินจากผัก ผลไม้ และธัญพืชหมัก
Paper การแยกแบคทีเรียแลคติกที่สามารถผลิตแบคทีริโอซินจากผัก ผลไม้ และธัญพืชหมักKanitha Panya
 
2. ความหลากหลายทางชีวภาพ
2. ความหลากหลายทางชีวภาพ2. ความหลากหลายทางชีวภาพ
2. ความหลากหลายทางชีวภาพSubaidah Yunuh
 
จุลินทรีย์ประจำกายมนุษย์
จุลินทรีย์ประจำกายมนุษย์จุลินทรีย์ประจำกายมนุษย์
จุลินทรีย์ประจำกายมนุษย์
น้ำผึ้ง เเก้วเพ็ง
 
เทคโนโลยีชีวภาพที่ใช้ในการขยายพันธุ์พืช
เทคโนโลยีชีวภาพที่ใช้ในการขยายพันธุ์พืชเทคโนโลยีชีวภาพที่ใช้ในการขยายพันธุ์พืช
เทคโนโลยีชีวภาพที่ใช้ในการขยายพันธุ์พืชdnavaroj
 
การเจริญเติบโตของพืช
การเจริญเติบโตของพืชการเจริญเติบโตของพืช
การเจริญเติบโตของพืชkookoon11
 
Pathogenic Gram-Negative Bacilli (Oxidase -)
Pathogenic  Gram-Negative  Bacilli(Oxidase -)Pathogenic  Gram-Negative  Bacilli(Oxidase -)
Pathogenic Gram-Negative Bacilli (Oxidase -)
atirachonpanyayom
 
บทที่ 1ปรับปรุง
บทที่ 1ปรับปรุงบทที่ 1ปรับปรุง
บทที่ 1ปรับปรุงkasetpcc
 
ไล่ยุง
ไล่ยุงไล่ยุง
ไล่ยุงStamp Tamp
 
อาณาจักรมอเนอรา โปรติสตา ฟังไจ
อาณาจักรมอเนอรา โปรติสตา ฟังไจอาณาจักรมอเนอรา โปรติสตา ฟังไจ
อาณาจักรมอเนอรา โปรติสตา ฟังไจkrunidhswk
 
จีเอ็มโอ
จีเอ็มโอจีเอ็มโอ
จีเอ็มโอheronana
 
Salmonella
SalmonellaSalmonella
Salmonella
Vaz Chizky
 
บทที่ 4
บทที่ 4บทที่ 4
บทที่ 4
pop Jaturong
 
อาณาจักรสิ่งมีชีวิต
อาณาจักรสิ่งมีชีวิต อาณาจักรสิ่งมีชีวิต
อาณาจักรสิ่งมีชีวิต
กมลรัตน์ ฉิมพาลี
 
โรคแผลในกระเพราะอาหารที่เกิดจากบุหรี่
โรคแผลในกระเพราะอาหารที่เกิดจากบุหรี่โรคแผลในกระเพราะอาหารที่เกิดจากบุหรี่
โรคแผลในกระเพราะอาหารที่เกิดจากบุหรี่Wan Ngamwongwan
 
บทที่ 2ปรับปรุง
บทที่ 2ปรับปรุงบทที่ 2ปรับปรุง
บทที่ 2ปรับปรุงkasetpcc
 

Similar to Bacteria gram positive bacilli (20)

Gram positive bacterial
Gram   positive bacterialGram   positive bacterial
Gram positive bacterial
 
Gram negative bacilli oxidase -
Gram negative bacilli  oxidase -Gram negative bacilli  oxidase -
Gram negative bacilli oxidase -
 
Paper การแยกแบคทีเรียแลคติกที่สามารถผลิตแบคทีริโอซินจากผัก ผลไม้ และธัญพืชหมัก
Paper การแยกแบคทีเรียแลคติกที่สามารถผลิตแบคทีริโอซินจากผัก ผลไม้ และธัญพืชหมักPaper การแยกแบคทีเรียแลคติกที่สามารถผลิตแบคทีริโอซินจากผัก ผลไม้ และธัญพืชหมัก
Paper การแยกแบคทีเรียแลคติกที่สามารถผลิตแบคทีริโอซินจากผัก ผลไม้ และธัญพืชหมัก
 
Flora improvement
Flora improvementFlora improvement
Flora improvement
 
2. ความหลากหลายทางชีวภาพ
2. ความหลากหลายทางชีวภาพ2. ความหลากหลายทางชีวภาพ
2. ความหลากหลายทางชีวภาพ
 
จุลินทรีย์ประจำกายมนุษย์
จุลินทรีย์ประจำกายมนุษย์จุลินทรีย์ประจำกายมนุษย์
จุลินทรีย์ประจำกายมนุษย์
 
เทคโนโลยีชีวภาพที่ใช้ในการขยายพันธุ์พืช
เทคโนโลยีชีวภาพที่ใช้ในการขยายพันธุ์พืชเทคโนโลยีชีวภาพที่ใช้ในการขยายพันธุ์พืช
เทคโนโลยีชีวภาพที่ใช้ในการขยายพันธุ์พืช
 
การเจริญเติบโตของพืช
การเจริญเติบโตของพืชการเจริญเติบโตของพืช
การเจริญเติบโตของพืช
 
Pathogenic Gram-Negative Bacilli (Oxidase -)
Pathogenic  Gram-Negative  Bacilli(Oxidase -)Pathogenic  Gram-Negative  Bacilli(Oxidase -)
Pathogenic Gram-Negative Bacilli (Oxidase -)
 
บทที่ 1ปรับปรุง
บทที่ 1ปรับปรุงบทที่ 1ปรับปรุง
บทที่ 1ปรับปรุง
 
bacillus63 (ข้อมูล)
bacillus63 (ข้อมูล)bacillus63 (ข้อมูล)
bacillus63 (ข้อมูล)
 
ม.6biodiver
ม.6biodiverม.6biodiver
ม.6biodiver
 
ไล่ยุง
ไล่ยุงไล่ยุง
ไล่ยุง
 
อาณาจักรมอเนอรา โปรติสตา ฟังไจ
อาณาจักรมอเนอรา โปรติสตา ฟังไจอาณาจักรมอเนอรา โปรติสตา ฟังไจ
อาณาจักรมอเนอรา โปรติสตา ฟังไจ
 
จีเอ็มโอ
จีเอ็มโอจีเอ็มโอ
จีเอ็มโอ
 
Salmonella
SalmonellaSalmonella
Salmonella
 
บทที่ 4
บทที่ 4บทที่ 4
บทที่ 4
 
อาณาจักรสิ่งมีชีวิต
อาณาจักรสิ่งมีชีวิต อาณาจักรสิ่งมีชีวิต
อาณาจักรสิ่งมีชีวิต
 
โรคแผลในกระเพราะอาหารที่เกิดจากบุหรี่
โรคแผลในกระเพราะอาหารที่เกิดจากบุหรี่โรคแผลในกระเพราะอาหารที่เกิดจากบุหรี่
โรคแผลในกระเพราะอาหารที่เกิดจากบุหรี่
 
บทที่ 2ปรับปรุง
บทที่ 2ปรับปรุงบทที่ 2ปรับปรุง
บทที่ 2ปรับปรุง
 

Bacteria gram positive bacilli

  • 2. Gram positive bacteria Gram positive bacteria หรือแบคทีเรียแกรมบวก คือ แบคทีเรีย (bacteria) ที่ย ้อมแกรม (gramstaining) ติด สีม่วง ไม่ติดสีแดงของ safranin ส่วนแบคทีเรียแกรมลบ (Gram negative bacteria) จะย ้อมติดสีแดงของ safranin
  • 3. ลักษณะทั่วไปของ แกรมบวก Bacilli Bacillus คือ แบคทีเรีย (bacteria) รูปร่างเป็นท่อน (rod shape) ย ้อม ติดสีแกรมบวก (Gram positive bacteria) อยู่ในวงศ์ Bacillaceae ซึ่งอยู่ในวงศ์ เดียวกับClostridium และDesulfotomaculum Bacillus เคลื่อนที่ด ้วยแฟลกเจลล่า (flaggella) ต ้องการออกซิเจนใน การเจริญเ ติบโต(aerobic bacteria) แต่บางชนิดเป็น facultative anaerobe Bacilli เป็นแบคทีเรียที่ทนต่อความร ้อน (thermoduric bacteria) ที่ สร ้างเอนโดสปอร์ (spore forming bacteria) สปอร์แบคทีเรีย (bacterial spore) ของ Bacillus จะทนต่อความร ้อน ทนต่อความแห ้งแล ้ง สารเคมี และสภาวะ แวดล ้อมที่ไม่เหมาะสมต่างๆ ได ้ดี Bacillus เป็น protiolytic bacteria มีเอนไซม์ที่สามารถย่อยโปรตีนใน อาหารให ้เป็นกรดแอมิโน เป็นจุลินทรีย์สาเหตุสาคัญที่ทาให ้อาหารเสื่อมเสีย (microbial spoilage) และทาให ้อาหารที่เน่าเสียเกิดกลิ่นเหม็น
  • 4. ปัจจัยที่มีผลทำให้เกิดแกรมบวก Bacilli แบคทีเรียในกลุ่ม Bacillus ส่วนใหญ่เจริญได ้ดีที่อุณภูมิปานกลาง (mesophilic bacteria) อุณหภูมิที่เจริญได ้ดีอยู่ระหว่าง 30-45 องศา เซลเซียส แต่บางสายพันธุ์เจริญได ้ดีที่อุณหภูมิสูง (thermophilic bacteria) ซึ่ง เป็นสาเหตุการเสื่อมเสียของอาหารกระป๋ อง (canned food spoilage) และยังพบ บางสายพันธุ์เจริญได ้ดีที่อุณหภูมิต่า (psychrophilic bacteria) เจริญได ้ในค่า pH ช่วงกว ้าง ตั้งแต่ 2 ถึง 11 ขึ้นอยู่กับสายพันธุ์ จากผลการทดลองใน ห ้องปฏิบัติการพบว่าในสภาวะที่เหมาะสมกับการเจริญ Bacillus หลายสายพันธุ์ มี ระยะเวลาการแบ่งตัว (generation time) ประมาณ 25 นาที
  • 5. Bacillus cereus Bacillus cereus คือแบคที่เรีย (bacteria) ในกลุ่ม Bacillus ซึ่งเป็นชนิด ที่ทาให ้เกิดโรค (pathogen) ย ้อมติดสีแกรมบวก (Gram positive bacteria) รูปร่างเป็นท่อน (rod shape) สร ้างสปอร์ (spore forming bacteria) เจริญได ้ในที่ มีอากาศ (aerobic bacteria) สามารถสร ้างสารพิษ (toxin) ที่ทนต่อความร ้อนได ้ เจริญได ้ดีที่อุณหภูมิปานกลาง ในร่างกายมนุษย์และสัตว์เลือดอุ่น อุณหภูมิที่ เหมาะสมคือ 28-37 องศาเซียลเซียส ไม่เจริญที่อุณหภูมิต่ากว่า4 องศาเซียส เซียส และสูงกว่า 55 องศาเซลเซียส แหล่งที่พบ พบทั่วไปในธรรมชาติในดิน น้าเชื้อสร ้างสปอร์ซึ่งทนความแห ้งแล ้งได ้ดี สปอร์จึงพบได ้ทั่วไปในฝุ่ น ควัน และ ปะปนมากับอาหารแห ้ง เช่น น้าตาล วัตถุเจือ ปนอาหาร เครื่องเทศ และพบบ่อยในอาหารกลุ่ม แป้ง เมล็ดธัญชาติ (cereal grain) เช่น ข ้าวหุงสุก เส ้นก๋วยเตี๋ยว พาสต ้า อาหารกึ่งสาเร็จรูป เช่น ข ้าวกึ่ง สาเร็จรูป
  • 6. โรคและอำกำรของโรค โรคอาหารเป็นพิษ (food poisoning) ทาให ้เกิดอาการ 2 ลักษณะ 1.อำกำรอำเจียน (Emetic syndrome) เกิดจากที่ร่างกายได ้รับสารพิษ (intoxication) ที่แบคทีเรียสร ้างขึ้นในอาหารก่อนที่จะบริโภคเข ้าไป สารพิษนี้ทนต่อ อุณหภูมิสูงและ ทนต่อความเป็นกรดในกระเพาะอาหารได ้ดี ผู้ป่ วยจะเกิดอาการ คลื่นไส ้และอาเจียน ภายหลังจากการบริโภคอาหารที่มีสารพิษเข ้าไปประมาณ 5 ชั่วโมง โดยทั่วไปอาการเป็นอยู่ไม่เกิน 24 ชั่วโมง โรคอาหารเป็นพิษลักษณะนี้ มัก เรียกว่า Chinese restaurant syndrome เนื่องจากมักพบในผู้ป่ วยรับประทานอาหาร จีน ซึ่งมักเป็นข ้าวผัด ที่ทาจากข ้าวสุกที่หุงค ้างไว ้นาน ทาให ้แบคทีเรียเจริญเติบโต และสารพิษทนต่อความร ้อน ก่อนนามาปรุงหรือทาให ้ร ้อนใหม่ 2.อำกำรถ่ำยเหลว (Diarrhea syndrome) เกิดจากการบริโภคอาหารที่มีเซลล์ของ แบคทีเรีย และเพิ่มจานวนในลาไส ้ของมนุษย์ ใช ้เวลาฟักตัวประมาณ 8-16 ชั่วโมง มี สารพิษเอนเทอโรทอกซิน (enterotoxin) ที่ไม่ทนต่อความร ้อน ทาให ้เกิดอาการการ ปวดท ้อง เป็นตะคริวที่ท ้อง และถ่ายอุจจาระเหลวโดยทั่วไปอาการเป็นอยู่ไม่เกิน 14 ชั่วโมง ปริมาณเชื้อที่ทาให ้เกิดโรค (infective dose) 100-100,000 เซลล์ต่อกรัม Bacillus cereus
  • 7. สภำพแวดล้อมที่มีผลกับกำรเจริญอำกำศ เป็นแบคทีเรียที่ต ้องการอากาศ (aerobic bacteria) เจริญได ้ดีในสภาพที่มีออกซิเจน และจะสร ้างสารพิษ (toxin) เมื่ออยู่ภายใต ้สภาพที่มีออกซิเจนน้อย อุณหภูมิ ช่วงอุณหภูมิในการเจริญอยู่ระหว่าง 30-37 องศาเซลเซียส อุณหภูมิสูงสุดที่พบการ เจริญคือ 55 องศาเซลเซียส และอุณหภูมิต่าสุดที่เจริญได ้คือ 4 องศาเซลเซียส ค่า pH ที่เหมาะสมต่อการเจริญของเชื้อชนิดนี้อยู่ระหว่าง 6-7 วอเตอร์แอคทิวิตี วอ เตอร์แอคทิวิตีต่าสุด (ด ้วยเกลือแกง) ที่เชื้อนี้เจริญได ้คือ 0.92 อำหำรที่เกี่ยวข้อง -อาหารประเภทธัญชาติ (cereal) หรืออาหารที่มีสตาร์ซ เป็นส่วนประกอบ ได ้แก่ ข ้าว ข ้าวโพด แป้ง ก๋วยเตี๋ยว ขนมจีน บะหมี่ พาสต ้า มักโรนี ข ้าวผัด ขนมข ้าวกรอบ ขนม ข ้าวกล ้อง -เนยแข็ง (cheese) -ผักสลัด -อาหารที่มีเนื้อสัตว์ เป็นส่วนประกอบ ซอส ซุป -อาหารแห ้ง เครื่องเทศ (spice) -การบริการอาหาร (food service) ที่ต ้องเตรียมอาหารจานวนมาก ล่วงหน้าเป็น เวลานาน เช่น โรงเรียน ร ้านอาหาร ภัตตาคาร Bacillus cereus
  • 8. การป้องกัน - หุงต ้ม ผัด อาหาร ให ้ร ้อนจัด อุ่นให ้เดือด และเก็บอาหารที่ทาให ้สุกแล ้วที่ อุณหภูมิต่า หลีกเลี่ยงการเก็บอาหารช่วงอุณหภูมิที่เป็นอันตราย คือ 4-55 องศา เซลเซียส - ควบคุมให ้พนักงาน หรือบุคคล ที่สัมผัสกับอาหาร มีสุขอนามัยที่ดี (personal hygiene) - ป้องกันการเกิดปนเปื้อนข ้าม (cross contamination) โดยเฉพาะอาหารที่ปรุง สุก อาหารพร ้อมรับประทาน กับอาหารดิบ - ผลิตอาหารให ้ถูกสุขลักษณะ ตามหลัก GMP (Good Manufacturing Practice) Bacillus cereus
  • 9. Clostridium Clostridium เป็น แบคทีเรียแกรมบวก ซึ่ง รวมถึง เชื้อโรคที่ สาคัญหลายอย่างของมนุษย์ รวมถึงสาเหตุที่ทาให ้เกิดอาการท ้องเสียและ เป็นสาเหตุสาคัญของอาการท ้องร่วง
  • 10. เป็นแบคทีเรียที่มีรูปร่างเป็นท่อน สร ้างสปอร์และเป็นแอนแอโรบ (Anaerobic Sporeforming Rods) มีเมทาบอลิซึมแบบกระบวนการหมัก ซึ่งผลจากกระบวนการ หมักได ้กรดอินทรีย์ พบได ้ในลาไส ้คนและสัตว์ ในดิน น้าเค็ม และน้าจืดที่ไม่มี อากาศ มีเอนไซม์ย่อยโปรตีนและสร ้างกรดจากคาร์โบไฮเดรต ทาให ้เกิดอาหารเป็ น พิษ เกิดการติดเชื้อที่บาดแผลเรียกแก๊สแกงกรีน (Gas Gangrene) โรคที่เกิดจำกClostridium perfringens โรคอาหารเป็นพิษ เกิดจากการบริโภคอาหารที่มีการปนเปื้อนของสารพิษที่เชื้อ สร ้าง ทาให ้มี อาการคลื่นไส ้ปวดท ้อง ท ้องร่วง ไม่อาเจียน เกิดอาการใน 8 - 22 ชั่วโมง ระยะโรค 12 - 48 ชั่วโมง 1.Clostridium perfringens(คลอสตริเดียม เพอร์ฟริงเจนส์)
  • 11. แหล่งที่มำของจุลินทรีย์ที่ปนเปื้อนในอำหำร - อาหารเกิดการปนเปื้อนได ้ง่ายจากจุลินทรีย์ที่มีอยู่ในสิ่งแวดล ้อม ได ้แก่ ดิน น้า อากาศ ฝุ่ นละออง เครื่องจักรและอุปกรณ์แปรรูปอาหาร จากตัววัตถุดิบ เช่น พืช ผัก ผลไม ้สัตว์ บริเวณทางเดินอาหาร ขน หนังของสัตว์ และบุคคลที่สัมผัส กับอาหาร - การปนเปื้อนจากดิน ดินเป็นแหล่งผลิตวัตถุดิบ เช่น พืช ผัก ผลไม ้ สมุนไพร เครื่องเทศ ดินจะปนเปื้อนมากับวัตถุดิบได ้มากระหว่างการเก็บเกี่ยว โดยเฉพาะพืชหัวซึ่งมีส่วนที่ใช ้ประโยชน์อยู่ใต ้ดิน เช่น กระชาย ขิง ดินยัง ปนเปื้อนมากับสัตว์น้าที่โดยเฉพาะสัตว์น้าที่อาศัยตามโคลนเลน เช่น หอย นอกจากนี้ดินยังปนเปื้อนมากับ สัตว์ที่เลี้ยงแบบปล่อยตามทุ่งหญ ้า เช่น วัว ควาย และ แกะ - ดินเป็นแหล่งของจุลินทรีย์หลายชนิด ปริมาณของจุลินทรีย์แตกต่างกัน ขึ้นกับปัจจัยหลายอย่าง เช่น ความชื้นในดิน ความอุดมสมบูรณ์ของดิน ชนิดและ ปริมาณของสารอาหาร ในดิน อุณหภูมิ 1.Clostridium perfringens(คลอสตริเดียม เพอร์ฟริงเจนส์)
  • 12. เป็นแบคทีเรียชนิดแกรมบวก รูปร่างเป็นท่อน สร ้างสปอร์ซึ่งทนต่ออุณหภูมิ 100 องศาเซลเซียส ได ้นาน 5-10 ชั่วโมง เจริญเติบโตได ้ที่อุณหภูมิ 30-37 องศา เซลเซียส ในสภาวะที่ไม่มีอากาศ พบทั่วไปในสิ่งแวดล ้อม เช่น ดิน น้า น้าทะเล บ่อปลา อาหารสด เป็นแบคทีเรียที่มีบทบาทสาคัญในอุตสาหกรรมอาหารกระป๋ อง อาหารกระป๋ องไม่ถูกสุขลักษณะนั้น ก็อาจได ้รับอันตรายได ้จากสภาพความเป็น กรดที่ต่าในอาหารกระป๋ อง ซึ่งอาจก่อให ้เกิดโรคจาก botulinum ที่สามารถสร ้าง สารพิษที่มีผลต่อระบบประสาท ระบบหายใจถึงขั้นเสียชีวิตได ้ โรคที่เกิดจำก Clostridium botulinum โรคโบทูลิซึม (Botulism|Botulism) ทาให ้มองเห็นภาพซ ้อน คลื่นไส ้อาเจียน หน้ามืด เป็นอัมพาต หายใจขัด และ เสียชีวิตเนื่องจากระบบหายใจล ้มเหลว ผู้ ได ้รับเชื้ออาการจะเกิดภายใน 12-36 ชั่วโมง หลังการบริโภคอาหาร และอาจ เสียชีวิตภายใน 3-6 วันซึ่งโบทูลิสซึมเป็นโรคที่มีความรุนแรง แต่พบได ้ไม่บ่อย เกิดจากทอกซินหรือสารพิษ ทอกซินนี้จะมีผลต่อระบบ ประสาท (neurotoxin) ทาให ้เกิดโรคแบ่งออกเป็น 3 กลุ่ม ได ้แก่ โรคอาหารเป็นพิษโบทูลิสซึม (foodborne botulism) โรคโบทูลิสซึมในลาไส ้(intestinal botulism) และโรค โบทูลิสซึมที่บาดแผล (wound botulism) 2.Clostridium botulinum(คลอสตริเดียม โบตูลินัม)
  • 13. กำรป้ องกันกำรสร้ำงพิษของเชื้อ ทาได ้โดยการทาลายเซลล์และสปอร์ของเชื้อให ้หมด หรือยับยั้งสปอร์ไม่ให ้ งอกเป็นเซลล์ ทาให ้ไม่มีการเพิ่มจานวนของเซลล์ และไม่มีการสร ้างสารพิษ ปนเปื้อนสู่อาหาร ซึ่งในขบวนการผลิตอาหารกระป๋ องสามารถป้องกันการสร ้าง สารพิษ ได ้แก่ การให ้ความร ้อน การใช ้ความเป็นกรด การควบคุมค่าวอเตอร์แอ คติวิตี้ การควบคุมโดยใช ้ความเย็น เนื่องจากเชื้อแบคทีเรียชนิดนี้มักจะพบได ้ทั้งในน้าและในดิน ควรระวังในเรื่อง ความสะอาด สาหรับอาหารที่มีการพบเชื้อแบคทีเรียชนิดนี้บ่อยครั้ง ก็คือ ใน อาหารกระป๋ อง ดังนั้นในการรับประทานอาหารกระป๋ อง ควรนาอาหารกระป๋ อง ออกจากกระป๋ อง ใส่ภาชนะอื่น ๆ และนามาปรุงเพื่อผ่านความร ้อนฆ่าเชื้อก่อน รับประทาน ไม่ควรชิมอาการกระป๋ องหลังจากเปิดกระป๋ องทันที และควร หลีกเลี่ยงการกินอาหารกระป๋ องที่เมื่อเปิดกระป๋ องแล ้วพบว่ามีฟองก๊าซ หรือมี กลิ่นเหม็นแปลก ๆ 2.Clostridium botulinum(คลอสตริเดียม โบตูลินัม)
  • 14. 3.Clostridium difficile (คลอสตริเดียม ดิฟิซำยล์) หรือเรียกกันว่า C. diff เป็นเชื้อแบคทีเรียที่ก่อให ้เกิดอาการท ้องเสียและ ลาไส ้ใหญ่อักเสบที่ร ้ายแรงถึงขั้นชีวิต ด ้วยวิธีการปล่อยสารพิษ C. diff มักถูก รวมเข ้าไปในกลุ่ม superbug เพราะดื้อต่อยาปฏิชีวนะหลายตัว ทาให ้ยากต่อ การรักษา กำรติดเชื้อ C. Diff เชื้อ C. Diff จะพบในอุจจาระ และติดต่อได ้ง่ายผ่านอาหาร ผิวสัมผัส และ สิ่งของที่ปนเปื้อน นอกจากนี้ แบคทีเรียชนิดนี้ยังผลิตสปอร์ที่ทนต่อความร ้อน และกรด ทาให ้เชื้อสามารถคงอยู่ในสภาพแวดล ้อมได ้เป็นเวลานาน การ บริโภคอาหารและเครื่องดื่มที่ปนเปื้อน หรือการนานิ้วมือที่ไม่ได ้ล ้างและเอา เข ้าปากหลังไปสัมผัสพื้นผิวหรือสิ่งของที่ปนเปื้อน ซึ่งจะทาให ้C. diff ไม่ว่าจะ เป็นตัวเชื้อหรือสปอร์เข ้าไปในร่างกาย ในบุคคลที่มีสุขภาพแข็งแรงนั้น เชื้อ C. diff จะไม่ก่อให ้เกิดอาการใดๆ โดยตัวแบคทีเรียจะไปสร ้างโคโลนีอยู่ในลาไส ้ โดยไม่ทาให ้เกิดอาการ อย่างไรก็ตาม การใช ้ยาปฏิชีวนะในบางกรณี เช่น การ รักษาโรคติดเชื้อเป็นเวลานาน จะสามารถทาลายเชื้อในภาวะปกติของลาไส ้ ทาให ้C. diff เจริญเติบโตมากเกินไป ก่อให ้เกิดการติดเชื้อตามมา
  • 15. ยาปฏิชีวนะที่มีความเกี่ยวข ้องกับการเกิดการติดเชื้อ C. diff ได ้แก่ -Clindamycin -Ampicillin -Amoxicillin -Cephalosporin การติดเชื้ออาจทาให ้เกิดโรคแทรกซ ้อนที่รุนแรง ได ้แก่ โรคลาไส ้โป่ งพอง (toxic megacolon ทาให ้ลาไส ้ใหญ่กว ้างขึ้น), โรคเยื่อบุช่องท ้องอักเสบ และ ภาวะหายใจล ้มเหลวเฉียบพลัน กำรรักษำ การรักษาโรคติดเชื้อ C. diff จาเป็นต ้องเริ่มด ้วยการหยุดยาปฏิชีวนะทุกตัวที่ทา ให ้เกิดการติดเชื้อ ในกรณีที่พบได ้ไม่มากนักสามารถปล่อยให ้จุลินทรีย์ในลาไส ้ รักษาตัวเอง และหยุดภาวะท ้องเสียที่ตามมา การรักษาอาจต ้องใช ้ยาปฏิชีวนะ 1 ใน 3 ตัวที่ยังคงใช ้กับแบคทีเรียชนิดนี้ได ้ได ้แก่ Metronidazole ที่สามารถ ใช ้รักษาการติดเชื้อ C. diff ระดับต่าถึงปานกลาง ในขณะที่ vancomycin หรือ fidaxomicin มักใช ้ในกรณีที่รุนแรงมากขึ้น การติดเชื้อซ้าของ C. diff จะเกิดใน ประมาณ 20 เปอร์เซนต์ของผู้ที่รับการรักษาด ้วยยาปฏิชีวนะเหล่านี้ 3.Clostridium difficile (คลอสตริเดียม ดิฟิซำยล์)
  • 16. 4. Clostridium tetani (คลอสตริเดียม เตตำนัส) เป็นเชื้อแบคทีเรียรูปแท่งที่ปลายมีสปอร์ Spore (จุดที่พักตัวของแบคทีเรียเพื่อรอ การเจริญเติบโตเมื่ออยู่ในสิ่งแวดล ้อมที่เหมาะสม) ทาให ้มีรูปร่างเหมือนไม ้เทนนิส หรือไม ้ตีกลอง เชื้อโรคนี้พบได ้ทั่วทุกมุมโลก โดยเชื้ออาศัยอยู่ในดิน ปุ๋ ยคอก มูล สัตว์ ฝุ่ น รวมทั้งผิวหนังและอุจจาระคน ตัวเชื้อบาดทะยักถูกทาลายได ้ง่ายด ้วยความ ร ้อน แต่สปอร์ของเชื้อมีความทนทาน สามารถอยู่ในสิ่งแวดล ้อมที่เหมาะสมได ้นาน หลายปี ทนต่อน้าเดือดได ้นานถึง 20 นาที และทนต่อสารเคมีและยาฆ่าเชื้อต่างๆ กำรติดเชื้อ -ผ่านทางแผลสด โดยส่วนใหญ่จะเป็นแผลขนาดเล็กๆแต่ลึก เช่น แผลจากตะปู หรือ เศษไม ้ตา แผลอื่นๆ เช่น แผลถูกสัตว์กัด แผลถลอก แผลฉีกขาด แผลถูกไฟไหม ้น้าร ้อนลวก หรือแม ้แต่แผลผ่าตัดก็พบได ้ถ ้าระบบปลอดเชื้อของห ้องผ่าตัดไม่มาตรฐาน หรือการ ดูแลแผลผ่าตัดที่ไม่สะอาด รวมทั้งแผลจากการถอนฟัน รักษารากฟัน ก็มีโอกาสติด เชื้อนี้ได ้เช่นกัน -ผ่านทางแผลเรื้อรัง เช่นแผลเบาหวาน และแผลเป็นฝี -ผ่านทางการใช ้เข็มฉีดยาร่วมกัน พบในกลุ่มผู้ใช ้ยาเสพติด หรือการสักลาย (Tattoo) -ผ่านทางสายสะดือในเด็กแรกคลอด เกิดจากมารดาที่ไม่เคยฉีดวัคซีน บาดทะยัก และการใช ้อุปกรณ์ที่ไม่สะอาดตัดสายสะดือเด็ก -จากการเป็นโรคหูชั้นกลางอักเสบ -มีบางกรณีที่ไม่พบสาเหตุว่า เชื้อเข ้าสู่ร่างกายผ่านทางไหน
  • 17. กำรก่อโรคของเชื้อ เมื่อเชื้อบาดทะยักเข ้าสู่ร่างกาย เชื้อจะอยู่บริเวณเนื้อเยื่อที่เชื้อโรคเข ้าไปก่อน เมื่อมีสภาวะที่เหมาะสมคือไม่มีออกซิเจน สปอร์ของเชื้อโรคก็จะงอก และผลิต สารพิษออกมา 2 ชนิด คือ ชนิดเตตาโนลัยซิน (Tetanolysin) ซึ่งยังไม่ทราบ บทบาทที่ชัดเจนของสารพิษตัวนี้ และชนิดที่มีบทบาททาให ้เกิดโรคชื่อว่า เตตา โนสะปาสมิน (Tetanospasmin) สารพิษชนิดนี้ถ ้าเทียบโดยน้าหนักแล ้ว ถือว่า เป็นสารพิษที่มีพิษรุนแรงมาก เพราะปริมาณเพียงแค่ 2.5 นาโนกรัม (1 ล ้านนา โนกรัมคือ 1 กรัม) ต่อน้าหนักคน 1 กิโลกรัม ก็สามารถทาให ้เกิดโรคได ้เมื่อเชื้อ โรคผลิตสารพิษแล ้ว สารพิษก็จะเข ้าสู่กระแสเลือด กระจายเข ้าสู่เส ้นประสาท ส่วนปลาย แล ้วเดินทางจากเส ้นประสาทส่วนปลายเข ้าสู่ไขสันหลัง และในที่สุดก็ เข ้าสู่สมอง ทาให ้เกิดอาการที่รุนแรงได ้ สารพิษ เตตาโนสะปาสมิน จะเข ้าขัดขวางการทางานของเซลล์ประสาทที่อยู่ใน ไขสันหลังและสมอง ซึ่งทาหน้าที่ควบคุมการทางานของกล ้ามเนื้อ ทาให ้เซลล์ ประสาทสั่งการทางานมากเกินไป และสมองควบคุมไม่ได ้จึงทาให ้กล ้ามเนื้อมี การแข็งเกร็งและหดตัวมากเกินไป 4. Clostridium tetani (คลอสตริเดียม เตตำนัส)
  • 18. อำกำรของโรคบำดทะยัก โรคบาดทะยักมีระยะฟักตัวคือ ตั้งแต่ได ้รับเชื้อโรคจนกระทั่งเกิดอาการ ประมาณ 8 วัน(อยู่ในช่วง 3 - 21 วัน) ผู้ป่ วยที่ติดเชื้อบาดทะยัก จะมีอาการแบ่ง ออกได ้เป็น 3 กลุ่ม คือ -กลุ่มที่เกิดอาการทั่วร่างกาย -กลุ่มที่เกิดอาการแบบเฉพาะที่ -กลุ่มที่เกิดอาการแบบเฉพาะที่ศีรษะ กำรวินิจฉัยของแพทย์ -การตรวจหาสารพิษสตริกนีน (Strychnine) ผู้ป่ วยที่ได ้รับพิษ Strychnine ซึ่ง อยู่ในยาฆ่าแมลง จะมีอาการหดตัวและแข็งเกร็งของกล ้ามเนื้อคล ้ายกับผู้ป่ วยที่ เป็นบาดทะยัก ถ ้าประวัติการได ้รับสารพิษของผู้ป่ วยไม่ชัดเจน ก็ต ้องเจาะตรวจหา สารพิษชนิดนี้ด ้วย -การตรวจเม็ดเลือดขาวจากเลือด (การตรวจซีบีซี) ส่วนใหญ่จะพบว่าอยู่ในเกณฑ์ ปกติ ไม่เหมือนโรคติดเชื้อแบคทีเรียอื่นๆที่มักมีปริมาณเม็ดเลือดขาวขึ้นสูง -การตรวจน้าไขสันหลังจะพบว่าปกติ ซึ่งแตกต่างจากโรคติดเชื้ออื่นๆที่ทาให ้มีไข สันหลังและสมองอักเสบ ที่ทาให ้มีอาการชักเกร็งคล ้ายคลึงกัน อนึ่ง การเพาะเชื้อไม่ช่วยในการวินิจฉัย เพราะผิวหนังปกติของคนเราก็มีเชื้อ บาดทะยักเจริญอยู่ได ้(ตราบใดที่เราไม่มีบาดแผล และได ้รับการฉีดวัคซีนครบ ก็ จะไม่เป็นบาดทะยัก 4. Clostridium tetani (คลอสตริเดียม เตตำนัส)
  • 19. การรักษาโรคบาดทะยัก 1.การกาจัดเชื้อบาดทะยักที่ผลิตสารพิษ โดยการให ้ยาปฏิชีวนะเพื่อฆ่าเชื้อโรค และสปอร์ของเชื้อที่กาลังงอก 2. การทาลายสารพิษที่เชื้อโรคผลิตแล ้ว ซึ่งจะช่วยลดอัตราการตายได ้มาก โดยการให ้สารภูมิต ้านทานหรือแอนติบอดี (Antibody) ไปทาลายสารพิษ 3. การรักษาประคับประคองตามอาการ ได ้แก่ การให ้ยาเพื่อลดการหดตัวและ แข็งเกร็งของกล ้ามเนื้อ 4. การให ้วัคซีน ผู้ป่ วยทุกรายที่หายจากโรคแล ้ว ต ้องให ้วัคซีนตามกาหนดทุก ราย เนื่องจากการติดเชื้อบาดทะยักไม่สามารถกระตุ้นให ้ร่างกายสร ้างภูมิคุ้มกัน ขึ้นมาได ้ ผลข ้างเคียงจากโรคบาดทะยัก -ในช่วงที่กล ้ามเนื้อมีการหดตัวและแข็งเกร็งนั้น ผู้ป่ วยจะเจ็บปวดมาก ถ ้า กล ้ามเนื้อหดตัวรุนแรงมาก อาจทาให ้กระดูกหักได ้ไม่ว่าจะเป็นกระดูกสันหลัง หรือกระดูกแขนขา -นอกจากกล ้ามเนื้อจะมีการหดตัวและแข็งเกร็งแล ้ว เส ้นเสียงหลอดลมก็อาจมี การหดตัว ทาให ้ผู้ป่ วยหายใจไม่เข ้า ขาดอากาศเสียชีวิตได ้ -การเกิดระบบประสาทอัตโนมัติทางานผิดปกติขึ้นมา -ภาวะแทรกซ ้อนอื่นๆ ได ้แก่ การเกิดลิ่มเลือดของหลอดเลือดในปอด และปอด ติดเชื้อแทรกซ ้อน 4. Clostridium tetani (คลอสตริเดียม เตตำนัส)
  • 20. Listeria monocytogenes Listeria monocytogenes เป็นแบคทีเรียในสกุล Listeria มีรูปร่างลักษณะเป็น ท่อน มีเส ้นผ่านศูนย์กลาง 0.5 ไมโครเมตร ยาว 0.5-2 ไมโครเมตร เป็นแบคทีเรีย แกรมบวก (gram positive bacteria) ไม่สร ้างสปอร์ (non spore forming bacteria) สร ้างแคปซูล เป็นแบคทีเรียที่สามารถเจริญเติบโตได ้ทั้งสภาวะที่มี ออกซิเจนและไม่มีออกซิเจน (facultative anaerobe) เป็นจุลินทรีย์ก่อโรค (pathogen) บทบาทสาคัญต่อความปลอดภัยทางอาหาร (food safety) โรคที่เกิดจาก Listeria monocytogenes เกิดโรคอาหารเป็นพิษ (food poisoning) ติดต่อผ่านทางอาหาร ทาให ้เกิดโรค โรคลิสเทอริโอสิส โรค เยื่อหุ้มสมองอักเสบ (meningitis) การติดเชื้อในกระแส เลือด (septicemia) และการแท ้ง (abortion) พบว่าอัตราป่ วยจนทาให ้เสียชีวิตสูง ถึงร ้อยละ 20-30 พบวิธีระบาดของเชื้อนี้เกิดขึ้นได ้หลายทาง เช่น จากแม่สู่ลูก จาก สัตว์สู่คน และจากโรงพยาบาล แหล่งที่พบเชื้อ สามารถพบได ้ในสิ่งแวดล ้อมทั่วไปได ้อย่างกว ้างขวาง เนื่องจาก Listeria สามารถ ทนทานต่อสภาวะต่างๆ ในสิ่งแวดล ้อมได ้ดี เช่น ในสภาวะอาหารที่เป็นกรด (acid food) ในอาหารที่มี water activity ต่าและในสภาวะอุณหภูมิที่ค่อนข ้างกว ้างตั้งแต่ ระดับอุณหภูมิในร่างกายจนกระทั่งอุณหภูมิในตู้เย็น (psychrotrophic)
  • 21. ที่มา • http://www.foodnetworksolution.com • http://rldc.anamai.moph.go.th/index.php • https://www.honestdocs.co/what-is-clostridium-difficile • https://sites.google.com/site/foodmicrobyajpornpan/culinthriy- thi-pen-prayochn-ni-xutsahkrrm-xahar/listeria-monocytogenes • http://haamor.com/th/%E0%B9%81%E0%B8%9A%E0%B8%8 4%E0%B8%97%E0%B8%B5%E0%B9%80%E0%B8%A3%E0 %B8%B5%E0%B8%A2/
  • 22. ผู้จัดทา 1.นายธีรชัย ห ้วยทราย เลขที่31 2.นางสาวนิชธาวัลย์ เอี่ยมระเบียบ เลขที่32 3.นางสาวนิตยา จันแดง เลขที่33 4. นายนิธิภาส พุทธจักร เลขที่34 5. นางสาวนุชจรี เกื้อมา เลขที่35 หลักสูตร ปวส.เวชระเบียน เสนอ อ.ทนพ.อนนต์ ละอองนวล รายวิชา จุลชีววิทยาและปรสิตวิทยา